แผนการจัดการเรียนรู้ มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพและบูรณาการหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง วชิ า วงจรไฟฟ้ ากระแสตรง รหัส 2104-2002 หลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพ(ปวช.) พทุ ธศักราช 2556 ประเภทวชิ าช่างอุตสาหกรรม สาขาวชิ าช่างไฟฟ้ า สาขางานไฟฟ้ ากาลงั จัดทาโดย นายภาณุ บุญญานุพงศ์ แผนกวชิ าช่างไฟฟ้ า วทิ ยาลยั เทคนิคสุราษฎร์ธานี สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
คานา แผนการสอนวชิ า วงจรไฟฟ้ ากระแสตรง รหสั 2104-2002 เล่มน้ี ไดเ้ รียบเรียงข้ึนเพื่อใชใ้ น การประกอบการเรียนการสอน ตามหลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพ(ปวช.) พทุ ธศกั ราช 2556 ของ สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา แผนการสอนวิชาวงจรไฟฟ้ ากระแสตรง โดยจดั ใหผ้ เู้ รียนศึกษาและปฏิบตั ิงานเก่ียวกบั แหล่งกาเนิดไฟฟ้ ากระแสตรง เช่น เซลล์ไฟฟ้ า แบตเตอรี่ หรือเคร่ืองกาเนิดไฟฟ้ ากระแสตรง ประกอบ วงจรไฟฟ้ าอนุกรม แบบขนาน และแบบผสม โดยใชอ้ ุปกรณ์ประกอบวงจรเป็ นเซลล์ไฟฟ้ า แบตเตอร่ี ตวั ตา้ นทาน หลอดไฟ มอเตอร์กระแสตรง รีเลย์ ใชเ้ ครื่องมือวดั ที่เก่ียวขอ้ งวดั คา่ ความสัมพนั ธ์ของกระแส แรงดนั ความตา้ นทาน ตามกฎของโอห์ม ทฤษฎีของเทเวนินและนอร์ตนั ประกอบและทดสอบวงจร บริดจ์ วงจรแบ่งแรงดนั ไฟฟ้ า วงจรแบ่งกระแสไฟฟ้ า กิจกรรมการเรียนการสอนเป็ นการจดั กิจกรรม การสอนแบบฐานสมรรถนะอาชีพและบรู ณาการกบั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นายภาณุ บุญญานุพงศ์ ครูผสู้ อน
รหสั วชิ า 2104-2002 แผนการจดั การเรียนรู้ ระดบั ช้ัน ปวช. จานวน 2 หน่วยกติ วชิ า วงจรไฟฟ้ ากระแสตรง สาขาวชิ า ไฟฟ้ ากาลงั จานวน 72 ชั่วโมง จุดประสงค์รายวชิ า เพอื่ ให้ 1. รู้เขา้ ใจกฎและทฤษฎีวงจรไฟฟ้ ากระแสตรงพ้ืนฐาน 2. มีทกั ษะในการต่อ การวดั ประลอง และคานวณหาค่าต่างๆในวงจรไฟฟ้ ากระแสตรง 3. มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ มีกิจนิสยั ในการคน้ ควา้ เพม่ิ เติม และการทางานดว้ ยความรอบคอบและปลอดภยั สมรรถนะรายวชิ า 1. แสดงความรู้เก่ียวกบั การหาค่าต่างๆในวงจรไฟฟ้ ากระแสตรง 2. ปฏิบตั ิการต่อวงจร วดั และทดสอบหาคา่ ตา่ งๆในวงจรไฟฟ้ ากระแสตรง คาอธิบายรายวชิ า ศึกษาและปฏิบตั ิงานเกี่ยวกบั กฎของโอห์ม กฎของเคอร์ชอฟฟ์ กาลงั ไฟฟ้ า พลงั งานไฟฟ้ า เซลลไ์ ฟฟ้ า วงจรความตา้ นทานแบบอนุกรม วงจรแบ่งแรงดนั ไฟฟ้ า วงจรความตา้ นทานแบบขนาน วงจรแบง่ กระแสไฟฟ้ า การแปลงวงจรความตา้ นทานสตาร์- เดลตา้ วงจรบริดจ์ ดิเทอร์มิแนนต์ การ วเิ คราะห์วงจรเครือข่ายโดยใชก้ ฎของเคอร์ชอฟฟ์ เมชเคอร์เรนต์ โนดโวลตเ์ ตจ ทฤษฎีการวางซอ้ น เธวนิ ิน นอร์ตนั และการส่งถ่ายกาลงั ไฟฟ้ าสูงสุด
หน่วยการจดั การเรียนรู้ รหัส 2104-2002 วชิ า วงจรไฟฟ้ ากระแสตรง จานวน 2 หน่วยกติ จานวน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์ ลาดบั ท่ี ชื่อหน่วยการเรียนรู้ จานวนคาบ (ชม.) 1 แหล่งกาเนิดไฟฟ้ า 4 2 กฎของโอห์ม 4 3 เซลลไ์ ฟฟ้ า กาลงั ไฟฟ้ า พลงั งานไฟฟ้ า 4 4 วงจรไฟฟ้ าแบบอนุกรม 4 5 วงจรไฟฟ้ าแบบขนาน 4 6 วงจรไฟฟ้ าแบบผสม 4 7 วงจรแบง่ แรงดนั และวงจรแบ่งกระแสไฟฟ้ า 4 8 การแปลงวงจรความตา้ นทานสตาร์-เดลตา้ วงจรบริดจ์ 4 9 กฎของเคอร์ชอฟฟ์ 12 10 ทฤษฎีกระแสเมช 4 11 แรงดนั โนด 4 12 ทฤษฎีการวางซอ้ น 4 13 ทฤษฎีเทวนิ ิน 4 14 ทฤษฎีนอร์ตนั 4 15 การส่งถ่ายกาลงั ไฟฟ้ าสูงสุด 4 4 สอบปลายภาค 72 รวม
ตารางวเิ คราะห์หน่วยการเรียนรู้ รหสั 2104-2002 วชิ า วงจรไฟฟ้ ากระแสตรง จานวน 4 ช่ัวโมง/สัปดาห์ หน่วยที่ ช่ือหน่วยการเรียนรู้ พฤติกรรมทพ่ี งึ ประสงค์ จานวน คาบ 1 แหล่งกาเนิดไฟฟ้ า พุทธิพสิ ัย ทกั ษะพสิ ัย จิตพสิ ัย (ชม.) 2 กฎของโอห์ม 4 3 เซลลไ์ ฟฟ้ า กาลงั ไฟฟ้ า พลงั งานไฟฟ้ า 1 21 4 4 วงจรไฟฟ้ าแบบอนุกรม 1 21 4 5 วงจรไฟฟ้ าแบบขนาน 1 21 4 6 วงจรไฟฟ้ าแบบผสม 1 21 4 7 วงจรแบ่งแรงดนั และวงจรแบง่ 1 21 4 1 21 กระแสไฟฟ้ า 8 การแปลงวงจรความตา้ นทาน 1 2 14 สตาร์-เดลตา้ วงจรบริดจ์ 1 2 14 9 กฎของเคอร์ชอฟฟ์ 3 6 3 12 10 ทฤษฎีกระแสเมช 1 2 14 11 แรงดนั โนด 1 2 14 12 ทฤษฎีการวางซอ้ น 1 2 14 13 ทฤษฎีเทวนิ ิน 1 2 14 14 ทฤษฎีนอร์ตนั 1 2 14 15 การส่งถ่ายกาลงั ไฟฟ้ าสูงสุด 1 2 14 4 - -4 สอบปลายภาค 21 34 17 72 รวม
ตารางวเิ คราะห์คาอธิบายรายวชิ า 4 ชั่วโมง/สัปดาห์ รหัส 2104-2002 วชิ า วงจรไฟฟ้ ากระแสตรง หน่วย ชื่อหน่วยการเรียน และหวั ข้อเรื่อง เวลาเรียน สัปดาห์ท่ี คาบที่ ทฤษฎี ปฏิบัติ 1. แหล่งกาเนิดไฟฟ้ า 1.1 แหล่งกาเนิดไฟฟา 1 1-4 1 3 1.2 ไฟฟ้ าสถิต 1.3 ไฟฟ้ ากระแส 1.4 ไฟฟ้ ากระแสตรง 1.5 ปฏิบตั ิการทดลองแหล่งกาเนิดไฟฟ้ า 2. กฎของโอห์ม 2 5-8 1 3 2.1 กฎของโอห์ม 3 9-12 1 3 2.2 การใชก้ ฎของโอห์มคานวณหาค่า กระแสไฟฟ้ า 2.3 การใชก้ ฎของโอห์มคานวณหาค่า แรงดนั ไฟฟ้ า 2.4 การใชก้ ฎของโอห์คานวณหาค่าความ ตา้ นทานไฟฟ้ า 2.5 ปฏิบตั ิการทดลองกฎของโอห์ม 3. เซลล์ไฟฟ้ า กาลงั ไฟฟ้ า พลงั งานไฟฟ้ า 3.1 เซลลไ์ ฟฟ้ า 3.2 การตอ่ เซลลไ์ ฟฟ้ า 3.3 การตอ่ เซลลไ์ ฟฟ้ าแบบอนุกรม 3.4 การตอ่ เซลลไ์ ฟฟ้ าแบบขนาน 3.5 การตอ่ เซลลไ์ ฟฟ้ าแบบผสม 3.6 กาลงั ไฟฟ้ า พลงั งานไฟฟ้ า 3.7 ปฏิบตั ิการทดลองเซลลไ์ ฟฟ้ า กาลงั ไฟฟ้ า พลงั งานไฟฟ้ า
หน่วย ช่ือหน่วยการเรียน และหัวข้อเรื่อง สัปดาห์ที่ เวลาเรียน ปฏบิ ตั ิ 4 คาบที่ ทฤษฎี 3 4. วงจรไฟฟ้ าแบบอนุกรม 13-16 1 4.1 การตอ่ วงจรไฟฟ้ าแบบอนุกรม 3 4.2 คุณสมบตั ิของวงจรอนุกรม 5 17-20 1 4.3 การคานวณในวงจรอนุกรม 4.4 ปฏิบตั ิการทดลองวงจรไฟฟ้ าแบบ อนุกรม 5. วงจรไฟฟ้ าแบบขนาน 5.1 การต่อวงจรไฟฟ้ าแบบขนาน 5.2 คุณสมบตั ิของวงจรขนาน 5.3 การคานวณในวงจรขนาน 5.4 ปฏิบตั ิการทดลองวงจรไฟฟ้ าแบบ ขนาน 6. วงจรไฟฟ้ าแบบผสม 6 21-24 1 3 6.1 การตอ่ วงจรไฟฟ้ าแบบผสม 6.2 วงจรไฟฟ้ าแบบผสม อนุกรม – ขนาน 6.3 วงจรไฟฟ้ าแบบผสม ขนาน – อนุกรม 6.4 การคานวณในวงจรไฟฟ้ าแบบผสม 6.5 ปฏิบตั ิการทดลองวงจรไฟฟ้ าแบบ ผสม
หน่วย ชื่อหน่วยการเรียน และหัวข้อเรื่อง สัปดาห์ที่ เวลาเรียน 7 คาบที่ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ 7. วงจรแบ่งแรงดนั ไฟฟ้ าและวงจรแบ่งกระแสไฟฟ้ า 25-28 1 3 7.1 วงจรแบ่งแรงดนั ไฟฟ้ าท่ีไมม่ ีโหลด 7.2 วงจรแบง่ แรงดนั ไฟฟ้ า แบบมีโหลด 7.1 วงจรแบ่งกระแสไฟฟ้ า 7.3 ตวั อยา่ งการคานวณ 7.4 ปฏิบตั ิการทดลองวงจรแบง่ แรงดนั และวงจร แบ่งกระแสไฟฟ้ า 8. การแปลงวงจรสตาร์ เดลต้าและวงจรบริดจ์ 8 29-32 1 3 8.1 การแปลงวจรสตาร์ เดลตา้ 9-11 33-44 3 9 8.2 วงจรบริดจส์ ภาวะสมดุล 8.3 วงจรบริดจส์ ภาวะไม่สมดุล 8.4 ตวั อยา่ งการคานวณ 8.5 ปฏิบตั ิการทดลองวงจรสตาร์ เดลตา้ และ วงจรบริดจ์ 9. กฎของเคอร์ชอฟฟ์ 9.1 กฎกระแสไฟฟ้ าของเคอร์ชอฟฟ์ 9.2 เมทริกซ์และดีเทอร์มิแนนท์ 9.3 กฎแรงดนั ไฟฟ้ าของเคอร์ชอฟฟ์ 9.4 ตวั อยา่ งการแกป้ ัญหาโจทย์ 9.5 ปฏิบตั ิการทดลองโดยใชก้ ฎของเคอร์ชอฟฟ์
หน่วย ชื่อหน่วยการเรียน และหัวข้อเรื่อง สัปดาห์ท่ี เวลาเรียน ปฏบิ ตั ิ คาบท่ี ทฤษฎี 3 10. ทฤษฎกี ระแสเมซ 12 45-48 1 10.1 ทฤษฎีกระแสเมช 10.2 สมมติกระแสไหลวน 10.3 สมการกระแส 10.4 ตวั อยา่ งการคานวณ ทฤษฎีกระแส เมช 10.5 ปฏิบตั ิทดลองตามทฤษฎีกระแสเมช 11. แรงดันโนด 13 49-52 1 3 11.1 โนด 11.2 โนดหลกั 11.3 โนดเปรียบเทียบ 11.4 แรงดนั โนด 11.5 ตวั อยา่ งการแกป้ ัญหาโจทย์ 11.6 ปฏิบตั ิการทดลองตามวิธีแรงดนั โนด 12. ทฤษฎกี ารวางซ้อน 14 53-56 1 3 12.1 ทฤษฎีการวางซอ้ น 12.2 การใชท้ ฤษฎีการวางซอ้ นวเิ คราะห์ วงจร 12.3 ตวั อยา่ งการคานวณ โดยใชท้ ฤษฎี การวางซอ้ น 12.4 ปฏิบตั ิการทดลองทฤษฎีการวาง ซอ้ น
หน่วย ชื่อหน่วยการเรียน และหัวข้อเรื่อง สัปดาห์ที่ เวลาเรียน ปฏบิ ตั ิ 15 คาบท่ี ทฤษฎี 3 13. ทฤษฎเี ทเวนิน 57-60 1 13.1 หลกั การทฤษฎีของเทเวนิน 13.2 แรงดนั เทเวนิน 13.3 ความตา้ นทานเทเวนิน 13.4 วงจรสมมูลยเ์ ทเวนิน 13.5 คานวณหาค่าปริมาณทางไฟฟ้ าดว้ ย ทฤษฎีของเทเวนิน 13.6 ปฏิบตั ิการทดลองทฤษฎีของ เทเวนิน 14. ทฤษฎนี อร์ตนั 16 61-64 1 3 14.1 หลกั การทฤษฎีของนอร์ตนั 14.2 กระแสและความตา้ นทานนอร์ตนั 14.3 วงจรสมมูลนอร์ตนั 14.4 หาค่าปริมาณทางไฟฟ้ าดว้ ยทฤษฎี ของนอร์ตนั 14.5 ปฏิบตั ิการทดลองทฤษฎีของนอร์ ตนั 15. การถ่ายโอนกาลงั ไฟฟ้ าสูงสุด 17 65-68 1 3 15.1 การถ่ายโอนกาลงั ไฟฟ้ าสูงสุด 15.2 กราฟของกาลงั ไฟฟ้ า 15.3 การแกป้ ัญหาวงจรไฟฟ้ า 15.4 ปฏิบตั ิการทดลองวงจรการถ่ายโอน กาลงั ไฟฟ้ าสูงสุด
ตารางวเิ คราะห์จุดประสงค์การเรียนรู้ รหสั 2104-2202 วชิ า วงจรไฟฟ้ ากระแสตรง 4 ชั่วโมง/สัปดาห์ หน่วยที่ ชื่อหน่วย/หวั ข้อย่อย ระดบั พฤตกิ รรมทต่ี ้องการ พุทธิพสิ ัย ทกั ษะ จติ จานวนคาบ พสิ ัย พสิ ัย (ชม.) 12341212 1 แหล่งกาเนิดไฟฟ้ า 4 - แหล่งกาเนิดไฟฟ้ า - ไฟฟ้ าสถิต // / / - ไฟฟ้ ากระแส // / / - ไฟฟ้ ากระแสตรง // / / - ปฏิบตั ิการทดสอบ // / / แหล่งกาเนิดไฟฟ้ า // / / 2 กฎของโอห์ม 4 - กฎของโอห์ม // // // - การใชก้ ฎของโอห์มคานวณหาค่า / / // กระแสไฟฟ้ า // - การใชก้ ฎของโอห์มคานวณหาค่า / / // แรงดนั ไฟฟ้ า - การใชก้ ฎของโอห์คานวณหาค่า / / ความตา้ นทานไฟฟ้ า - ปฏิบตั ิการทดสอบกฎของโอห์ม / /
หน่วยท่ี ช่ือหน่วย/หัวข้อย่อย ระดบั พฤตกิ รรมทต่ี ้องการ พทุ ธิพสิ ัย ทกั ษะ จติ จานวนคาบ 3 เซลล์ไฟฟ้ า กาลงั ไฟฟ้ า พลงั งานไฟฟ้ า - เซลลไ์ ฟฟ้ า พสิ ัย พสิ ัย (ชม.) - การต่อเซลลไ์ ฟฟ้ า - การตอ่ เซลลไ์ ฟฟ้ าแบบอนุกรม 1234 1 212 - การต่อเซลลไ์ ฟฟ้ าแบบขนาน - การตอ่ เซลลไ์ ฟฟ้ าแบบผสม 4 - กาลงั ไฟฟ้ า พลงั งานไฟฟ้ า // / / - ปฏิบตั ิการทดลองเซลลไ์ ฟฟ้ า // / / กาลงั ไฟฟ้ า พลงั งานไฟฟ้ า // / / // / / // / / // / / // / / 4 วงจรไฟฟ้ าแบบอนุกรม 4 - การต่อวงจรไฟฟ้ าแบบอนุกรม / / // // - คุณสมบตั ิของวงจรอนุกรม // // // - การคานวณในวงจรอนุกรม // - ปฏิบตั ิการทดลองวงจรไฟฟ้ า / / แบบอนุกรม 5 วงจรไฟฟ้ าแบบขนาน 4 - การตอ่ วงจรไฟฟ้ าแบบขนาน - คุณสมบตั ิของวงจรขนาน // // - การคานวณในวงจรขนาน // // // //
- ปฏิบตั ิการทดลองวงจรไฟฟ้ า // / // แบบขนาน ระดับพฤตกิ รรมทตี่ ้องการ หน่วยที่ ช่ือหน่วย/หวั ข้อย่อย พทุ ธิพสิ ัย ทกั ษะ จติ จานวนคาบ 6 พสิ ัย พสิ ัย (ชม.) 1234 1 212 วงจรไฟฟ้ าแบบผสม 4 - การต่อวงจรไฟฟ้ าแบบผสม / / / - การต่อวงจรไฟฟ้ าแบบผสม / / / อนุกรม – ขนาน - การตอ่ วงจรไฟฟ้ าแบบผสมขนาน / / / // - อนุกรม - การคานวณในวงจรไฟฟ้ าแบบ / / / // ผสม - ปฏิบตั ิการทดลองวงจรไฟฟ้ าแบบ / / // ผสม 7 วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้ าและวงจรแบ่ง 4 กระแสไฟฟ้ า - วงจรแบ่งแรงดนั ไฟฟ้ าท่ีไมม่ ี / / // โหลด / // / // - วงจรแบ่งแรงดนั ไฟฟ้ าที่มีโหลด / / / // // - วงจรแบ่งกระแสไฟฟ้ า // - ตวั อยา่ งการคานวณ // - ปฏิบตั ิการทดลองแบ่ง // แรงดนั ไฟฟ้ าและวงจรแบ่ง กระแสไฟฟ้ า
หน่วยท่ี ช่ือหน่วย/หัวข้อย่อย ระดับพฤติกรรมทต่ี ้องการ พทุ ธิพสิ ัย ทกั ษะ จติ จานวนคาบ 8 การแปลงวงจรสตาร์ เดลต้าและวงจร พสิ ัย พสิ ัย (ชม.) บริดจ์ - การแปลงวงจรสตาร์ เดลตา้ 1234 1 212 - วงจรบริดจส์ ภาวะสมดุล - วงจรบริดจส์ ภาวะไม่สมดุล 4 - ตวั อยา่ งการคานวณ - ปฏิบตั ิการทดลองวงจรสตาร์ // / / เดลตา้ และวงจรบริดจ์ // / / // / / // / / // / / 9 กฎของเคอร์ชอฟฟ์ 12 4 - กฎกระแสไฟฟ้ าของเคอร์ชอฟฟ์ / / // // - เมทริกซ์และดีเทอร์มิแนนท์ / / // / // - กฎแรงดนั ไฟฟ้ าของเคอร์ชอฟฟ์ / / // - ตวั อยา่ งการแกป้ ัญหาโจทย์ // // // - ปฏิบตั ิการทดลองกฎของเคอร์ / / // // ชอฟฟ์ 10 ทฤษฎกี ระแสเมซ // - ทฤษฎีกระแสเมช // - สมมติกระแสไหลวน // - สมการกระแส // - ตวั อยา่ งการคานวณ ทฤษฎี
กระแสเมช // // - ปฏิบตั ิทดลองตามทฤษฎีกระแส เมช หน่วยท่ี ช่ือหน่วย/หวั ข้อย่อย ระดบั พฤตกิ รรมทต่ี ้องการ พทุ ธิพสิ ัย ทกั ษะ จติ จานวนคาบ พสิ ัย พสิ ัย (ชม.) 1234 1 212 11 แรงดนั โหนด 4 - โหนด // // // - โหนดหลกั / / // / // - โหนดเปรียบเทียบ // / // / // - แรงดนั โหนด // - ตวั อยา่ งการแกป้ ัญหาโจทย์ // - ปฏิบตั ิการทดลองตามวธิ ีแรงดนั / / โนด 12 ทฤษฎกี ารวางซ้อน 4 - ทฤษฎีการวางซอ้ น // // // - การใชท้ ฤษฎีการวางซอ้ น // // วเิ คราะห์วงจร // - ตวั อยา่ งการคานวณ โดยใชท้ ฤษฎี / / การวางซอ้ น - ปฏิบตั ิการทดลองทฤษฎีการวาง / / ซอ้ น
หน่วยที่ ชื่อหน่วย/หวั ข้อย่อย ระดับพฤติกรรมทต่ี ้องการ พทุ ธิพสิ ัย ทกั ษะ จติ จานวนคาบ พสิ ัย พสิ ัย (ชม.) 1234 1 212 13 ทฤษฎเี ทเวนิน 4 - หลกั การทฤษฎีของเทเวนิน /// / / - แรงดนั เทเวนิน // / - ความตา้ นทานเทเวนิน /// / / - วงจรสมมูลยเ์ ทเวนิน /// / / - คานวณหาคา่ ปริมาณทางไฟฟ้ า / / / / / ดว้ ยทฤษฎีของเทเวนิน - ปฏิบตั ิการทดลองทฤษฎีของเท / / / / / เวนิน 14 ทฤษฎีนอร์ตัน 4 4 - หลกั การทฤษฎีของนอร์ตนั // / // / // - กระแสและความตา้ นทานนอร์ / / / // / // ตนั // - วงจรสมมูลนอร์ตนั // // - หาค่าปริมาณทางไฟฟ้ าดว้ ยทฤษฎี / / ของนอตนั - ปฏิบตั ิการทดลองทฤษฎีของนอ ตนั 15 การถ่ายโอนกาลงั ไฟฟ้ าสูงสุด - การถ่ายโอนกาลงั งานไฟฟ้ าสูงสุด / / - กราฟของกาลงั ไฟฟ้ า //
- การแกป้ ัญหาวงจรไฟฟ้ า // // - ปฏิบตั ิการทดลองวงจรการถ่ายโอน // // กาลงั ไฟฟ้ าสูงสุด หมายเหตุ พทุ ธิพสิ ัย 1 = ความจา 2 = ความเขา้ ใจ 3 = การนาไปใช้ 4 = สูงกวา่ จิตพิสัย 1 = การประเมินคุณค่า 2 = การจดั ระบบ ทกั ษะพิสัย 1 = การทาตามแบบ 2 = ทาจากการคิดวิเคราะห์
แผนการสอน หน่วยที่ 1 สอนคร้ังที่ 1 ชื่อวชิ า วงจรไฟฟ้ ากระแสตรง ชั่วโมง 4 ชื่อหน่วย แหล่งกาเนิดไฟฟ้ า
สาระสาคญั แหล่งกาเนิดไฟฟ้ าเรียกวา่ พาวเวอร์ ซอร์ส (Power Source) เป็นหวั ใจหลกั สาคญั ในการ ทางานของเครื่องใชไ้ ฟฟ้ าตา่ ง ๆ ซ่ึงจะตอ้ งจ่ายกระแสไฟฟ้ า ไปยงั อุปกรณ์ไฟฟ้ าต่าง ๆ เช่น หลอดไฟฟ้ า วทิ ยุ โทรทศั น์ พดั ลม มอเตอร์ และเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้ าอื่น ๆ แหล่งกาเนิดไฟฟ้ ามีท้งั ไฟฟ้ าสถิตและไฟฟ้ ากระแส ไฟฟ้ ากระแสยงั แบง่ เป็นไฟฟ้ ากระแสตรง กระแสสลบั จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์ทวั่ ไป 1. เพ่ือใหร้ ู้จกั แหล่งกาเนิดไฟฟ้ า 2. เพอ่ื ใหร้ ู้จกั ไฟฟ้ าสถิตและไฟฟ้ ากระแส 3. เพอ่ื ศึกษา ไฟฟ้ ากระแสตรงและแหล่งกาเนิดไฟฟ้ ากระแสตรง 4. ปฏิบตั ิการวดั และทดสอบแหล่งกาเนิดไฟฟ้ า จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. บอกแหล่งกาเนิดไฟฟ้ าไดถ้ ูกตอ้ ง 2. อธิบายลกั ษณะไฟฟ้ าสถิตและไฟฟ้ ากระแสไดถ้ ูกตอ้ ง 3. อธิบาย ลกั ษณะไฟฟ้ ากระแสตรงและแหล่งกาเนิดไฟฟ้ ากระแสตรง 4. ต่อวงจรและทดสอบแหล่งกาเนิดไฟฟ้ าไดถ้ ูกตอ้ ง เนือ้ หาสาระ หน่วยท่ี 1 ชื่อหน่วยการสอน แหล่งกาเนิดไฟฟ้ า
1.1 แหล่งกาเนิดไฟฟ้ า พลงั งานไฟฟ้ า ได้ โดยอาศยั พลงั งานรูปอ่ืน 6 รูป อนั ไดแ้ ก่ แรงเสียดทาน ความกดดนั ความร้อน แสง แมเ่ หลก็ และปฏิกิริยาเคมีซ่ึงจะไดก้ ล่าวถึงรายละเอียดต่อไป ดงั น้ี 1.เกดิ จากการเสียดทานขดั สี การเกิดไฟฟ้ าชนิดน้ีเกิดจากการนาสาร2ชนิดขดั สีกนั สารที่เสียอิเลก็ ตรอน ไปมีประจุบวก ส่วนสารท่ีไดร้ ับอิเล็กตรอนจะเกิดประจุลบและบนสารท้งั สองจะมีประจุไฟฟ้ าสถิต เกิดข้ึน วตั ถุทุกชนิดเม่ือมีประจุไฟฟ้ าสถิตจะมีแรงดึงดูดซ่ึงกนั และกนั เสมอ ถา้ เราวางประจุตา่ งกนั ใหต้ ิดกนั อิเลก็ ตรอนบนประจุลบจะวง่ิ (Discharge) เขา้ หาประจุบวกทนั ที ถา้ วตั ถุน้นั มีประจุเป็นจานวนมาก อิเลก็ ตรอนจะกระโดดจากแท่งลบสู่แทง่ บวกก่อนวตั ถุจะสมั ผสั กนั ลกั ษณะเช่นน้ีจะทาใหเ้ กิดการอาร์ค (Arc) ของไฟฟ้ าข้ึนเช่นเดียวกบั ไฟฟ้ าสถิตที่เกิดข้ึนตามธรรมชาติ เช่น ฟ้ าแลบ และฟ้ าผา่ 2. เกดิ จากแรงกดอดั เมื่อออกแรงกดบนสารบางชนิด แรงที่กด ผา่ นเน้ือสารเขา้ ถึงอะตอมและไล่ อิเล็กตรอนหลุดจากวงโคจรไปตามทิศทางของแรง อิเล็กตรอนจะวงิ่ จากผดิ ดา้ นหน่ึงของสสารไปสู่ผวิ ลึก อีกดา้ นหน่ึง ดงั น้นั ประจุบวกและลบก็จะเกิดข้ึนผดิ ท้งั สองดา้ น เม่ือคลายแรงกดลงอิเล็กตรอนจะวงิ่ กลบั สู่วงจรเดิมของมนั การตดั ชิ้นสารพวกน้ีดว้ ยวธิ ีการบางอยา่ งสามารถท่ีจะควบคุมพ้นื ผวิ ที่จะเกิดประจุได้ สารบางอยา่ งจะมีปฏิกิริยาเม่ือไดร้ ับแรงกดงอโคง้ สารบางอยา่ งก็มีปฏิกิริยากบั แรงบิด บิโซอเิ ลก็ ทริดซิต์ เป็นชื่อใชเ้ รียกการเกิดประจุไฟฟ้ าโดยใชแ้ รงกดอดั บิโซเป็นคาท่ีมาจากภาษากรีก แปลวา่ ความดนั สารที่จะเกิดประจุไฟฟ้ าเมื่อถูกแรงกดน้นั ไดแ้ ก่ ผลึกของสารบางชนิด เช่น หินควอตซ์ แบเรียมติตาเนท หินควอตซ์ หินเข้ียวหนุมาน ทมู าลิน และเกลือโรเซล เป็นตน้ สารเหล่าน้ีจะมีคุณสมบตั ิ พิเศษ คือ เมื่อไดร้ ับแรงกดอดั จะทาใหเ้ กิดไฟฟ้ า ถา้ เรานาผลึกดงั กล่าวมาวางระหวา่ งแผน่ โลหะ 2 แผน่ แลว้ ออกแรงกดจะเห็นไดช้ ดั จากเคร่ืองวดั กระแสไฟฟ้ าวา่ มีไฟฟ้ าเกิดข้ึนไฟฟ้ าท่ีเกิดข้ึนจะมากหรือนอ้ ย
ข้ึนอยกู่ บั แรงท่ีกดผลึกน้นั พลงั งาน ไฟฟ้ าท่ีไดจ้ ากความกดอดั น้ีจะมีกาลงั ต่ามากจึงใชไ้ ดก้ บั งานกาลงั ต่า เช่น ไมโครโฟนผลึก (Crystal Microphone) หวั เขม็ แผน่ เสียง (Phono Cardridges) และอุปกรณ์โซนาร์ 3. เกดิ จากความร้อน วธิ ีน้ีใชก้ ารเผาข้วั โลหะใหร้ ้อนโดยใชอ้ ุปกรณ์ที่เรียกวา่ เทอร์ โมคัปเปิ ล ซ่ึง ประกอบดว้ ยลวดทองแดง และลวดเหลก็ ซ่ึงปลายขา้ งหน่ึงย้าปลายใหต้ ิดกนั จะทาใหเ้ กิดกระแสไฟฟ้ า จานวนกระแสไฟฟ้ าจะมากหรือนอ้ ยข้ึนอยกู่ บั ความแตกต่างของอุณหภมู ิระหวา่ งโลหะท้งั สอง เทอร์โมคปั เปิ ล ใชง้ านหลายอยา่ งโดยเฉพาะกบั วงจรไฟฟ้ ากาลงั งานต่า ๆ เช่น ใชเ้ ป็นตวั วดั ความ แตกต่างของอุณหภูมิโดยท่ีแรงดนั ไฟฟ้ าท่ีเกิดจากประจุบนโลหะท้งั สองจะมากหรือนอ้ ยข้ึนอยกู่ บั อุณหภูมิของปลายชิ้นโลหะ2ชนิดซ่ึงความแตกต่างของอุณหภมู ิมีค่ามากแรงดนั ไฟฟ้ าที่เกิดข้ึนก็ยงิ่ มีค่า สูงจึงนาเทอร์โมคปั เปิ ลไปทาเป็นตวั ตรวจจบั อุณหภูมิในงานอุตสาหกรรม 1. เกิดจากแสง แสงสวา่ งเป็นพลงั งานรูปหน่ึง ไฟฟ้ าจากแสงไดถ้ ูกคน้ พบโดยนกั ฟิ สิกซ์ชาว เยอรมนั ช่ือไฮนริช รูคอลฟ์ เฮิร์ท แสงประกอบข้ึนจากอนุภาคพลงั งานเลก็ ๆ ที่เรียกวา่ โฟ ตอน เม่ือโฟตอนในลาแสงกระทบวตั ถุ มนั จะคลายพลงั งานออกมา สาหรับสารบางชนิด พลงั งานจากโฟตอนสามารถทาใหอ้ ะตอมปล่อนอิเลก็ ตรอนออกมาได้ สารพวกน้ีไดแ้ ก่ โปแทสเซียม โซเดียมลิเทียม ซิลิเนียม เจอร์มิเนียม แคดเมียร์ และตะกว่ั ซลั ไฟต์ โซลาร์ เซลล์ เมื่อไดร้ ับแสงสวา่ งมาก ๆ จะกาเนิดแรงดนั ไฟฟ้ าไดจ้ านวนมาก และเม่ือแสงสวา่ งมี ความเขม้ ขน้ ลดลง แรงดนั ไฟฟ้ าที่เกิดข้ึนจะลดลงดว้ ย
การใชเ้ ซลลแ์ สดงอาทิตยเ์ พื่อกาเนิดไฟฟ้ าน้ีมีลกั ษณะการใชง้ านจะมีแผงของเซลลแ์ สงอาทิตยข์ นาดใหญ่ เป็นตวั กลางพลงั งานแสงอาทิตยเ์ ป็นพลงั งานไฟฟ้ าและเก็บพลงั งานไฟฟ้ าท่ีไดส้ ะสมไวใ้ นแบตเตอรี่แลว้ ผา่ นเครื่องแปลงกระแสไฟฟ้ าเป็นไฟฟ้ าที่ใชง้ านไดโ้ ดยส่งไปตามเสาส่ง ไฟฟ้ า 5. ปฎกิ ริยาทางเคมี 5.1. นกั วทิ ยาศาสตร์ชาวอิตาเล่ียน ชื่อ อเลซซานโดร โวลตา ไดท้ าการทดลองและคน้ พบวา่ การนา สารละลายอิเล็กโตรไลด์ ซ่ึงประกอบดว้ ย กรดซลั ฟูริกและน้า ใส่ไวใ้ นโถแกว้ แลว้ นาแทง่ ทองแดง จานวน 1 แทง่ กบั สังกะสี จานวน 1 แทง่ จุ่มลงในสารละลายดงั กล่าว 5.2.เม่ือจุม่ โลหะ2ชนิดในสารละลายอิเลก็ โตรไลตแ์ ลว้ จะทาใหเ้ กิดประจุไฟฟ้ าบวกข้ึนที่แท่ง ทองแดง และเกิดประจุไฟฟ้ าลบข้ึนที่แท่งสงั กะสี 5.3.อิเล็กตรอนจะถูกผลกั ใหว้ งิ่ ผา่ นอิเล็กโตรไลทจ์ ากแผน่ หน่ึงถึงแผน่ หน่ึง ทาใหแ้ ผน่ หน่ึงขาด อิเล็กตรอนและกลายเป็นข้วั บวก โลหะแผน่ ลบจะกร่อนลงไปทุกทีและท่ีข้วั บวกจะเป็นฟองแกส๊ ผดุ ข้ึน ในท่ีสุดแผน่ ลบกจ็ ะละลายหายไปหมด เซลลก์ ็หมดอายผุ ลิตประจุไฟฟ้ าไมไ่ ด้ นอกจากจะเปลี่ยนแผน่ ลบ ใหม่ 5.4.หลกั การน้ีใชใ้ นถ่านไฟฉายและแบตเตอรี่ เมื่อทาการตรวจสอบโดยการวดั ค่าความต่างศกั ยร์ ะ
ยะห่างแท่งทองแดงกบั แท่งสังกะสี ปรากฎวา่ มีคา่ ประมาณ 1.5 โวลต์ ดงั น้นั จึงนาเอาหลกั การเกิดประจุ ไฟฟ้ าจากปฏิกิริยาทางเคมีน้ี นามาเป็นหลกั การเบ้ืองตน้ ของแบตเตอรี่ 6. เกดิ จากอานาจแม่เหลก็ ไมเคิล ฟาราเดย์ นกั วทิ ยาศาสตร์ชาวองั กฤษ เป็นผทู้ าการทดลองคน้ พบ หลกั การของแรงเคล่ือนไฟฟ้ าเหน่ียวนา กล่าวคือ ถา้ นาเอาลวดตวั นาไฟฟ้ าใหเ้ คล่ือนท่ีตดั ผา่ น สนามแม่เหล็กหรือเส้นแรงแมเ่ หลก็ เคลื่อนที่ผา่ นลวดตวั นา จะทาใหเ้ กิดการเคล่ือนที่ของอิเล็กตรอนใน ลวดตวั นา จึงมีผลทาใหเ้ กิดความตา่ งศกั ยข์ ้ึนระหวา่ งปลาย ท้งั สองของลวดตวั นา จะทาใหเ้ กิด แรงดนั ไฟฟ้ าท่ีปลายท้งั 2 ขา้ ง ของลวดตวั นาน้นั เน่ืองจากแรงดนั ไฟฟ้ าที่เกิดจากการเหน่ียวนาระหวา่ ง สนามแม่เหลก็ กบั เส้นลวดตวั นาจึงเรียกวา่ แรงเคล่ือนไฟฟ้ าเหนี่ยวนาหรือแรงดนั ไฟฟ้ าเหน่ียวนา 1.2 ไฟฟ้ าสถิต ไฟฟ้ าสถิต คือ ไฟฟ้ าท่ีเกิดจากการเสียดสีเมื่อเอาวตั ถุบางอยา่ งมาถูกนั จะทาใหเ้ กิดพลงั งานข้ึน ซ่ึงพลงั งานน้ีสามารถ ดูดเศษกระดาษหรือฟางขา้ วเบาๆได้ เช่น เอาแทง่ ยางแขง็ ถูกบั ผา้ สกั หลาด หรือครั่ง ถูกบั ผา้ ขนสัตว์ พลงั งานท่ีเกิดข้ึน เหล่าน้ีเรียกวา่ ประจุไฟฟ้ าสถิต เม่ือเกิดประจุไฟฟ้ าแลว้ วตั ถุที่เกิด ประจุไฟฟ้ าน้นั จะเกบ็ ประจุไว้ แตใ่ นท่ีสุดประจุไฟฟ้ า จะถ่ายเทไปจนหมด วตั ถุท่ีเกบ็ ประจุไฟฟ้ าไวน้ ้นั จะคายประจุอยา่ งรวดเร็วเมื่อตอ่ ลงดิน ในวนั ท่ีมีอากาศแห้งจะทาใหเ้ กิด ประจุไฟฟ้ าไดม้ าก ซ่ึงทาให้ สามารถดูดวตั ถุจากระยะทางไกลๆไดด้ ี ประจุไฟฟ้ าท่ีเกิดมีอยู่ 2 ชนิด คือ ประจุบวกและ ประจุลบ คุณสมบตั ิของประจุไฟฟ้ า คือ ประจุไฟฟ้ าชนิดเดียวกนั จะผลกั กนั ประจุไฟฟ้ าต่างชนิดกนั จะดูดกนั
1.3 ไฟฟ้ ากระแส ไฟฟ้ ากระแสคือ การไหลของอิเล็กตรอนภายใน ตวั นาไฟฟ้ าจากท่ีหน่ึงไปอีกที่หน่ึงเช่น ไหลจาก แหล่งกาเนิดไฟฟ้ าไปสู่แหล่ง ท่ีตอ้ งการใชก้ ระ แสไฟฟ้ า ซ่ึงก่อใหเ้ กิด แสงสวา่ ง เมื่อกระแส ไฟฟ้ าไหล ผา่ นลวด ความตา้ นทานสูงจะก่อให้ เกิดความร้อน เราใชห้ ลกั การเกิดความร้อน เช่นน้ีมาประดิษฐ์ อุปกรณ์ไฟฟ้ า เช่น เตาหุงตม้ เตารีดไฟฟ้ า เป็นตน้ 1.4 ไฟฟ้ ากระแสตรง เป็นไฟฟ้ าที่มีทิศทางการไหลไปทางเดียวตลอดระยะเวลาที่วงจรไฟฟ้ าปิ ดกล่าวคือกระแสไฟฟ้ าจะ ไหลจากข้วั บวก ภายในแหล่งกาเนิด ผา่ นจากข้วั บวกจะไหลผา่ นตวั ตา้ นหรือโหลดผา่ นตวั นาไฟฟ้ าแลว้ ยอ้ นกลบั เขา้ แหล่งกาเนิดท่ีข้วั ลบ วนเวยี นเป็ นทางเดียวเช่นน้ีตลอดเวลา การไหลของไฟฟ้ ากระแสตรง เช่นน้ี แหล่งกาเนิดที่เรารู้จกั กนั ดีคือ ถ่าน-ไฟฉาย ไดนาโม ดีซี เยนเนอเรเตอร์ เป็นตน้ กจิ กรรมการเรียนรู้
1. แนะนาตวั ครูผูส้ อน ผูเ้ รียน ชื่อ วิชา รหัสวิชา จุดประสงค์ของรายวิชา คาอธิบายรายวิชา เกณฑก์ ารประเมินผลทฤษฎี/ปฏิบตั ิ 2. นาเขา้ สู่บทเรียนเก่ียวกบั แหล่งกาเนิดไฟฟ้ า/ประกอบการฉายแผน่ ใส 3. อธิบาย แหล่งกาเนิดไฟฟ้ า ไฟฟ้ าสถิต ไฟฟ้ ากระแส ไฟฟ้ ากระแสตรง ตอบคาถาม/ซกั ถาม ปัญหา 4. ถามเก่ียวกบั ไฟฟ้ าสถิต ไฟฟ้ ากระแสมีลกั ษณะต่างกนั อยา่ งไร 5. สรุป ตอบขอ้ สงสยั คน้ ควา้ เพิ่มเติม 6. ดูแลควบคุมการจดั แบ่งกลุ่ม 7. แจกใบงาน/ใหค้ าแนะนาในการจดั กิจกรรมกลุ่ม 8. มอบหมายงานใหน้ กั เรียนไปศึกษาในหน่วยท่ี 2 9. ประเมินผลการเรียนของนกั ศึกษาในหน่วยที่1จากแบบทดสอบและใบประเมิน 10. ครูดูแลการทาความสะอาดเรียบร้อยและปิ ดหอ้ งปฏิบตั ิงานเม่ือไม่ใช้ 11. ครูบนั ทึกขอ้ มลู เกี่ยวกบั กิจกรรมการเรียนหลงั การสอนเพ่ือใหแ้ กไ้ ขปัญหาท่ีอาจเกิดข้ึนกบั กลุ่มอ่ืน ๆ ต่อไปหรือความรู้ใหมท่ ี่เกิดข้ึน งานท่ีมอบหมายหรือกจิ กรรม (ก่อนเรียน, ขณะเรียน,หลงั เรียน)
ก่อนเรียน ใหศ้ ึกษาและฟังการอธิบาย มอบหมายงานกลุ่มมารายงานหนา้ ช้นั เรียนเก่ียวกบั แหล่งกาเนิดไฟฟ้ า ขณะเรียน ใหน้ กั เรียนมารายงานหนา้ ช้นั เรียนเกี่ยวกบั แหล่งกาเนิดไฟฟ้ า หลงั เรียน สรุปเน้ือหาจากที่นกั เรียนไดม้ ารายงานหนา้ ช้นั เรียนและประเมินผล สื่อการเรียนการสอน
จากแผนการสอน ได้กาหนดส่ือการสอนทใี่ ช้ให้สอดคล้องกบั เนือ้ หาหรือวตั ถุประสงค์ไว้ดงั นี้ หน่วยการสอน ประเภทสื่อการสอน รหสั ของส่ือ ( ส่ิงพมิ พ์, โสตทศั น์, หุ่นจาลองหรือของจริง ) 1 หนงั สืออา้ งอิง ชยั วฒั น์ ลิ้มพรวจิ ิตรวไิ ล , สมเกียรติ พ่ึงอาตม์ และ จิราภรณ์ จนั แดง,สมศกั ด์ิ แสงศรี.วงจรไฟฟ้ ากระแสตรง. : ศนู ยส์ ่งเสริม-อาชีวะ, 2546. ส่ือ - ซีดีการบรรยาย - แบบฝึกหดั
การประเมนิ ผล จากแผนการสอน วดั ผลประเมนิ ผล ก่อนการเรียน ขณะเรียน และหลงั เรียน วธิ กี าร โจทย์ปัญหาหรือหลกั เกณฑ์ ก่อนเรียน 1.สังเกตพฤติกรรมการปฏิบตั ิงานรายบุคคล/รายกลุ่ม ขณะเรียน 2.สงั เกตและประเมินผลพฤติกรรมดา้ นคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1.ใหน้ กั เรียนมีส่วนร่วมในการอธิบายโดยการสาธิตหนา้ ช้นั เรียน 2.ประเมินตามแบบพฤติกรรมการปฏิบตั ิงานรายบุคคล/รายกลุ่ม หลงั เรียน 1.ประเมินตามแบบพฤติกรรมการปฏิบตั ิงานรายบุคคล/รายกลุ่ม 2.ประเมินตามแบบพฤติกรรมดา้ นคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ บนั ทึกหลงั การสอน
หลงั จากได้ทาการสอนเสร็จเรียบร้อยแล้ว ควรพจิ ารณาสรุปประเมนิ ผลการสอนคร้ังนี้โดยทา เคร่ืองหมาย / ลงในช่อง ใช่ หรือ ไม่ใช่ หรือบนั ทกึ ให้คาแนะนาเพม่ิ เตมิ กไ็ ด้ พร้อมรายงานตามลาดบั ข้นั เพอ่ื ได้รับทราบ รายการหวั ข้อประเมิน ใช่ ไม่ใช่ หมายเหตุ 1. ทาการสอนไดค้ รบตามวตั ถุประสงค์ / 2. นาเขา้ สู่บทเรียนตรงตามท่ีกาหนด / 3. สามารถดาเนินการสอนตามแผนการสอน / 4. ใชส้ ่ือการสอนครบตามแผนการสอน / 5. ใชค้ าถามในระหวา่ งการสอนไดค้ รบ / 6. อื่น ๆ (โปรดระบุ)......................................... บนั ทกึ เพมิ่ เติม ( ผลการใช้แผนการสอน, ผลการเรียนของนักเรียน, ผลการสอนของครู ) ..... .................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................................
แผนการสอน หน่วยที่ 3 ชื่อวชิ า วงจรไฟฟ้ ากระแสตรง สอนคร้ังที่ 3 ช่ือหน่วย เซลลไ์ ฟฟ้ า กาลงั ไฟฟ้ า พลงั งานไฟฟ้ า ช่ัวโมง 4 สาระสาคญั การต่อเซลลไ์ ฟฟ้ า หมายถึง การนาเซลลไ์ ฟฟ้ ามาตอ่ เขา้ ดว้ ยกนั โดยปกติเซลลไ์ ฟฟ้ า เช่น ถ่านไฟฉายจะมีค่าแรงดนั 1.5 โวลท์ การนาเอาเซลลไ์ ฟฟ้ ามาตอ่ รวมกนั เขา้ จะทาใหแ้ รงเคลื่อนไฟฟ้ า และ กระแสไฟฟ้ าเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม มีวธิ ีการนาเซลลไ์ ฟฟ้ ามาต่อ 3 วธิ ี 1.การตอ่ แบบอนุกรม 2.การต่อ แบบขนาน 3.การต่อแบบผสม กาลงั ไฟฟ้ า หมายถึงผลคูณระหวา่ งแรงดนั ไฟฟ้ ากบั กระแสไฟฟ้ าท่ีไหลในวงจร มีหน่วยเป็นวตั ต์ พลงั งานไฟฟ้ า หมายถึงกาลงั ไฟฟ้ าที่ใชไ้ ปต่อหน่วยเวลา มีหน่วยเป็นวตั ต-์ ชว่ั โมง จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์ทว่ั ไป 1.เพ่อื ศึกษาการต่อเซลลไ์ ฟฟ้ าแบบต่างๆ 2. เพอ่ื ศึกษากาลงั ไฟฟ้ า 3. เพ่ือศึกษาพลงั งานไฟฟ้ า 4.เพอ่ื ใหม้ ีกิจนิสยั ในการคน้ ควา้ 5.เพ่ือปฎิบตั ิการต่อเซลลไ์ ฟฟ้ า กาลงั ไฟฟ้ า และพลงั งานไฟฟ้ า จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1.อธิบายการต่อเซลลไ์ ฟฟ้ าแบบอนุกรม 2.อธิบายการตอ่ เซลลไ์ ฟฟ้ าแบบขนาน 3.อธิบายการตอ่ เซลลไ์ ฟฟ้ าแบบผสม 4. คาณวนกาลงั ไฟฟ้ าได้ 5. คานวณพลงั งานไฟฟ้ าได้ 6.ตอ่ เซลลไ์ ฟฟ้ าแบบต่าง ๆ ไดถ้ ูกตอ้ ง
เนือ้ หาสาระ หน่วยท่ี 3 ช่ือหน่วยการสอน เซลลไ์ ฟฟ้ า กาลงั ไฟฟ้ า พลงั งานไฟฟ้ า เซลล์ไฟฟ้ า เซลลไ์ ฟฟ้ า ( Electric Cell )เป็นแหล่งจา่ ยไฟฟ้ าชนิดหน่ึง ไฟฟ้ าท่ีไดจ้ ากเซลลไ์ ฟฟ้ า (Electric Cell ) จะเป็นไฟฟ้ ากระแสตรง เช่นถ่านไฟฉาย แบตเตอร่ี มีสัญลกั ษณ์ดงั รูปท่ี 1 a. Cell b. Battery รูปท่ี 1 สญั ลกั ษณ์เซลลไ์ ฟฟ้ าและแบตเตอรี่ การต่อเซลล์ไฟฟ้ า เซลลไ์ ฟฟ้ า( Electric Cell ) หน่ึงเซลลจ์ ะใหแ้ รงดนั ไฟฟ้ า ( Voltage ) และกระแสไฟฟ้ า ( Current ) ค่าหน่ึงคงท่ี ถา้ โหลดตอ้ งการใชแ้ รงดนั ไฟฟ้ า และกระแสไฟฟ้ า มากกวา่ เซลลห์ น่ึงเซลลจ์ ะจา่ ย ใหไ้ ด้ จึงตอ้ งนาเซลลไ์ ฟฟ้ าหลายๆเซลลม์ าต่อเขา้ ดว้ ยกนั - ถา้ โหลดตอ้ งการแรงดนั ไฟฟ้ ามากกวา่ เซลลห์ น่ึงเซลลจ์ ะจ่ายใหไ้ ดจ้ ะตอ้ งนาเซลลไ์ ฟฟ้ าน้นั มาตอ่ กนั แบบอนุกรม ( Series Cell) - ถา้ โหลดตอ้ งการกระแสมากข้ึน จะตอ้ งนาเซลลไ์ ฟฟ้ ามาตอ่ แบบขนาน ( Parallel Cell ) - ถา้ โหลดตอ้ งการท้งั แรงดนั ไฟฟ้ าและกระแสไฟฟ้ ามากกวา่ เซลลห์ น่ึงเซลลจ์ ะจ่ายใหไ้ ด้ จะตอ้ งนาเซลลไ์ ฟฟ้ ามาต่อกนั แบบผสม ( Series Cell - Parallel Cell )
การต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบอนุกรม ( Series Cell ) การต่อเซลลไ์ ฟฟ้ าแบบอนุกรม เรียกการตอ่ เซลลไ์ ฟฟ้ าแบบ “ซีร่ีส์” (Series ) คือการนาเอา เซลลไ์ ฟฟ้ ามาตอ่ เรียงกนั โดยนาข้วั ของเซลลไ์ ฟฟ้ าท่ีมีข้วั ต่างกนั มาต่อเขา้ ดว้ ยกนั แลว้ นาเอาข้วั ท่ีเหลือไป ใชง้ าน ในการที่จะนาเซลลไ์ ฟฟ้ ามาตอ่ กนั แบบอนุกรม ( Series Cell) ควรเป็ นเซลลไ์ ฟฟ้ า ที่มีขนาด กระแสไฟฟ้ าเทา่ กนั ผลการตอ่ เซลลแ์ บบอนุกรม จะทาใหแ้ รงดนั ไฟฟ้ ารวมเพมิ่ ข้ึนแตก่ ระแสไฟฟ้ าจะไมเ่ พิ่ม กระแสรวมของวงจรมีคา่ เท่ากบั กระแสของเซลลท์ ี่ต่าสุด ดงั น้นั จึงไมค่ วรนาถ่านไฟฉายเก่ามาใชง้ าน ร่วมกบั ถ่านไฟฉายใหม่ เพราะถ่านไฟเก่าจะเป็นเหตุใหก้ ระแสในวงจรลดนอ้ ยลงได้ a .รูปการตอ่ เซลลไ์ ฟฟ้ า b.สญั ลกั ษณ์ รูปท่ี 2 การตอ่ เซลลไ์ ฟฟ้ าแบบอนุกรม 1 .แรงเคลื่อนไฟฟ้ าจะเพิม่ ข้ึน จากสูตร ET = E1+ E2+E3………..+En แทนค่า ET= 1.5 +1.5+1.5 แรงเคล่ือนไฟฟ้ ารวม ( ET ) = 4.5 V 2. กระแสไฟฟ้ ารวม จะเท่าเซลลไ์ ฟฟ้ าท่ีมีกระแสนอ้ ยท่ีสุด กระแสไฟฟ้ ารวม = 0.5 Amp
การต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบขนาน ( Parallel cell ) การต่อเซลลไ์ ฟฟ้ าแบบขนานคือ การนาเอาข้วั ของเซลลไ์ ฟฟ้ าแตล่ ะเซลลท์ ี่เหมือนกนั มาต่อเขา้ ดว้ ยกนั แลว้ นาเอาข้วั ของเซลลท์ ี่ตอ่ ขนานไปใชง้ าน การต่อเซลลไ์ ฟฟ้ าแบบขนาน ( Parallel cell ) เซลลไ์ ฟฟ้ าแต่ละเซลลต์ อ้ งมีคา่ แรงดนั ไฟฟ้ า ( Voltage ) และความตา้ นทานภายในเซลลไ์ ฟฟ้ าแตล่ ะ เซลลเ์ ท่ากนั การตอ่ แบบขนานผลกค็ ือแรงเคลื่อนไฟฟ้ ารวมเทา่ กบั แรงเคล่ือนเคล่ือนเซลลท์ ่ีต่าสุดแต่ กระแสไฟฟ้ ารวมจะเพ่ิมสูงข้ึน คือเท่ากบั กระแสทุกเซลลร์ วมกนั รูปท่ี 3 แสดงการตอ่ เซลลไ์ ฟฟ้ าแบบขนาน 1. แรงเคล่ือนไฟฟ้ าจะเทา่ เดิมหรือเท่ากบั แรงเคล่ือนไฟฟ้ าเซลลท์ ี่นอ้ ยที่สุด แรงเคลื่อนไฟฟ้ ารวม ET = 1.5 V 2 .กระแสจะเพม่ิ สูงข้ึน จากสูตร IT = I1+I2+I3……….In กระแสไฟฟ้ ารวม ( IT ) = 0.5 +0.5+0.5+0.5 =2A
การต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบผสม ในการต่อเซลลไ์ ฟฟ้ าแบบผสม เซลลไ์ ฟฟ้ าแตล่ ะเซลลท์ ี่จะนามาตอ่ จะตอ้ งมี แรงดนั ไฟฟ้ า กระแสไฟฟ้ า และความตา้ นทานภายในเซลลเ์ ท่ากนั ทุกตวั การต่อเซลลไ์ ฟฟ้ าแบบผสมจะมีการตอ่ อยู่ 2 วธิ ี คือ แบบอนุกรม-ขนาน และแบบขนาน-อนุกรม ( a )การต่อเซลลแ์ บบอนุกรม ( b ) การต่อเซลลไ์ ฟฟ้ าแบบผสม รูปที่ 4 การตอ่ เซลลอ์ นุกรมและผสม จากรูปท่ี 4 (a) เป็นการต่อเซลลไ์ ฟฟ้ าแบบอนุกรมจะทาใหแ้ รงดนั เพ่มิ ข้ึน ส่วนกระแสไฟฟ้ า จะเทา่ เดิม ส่วนรูปท่ี 4 ( b) เป็นการต่อเซลลไ์ ฟฟ้ าแบบผสม ในการตอ่ เซลลล์ กั ษณะน้ีจะทาใหท้ ้งั แรงดนั ไฟฟ้ าและกระแสไฟฟ้ าเพม่ิ ข้ึน
กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ตรวจความพร้อมของผเู้ รียนโดยการเขา้ แถวแลว้ ขานชื่อ 2. แจกแบบทดสอบก่อนเรียน 3. ทบทวนก่อนเรียน โดยถามวา่ แหล่งกาเนิดไฟฟ้ า ไฟฟ้ าสถิต ไฟฟ้ ากระแสตรงมีลกั ษณะ เป็นอยา่ งไร 4. ครูนาเขา้ สู่บทเรียนโดยถามนกั เรียนวา่ สิ่งที่เห็นคืออะไรประกอบการฉายแผน่ ใสรูป เซลลไ์ ฟฟ้ า 5. ครูอธิบายเร่ืองเซลลไ์ ฟฟ้ าและการต่อเซลลไ์ ฟฟ้ าแบบต่าง ๆ / ตอบคาถาม 6. ซกั ถามเก่ียวกบั การตอ่ เซลลไ์ ฟฟ้ าแบบอนุกรม แบบขนาน และแบบผสมมีผลต่อแรงดนั และกระแสอยา่ งไร/ตอบคาถาม 7. ดูแลควบคุมการจดั แบง่ กลุ่ม 8. สาธิตการปฏิบตั ิการทดลอง 9. แจกใบงานและควบคุมการปฏิบตั ิการทดลอง 10. ครูและนกั เรียนช่วยกนั สรุปตอบขอ้ สงสัย 11. ประเมินผลการเรียนของนกั เรียนในหน่วยท่ี 3 จากแบบทดสอบหน่วยท่ี 3 12. มอบหมายงานใหน้ กั เรียนไปศึกษาหน่วยท่ี 4 13. ครูดูแลการทาความสะอาดจดั เคร่ืองมือใหเ้ รียบร้อยและปิ ดหอ้ งปฏิบตั ิงานเม่ือไม่ใช้ 14. ครูบนั ทึกขอ้ มลู เกี่ยวกบั กิจกรรมการเรียนหลงั การสอนเพ่ือใชแ้ กไ้ ขปัญหาท่ีอาจเกิดข้ึนกบั กลุ่มอ่ืน ๆ ต่อไปหรือความรู้ใหมท่ ่ีเกิดข้ึน
งานที่มอบหมายหรือกจิ กรรม (ก่อนเรียน, ขณะเรียน,หลงั เรียน) ก่อนเรียน ใหศ้ ึกษาและฟังการอธิบาย มอบหมายงานกลุ่มมารายงานหนา้ ช้นั เรียนเกี่ยวกบั การตอ่ เซลลไ์ ฟฟ้ า ขณะเรียน ใหน้ กั เรียนอธิบายโครงสร้างของเซลลไ์ ฟฟ้ า และต่อเซลลไ์ ฟฟ้ า แบบ อนุกรม ขนาน ผสม และคานวน ค่าความตา้ นทานตามลกั ษณะของการตอ่ เซลลไ์ ฟฟ้ า หลงั เรียน สรุปเน้ือหาจากที่นกั เรียนไดม้ ารายงานหนา้ ช้นั เรียนและประเมินผล
สื่อการเรียนการสอน จากแผนการสอน ได้กาหนดส่ือการสอนทใี่ ช้ให้สอดคล้องกบั เนือ้ หาหรือวตั ถุประสงค์ไว้ดงั นี้ หน่วยการสอน ประเภทสื่อการสอน รหัสของสื่อ ( สิ่งพมิ พ์, โสตทศั น์, หุ่นจาลองหรือของจริง ) 3 หนงั สืออา้ งอิง ชยั วฒั น์ ลิ้มพรวิจิตรวไิ ล , สมเกียรติ พ่งึ อาตม์ และ จิ ราภรณ์ จนั แดง,สมศกั ด์ิ แสงศรี.วงจรไฟฟ้ ากระแสตรง. : ศนู ยส์ ่งเสริม-อาชีวะ, 2546. ส่ือ - ซีดีการบรรยายเร่ืองเซลลไ์ ฟฟ้ า - แบบฝึกหดั - ตวั อยา่ งเซลลไ์ ฟฟ้ า
การประเมนิ ผล จากแผนการสอน วดั ผลประเมนิ ผล ก่อนการเรียน ขณะเรียน และหลงั เรียน วธิ กี าร โจทย์ปัญหาหรือหลกั เกณฑ์ ก่อนเรียน 1.สงั เกตพฤติกรรมการปฏิบตั ิงานรายบุคคล/รายกลุ่ม ขณะเรียน 2.สังเกตและประเมินผลพฤติกรรมดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1.ใหน้ กั เรียนมีส่วนร่วมในการอธิบายโดยการสาธิตหนา้ ช้นั เรียน 2.ประเมินตามแบบพฤติกรรมการปฏิบตั ิงานรายบุคคล/รายกลุ่ม หลงั เรียน 1.ประเมินตามแบบพฤติกรรมการปฏิบตั ิงานรายบุคคล/รายกลุ่ม 2.ประเมินตามแบบพฤติกรรมดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
บนั ทึกหลงั การสอน หลงั จากได้ทาการสอนเสร็จเรียบร้อยแล้ว ควรพจิ ารณาสรุปประเมนิ ผลการสอนคร้ังนีโ้ ดยทา เครื่องหมาย / ลงในช่อง ใช่ หรือ ไม่ใช่ หรือบันทกึ ให้คาแนะนาเพมิ่ เติมกไ็ ด้ พร้อมรายงานตามลาดับข้นั เพอื่ ได้รับทราบ รายการหัวข้อประเมิน ใช่ ไม่ใช่ หมายเหตุ 1. ทาการสอนไดค้ รบตามวตั ถุประสงค์ / 2. นาเขา้ สู่บทเรียนตรงตามที่กาหนด / 3. สามารถดาเนินการสอนตามแผนการสอน / 4. ใชส้ ่ือการสอนครบตามแผนการสอน / 5. ใชค้ าถามในระหวา่ งการสอนไดค้ รบ / 6. อ่ืน ๆ (โปรดระบุ)......................................... บนั ทกึ เพม่ิ เตมิ ( ผลการใช้แผนการสอน, ผลการเรียนของนักเรียน, ผลการสอนของครู ) .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................
แผนการสอน หน่วยที่ 2 สอนคร้ังท่ี 2 ช่ือวชิ า วงจรไฟฟ้ ากระแสตรง ช่ัวโมง 4 ชื่อหน่วย กฏของโอห์ม สาระสาคญั นกั วทิ ยาศาสตร์ชาวเยอรมนั ชือ เกออร์เก ซิโมน โอห์ม ไดค้ น้ พบความสัมพนั ธ์ ระหวา่ งกระแสไฟ ฟ้ า เรียกวา่ เคอร์เรนท์ ใชอ้ กั ษรยอ่ I แรงดนั ไฟฟ้ า เรียกวา่ โวลทเ์ ตจ ใชอ้ กั ษรยอ่ E หรือ V และความ ตา้ นทานไฟฟ้ าเรียกวา่ รีซิสเตอร์ ใชอ้ กั ษรยอ่ R ซ่ึงกล่าวไวว้ า่ ในวงจรไฟฟ้ าใด ๆ กระแสไฟฟ้ าจะแปรผนั ตรงกบั แรงดนั ไฟฟ้ า และจะแปรผกผนั กบั ความตา้ นทาน จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์ทว่ั ไป 1. ศึกษากฎของโอห์ม 2. ศึกษาการใชก้ ฎของโอห์มคานวณหาคา่ กระแสไฟฟ้ า 3. ศึกษาการใชก้ ฎของโอห์มคานวณหาคา่ แรงดนั ไฟฟ้ า 4. ศึกษาการใชก้ ฎของโอห์มคานวณหาค่าความตา้ นทานไฟฟ้ า 5. เพ่ือใหส้ ามารถปฏิบตั ิการต่อวงจร วดั แรงดนั กระแส จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. บอกสูตรการคานวณท่ีไดจ้ ากกฎของโอห์มไดถ้ ูกตอ้ ง 2. คานวณหาคา่ กระแสไฟฟ้ าจากกฎของโอห์มไดถ้ ูกตอ้ ง 3. คานวณหาคา่ กระแสไฟฟ้ าจากกฎของโอห์มไดถ้ ูกตอ้ ง 4. คานวณหาคา่ ความตา้ นทานไฟฟ้ าจากกฎของโอห์มไดถ้ ูกตอ้ ง 5. ต่อวงจรวดั แรงดนั กระแส ไดถ้ ูกตอ้ ง
เนือ้ หาสาระ หน่วยที่ 2 ชื่อหน่วยการสอน กฎของโอหม์ กฏของโอห์ม ในวงจรไฟฟ้ าใด ๆ จะประกอบดว้ ยส่วนสาคญั 3 ส่วนคือ แหล่ง จา่ ยพลงั งานไฟฟ้ าและตวั ตา้ นทานหรืออุปกรณ์ ไฟฟ้ าท่ีจะใส่เขา้ ไปในวงจร ไฟฟ้ าน้นั ๆเพราะฉะน้นั ความสาคญั ของวงจรที่ จะตอ้ งคานึงถึงเมื่อมีการต่อวงจรไฟฟ้ าใดๆ เกิดข้ึนคือทาอยา่ งไรจึงจะไมใ่ หก้ ระแสไฟฟ้ าไหลผา่ นเขา้ ไป ในวงจรมากเกินไปซ่ึงจะทาใหอ้ ุปกรณ์ไฟฟ้ าชารุดเสียหาย หรือวงจรไหมเ้ สียหายได ้้ ยอร์จซีมอน โอห์มนกั ฟิ สิกส์ชาวเยอรมนั ใหค้ วามสาคญั ของวงจรไฟฟ้ า และสรุปเป็นกฏออกมาดงั น้ี คือ 1. ในวงจรใด ๆ กระแสไฟฟ้ าท่ีไหลในวงจรน้นั จะเป็ นปฏิภาคโดยตรงกบั แรงดนั ไฟฟ้ า 2. ในวงจรใด ๆ กระแสไฟฟ้ าท่ีไหลในวงจรน้นั จะเป็ นปฏิภาคโดยกลบั กบั ความตา้ นทานไฟฟ้ า เมื่อรวมความสัมพนั ธ์ท้งั 2 เขา้ ดว้ ยกนั และเม่ือ K เป็นคา่ คงที่ของตวั นาไฟฟ้ า จะไดส้ ูตร ถา้ ใหค้ วามตา้ นทานไฟฟ้ าเท่าเดิมต่ออยกู่ บั วงจรใด ๆ แรงดนั ไฟฟ้ าที่เพิม่ ข้ึนจะทาให้
กระแสไฟฟ้ าเพ่มิ ข้ึนตามความ สมั พนั ธ์ซ่ึงกนั และกนั เช่น แรงดนั ไฟฟ้ า 10 โวลต์ ไฟฟ้ ากระแสตรงต่ออยู่ กบั ความตา้ นทานไฟฟ้ า 20 โอห์ม จะมีกระแส ไฟฟ้ าไหลผา่ นวงจร 1 แอมแปร์ ดงั รูป แต่ถา้ เปลี่ยนเป็นแรงดนั ไฟฟ้ า 40 โวลต์ กระแสไฟฟ้ าก็จะเพิม่ ข้ึนตามทนั ที หรือในทานองเดียวกนั ถา้ ความตา้ นทาน ไฟฟ้ าเปลี่ยนแปลงไป แรงดนั ไฟฟ้ าคงที่ กระแสไฟฟ้ าจะเปล่ียนตามไปดว้ ย ความตา้ นทานไฟฟ้ าเพิ่มข้ึน กระแสไฟฟ้ าท่ีไดจ้ ะลดลง ความตา้ นทานไฟฟ้ าลดลง กระแสไฟฟ้ าท่ีไดจ้ ะเพม่ิ ข้ึน
การนากฏของโอห์มไปใช้
กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ตรวจความพร้อมของผเู้ รียนโดยการเขา้ แถวแลว้ ขานช่ือ 2. แจกแบบทดสอบก่อนเรียน 3. ทบทวนก่อนเรียน โดยถามนกั เรียนเก่ียวกบั เซลลไ์ ฟฟ้ า การต่อเซลลไ์ ฟฟ้ าอนุกรม/ขนาน/ ผสม 4. ครูนาเขา้ สู่บทเรียนโดยถามนกั เรียนวา่ แรงดนั กระแส ความตา้ นทาน มีความสัมพันธ์กนั อยา่ งไร 5. ครูอธิบายความสัมพนั ธ์แรงดนั กระแส ความตา้ นทาน โดยใชแ้ ผน่ ใส/ตอบคาถาม 6. ซกั ถามเกี่ยวกบั ความสัมพนั ธ์แรงดนั กระแส ความตา้ นทาน ตามกฎของโอห์ม/ตอบคาถาม 7. ดูแลควบคุมการจดั แบง่ กลุ่ม 8. สาธิตการปฏิบตั ิการทดลอง 9. แจกใบงานและควบคุมการปฏิบตั ิการทดลอง 10. ครูและนกั เรียนช่วยกนั สรุปตอบขอ้ สงสยั 11. ประเมินผลการเรียนของนกั เรียนในหน่วยท่ี 3จากแบบทดสอบหน่วยท่ี 3 12. มอบหมายงานใหน้ กั เรียนไปศึกษาในหน่วยที่ 4 13. ครูดูแลการทาความสะอาดจดั เครื่องมือใหเ้ รียบร้อยและปิ ดหอ้ งปฏิบตั ิงานเม่ือไม่ใช้ 14. ครูบนั ทึกขอ้ มลู เกี่ยวกบั กิจกรรมการเรียนหลงั การสอนเพื่อใชแ้ กไ้ ขปัญหาท่ีอาจเกิดข้ึนกบั กลุ่มอื่น ๆ ต่อไปหรือความรู้ใหม่ที่เกิดข้ึน
งานท่มี อบหมายหรือกจิ กรรม (ก่อนเรียน, ขณะเรียน,หลงั เรียน) ก่อนเรียน จดั เตรียมบอร์ดทดลอง อุปกรณ์ และสภาพหอ้ งเรียนใหส้ ะอาดเรียบร้อย โดยจดั เวรรับผดิ ชอบทาความ สะอาด ขณะเรียน แบ่งกลุ่มๆละ3-4คนทาการทดลองต่อวงจรไฟฟ้ าแบบต่างๆแลว้ ทาการคานวนค่าคความตา้ นทานที่ไหล ผา่ น หลงั เรียน สรุป ทบทวน และมอบหมายใหท้ าแบบฝึกหดั ทา้ ยบทเรียน
สื่อการเรียนการสอน จากแผนการสอน ได้กาหนดสื่อการสอนทใ่ี ช้ให้สอดคล้องกบั เนื้อหาหรือวตั ถุประสงค์ไว้ดงั นี้ หน่วยการสอน ประเภทส่ือการสอน รหัสของสื่อ ( สิ่งพมิ พ์, โสตทัศน์, หุ่นจาลองหรือของจริง ) 2 หนงั สืออา้ งอิง ชยั วฒั น์ ลิ้มพรวจิ ิตรวไิ ล , สมเกียรติ พ่งึ อาตม์ และ จิราภรณ์ จนั แดง ,สมศกั ด์ิ แสงศรี.วงจรไฟฟ้ า กระแสตรง. : ศูนยส์ ่งเสริม-อาชีวะ, 2546. สื่อ - ซีดีการบรรยายเร่ืองกฎของโอห์ม - แบบฝึกหดั
การประเมนิ ผล จากแผนการสอน วดั ผลประเมนิ ผล ก่อนการเรียน ขณะเรียน และหลงั เรียน วธิ กี าร โจทย์ปัญหาหรือหลกั เกณฑ์ ก่อนเรียน 1.สงั เกตพฤติกรรมการปฏิบตั ิงานรายบุคคล/รายกลุ่ม ขณะเรียน 2.สังเกตและประเมินผลพฤติกรรมดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1.ใหน้ กั เรียนมีส่วนร่วมในการอธิบายโดยการสาธิตหนา้ ช้นั เรียน 2.ประเมินตามแบบพฤติกรรมการปฏิบตั ิงานรายบุคคล/รายกลุ่ม หลงั เรียน 1.ประเมินตามแบบพฤติกรรมการปฏิบตั ิงานรายบุคคล/รายกลุ่ม 2.ประเมินตามแบบพฤติกรรมดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
บนั ทึกหลงั การสอน หลงั จากได้ทาการสอนเสร็จเรียบร้อยแล้ว ควรพจิ ารณาสรุปประเมนิ ผลการสอนคร้ังนี้โดยทา เครื่องหมาย / ลงในช่อง ใช่ หรือ ไม่ใช่ หรือบนั ทกึ ให้คาแนะนาเพม่ิ เติมกไ็ ด้ พร้อมรายงานตามลาดับข้นั เพอ่ื ได้รับทราบ รายการหัวข้อประเมนิ ใช่ ไม่ใช่ หมายเหตุ 1. ทาการสอนไดค้ รบตามวตั ถุประสงค์ / 2. นาเขา้ สู่บทเรียนตรงตามที่กาหนด / 3. สามารถดาเนินการสอนตามแผนการสอน / 4. ใชส้ ่ือการสอนครบตามแผนการสอน / 5. ใชค้ าถามในระหวา่ งการสอนไดค้ รบ / 6. อ่ืน ๆ (โปรดระบุ)......................................... บันทกึ เพม่ิ เติม ( ผลการใช้แผนการสอน, ผลการเรียนของนักเรียน, ผลการสอนของครู ) .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................
แผนการสอน หน่วยที่ 4 สอนคร้ังท่ี 4 ช่ือวชิ า วงจรไฟฟ้ ากระแสตรง ช่ัวโมง 4 ชื่อหน่วย วงจรไฟฟ้ าแบบอนุกรม สาระสาคญั วงจรอนุกรม เรียกวา่ ซีรี่เซอร์กิต คือการนาเอาตวั ตา้ นทานต้งั แตส่ องตวั ข้ึนไปมาต่อเรียง อนั ดบั หรืออนุกรมกบั แหล่งจ่ายไฟฟ้ า โดยมีกระแสไฟฟ้ าไหลผา่ นเพียงเส้นเดียวทางเดียวเท่ากนั ตลอด แรงดนั ตกคร่อมตวั ตา้ นทานแตล่ ะตวั จะแตกต่างกนั กล่าวคือ ความตา้ นทานตวั ใดมีคา่ มากจะมีแรงดนั ตก คร่อมมาก จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์ทวั่ ไป 1.ศึกษาการตอ่ วงจรไฟฟ้ าแบบอนุกรม 2.ศึกษาคุณสมบตั ิของวงจรอนุกรม 3.ศึกษาการคานวณในวงจรอนุกรม 4.เพ่ือปฏิบตั ิการทดลองวงจรไฟฟ้ าแบบอนุกรม จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 1.เขียนรูปวงจรไฟฟ้ าแบบอนุกรมไดถ้ ูกตอ้ ง 2.บอกคุณสมบตั ิวงจรไฟฟ้ าแบบอนุกรมไดถ้ ูกตอ้ ง 3.สามารถคานวณหาค่า แรงดนั กระแส ความตา้ นทาน ในวงจรไฟฟ้ าแบบอนุกรมไดถ้ ูกตอ้ ง 4.ตอ่ วงจรอนุกรมเพ่อื วดั แรงดนั และกระแสไดถ้ ูกตอ้ ง
เนือ้ หาสาระ หน่วยท่ี 4 ชื่อหน่วยการสอน วงจรไฟฟ้ าแบบอนุกรม วงจรอนุกรม วงจรอนุกรมหมายถึงวงจรที่มีอิลิเมนตต์ ่าง ๆ ตอ่ เรียงกนั และถดั กนั ไปเรื่อย ๆ โดยการนาเอา ปลายดา้ นหน่ึงของอิลิเมนตต์ วั แรกต่อกบั ปลายดา้ นหน่ึงของอิลิเมนตต์ วั ท่ีสองและปลายดา้ นหน่ึงของอิลิ เมนตต์ วั ที่สอง ตอ่ กบั ปลายดา้ นหน่ึงของอิลิเมนตต์ วั ท่ีสามและตอ่ กนั ไปเร่ือย ๆ จนมีลกั ษณะเป็น ลูกโซ่ ดงั แสดงในรูปท่ี 1 จะพิจารณาเห็นไดว้ า่ ปลายดา้ นหน่ึงของความตา้ นทาน R1 และ R2 จะ ต่อกบั ปลายดา้ นหน่ึงของความตา้ นทาน R2 และ ปลายอีกดา้ นหน่ึงของท้งั ความตา้ นทาน R และ R2 จะต่อเขา้ กบั แบตเตอร่ี E โดยท่ีความตา้ นทาน R1 ความตา้ นทาน R2 และแบตเตอร่ี E จะต่อ อนุกรมกนั ท้งั หมด และในวงจรจะมีกระแส I ไหลเพียงค่าเดียวเทา่ น้นั ฉะน้นั กระแสท่ีไหลผา่ นความ ตา้ นทาน R1 ความตา้ นทาน R2 และแบตเตอร่ี จะมีค่าเท่ากนั ม การต่อวงจรไฟฟ้ าแบบอนุกรม ในวงจรไฟฟ้ าถา้ มีตวั ตา้ นทานมากกวา่ 1 ตวั ต่อเรียงอนั ดบั หรืออนุกรมกบั แหล่งจา่ ยไฟฟ้ า เรียกวา่ วงจรไฟฟ้ าแบบอนุกรม ( Series Circuit ) ดงั แสดงในรูปที่ 2 รูปที่ 2 วงจรไฟฟ้ าแบบอนุกรม
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195