Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุป5บทห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” เคลื่อนที่ 25 ก.พ.65

สรุป5บทห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” เคลื่อนที่ 25 ก.พ.65

Published by koy.23doraemon, 2022-06-05 15:24:28

Description: สรุป5บทห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” เคลื่อนที่ 25 ก.พ.65

Search

Read the Text Version

1

2 คำนำ เอกสารเล่มน้ี เป็นเอกสารรายงานผลการจัดกิจกรรมโครงการห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอวังทรายพูนเคล่ือนท่ี สู่ชุมชน เพ่ือส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน และผู้ร่วมกิจกรรมได้รับ ความร้จู ากการใชส้ อื่ ดิจทิ ัลและได้รบั ความร้เู กีย่ วกบั การใชป้ ระโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลต่าง ๆ รวมไปถึงเป็นการ ประชาสมั พันธ์ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อาเภอวังทรายพูน การทาโครงการน้ี ได้รบั ความรว่ มมือจากผู้บริหารสถานศึกษา คณะครู กศน.วังทรายพูน ทุกท่าน ภาคีเครือขา่ ย ผนู้ าชมุ ชน ปราชญ์ชาวบา้ น นักศึกษา และประชาชน เป็นอยา่ งดีจากการดาเนนิ การจัดกิจกรรม ในคร้ังน้ี จนสาเรจ็ บรรลุตามวตั ถุประสงค์ หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอวงั ทรายพูน จงั หวัดพิจิตร

สำรบัญ 3 คำนำ หนำ้ สำรบญั บทท่ี 1 2 1 บทนา 2 โครงการห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อาเภอวังทรายพนู เคลื่อนที่ สชู่ ุมชน 3 หลักการและเหตผุ ล 5 วัตถุประสงค์ 5 เปา้ หมาย 6 วิธกี ารดาเนนิ งาน 6 งบประมาณ 6 ผ้รู บั ผิดชอบโครงการ สถานท่แี ละวันท่ีดาเนนิ งานการจัดกิจกรรม 6 ดัชนีช้ีวดั ผลสาเรจ็ ของโครงการ การตดิ ตามและประเมนิ ผล 7 8 ๒ เอกสำรที่เกี่ยวข้อง 9 ห้องสมดุ เคลอ่ื นท่ี 12 QR Code 15 การทาพวงมาลัยมะกรดู หอมใบเตย การทาเปเปอร์มาเช่ 20 ยาเสพติด 25 3 วธิ ีกำรดำเนนิ งำน 28 ข้นั ตอนการดาเนนิ งาน 35 ๔ ผลกำรดำเนนิ งำน 36 สรปุ แบบประเมินความพึงพอใจ 37 ผลการดาเนินงาน 5 สรุปผลกำรดำเนนิ งำนและขอ้ เสนอแนะ บรรณำนุกรม ภำคผนวก บันทึกขออนุมัตโิ ครงการ บัญชีรายชอื่ ผู้เข้ารว่ มโครงการ แบบประเมินความพงึ พอใจ

4 บทที่ 1 บทนำ 1. ชื่อโครงกำร หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี”อาเภอวงั ทรายพูน เคลอ่ื นทีส่ ่ชู มุ ชน 2. สอดคล้องกับยทุ ธศำสตร์และจุดเนน้ กำรดำเนนิ งำน สำนกั งำน กศน. ประจำปงี บประมำณ 2565 นโยบำยทเี่ ก่ียวข้องกบั งำนกำรศกึ ษำตำมอัธยำศัย ปี 2565 1. ขบั เคลือ่ นนโยบำยของ รมต.และ รมช. ( กศน. WoW ข้อ 2 ) GOOD Place – Best Check in 1.1 พฒั นาหอ้ งสมุดประชาชนให้เปน็ Digital Library เปน็ ห้องสมุดดจิ ิทัลทีม่ ชี วี ติ มีกจิ กรรม ส่งเสริมการอ่านท่หี ลากหลาย ใชเ้ ทคโนโลยีในการบรกิ ารและส่งเสริมการอ่าน บรรยากาศและสภาพแวดล้อม ท่เี อื้อตอ่ การเรียนรู้ 2. นโยบำยและจดุ เน้นสำนกั งำน กศน. ประจำปี พ.ศ. 2565 ซึ่งมีรำยละเอียดท่ีเก่ียวข้อง กับงำนกำรศึกษำตำมอัธยำศัย ดังน้ี ข้อ 3. ด้านองคก์ ร สถานศึกษา และแหลง่ เรยี นรู้คุณภาพ ขอ้ 3.2 ยกระดบั มาตรฐาน กศน.ตาบล และศนู ย์การเรียนรชู้ ุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ ฟ้าหลวง” (ศศช.) ให้เปน็ พืน้ ทก่ี ารเรียนรู้ตลอดชีวติ ทส่ี าคัญของชุมชน ข้อ 3.3 ปรับรูปแบบกจิ กรรมในห้องสมุดประชาชน ที่เนน้ Library Delivery เพอ่ื เพิ่ม อตั รา การอ่าน และการรหู้ นังสือของประชาชน ข้อ 3.5 สง่ เสรมิ และสนบั สนุนการสรา้ งพน้ื ทีก่ ารเรยี นรู้ในรูปแบบ Public Learning Space / Co- learning Space เพื่อการสร้างนิเวศการเรยี นรู้ให้เกิดข้ึนสังคม 3. นโยบำยของสำนกั งำน กศน. จงั หวดั พิจติ ร 3.1 เนน้ ปรับปรุงอาคาร สถานท่ี และการให้บรกิ าร ( ห้องสมดุ ประชาชน / กศน. ตาบล ) สอดคลอ้ งกับมำตรฐำนกำรศกึ ษำและตัวช้ีวดั มาตรฐานการศึกษาตามอธั ยาศยั มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้รับบริการการศึกษาตามอธั ยาศัย ประเด็นการพิจารณาท่ี 1.1 ผู้รับบริการมีความรู้ หรือทักษะ หรือประสบการณ์ สอดคล้องกับ วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการหรอื กิจกรรมการศึกษาตามอธั ยาศยั มาตรฐานที่ 2 คณุ ภาพการจดั การศึกษาตามอธั ยาศยั ประเดน็ การพิจารณาที่ 2.1 การกาหนดโครงการ หรอื กจิ กรรมการศึกษาตามอธั ยาศยั ประเดน็ การพจิ ารณาที่ 2.2 ผจู้ ดั กจิ กรรมมคี วามรู้ ความสามารถในการจดั กิจกรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ประเดน็ การพิจารณาที่ 2.3 สอ่ื หรอื นวตั กรรม และสภาพแวดล้อมทีเ่ อ้อื ตอ่ การจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศัย ประเดน็ การพจิ ารณาท่ี 2.4 ผู้รับบรกิ ารมคี วามพงึ พอใจตอ่ การจดั การศึกษาตามอัธยาศยั

5 สอดคลอ้ งกับ หลักปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียง 3. สอดคล้องกบั คำ่ นิยมหลักของคนไทย 12 ประกำร คือ 1. มีความรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ 2. ซ่ือสัตย์ เสยี สละ อดทน มอี ดุ มการณใ์ นสิ่งท่ีดีงามเพ่อื เพื่อรวม 3. กตัญญตู อ่ พ่อแม่ ผูป้ กครอง ครอู าจารย์ 4. ใฝห่ าความรู้ หมัน่ ศึกษาเล่าเรยี นทง้ั ทางตรงและทางอ้อม 5. รกั ษาวัฒนธรรมประเพณไี ทยอันดีงาม 6. มศี ีลธรรม รกั ษาความสัตย์ หวังดีต่อผอู้ ่นื เผื่อแผแ่ ละแบ่งบัน 7. เข้าใจเรียนรู้การเปน็ ประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ ที่ถกู ต้อง 8. มรี ะเบยี บวนิ ัย เคารพกฎหมาย ผูน้ อ้ ยร้จู กั การเคารพผใู้ หญ่ 9. มีสติรตู้ วั รู้คิด รู้ทา ร้ปู ฏิบัตติ ามพระราชดารสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั 10. ร้จู กั ดารงตนอย่โู ดยใช้หลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง 11. มีความเข้มแขง็ ทง้ั ร่างกายและจิตใจ 12. คานงึ ถงึ ผลประโยชน์ของส่วนร่วม 4. หลกั กำรและเหตุผล ตามนโยบายและจุดเน้นสานักงาน กศน. ประจาปี พ.ศ. 2565 ได้มอบหมายนโยบายให้จัดกิจกรรมใน ห้องสมุดประชาชนท่ีเน้น Library Delivery เพ่อื เพ่ิม อตั ราการอา่ น และการรู้หนังสือของประชาชนนนั้ ห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อาเภอวังทรายพนู มภี ารกิจในการให้บริการด้านการศึกษาตาม อัธยาศัย และการศึกษาตลอดชีวิตให้กับประชาชนในพ้ืนที่อาเภอวังทรายพูน โดยมีส่ือให้บริการที่หลากหลาย โดยมีทั้งส่ือรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์ มีท้ังการให้บริการในเชิงรับและเชิงรุก พร้อมทั้งการให้บริการ เคล่ือนท่ีทุกพ้ืนท่ีในเขตพื้นทีรับผิดชอบและให้บริการครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย ทั้งนักเรียน นักศึกษาใน ระบบและนอกระบบและประชาชนท่ัวไป ดังนั้น เพื่อเป็นการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย และการให้บริการ สารสนเทศไปสู่ประชาชนในพื้นที่อย่างทั่วถึง อีกท้ังยังเป็นการให้บริการในเชิงรุก ด้วยหลักการและเหตุผล ดังกล่าว ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอวังทรายพูน จึงได้จัดโครงการห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี”อาเภอวงั ทรายพูน เคลื่อนท่สี ชู่ มุ ชน ขึ้น 5. วัตถุประสงค์ 1. เพือ่ สง่ เสริมสนับสนนุ การอ่านและการเรียนรู้ ปลูกฝงั ให้นกั เรยี น นกั ศึกษา และประชาชนทั่วไปมี นิสยั รักการอ่านให้ครอบคลุมทุกกลุม่ เปา้ หมาย โดยผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ของห้องสมุด 2. เพอ่ื ส่งเสริมใหผ้ ้เู ข้าร่วมกิจกรรมรจู้ ักใชเ้ วลาว่างใหเ้ ปน็ ประโยชน์ด้านการอ่านหนังสือ 6.เป้ำหมำย เชิงปรมิ ำณ นักเรยี นโรงเรยี นบ้านทุ่งโม่ง จานวน 100 คน

6 เชิงคณุ ภำพ กลุ่มเป้าหมายที่เขา้ ร่วมกิจกรรมไดร้ ับบริการส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ มีนิสัยรักการ อ่านเพ่ิมมากข้ึนและสามารถใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์ดา้ นการอา่ นหนงั สือ 7.วิธีกำรดำเนนิ งำน กิจกรรม วตั ถุประสงค์ กลมุ่ เป้ำหมำย พืน้ ที่ดำเนินกำร ระยะเวลำ งบ ประมำณ โรงเรยี นบา้ นทงุ่ โม่ง 1.สารวจความต้องการ เพ่ือทราบถึงความต้องการ นักเรยี นโรงเรยี น หมทู่ ่ี 10 10 ก.พ.65 - ของผเู้ ข้าร่วมโครงการ ของผเู้ ข้ารว่ มโครงการแตล่ ะ บา้ นทุ่งโม่ง ตาบลวงั ทรายพูน อาเภอวงั ทรายพูน กลมุ่ จานวน 100 คน จงั หวัดพิจติ ร กศน.อาเภอ 2.ประชุมคณะทางาน เพือ่ ให้ผเู้ กย่ี วขอ้ งได้ร่วมกัน ผู้บรหิ ารและ วังทรายพนู 10 ก.พ.65 - 15 ก.พ.65 - วางแผนแนวทางการทางาน บคุ ลากร กศน. กศน.อาเภอ 15 ก.พ.65 - วงั ทรายพนู อาเภอวังทรายพูน 25 ก.พ.65 1,950 ห้องสมุดประชาชน” บาท 3.จดั ทาและเสนอขอ เพ่อื จดั ทาโครงการและ ผ้บู รหิ ารและ เฉลิมราชกมุ ารี” อาเภอวังทรายพนู อนมุ ัติโครงการ เสนอขออนมุ ัตโิ ครงการ บุคลากร กศน. โรงเรยี นบา้ นทงุ่ โม่ง อาเภอวังทรายพูน หมูท่ ่ี 10 ตาบลวงั ทรายพูน 4.ประสานเครือข่าย/ ประสานงานโรงเรยี น นักเรยี นโรงเรียน อาเภอวังทรายพูน จงั หวดั พจิ ติ ร แหลง่ เรยี นรู้ / อนุบาลวังทรายพูน เพื่อ อนบุ าลวงั ทรายพนู วิทยากร ดาเนินการจดั กิจกรรมการ จานวน 100 คน เรยี นรู้ 5.ดาเนินการจัดกจิ กรรม 1. เพ่ือสง่ เสรมิ สนบั สนุน นกั เรียนโรงเรียน - ฐานการเรียนรยู้ าเสพ การอ่านและการเรยี นรู้ บา้ นทุ่งโมง่ ปลูกฝังใหน้ ักเรยี น นกั ศึกษา ติด การปอ้ งกันปัญหา และประชาชนทัว่ ไปมีนสิ ัย จานวน 100 คน ยาเสพติด รักการอา่ นใหค้ รอบคลุมทกุ - ฐานการเรียนรูศ้ าสตร์ กลมุ่ เป้าหมาย โดยผ่าน พระราชา กจิ กรรมการเรยี นร้ขู อง - ฐานการเรียนรรู้ ถโม ห้องสมุด บายเคล่ือนที่ (วาดภาพ 2. เพื่อส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เข้าร่วม ระบายสี, เรยี นร้จู ากสอื่ กจิ กรรมร้จู ักใชเ้ วลาว่างให้ ดจิ ติ อล,บนั ทึกการอ่าน) เป็นประโยชน์ดา้ นการอ่าน หนังสือ - ฐานการเรียนรู้ พวงมาลยั มะกรดู ใบเตย - ฐานการเรยี นรเู้ ปเปอร์

7 กจิ กรรม วัตถปุ ระสงค์ กลุม่ เปำ้ หมำย พน้ื ท่ดี ำเนนิ กำร ระยะเวลำ งบ ประมำณ มาเช่ - กิจกรรมบริการตัดผม ฟรี 7. นเิ ทศ ติดตาม 1.เพอ่ื ตดิ ตามและ คณะกรรมการ โรงเรียนบ้านท่งุ โมง่ 25 ก.พ.65 หมทู่ ี่ 10 ประเมินผล ประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน นเิ ทศ ตาบลวงั ทรายพูน อาเภอวังทรายพนู -แบบสังเกตการเข้า 2. เพ่ือนาผลการประเมนิ ไป จังหวัดพิจิตร รว่ มกจิ กรรม ปรับปรงุ การดาเนนิ งาน - แบบประเมินความ พึงพอใจ 1.เพ่ือจัดทาเป็นข้อมูล บรรณารกั ษ์ หอ้ งสมดุ ประชาชน” เสร็จสน้ิ สารสนเทศและการเผยแพร่ เฉลมิ ราชกมุ ารี” กิจกรรม 8.สรุปรายงานการ ประชาสมั พนั ธ์ หอ้ งสมุด อาเภอวงั ทรายพนู ดาเนนิ งานโครงการ 2. เพือ่ ประเมนิ ผลการ ประชาชน”เฉลิม ดาเนินโครงการ ราชกุมารี”อาเภอ 2.รายงานผลตอ่ ผ้ทู เี่ กย่ี วข้อง วงั ทรายพูน 8. งบประมำณ เบิกจ่ายจากเงินงบประมาณปี พ.ศ.2565 แผนงาน : ยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและ เสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาท่ียั่งยืน กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนา นวัตกรรมการเรียนรู้ งบรายจ่ายอื่น รหัสงบประมาณ 2000235052700018 จานวนเงิน 1,950.-บาท (-หนึ่งพัน เก้าร้อยห้าสิบบาทถว้ น-) มีรายละเอยี ดดงั น้ี 1. ค่าชดเชยน้ามันเช้ือเพลิง (รถโมบาย สานักงาน กศน.จังหวัดพิจิตร จานวน 1 คัน เป็นเงิน 500 บาท 2. คา่ วัสดใุ นการจดั กจิ กรรม เปน็ เงิน 1,450 บาท - กระดาษ A4 80 แกรม จานวน 2 รีม ๆ ละ 120 บาท เปน็ เงนิ 240 บาท - กระดาษสี 2 หนา้ จานวน 10 แผ่น ๆ ละ 10 บาท เปน็ เงนิ 100 บาท - กระดาษ 100 ปอนด์ ขนาด A4 จานวน 2 แพ็ค ๆ ละ 210 บาท เป็นเงนิ 420 บาท - กาวลาเท็กซ์ TOA จานวน 3 กระปกุ ๆ ละ 80 บาท เปน็ เงนิ 240 บาท - สีโปสเตอร์ (6 สี ) จานวน 2 กลอ่ ง ๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 200 บาท - สไี ม้ ขนาด 24 สี จานวน 2 กลอ่ ง ๆ ละ 125 บาท เป็นเงิน 250 บาท รวมเปน็ เงนิ ทง้ั สน้ิ 1,950 บาท (-หน่งึ พันเกา้ ร้อยห้าสิบบาทถว้ น-)

8 หมำยเหตุ: ถัวจ่ำยทุกรำยกำร 9. แผนกำรใช้จ่ำยงบประมำณ กจิ กรรมหลกั ไตรมำสท่ี 1 ไตรมำสท่ี 2 ไตรมำสที่ 3 ไตรมำสที่ 4 ( ต.ค.64 – ธ.ค.64 ) 1.สารวจความต้องการในการ ( ม.ค.65 – ม.ี ค.65) ( เม.ย.65– มิ.ย.65 ) ( ก.ค.65–ก.ย.65 ) จัดกจิ กรรม ดาเนินงาน 2.จดั ทาแผนการจัดกิจกรรม ดาเนนิ งาน - - 3.ประสานงานผู้เก่ียวข้อง ดาเนนิ งาน 4.จัดเตรียมวสั ดอุ ุปกรณ์ ดาเนินงาน ดาเนินงาน - - 5.ดาเนินการจัดกจิ กรรม ดาเนินงาน ดาเนนิ งาน - - 6.ตดิ ตามประเมินผล ดาเนนิ งาน ดาเนินงาน - - 7.สรุปรายงานผลการจัด ดาเนนิ งาน 1,950 บาท - - กจิ กรรม ดาเนนิ งาน ดาเนนิ งาน - - ดาเนนิ งาน - - 10. ผรู้ ับผดิ ชอบโครงกำร ตาแหน่ง ผ้อู านวยการ กศน.อาเภอวงั ทรายพูน 1.นางสาวธนาภรณ์ แสงใส ตาแหน่ง ครู คศ.1 2.นางนิศารัศมิ์ ไตรยวงค์ ตาแหน่ง ครูผชู้ ่วย 3.นางสาวกานต์สินี ยอดจันทร์ ตาแหน่ง ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น 4.นางสาวณฎั ชากร พิศอ่อน ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล 5.นางสาวบานเยน็ จูบา้ นไร่ ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล 6.นางสาวเหมอื นฝนั มสี วสั ด์ิ ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล 7.นายสมโพด ราศรี ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล 8.นายจานงค์ กันษา ตาแหนง่ ครู ศนู ย์การเรยี นชุมชน 9.นางกานดา แก้วเกตุ ตาแหน่ง บรรณารกั ษ์ 10.นางสาวภาวิณี เจรญิ สขุ ตาแหน่ง พนักงานบริการ 11. นางสาวนงคราญ ปอ้ มสุวรรณ์ 11.สถำนทแี่ ละวนั ท่ีดำเนินงำนกำรจัดกิจกรรม วนั ที่ดำเนนิ กำร วันท่ี 25 กมุ ภาพันธ์ 2565 สถำนที่ดำเนินกำร โรงเรียนบ้านท่งุ โม่ง หมู่ที่ 10 ตาบลวงั ทรายพูน อาเภอวังทรายพนู จงั หวดั พิจติ ร

9 12. ผลทีค่ ำดวำ่ จะได้รับ 1. กลุ่มเป้าหมายที่เขา้ ร่วมกิจกรรมไดร้ ับบริการส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ มีนิสัยรักการอ่าน เพมิ่ มากข้ึน 2. เกิดนิสยั รักการอ่านเพม่ิ มากข้ึนและสามารถใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชนด์ า้ นการอ่านหนงั สือ 13.ดชั นีชี้วดั ผลสำเร็จของโครงกำร ตวั ชี้วัดผลผลติ (Output) 1. ร้อยละ 80 ผูเ้ ข้ารว่ มกิจกรรมโครงการมีนสิ ัยรกั การเพมิ่ มากขนึ้ 2. รอ้ ยละ 80 ของผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรมมีความพงึ พอใจในการเข้ารว่ มกิจกรรมในระดบั ดีข้นึ ไป ตัวชว้ี ัดผลลัพธ์ (Outcome) 1. กลมุ่ เป้าหมายทีเ่ ขา้ รว่ มกิจกรรมได้รบั บริการสง่ เสริมการอา่ นและการเรยี นรหู้ ลากหลายรูปแบบ 2. เกดิ นิสัยรกั การอา่ นเพิ่มมากข้ึนและสามารถใชเ้ วลาว่างให้เกิดประโยชน์ด้านการอา่ นหนังสือ 14. กำรติดตำมประเมินผลโครงกำร 1 .ประเมนิ ความสาเรจ็ ในการดาเนินการตามโครงการ -แบบสงั เกตการเขา้ รว่ มกจิ กรรม 2.การประเมินความพึงพอใจผู้รับบรกิ าร - แบบประเมินความพึงพอใจ

10 บทที่ 2 เอกสำรทเ่ี กยี่ วขอ้ ง 1. ห้องสมุดเคลือ่ นที่ (Bookmobile library) Bookmobile library หมายถงึ หอ้ งสมดุ เคล่อื นที่ เปน็ บริการประเภทหน่งึ ของหอ้ งสมุดประชาชน ใช้ ยานพาหนะที่ออกแบบเพ่ือใช้เป็นห้องสมุด เพื่อให้ผู้อ่านสามารถเข้าถึงหนังสือได้ ภายในยานพาหนะน้ีจะมี พื้นท่ีเพียงพอสาหรับคนที่จะน่ังและอ่านหนังสือภายในรถ และสามารถบรรทุกหนังสือออกไปให้บริการ แก่ ประชาชนและกลุ่มบุคคลที่มีความยากลาบากในการเข้าถึงห้องสมุด เช่น ชุมชนแออัด บ้านพักคนชรา สถาน พักฟ้ืน เป็นต้น ท้ังในท้องถิ่นที่ห้องสมุดน้ันต้ังอยู่ หรือในท้องถ่ินท่ีอยู่ห่างไกล สาหรับยานพาหนะท่ีใช้มีท้ัง รถยนต์ รถลาก หรือเรือ ผู้ให้บริการในรถอาจเป็นเจ้าหน้าที่ที่ขับรถทาหน้าที่เป็นบรรณารักษ์ไปด้วยในตัว บางทมี ีพร้อมท้งั เจา้ หน้าที่ผู้ขบั รถและบรรณารักษ์ นอกจากให้บริการหนังสืออ่านแล้วรถของห้องสมุดเคล่ือนท่ี บางแห่งอาจมีสื่ออ่ืน ๆ เช่น วีดิทัศน์ เทปเสียง ซีดี-รอม ของเล่น และเกมต่าง ๆ ให้บริการด้วย บริการของ ห้องสมุดเคล่ือนท่ีเป็นประโยชน์อย่างมาก แก่ประชาชนท่ีอยู่ห่างไกลท่ีไม่สามารถไปใช้บริการของห้องสมุดได้ ทั้งนอ้ี าจเป็นเพราะไม่มเี วลา การคมนาคมไม่สะดวก หรือยังไม่เห็นความสาคัญของห้องสมุด หรือสาเหตุอื่น ๆ ในประเทศไทยนอกจากห้องสมุดประชาชนที่ดาเนินการห้องสมุดเคลื่อน ท่ีแล้ว ยังมีห้องสมุดของ สถาบนั การศกึ ษา หน่วยงานตา่ ง ๆ ทั้งภาครฐั และเอกชนจัดห้องสมุดเคลื่อนที่ เช่น สถาบันส่งเสริมและพัฒนา นวตั กรรมการเรียนรู้ กรุงเทพมหานคร มลู นิธสิ กิ ขาเอเชยี เป็นตน้ หอ้ งสมดุ เคลื่อนท:่ี Bookmobile ในโลกสมยั ใหม่ จักรยาน เกวียน รถลาก ลา อูฐ มอเตอร์ไซด์ เรือ เฮลิคอปเตอร์ รถไฟและรถตู้ ส่ิงเหล่านี้มีอะไรท่ี เหมือนกัน คาตอบคือยานพาหนะเหล่านี้เป็นวิธีการส่งมอบบริการของห้องสมุดให้ให้แก่ผู้ใช้ ทุกวันนี้ ยานพาหนะสิ่งท่พี บได้บอ่ ยทสี่ ดุ คอื รถต้หู รือเป็นท่ีร้จู ักกนั ในนามของ “Bookmobile” Bookmobiles มีการใช้งานในประเทศสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ปี 1905 .. จากบทความที่ตีพิมพ์ในปี 2018 โดย Pew Charitable Trusts เผยว่าในปี 1995 มีการตีพิมพ์ Bookmobiles เกือบ 1,000 รายการ ในขณะที่ปัจจุบันมีจานวนน้อยกว่า 650 รายการเท่านั้น ในขณะท่ีจานวน bookmobiles ลดลง ห้องสมุดจึง ต้องสรรหาวิธีการเข้าถึงผู้ใช้ด้วยวิธีการอ่ืนๆและเพื่อให้ผู้ใช้ตระหนักถึงความสาคัญของห้องสมุดอยู่เสมอ Bookmobile ยงั เลยี นแบบแทรน “การช็อปปงิ้ ออนไลน์” ท่ีลูกคา้ คาดหวังว่าจะได้รับสินคา้ เหมือนกันกับในรูป Bookmobiles ไม่ได้มีไว้เพื่อส่งมอบหนังสือเท่านั้น มันยังเป็นการส่งมอบโปรแกรมมือถือและเทคโนโลยีที่ สาคญั แกผ่ ูใ้ ช้อีกด้วย การให้บริการออนไลน์อาจไม่มีประสิทธิภาพมากนักสาหรับห้องสมุดสาธารณะออนไลน์ตามชุมชนใน ชนบทห่างไกลอันเน่ืองมาจากการขาดการพัฒนาเทคโนโลยี Bookmobiles นาเสนอระบบ Wi-Fi แล็ปท็อป ไอแพด ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์อื่นๆ ให้แก่ผู้ใช้ในชุมชน เมื่อเร็วๆน้ีคุณ Patti บรรณารักษ์ Bookmobile ประจาห้องสมุด BPL (Billings, MT) แชร์เรื่องราวของเด็กในชุมชนที่ได้รับหุ่นยนต์เป็นของขวัญวันเกิดและใช้ แล็ปท็อปของ Bookmobile อัพเดทซอฟต์แวร์ของหุ่นยนต์เพราะคอมพิวเตอร์ท่ีบ้านเขาไม่สามารถรองรับ ซอฟตแ์ วร์ของหุน่ ยนต์นไ้ี ด้

11 เม่ือเร็วๆน้ีคุณ Patti บรรณารักษ์ Bookmobile ประจาห้องสมุด BPL (Billings, MT) แชร์เร่ืองราว ของเด็กในชุมชนท่ไี ด้รบั หุ่นยนตเ์ ปน็ ของขวัญวันเกิดและใช้แล็ปท็อปของ Bookmobile อัพเดทซอฟต์แวร์ของ หนุ่ ยนต์เพราะคอมพวิ เตอร์ทบ่ี ้านเขาไมส่ ามารถรองรับซอฟต์แวรข์ องหุ่นยนต์น้ไี ด้ จากรัฐ Texas ไปสู่รัฐ Kentucky: โครงการ Two Bookmobile Programs โครงการห้องสมุดเคลอื่ นท่ีของหอ้ งสมุดชมุ ชน Texas’ Lake Travis Community Library ได้รับการ ยกย่องจากคณะกรรมการห้องสมุดรัฐ Texas (Texas State Library & Archives Commission) ในเดือน เมษายนท่ีผ่านมา (ในวัน National Bookmobile ท่ี 11 เมษายน) ห้องสมุดนี้เพ่ิงจัดซ้ือ Bookmobile มาไม่ นานและยงั ใหมก่ ับการใช้ผลติ ภณั ฑช์ น้ิ นมี้ าก โดยหอ้ งสมดุ ใหบ้ รกิ ารชุมชนเป็นพ้นื ท่ีครอบคลุมกว่า 100 ตาราง ไมลแ์ ละชุมชนอ่ืนๆขา้ งเคียง รวมไปถงึ สวนสาธารณะ ตูเ้ ก็บอาหาร โรงเรียนเตรียมอนุบาลและส่ิงอานวยความ สะดวกอื่นๆ ในปีแรกท่ีนา Bookmobile มาใช้ห้องสมุดก็สามารถเห็นผลลัพธ์อย่างชัดเจนจากจานวนการยืม คืนหนังสือเกือบ 20,000 รายการและผู้ใช้มากกว่า 10,000 คน ห้องสมุดยังได้สังเกตเห็นจานวนการยืมคืน หนังสือ “แบบดั้งเดิม” และผู้ใช้ที่เพิ่มขึ้นซึ่งอาจเป็นผลมาจากการช่วยโฆษณาบน Bookmobile ซึ่งกันตรง ข้ามกับโครงการของห้องสมุดสาธารณะ Lake Travis Kentucky’s Graves County Library ในรัฐ Kentucky ที่ใช้ Bookmobile มายาวนานกว่า 20 ปีโดยครอบคลุมเขตพื้นท่ีอาเภอ Graves County กว่า 550 ตารางไมล์และให้บริการ Bookmobile ในสถานที่ต่างๆเช่นทะเลสาบ Travis และฟาร์ม Amish จาก ข้อมูลของ Pew หนังสือท่ีถูกยืมกว่าหนึ่งในส่ีน้ันมาจาก Bookmobile คุณ Sandra Hennesee บรรณารักษ์ Bookmobile ประจาห้องสมุด Graves กล่าวว่าในยุคท่ีอินเตอร์เนตความเร็วสูงนั้นมีความสาคัญมากข้ึน เธอ สามารถเช่ือมโยงผู้คนในชมุ ชนพืน้ ที่หา่ งไกลได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพผ่านฮอทสปอตของ Bookmobile Lake Travis ได้รับเงินช่วยเหลือจากหน่วยงานของรัฐและเงินบริจาคจากองค์กรการกุศลในท้องถิ่น เพ่อื ดาเนินโครงการ Bookmobile และโครงการ Bookmobiles LibGuide ของ ALA ยังช่วยสนับสนุนข้อมูล มากมายแกห่ อ้ งสมดุ ที่สนใจดาเนนิ การหอ้ งสมุดเคลอื่ นท่ีเชน่ กนั การมสี ่วนรว่ มของนิตยสารดจิ ิทัลกับการบริการห้องสมดุ เคล่ือนที่ Flipster นาเสนอนิตยสารดิจิทัลจานวนมากท่ีเป็นประโยชน์แก่ท้ังบรรณารักษ์และผู้ใช้ นิตยสาร AudioFile และ Horn Book Magazine ช่วยแจ้งการพัฒนาคอลเลกชั่นสาหรับ bookmobile ในขณะท่ี วารสาร Library Journal ให้การพัฒนาและการสนับสนุนข้อมูลอย่างมืออาชีพ ห้องสมุดเคล่ือนท่ีท่ีมี Wi-Fi และ iPads หรืออุปกรณ์พกพาอ่ืนๆ สามารถแนะนาแหล่งข้อมูลดิจิตอลท้ังหมดของห้องสมุดรวมถึงนิตยสาร ยอดนิยมทมี่ ีใน Flipster เท่านั้น เช่นนิตยสาร TIME นิตยสาร People และนิตยสาร Sports Illustrated แก่ ผใู้ ช้ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ดูรายชือ่ นิตยสารทงั้ หมดบน Flipster ได้ที่ Flipster.com 2. QR Code ปจั จบุ นั เรามกั เห็นสัญลักษณ์เส้นสีดาหักมุมแลดูยึกยือในกรอบสี่เหลี่ยมพื้นสีขาวคล้ายกับเกมหาทาง ออก ปรากฎอยู่ในโฆษณาสนิ ค้าในสื่อต่าง ๆ เชน่ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร ป้ายโฆษณา และนามบัตร สัญลักษณ์ นี้เรียกว่า ควิ อาร์โค้ด ซง่ึ ซอ่ นความหมาย และรายละเอียดทีต่ อ้ งการแสดงเอาไว้ ผู้ประกอบการบางรายก็จะทา ลงิ กไ์ ว้ภายในควิ อาร์โคด้ เพ่ือใหเ้ ข้าเว็บไซต์ของบริษทั ได้ทนั ที QR Code (คิวอาร์ โค้ด) คือ สัญลักษณ์สี่เหลี่ยม ท่ีเริ่มเห็นแพร่หลายในบ้านเรามากขึ้น ไม่ว่าจะเป็น จากหนังสอื พิมพห์ รือนติ ยสาร เรยี กวา่ QR Code (คิวอาร์ โค้ด) ย่อมาจาก Quick Response (ควิ๊ก เรสปอน) เป็นบาร์โค้ด 2 มิติ ท่ีมีต้นกาเนิดมาจากประเทศญ่ีปุ่น โดยบริษัท Denso-Wave (เดนโซ-เวฟ) ตั้งแต่ปี 1994 คุณสมบัติของ QR code คือ เป็นสัญลักษณ์แทนข้อมูลต่างๆ ท่ีมีการตอบสนองที่รวดเร็ว ซ่ึงส่วนใหญ่จะ

12 นามาใช้กับสินค้า, สื่อโฆษณาต่างๆ เพื่อให้ข้อมูลเพิ่มเติม หรือจะเป็น URL (ยูอาร์แอล) เว็บไซต์ เม่ือนากล้อง ของโทรศัพทม์ อื ถือไปถ่าย QR Code ก็จะเข้าสูเ่ ว็บไซตไ์ ดท้ นั ทีโดยไม่ตอ้ งเสยี เวลาพมิ พ์ ประโยชน์ของ QR Code เราสามารถนา QR Code มาประยุกต์ใช้ได้หลากหลายรูปแบบ เช่น แสดง URL ของเวบ็ ไซต์, ข้อความ, เบอรโ์ ทรศัพท์ และข้อมูลท่ีเป็นตัวอักษรได้อีกมากมาย ปัจจุบัน QR Code ถูกนาไปใช้ในหลายๆ ด้านเน่ืองจากความรวดเร็ว เพราะทุกวันน้ีคนส่วนใหญ่จะมีมือถือกันทุกคนและมือถือ เด๋ียวนี้ ก็มีกล้องเกือบทุกรุ่นแล้ว ประโยชน์ท่ีเห็นได้ชัดท่ีสุดของ QR Code คือการแสดง URL ของเว็บไซต์ เพราะ URL โดยปกติแล้วจะจดจายากเพราะยาวและบางทีก็ จะซับซ้อนมาก แต่ด้วย QR Code เราเพียงแค่ ยกมือถือมาสแกน QR Code ท่ีเราพบเห็นตามผลิตภัณฑ์ต่างๆ, นามบัตร, นิตยสาร ฯลฯ แล้วมือถือ จะล้ิงค์ เขา้ เวบ็ เพจที่ QR Code นนั้ ๆ บนั ทกึ ขอ้ มลู อยู่โดยอตั โนมัติ วธิ ีใชง้ าน QR Code วิธีใช้งานคิวอาร์โค้ด ต้องใช้งานผ่านโทรศัพท์มือถือที่มีสัญลักษณ์คิวอาร์โค้ดอยู่ภายในตัวเครื่อง เพียงนา กล้องทอ่ี ยู่บนมือถือแสกนบนควิ อารโ์ คด้ รอสกั ครู่ เคร่อื งจะอา่ นคิวอาร์โค้ดสีดาออกมาเป็นตัวหนังสือที่มีข้อมูล มากมาย เช่นรายละเอียดสินค้า โปรโมชัน สถานท่ีตั้งของบริษัท ร้านค้า เว็บไซต์ เบอร์โทรศัพท์ หากอยู่บน นามบัตร เจ้าของนามบัตรก็จะใส่ท้ังช่ือ อีเมล์ ฯลฯ รวมท้ังสามารถใช้คิวอาร์โค้ดส่ือบอกความในใจได้ด้วย เพียงพิมพ์คิวอาร์โค้ดลงบนการ์ด ผู้ที่ได้รับการ์ดนาโทรศัพท์มือถือที่มีกล้องมาสแกน เพียงเท่านี้ก็รู้ความในใจ ดว้ ยไอทีแลว้ 3. กำรทำพวงมำลยั มะกรดู หอมใบเตย วตั ถุดิบ/อปุ กรณ์ 1. ตะปู ขนาดเลก็ 2. ไมเ้ สียบลกู ชิ้น ขนาดใหญ่ 3. ดอกไม้สาหรบั ตกแตง่ ชายมาลยั 4. มะกรูด 5. ใบเตย

13 วิธีทา 1. เลือกใบเตย ตัดเปน็ ช้ินๆละขนาด 2นิว้ ใชช้ ่วงใบที่แข็ง 1ใบไดป้ ระมาณ 3ชิน้ 2. นาใบเตยท่ีตัดแลว้ ขนาด 2นิ้ว มาผ่าเอาแกนกลาง ของใบเตยออก ให้ได้ขนาดเท่ากนั เพื่อ ความสวยงาม 3. ใชไ้ มเ้ สียบ ลูกมะกรดู ทะลุหัวทา้ ย ลกู เพ่ือใช้นาทางเวลาผกู เชือก และถืองา่ ยในการทา

14 4. นาใบเตย มาพับทลี ะใบ ม้วนเอาได้เงาออก ใชต้ ะปเู สยี บให้ตดิ กบั ลกู มะกรดู ทาสลับไป เร่อื ยๆ เป็นพุ่ม จนเต็มลูก

15 5. จากนน้ั นามาผกู โบว์ สาหรบั แขวน และผกู ชาย ดว้ ยอบุ ะดอกไม้ หรอื อบุ ะใบเตย ก็ได้ ตามใจชอบไดเ้ ลยคะ 4. กำรทำเปเปอรม์ ำเช่ วสั ดอุ ุปกรณ์ 1.แผ่นไมอ้ ัด 2.สโี ปสเตอร์ หรอื สีผสมอาหาร 3.กระดาษทิษชู่ 4.ไมเ้ สยี บลูกช้ิน

16 5.กาว TOA 6.แบบการต์ ูน ข้นั ตอนกำรทำ 1.เริม่ ตน้ โดยการวาดรูปแบบการ์ตนู ออกมาใหเ้ รียบร้อย

17 2.นากระดาษทชิ ชู่มาฉีกเปน็ ช้นิ เลก็ ๆ แล้วนามาแช่นา้ จากน้นั นามาผสมกับกาวและสีโปสเตอร์แล้ว ขยารวมกันให้เปน็ เนื้อเดยี วกัน 3. หลงั จากทนี่ ากระดาษทิชชขู่ ยารวมกับกาวเรยี บรอ้ ยแลว้ ก็นามาเกล่ียตามรปู ภาพทไ่ี ดว้ าดเตรยี มไว้ แลว้ ให้เปน็ รปู ร่าง

18 4. หลงั จากท่ีเกล่ยี ให้เป็นรปู ร่างทเ่ี รียบรอ้ ยแลว้ กน็ าไปตากแดดใหก้ าวแหง้ เพื่อใหท้ ิชชตู่ ิดกระดานกถ็ ือ วา่ เป็นอนั เสร็จเรยี บรอ้ ย 5. ยำเสพตดิ ยาเสพตดิ หมายถงึ สารใดกต็ ามทเ่ี กิดข้นึ ตามธรรมชาติ หรือสารทส่ี งั เคราะหข์ ้ึน เมอี่ นาเข้าสู้ร่างกายไม่ว่าจะ โดยวิธรี บั ประทาน ดม สบู ฉดี หรือดว้ ยวิธีการใด ๆ แล้ว ทาให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจ นอกจากน้ียังจะทาให้เกิด การเสพติดได้ หากใช้สารน้นั เป็นประจาทุกวนั หรือวนั ละหลาย ๆ คร้ัง ลกั ษณะสาคญั ของสารเสพตดิ จะทาใหเ้ กดิ อาการ และอาการแสดงต่อผ้เู สพดังน้ี 1. เกิดอาการด้ือยา หรือต้านยา และเม่ือตดิ แลว้ ตอ้ งการใช้สารนัน้ ในประมาณมากขน้ึ 2. เกดิ อาการขาดยา ถอนยา หรืออยากยา เมื่อใช้สารน้นั เทา่ เดมิ ลดลง หรือหยุดใช้ 3. มีความต้องการเสพทั้งทางร่างกายและจิตใจ อยา่ งรุนแรงตลอดเวลา 4. สุขภาพรา่ งกายทรุดโทรมลง เกดิ โทษต่อตนเอง ครอบครวั ผ้อู ื่น ตลอดจนสังคม และประเทศชาติ ประเภทของยำเสพติด ยาเสพติด แบง่ ได้หลายรูปแบบ ตามลกั ษณะตา่ ง ๆ ดงั น้ี 1. แบ่งตามแหลง่ ที่เกิด ซ่งึ จะแบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คือ 1.1 ยาเสพตดิ ธรรมชาติ (Natural Drugs) คอื ยาเสพติดท่ีผลติ มาจากพืช เชน่ ฝิน่ กระท่อม กญั ชา เป็นต้น 1.2 ยาเสพตดิ สงั เคราะห์ (Synthetic Drugs) คือยาเสพตดิ ที่ผลิตข้ึนดว้ ยกรรมวิธที าง เคมี เชน่ เฮโรอนี แอมเฟตามนี เปน็ ตน้ 2. แบ่งตามพระราชบญั ญัตยิ าเสพตดิ ให้โทษ พ.ศ.2522 ซง่ึ จะแบง่ ออกเป็น 5 ประเภท คอื 2.1 ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ ประเภทท่ี 1 ไดแ้ ก่ เฮโรอีน แอลเอสดี แอมเฟตามีน หรือยาบ้า ยาอีหรือยาเลิฟ 2.2 ยาเสพติดใหโ้ ทษ ประเภทที่ 2 ยาเสพติดประเภทนส้ี ามารถนามาใชเ้ พ่ือประโยชน์ ทางการแพทย์ได้ แตต่ ้องใชภ้ ายใตก้ ารควบคุมของแพทย์ และใช้เฉพาะกรณที ่จี าเปน็ เท่านน้ั ไดแ้ ก่ ฝนิ่ มอร์ฟีน โคเคน หรอื โคคาอนี โคเคอนี และเมทาโดน

19 2.3 ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ 3 ยาเสพติดประเภทน้ีเป็นยาเสพติดให้โทษท่ีมียาเสพติด ประเภทที่ 2 ผสมอยู่ด้วย มีประโยชน์ทางการแพทย์ การนาไปใช้เพ่ือจุดประสงค์อื่น หรือเพ่ือเสพติด จะมี บทลงโทษกากับไว้ ยาเสพติดประเภทน้ี ได้แก่ ยาแก้ไอ ท่ีมีตัวยาโคเคอีน ยาแก้ท้องเสีย ที่มีฝิ่นผสมอยู่ด้วย ยาฉีด ระงบั ปวดต่าง ๆ เช่น มอร์ฟนี เพทดิ นี ซึง่ สกดั มาจากฝ่ิน 2.4 ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ 4 คือสารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ 1 หรือประเภทท่ี 2 ยาเสพติดประเภทน้ีไม่มีการนามาใช้ประโยชน์ในการบาบัดโรคแต่อย่างใด และมีบทลงโทษกากับ ไว้ดว้ ย ได้แกน่ ้ายาอะเซตคิ แอนไฮไดรย์ และ อะเซติลคลอไรด์ ซึ่งใช้ในการเปลี่ยนมอร์ฟีนเป็นเฮโรอีน สารคลอซูได อีเฟครนี สามารถใช้ในการผลิตยาบ้าได้ และวัตถุออกฤทธ์ิต่อจิตประสาทอีก 12 ชนิด ที่สามารถนามาผลิตยาอีและ ยาบ้าได้ 2.5 ยาเสพติดใหโ้ ทษประเภทที่ 5 เป็นยาเสพติดให้โทษท่ีมิได้เข้าข่ายอยู่ในยาเสพติดประเภทท่ี 1 ถงึ 4 ไดแ้ ก่ ทุกสว่ นของพชื กญั ชา ทกุ สว่ นของพืชกระทอ่ ม เหด็ ขคี้ วาย เปน็ ตน้ 3. แบ่งตามการออกฤทธ์ติ ่อจิตประสาท ซงึ่ แบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ 3.1 ยาเสพติดประเภทกดประสาท ได้แก่ ฝนิ่ มอรฟ์ นี เฮโรอีน สารระเหย และยากล่อม ประสาท 3.2 ยาเสพติดประเภทกระตนุ้ ประสาท ไดแ้ ก่ แอมเฟตามนี กระท่อม และ โคคาอนี 3.3 ยาเสพติดประเภทหลอนประสาท ได้แก่ แอลเอสดี ดีเอม็ พี และ เห็ดขี้ควาย 3.4 ยาเสพติดประเภทออกฤทธิ์ผสมผสาน กล่าวคือ อาจกดกระตุ้น หรือ หลอนประสาทได้ พร้อม ๆ กัน ตัวอยา่ งเช่น กญั ชา 4. แบ่งตามองค์การอนามยั โลก ซง่ึ แบง่ ออกไดเ้ ปน็ 9 ประเภท คอื 4.1 ประเภทฝนิ่ หรือ มอร์ฟีน รวมทั้งยาท่ีมีฤทธิ์คล้ายมอร์ฟีน ได้แก่ ฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน เพทิดนี 4.2 ประเภทยาปิทูเรท รวมทั้งยาท่ีมีฤทธิ์ทานองเดียวกัน ได้แก่ เซโคบาร์ปิตาล อะโมบาร์ ปิตาล พาราลดไี ฮด์ เมโปรบาเมท ไดอาซแี พม เป็นต้น 4.3 ประเภทแอลกอฮอล ได้แก่ เหล้า เบยี ร์ วิสก้ี 4.4 ประเภทแอมเฟตามีน ไดแ้ ก่ แอมเฟตามีน เมทแอมเฟตามนี 4.5 ประเภทโคเคน ได้แก่ โคเคน ใบโคคา 4.6 ประเภทกญั ชา ได้แก่ ใบกัญชา ยางกัญชา 4.7 ประเภทใบกระท่อม 4.8 ประเภทหลอนประสาท ได้แก่ แอลเอสดี ดีเอ็นที เมสตาลีน เมลัดมอนิ่งกลอร่ี ต้น ลาโพง เหด็ เมาบางชนิด 4.9 ประเภทอน่ื ๆ นอกเหนอื จาก ๘ ประเภทข้างต้น ไดแ้ ก่ สารระเหยตา่ ง ๆ เช่น ทินเนอร์ เบนซิน น้ายาล้างเลบ็ ยาแก้ปวด และบหุ ร่ี วธิ กี ำรเสพยำเสพตดิ กระทาได้หลายวธิ ี ดงั นค้ี อื 1. สอดใต้หนังตา 2. สบู 3. ดม 4. รับประทานเข้าไป 5. อมไว้ใต้ลิ้น

20 6. ฉดี เข้าเหงอื ก 7. ฉีดเขา้ เสน้ เลือด 8. ฉีดเข้ากลา้ มเน้อื 9 เหน็บทางทวารหนัก ยำเสพตดิ ที่แพร่ระบำดในประเทศไทย ไดแ้ ก่ 1. ยาบา้ 2. ยาอี ยาเลฟิ หรอื เอก็ ซ์ตาซี 3. ยาเค 4. โคเคน 5. เฮโรอนี 6. กัญชา 7. สารระเหย 8. แอลเอสดี 9. ฝิน่ 10. มอรฟ์ นี 11. กระท่อม 12. เหด็ ข้ีควาย สำเหตุของกำรติดยำเสพติด มีหลายประการ ดงั น้คี ือ 1. อยากลอง อยากรู้ อยากเห็น อยากสัมผัส ซึ่งเป็นสัญชาตญาณอย่างหนึ่งของมนุษย์ โดยคิดว่า \"ไมต่ ิด\" แตเ่ ม่ือลองเสพเขา้ ไปแล้วมกั จะติด 2. ถกู เพอื่ นชกั ชวน ส่วนใหญพ่ บในกลุม่ เยาวชน ทาตามเพอ่ื น เพราะต้องการ การยอมรับจากเพื่อน ฝงู หรือถกู ชักจูงว่าใช้แล้วทาให้สมองปลอดโปรง่ หรอื ใช้แล้วทาใหข้ ยันจึงเหมาะแก่การเรยี น และการทางาน 3. ถูกหลอกลวง โดยอาศัยรูปแบบสีสันสวยงาม ทาให้ผู้รับไม่อาจทราบได้ว่า สิ่งท่ีตนได้รับเป็นยา เสพตดิ 4. ใช้เพ่ือลดความเจ็บปวดทางกาย อันเนื่องมาจากโรคภัยไข้เจ็บ จนเกิดการติดยา เพราะใช้เป็น ประจา 5. เกิดจากความคนอง และขาดสติย้ังคิด ทั้ง ๆ ท่ีรู้ว่าเป็นยาเสพติด แต่อยากแสดง ความเก่งกล้า อวดเพอื่ น จงึ ชวนกันเสพจนติด 6. ภาวะสิ่งแวดล้อมรอบตัว เอ้ืออานวยที่จะส่งเสริม และผลักดันให้หันเข้าหายาเสพติด เช่น ครอบครวั แตกแยก สมาชกิ ในครอบครัวขาดความเขา้ ใจซ่ึงกันและกัน ภาวะเศรษฐกิจบีบบังคับให้ทาเพื่อความอยู่รอด อยากรวยเรว็ หรอื พกั อาศยั อยู่ ในแหลง่ ทมี่ ีการเสพและค้ายาเสพติด โทษ/พิษภยั ของยำเสพตดิ การใช้ยาเสพติด มีโทษและพิษภัยรอบตัว นอกจากจะส่งผลกระทบในทางไม่ดีโดยตรงต่อตัวผู้เสพแล้ว ท้ัง ทางรา่ งกายและจิตใจ ยังส่งผลกระทบทางอ้อมไปยังครอบครัวผู้เสพ ตลอดจนเศรษฐกิจ สังคม และประเทศชาติอีก ด้วย วิธีสังเกตอุ ำกำรผตู้ ิดยำเสพตดิ จะสังเกตว่าผู้ใดใช้หรอื เสพยาเสพตดิ ให้สังเกตจากอาการและการเปลี่ยนแปลงท้ังทางร่างกาย และจิตใจ ดงั ตอ่ ไปนี้

21 1. การเปลย่ี นแปลงทางรา่ งกาย จะสงั เกตได้จาก 1.1 สุขภาพร่างกายทรุดโทรม ซูบผอม ไม่มีแรง อ่อนเพลยี 1.2 ริมฝีปากเขียวคลา้ แหง้ และแตก 1.3 รา่ งกายสกปรก เหง่ือออกมาก กล่ินตวั แรงเพราะไมช่ อบอาบน้า 1.4 ผิวหนงั หยาบกรา้ น เป็นแผลพุพอง อาจมีหนองหรือน้าเหลือง คลา้ ยโรคผิวหนัง 1.5 มีรอยกรีดดว้ ยของมคี ม เปน็ รอยแผลเป็นปรากฏท่บี ริเวณแขน และ/หรอื ทอ้ งแขน 1.6 ชอบใส่เสื้อแขนยาว กางเกงขายาว และสวมแว่นตาดาเพื่อปิดบงั มา่ นตาท่ี ขยาย 2. การเปลี่ยนแปลงทางจติ ใจ ความประพฤติและบุคลิกภาพ สงั เกตุได้จาก 2.1 เปน็ คนเจ้าอารมย์ หงดุ หงิดงา่ ย เอาแต่ใจตนเอง ขาดเหตผุ ล 2.2 ขาดความรบั ผดิ ชอบต่อหน้าท่ี 2.3 ขาดความเช่ือม่ันในตนเอง 2.4 พูดจากร้าวรา้ ว แม้แต่บดิ ามารดา ครู อาจารย์ ของตนเอง 2.5 ชอบแยกตวั อยู่คนเดียว ไมเ่ ขา้ หน้าผู้อ่นื ทาตัวลึกลับ 2.6 ชอบเข้าหอ้ งน้านาน ๆ 2.7 ใชเ้ งินเปลืองผิดปกติ ทรัพยส์ ินในบา้ นสูญหายบ่อย 2.8 พบอปุ กรณ์เกีย่ วกบั ยาเสพติด เชน่ หลอดฉดี ยา เขม็ ฉดี ยา กระดาษตะกัว่ 2.9 ม่ัวสมุ กับคนท่มี ีพฤติกรรมเกย่ี วกับยาเสพติด 2.10 ไม่สนใจความเปน็ อยู่ของตนเอง แตง่ กายสกปรก ไม่เรียบรอ้ ย ไม่ค่อยอาบน้า 2.11 ชอบออกนอกบ้านเสมอ ๆ และกลับบา้ นผดิ เวลา 2.12 ไม่ชอบทางาน เกียจคร้าน ชอบนอนต่นื สาย 2.13 มีอาการวติ กกังวล เศรา้ ซมึ สหี น้าหมองคลา้ 3. การสงั เกตอุ าการขาดยา ดังต่อไปน้ี 3.1 นา้ มูก น้าตาไหล หาวบ่อย 3.2 กระสับกระสา่ ย กระวนกระวาย หายใจถี่ ปวดท้อง คล่นื ไส้ อาเจยี น เบ่อื อาหาร นา้ หนักลด อาจมีอจุ าระเปน็ เลอื ด 3.3 ขนลุก เหง่ือออกมากผิดปกติ 3.4 ปวดเมือ่ ยตามร่างกาย ปวดเสยี วในกระดูก 3.5 มา่ นตาขยายโตขึ้น ตาพร่าไม่สู้แดด 3.6 มอี าการสน่ั ชกั เกร็ง ไข้ขึ้นสงู ความดันโลหติ สงู 3.7 เปน็ ตะคริว 3.8 นอนไมห่ ลบั 3.9 เพ้อ คลุ้มคล่งั อาละวาด ควบคุมตนเองไม่ได้ กำรตรวจพิสูจน์หำสำรเสพติดในรำ่ งกำย การตรวจหาสารเสพติดในรา่ งกาย แบง่ ออกเปน็ ๒ ขัน้ ตอน 1. การตรวจข้นั ต้น : ราคาถกู ไดผ้ ลเร็ว มชี ุดตรวจสาเร็จรูป ความแม่นยาในการตรวจปาน กลาง สดวกในการนาไปตรวจนอกสถานที่ 2. การตรวจขนั้ ยืนยนั : เปน็ การตรวจทใ่ี ห้ผลแม่นยา แต่ใช้เวลาตรวจนาน คา่ ใช้จา่ ยสงู

22 กำรบำบดั รักษำผู้ตดิ ยำเสพติด การบาบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด หมายถึง การดาเนินงานเพ่ือแก้ไขสภาพร่างกาย และจิตใจของผู้ติดยาเสพ ติดให้เลิกจากการเสพ และสามารถกลับไปดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติ การบาบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด แบง่ ออกเปน็ 3 ระบบคือ 1. ระบบสมัครใจ หมายถึง ผู้ติดยาเสพติดสมัครใจเข้ารับการบาบัดรักษาในสถานพยาบาลต่าง ๆ ท้ังของภาครฐั และเอกชน 2. ระบบตอ้ งโทษ หมายถึง ผู้ติดยาเสพติดท่ีกระทาความผิดและถูกคุมขัง จะได้รบั การบาบัดรักษา ในสถานพยาบาลที่กาหนดได้ตามกฎหมาย เช่น ทัณฑสถานบาบัดพิเศษ กรมราชทัณฑ์ กระทรวงมหาดไทย, สานกั งานคุมประพฤติ กระทรวงยุตธิ รรมหรือสถานพินจิ และค้มุ ครองเด็กกลาง กระทรวงยุตธิ รรม 3. ระบบบงั คบั บาบัด หมายถึง ผทู้ ่ที างราชการตรวจพบวา่ มีสารเสพตดิ ในร่างกาย จะต้องถูกบังคับ บาบดั ตาม พ.ร.บ. ฟืน้ ฟูสมรรถภาพผู้ตดิ ยาเสพติด พ.ศ.2534 ในสถานพยาบาลที่จัดข้ึนตาม พ.ร.บ. ดังกล่าว เป็น ระยะเวลา 6 เดือน และขยายได้จนถึงไม่เกิน 3 ปี ระบบนี้ยังไม่เปิดใช้ในขณะน้ี การบาบัดรักษา และฟื้นฟู สมรรถภาพผตู้ ิดยาเสพติด มี 4 ขั้นตอน คือ 3.1 ขั้นเตรียมการก่อนบาบัดรักษา (Pre - admission) เพื่อศึกษาประวัติภูมิหลังของผู้ติด ยาเสพตดิ ทัง้ จากผู้ขอรบั การรักษา และครอบครัว 3.2 ข้ันถอนพิษยา (Detoxification) เป็นการบาบดั รักษาอาการทางกายทีเ่ กิดจากการใช้ยาเสพติด โดยผู้ขอรบั การรักษา สามารถเลอื กใช้บรกิ ารแบบผู้ป่วยนอก หรอื ผ้ปู ่วยใน กไ็ ด้ตามสะดวก 3.3 ข้นั การฟื้นฟูสมรรถภาพ (Rehabilitation) เป็นการบาบดั รกั ษาเพื่อปรับเปล่ียน ลักษณะนิสัย บุคลิกภาพ พฤติกรรม เพ่ือให้รู้จักตนเอง และมีความเข้มแข็งในจิตใจ เพ่ือให้ผู้รับการบาบัดมีความเชื่อมั่นในการ กลบั ไปดาเนนิ ชวี ติ ในสังคมได้อยา่ งปกติ โดยไม่หวนกลับไปเสพซา้ อกี 3.4 ขัน้ ติดตามดูแล (After - case) เป็นการติดตามดูแลผู้เลิกยาเสพติดที่ได้ผ่านการบาบัดครบทั้ง 3 ข้ันตอนข้างต้นแล้ว เพ่ือให้คาแนะนา แก้ไขปัญหาและให้กาลังใจผู้เลิกยาเสพติด ให้ดาเนินชีวิตอย่างปกติสุขใน สงั คมไดย้ ่งิ ข้นิ สถำนบำบัดรกั ษำผ้ตู ดิ ยำเสพติด ผู้ติดยาเสพติด หรือ ผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด สามารถขอรับการบาบัดรักษาได้ตามสถานพยาบาลต่าง ๆ ทเี่ ป็นหน่วยงานของรัฐบาล และเอกชน ท้ังในเขตกรุงเทพมหานคร และสว่ นภมู ภิ าค

23 บทท่ี 3 วธิ กี ำรดำเนินงำน ควำมหมำย PDCA คือ วงจรการบริหารงานคุณภาพ ย่อมาจาก 4 คา ได้แก่ Plan (วางแผน), Do (ปฏิบัติ), Check (ตรวจสอบ) และ Act (การดาเนนิ การให้เหมาะสม) ซึ่งวงจร PDCA สามารถประยุกต์ใช้ได้กับทุกๆ เรื่อง นับตั้งแต่ กิจกรรมส่วนตัว เช่น การปรุงอาหาร การเดินทางไปทางานในแต่ละวัน การต้ังเป้าหมายชีวิต และการดาเนินงาน ในระดับบริษัท ซึ่งรายละเอยี ดในแต่ละข้นั ตอนมดี ังน้ี 1. P = Plan ขนั้ ตอนการวางแผน ข้ันตอนการวางแผนครอบคลุมถึงการกาหนดกรอบหัวข้อท่ีต้องการปรับปรุงเปล่ียนแปลง ซึ่งรวมถึงการ พัฒนาส่ิงใหม่ ๆ การแก้ปัญหาท่ีเกิดข้ึนจากการปฏิบัติงาน ฯลฯ พร้อมกับพิจารณาว่ามีความจาเป็นต้องใช้ข้อมูล ใดบ้างเพื่อการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงน้ัน โดยระบุวิธีการเก็บข้อมูลและกาหนดทางเลือกในการปรับปรุงให้ชัดเจน ซ่ึงการวางแผนจะช่วยให้กิจการสามารถคาดการณ์สิ่งที่เกิดขึ้นในอนาคต และช่วยลดความสูญเสียต่าง ๆ ท่ีอาจ เกิดขน้ึ ได้ ทัง้ ในด้านแรงงาน วัตถุดบิ ช่ัวโมงการทางาน เงิน และเวลา 2. D = Do ข้ันตอนการปฏิบัติ ขั้นตอนการปฏิบัติ คือ การลงมือปรบั ปรุงเปลี่ยนแปลงตามทางเลือกที่ได้กาหนดไว้ในข้ันตอนการวางแผน ซ่ึงในขั้นตอนน้ีต้องมีการตรวจสอบระหว่างการปฏิบัติด้วยว่าได้ดาเนินไปในทิศทางท่ีต้ังใจหรือไม่ เพื่อทาการ ปรับปรงุ เปลี่ยนแปลงใหเ้ ป็นไปตามแผนการทไ่ี ด้วางไว้ 3. C = Check ขนั้ ตอนการตรวจสอบ ขั้นตอนการตรวจสอบ คือ การประเมินผลท่ีได้รับจากการปรับปรุงเปล่ียนแปลง เพื่อให้ทราบว่า ใน ข้นั ตอนการปฏบิ ัติงานสามารถบรรลเุ ป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ท่ีได้กาหนดไว้หรือไม่ แต่ส่ิงสาคัญก็คือ ต้องรู้ว่าจะ ตรวจสอบอะไรบ้างและบอ่ ยครง้ั แคไ่ หน เพอื่ ให้ขอ้ มลู ที่ไดจ้ ากการตรวจสอบเป็นประโยชนส์ าหรับข้ันตอนถดั ไป 4. A = Action ข้นั ตอนการดาเนนิ งานให้เหมาะสม ขนั้ ตอนการดาเนนิ งานใหเ้ หมาะสมจะพิจารณาผลท่ีได้จากการตรวจสอบ ซ่ึงมีอยู่ 2 กรณี คือ ผลท่ีเกิดขึ้น เป็นไปตามแผนที่วางไว้ หรอื ไมเ่ ป็นไปตามแผนท่ีวางไว้ หากเป็นกรณีแรก ก็ให้นาแนวทางหรือกระบวนการปฏิบัติ นั้นมาจัดทาให้เป็นมาตรฐาน พร้อมท้ังหาวิธีการท่ีจะปรับปรุงให้ดียิ่งข้ึนไปอีก ซ่ึงอาจหมายถึงสามารถบรรลุ

24 เป้าหมายได้เร็วกวา่ เดมิ หรอื เสียค่าใช้จ่ายนอ้ ยกว่าเดมิ หรือทาให้คุณภาพดีย่ิงข้ึนก็ได้แต่ถ้าหากเป็นกรณีที่สอง คือ ผลที่ได้ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ตามแผนที่วางไว้ ควรนาข้อมูลท่ีรวบรวมไว้มาวิเคราะห์และพิจารณาว่าควรจะ ดาเนินการอย่างไร เช่น มองหาทางเลือกใหม่ท่ีน่าจะเป็นไปได้ ใช้ความพยายามให้มากข้ึนกว่าเดิม ขอความ ชว่ ยเหลอื จากผู้รู้ หรอื เปล่ยี นเปา้ หมายใหม่ เปน็ ตน้ ประโยชน์ 1. การวางแผนงานกอ่ นการปฏบิ ัตงิ าน จะทาให้เกิดความพร้อมเมอ่ื ไดป้ ฏิบตั ิงานจริงการวางแผนงานควร วางใหค้ รบ 4 ขนั้ ดงั น้ี 1.1 ขั้นการศึกษา คือ การวางแผนศึกษาข้อมูล วิธีการ ความต้องการของตลาด ข้อมูลด้าน วตั ถดุ บิ ดา้ นทรพั ยากรทีม่ ีอยู่หรือเงินทนุ 1.2 ขั้นเตรียมงาน คือ การวางแผนการเตรียมงานด้านสถานที่ การออกแบบผลิตภัณฑ์ ความ พร้อมของพนักงาน อุปกรณ์ เครอ่ื งจักร วตั ถดุ บิ 1.3 ขั้นดาเนินงาน คือ การวางแนวทางการปฏิบัติงานของแต่ละส่วนแต่ละฝ่าย เช่น ฝ่ายผลิต ฝา่ ยขาย 1.4 ข้ันการประเมินผล คือ การวางแผนหรือเตรียมการประเมินผลงานอย่างเป็นระบบ เช่น ประเมนิ จากยอดการจาหนา่ ย ประเมนิ จากการตชิ มของลกู คา้ เพ่อื ให้ผลท่ีไดจ้ ากการประเมนิ เกิดการเทย่ี งตรง 2. การปฏิบัติตามแผนงาน ทาให้ทราบขั้นตอน วิธีการ และสามารถเตรียมงานล่วงหน้าหรือทราบ อุปสรรคลว่ งหน้าด้วย ดังนั้น การปฏิบัติงานก็จะเกดิ ความราบรน่ื และเรียนร้อย นาไปสู่เปา้ หมายทไ่ี ดก้ าหนดไว้ 3. การตรวจสอบ ให้ได้ผลทเี่ ทย่ี งตรงเชือ่ ถือได้ ประกอบด้วย 3.1 ตรวจสอบจากเป้าหมายท่ไี ดก้ าหนดไว้ 3.2 มีเคร่อื งมอื ทเ่ี ชื่อถือได้ 3.3 มีเกณฑก์ ารตรวจสอบทชี่ ัดเจน 3.4 มกี าหนดเวลาการตรวจทแี่ น่นอน 3.5 บุคลากรที่ทาการตรวจสอบต้องได้รับการยอมรับจากทุกหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง เมอ่ื การตรวจสอบได้รับการยอมรับ การปฏบิ ตั ิงานขน้ั ต่อไปกด็ าเนินงานตอ่ ไปได้ 4. การปรับปรงุ แกไ้ ข ขอ้ บกพร่องทเี่ กดิ ขึ้น ไมว่ ่าจะเป็นข้นั ตอนใดก็ตาม เมื่อมกี ารปรับปรุงแก้ไขคุณภาพก็ จะเกิดข้ึน ดงั นน้ั วงจร PDAC จงึ เรยี กวา่ วงจรบรหิ ารงานคณุ ภาพ

25 วิธีกำรดำเนนิ งำน ขัน้ ท่ี 1 P = Plan ขัน้ ตอนกำรวำงแผน โดยมวี ธิ กี ำรดงั นี้ 1. ประชุมวางแผนร่วมกันของผู้บริหารและบุคลากร กศน.อาเภอวังทรายพูน ในเรื่องของการกาหนด สถานท่ี กลุ่มเป้าหมาย ระยะเวลาการจัดกิจกรรม และกาหนดประเภทการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านของ กลุ่มเป้าหมาย 2. เขียนโครงการ โดยเสนอโครงการตอ่ ผ้บู รหิ ารเพอื่ พจิ ารณาและอนุมตั โิ ครงการต่อไป 3. ประชมุ คณะบคุ ลากร กศน.อาเภอวังทรายพูนในการกาหนดผู้รับผิดชอบของแตล่ ะกจิ กรรม 4. ประชาสมั พนั ธ์การจดั โครงการ โดยการประชาสัมพนั ธใ์ หก้ านนั ผใู้ หญ่บ้าน ประกาศเสียงตามสายใน ชมุ ชน และการประชาสัมพนั ธผ์ า่ น Facebook และเวบ็ ไซตแ์ หล่งเช่อื มโยงการเรียนรู้ 5. จัดเตรียมส่ือในการจดั กจิ กรรม 6. สร้างเคร่ืองมือในการประเมินผลการจัดกิจกรรม ซ่ึงได้เตรียมแบบประเมินการสังเกตพฤติกรรมใน การเข้ารว่ มโครงการไวใ้ ห้กับผู้เขา้ รว่ มโครงการ ขน้ั ท่ี 2 D = Do ขั้นตอนการปฏิบตั ิ ดาเนนิ การจัดกจิ กรรม โดยใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมสามารถเข้าร่วมกจิ กรรมทั้งหมด 6 กิจกรรมดงั น้ี 1. ฐานการเรยี นรยู้ าเสพตดิ การปอ้ งกันปัญหายาเสพตดิ 2. ฐานการเรยี นรู้ศาสตรพ์ ระราชา 3. ฐานการเรียนร้รู ถโมบายเคลอ่ื นท่ี (วาดภาพระบายสี, เรียนรูจ้ ากสื่อดิจติ อล,บันทกึ การอา่ น) 4. ฐานการเรยี นรูพ้ วงมาลยั มะกรดู ใบเตย 5. ฐานการเรยี นรเู้ ปเปอร์มาเช่ 6. กิจกรรมบรกิ ารตัดผมฟรี 3. C = Check ขน้ั ตอนกำรตรวจสอบ เก็บข้อมลู เพ่ือการประเมินผลด้วยแบบสงั เกตพฤติกรรม วิเคราะหข์ ้อมูลและจดั ทารายงาน 4. A = Action ขั้นตอนกำรดำเนนิ งำนใหเ้ หมำะสม บันทึกข้อคน้ พบจากการประเมิน ข้อเสนอแนะจากการวเิ คราะห์ผลการประเมนิ เผยแพรแ่ ละรายงาน นาขา่ วขึ้นเผยแพรบ่ นเว็บไซต์ สานักงาน กศน. ระบบเชอ่ื มโยงแหลง่ การเรียนร้แู ละ Facebook.com/หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี”อาเภอวงั ทรายพูน

26 1. ฐานการเรยี นร้ยู าเสพติด การป้องกนั ปัญหายาเสพติด โดยได้รับความอนุเคราะห์วิทยากรในการให้ความรู้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรมจากสถานีตารวจภูธรอาเภอ วงั ทรายพูน จังหวดั พจิ ติ ร และได้จัดนทิ รรศการความรู้เรอื่ งยาเสพตดิ ให้กับผู้เข้าร่วมกจิ กรรม 2. ฐานการเรยี นรศู้ าสตร์พระราชา โดยวิทยากรเล่าเรื่องประวัติศาสตร์ชาติไทยให้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ฟัง เพ่ือแสดงความจงรักภักดีต่อ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ต่อประเทศเทศไทย และให้ดูสารคดีส้ัน ๆ เก่ียวกับพระมหากษัตริย์ไทยแต่ละพระองค์ เพื่อใหผ้ ู้รบั ความรู้เพิม่ เติมและสามารถนาไปใช้ให้เกิดประโยชนไ์ ด้ 3. ฐานการเรยี นรู้รถโมบายเคลอ่ื นที่ (วาดภาพระบายสี, เรยี นรูจ้ ากส่อื ดจิ ิตอล,บนั ทกึ การอ่าน) โดยใหผ้ เู้ ขา้ ร่วมโครงการได้เรยี นรกู้ ิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่านบนรถโมบาย ของสานักงาน กศน.จังหวัดพิจิตร ซึ่งมีท้ังส่ือที่เป็นหนังสือ ท่ีมีหลากหลายประเภท และส่ืออิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ แท็ปเล็ต เครื่องเล่น DVD นอกจากนี้แล้วยังมีสื่อพัฒนาการเรียนรู้ อินเทอร์เน็ต ให้บริการด้วย พร้อมทั้งมีเคร่ืองปรับอากาศเพื่อสร้าง บรรยากาศให้น่าข้นึ ไปใชบ้ นรถโมบายมากยิ่งข้ึน รถโมบายของ สานักงาน กศน.

27 4. ฐานการเรยี นร้พู วงมาลัยมะกรดู ใบเตย โดยแจกแผน่ พับข้ันตอนการประดิษฐพ์ วงมาลัยมะกรดู ใบเตยให้กบั ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม จากนนั้ วิทยากร ได้อธบิ ายวัสดุ ต่าง ๆ และประโยชน์ของการประดิษฐพ์ วงมาลยั มะกรูดใบเตยว่าต้องนาไปใช้ได้อยา่ งไรบ้างและ อธบิ ายการประดิษฐ์พวงมาลัยมะกรูดใบเตยไปทีละขนั้ ตอน จากนัน้ ใหผ้ ูเ้ ข้าร่วมกิจกรรมประดษิ ฐ์พวงมาลยั มะกรดู ใบเตยจนเสรจ็ และนากลบั ไปใชท้ ี่บา้ นของตนเอง 5. ฐานการเรียนรู้เปเปอร์มาเช่ โดยวทิ ยากรได้อธิบายวสั ดุ ต่าง ๆ และประโยชนข์ องการทาเปเปอร์มาเช่ว่าต้องนาไปใชไ้ ด้อยา่ งไรบ้าง และอธิบายการทาเปเปอร์มาเช่ไปทีละขัน้ ตอน จากนน้ั ใหผ้ ู้เขา้ รว่ มกิจกรรมลงมือทาเปเปอรม์ าเช่จนเสรจ็ และ นากลบั ไปใช้ทบี่ ้านของตนเอง 6. กจิ กรรมบรกิ ารตัดผมฟรี โดยได้รับความอนุเคราะห์จากชุดชุมชนสัมพันธ์ สถานีตารวจภูธรวังทรายพูนในการออกหน่วย ใหบ้ รกิ ารตัดผมชายฟรีใหก้ บั ผ้เู ขา้ ร่วมกิจกรรม

28 บทที่ 4 ผลกำรดำเนนิ งำน จากผลการจัดโครงการห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอวังทรายพูนเคล่ือนที่ สู่ชุมชน วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2565 ณ โรงเรียนบ้านทุ่งโม่ง หมู่ที่ 10 ตาบลวังทรายพูน อาเภอวังทรายพูน จังหวัดพิจิตร มีผู้เข้าร่วมโครงการท้ังหมด 102 คน แบ่งเป็นเพศหญิง 54 คน เป็นเพศชาย จานวน 48 คน โดยถือว่าบรรลุ เป้าหมายที่กาหนดไว้ โดยการจัดโครงการน้ีได้ให้ผู้เข้าร่วมโครงการ 100 คนตอบแบบประเมินความพึงพอใจ ดงั ตารางตอ่ ไปนี้ สรุปแบบประเมินควำมพึงพอใจ จำนวน (คน) รอ้ ยละ ตอนที่ 1 ขอ้ มลู ทั่วไป 48 48.00 1. เพศ 52 52.00 เพศ ชาย 100 100.00 หญิง รวม 2. อายุ จำนวน (คน) รอ้ ยละ 100 100.00 อำยุ 0 0.00 1- 20 ปี 0 0.00 21-40 ปี 0 0.00 41-60 ปี 0 0.00 61-80 ปี 100 100.00 81-100 ปี รวม

29 3. ระดับการศึกษา ระดับกำรศึกษำ จำนวน (คน) ร้อยละ ประถมศึกษา 100 100.00 มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 0 0.00 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 0 0.00 ปวช 0 0.00 อนปุ ริญญา 0 0.00 ปรญิ ญาตรี 0 0.00 ปริญญาโท 0 0.00 ปรญิ ญาเอก 0 0.00 100 100.00 รวม หมำยเหตุ 4. อาชพี อำชพี จำนวน (คน) รอ้ ยละ นกั เรียน/นักศึกษา 100 100.00 เกษตรกรรม 0 0.00 รบั จ้าง/ลูกจ้าง 0 0.00 คา้ ขาย/ธุรกิจส่วนตัว 0 0.00 ข้าราชการ/หน่วยงานภาครฐั 0 0.00 อ่นื ๆ (ระบุ) 0 0.00 100 100.00 รวม

30 ตอนท่ี 2 กำรแสดงควำมคดิ เหน็ ระดับความพึงพอใจ ประเดน็ วดั ความพงึ พอใจ มากทส่ี ุด ระดบั ความพงึ พอใจ นอ้ ย 22 มาก ปานกลาง 0 1. สถานทมี่ ีความเหมาะสมต่อการจดั คน 22.00 74 4 0.00 กิจกรรม ร้อยละ 15 74.00 4.00 0 15.00 79 6 0.00 2. รปู แบบ และวธิ ีการจดั กิจกรรมมี คน 15 79.00 6.00 0 ความทันสมยั รอ้ ยละ 15.00 77 8 0.00 12 77.00 8.00 0 3. ระยะเวลาในการจัดกจิ กรรมตา่ งๆ มี คน 12.00 85 3 0.00 ความเหมาะสม ร้อยละ 26 85.00 3.00 0 26.00 73 1 0.00 4. กิจกรรมมคี วามหลากหลายและ คน 19 73.00 1.00 0 น่าสนใจตรงกับความตอ้ งการ ร้อยละ 19.00 80 1 0.00 33 80.00 1.00 0 5. มีการนาเทคโนโลยสี มัยใหมม่ าใช้ในการ คน 33.00 65 2 0.00 จัดกิจกรรมตา่ งๆ ร้อยละ 25 65.00 2.00 0 25.00 75 0 0.00 6. สอ่ื นวตั กรรมสง่ เสริมการอ่านมีความ คน 26 75.00 0.00 0 ทันสมัยตรงกบั ความต้องการ รอ้ ยละ 26.00 69 5 0.00 69.00 5.00 7. ผ้จู ดั กิจกรรมมีความรคู้ วามสามารถและ คน 24 0 ทกั ษะในการจัดกจิ กรรม ร้อยละ 24.00 76 0 0.00 76.00 0.00 8. ได้รบั ความร้จู ากสื่อทรัพยากร คน สารสนเทศทนี่ าไปให้บรกิ าร รอ้ ยละ 9. ผู้จดั กิจกรรมมีมนุษย์สมั พันธ์ทีด่ ี คน ให้บริการดว้ ยรอยยม้ิ สุภาพ ร้อยละ เป็นมิตร/อัธยาศัยดี คน 10. ได้รบั ประโยชน์จากการเข้ารว่ ม ร้อยละ กจิ กรรมและสามารถนาไปใช้ ในชีวติ ประจาวนั ได้ โดยภาพรวมแลว้ ระดบั ความพงึ พอใจในระดบั มากขึน้ ไปคิดเป็นรอ้ ยละ 97 ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม -

31 ผลกำรดำเนนิ กจิ กรรม พธิ ีเปิดโครงการหอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอวังทรายพูนเคล่ือนท่ี สู่ชุมชน โดยได้รับ เกียรติจากท่านนายวรสิทธ์ิ ศรีบุตร ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านทุ่งโม่ง เป็นประธานในพิธีเปิด และ นางสาวภาวิณี เจริญสุข บรรณารักษ์ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอวังทรายพูน เป็นผู้กล่าวรายงาน นางสาวภาวณิ ี เจริญสุข บรรณารักษ์ ห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” อาเภอวงั ทรายพนู ได้กลา่ วรายงานวัตถปุ ระสงค์ของการจัดโครงการในครั้งนี้ต่อหน้า ทา่ นประธานในพิธี นายวรสทิ ธ์ิ ศรบี ตุ ร ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านทุง่ โมง่ ทา่ นประธานในพิธีกลา่ วใหโ้ อวาทและกล่าวเปิด โครงการ

32 1. ฐานการเรียนรู้ยาเสพตดิ การป้องกันปญั หายาเสพตดิ โดยได้รับความอนุเคราะห์วิทยากรในการให้ความรู้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรมจากสถานีตารวจภูธรอาเภอ วงั ทรายพนู จังหวัดพิจิตร และได้จดั นทิ รรศการความรเู้ รอื่ งยาเสพตดิ ใหก้ ับผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรม

33 2. ฐานการเรียนร้ศู าสตรพ์ ระราชา โดยวิทยากรเล่าเร่ืองประวัติศาสตร์ชาติไทยให้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ฟัง เพ่ือแสดงความจงรักภักดีต่อ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ต่อประเทศเทศไทย และให้ดูสารคดีส้ัน ๆ เก่ียวกับพระมหากษัตริย์ไทยแต่ละพระองค์ เพอ่ื ใหผ้ ้รู ับความรู้เพิม่ เตมิ และสามารถนาไปใช้ให้เกดิ ประโยชนไ์ ด้

34 3. ฐานการเรียนรู้รถโมบายเคลื่อนที่ (วาดภาพระบายสี, เรยี นรจู้ ากส่ือดจิ ิตอล,บันทกึ การอา่ น) โดยให้ผู้เขา้ ร่วมโครงการไดเ้ รยี นรู้กจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่านบนรถโมบาย ของสานักงาน กศน.จังหวัดพิจิตร ซึ่งมีท้ังสื่อที่เป็นหนังสือ ท่ีมีหลากหลายประเภท และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ แท็ปเล็ต เครื่องเล่น DVD นอกจากน้ีแล้วยังมีส่ือพัฒนาการเรียนรู้ อินเทอร์เน็ต ให้บริการด้วย พร้อมทั้งมีเครื่องปรับอากาศเพ่ือสร้าง บรรยากาศให้น่าข้นึ ไปใชบ้ นรถโมบายมากยิ่งข้นึ

35 4. ฐานการเรียนรู้พวงมาลัยมะกรดู ใบเตย โดยแจกแผ่นพับขั้นตอนการประดษิ ฐพ์ วงมาลัยมะกรดู ใบเตยใหก้ ับผ้เู ขา้ ร่วมกจิ กรรม จากนั้นวทิ ยากร ไดอ้ ธบิ ายวสั ดุ ตา่ ง ๆ และประโยชน์ของการประดิษฐพ์ วงมาลัยมะกรูดใบเตยวา่ ต้องนาไปใช้ไดอ้ ยา่ งไรบา้ งและ อธิบายการประดษิ ฐ์พวงมาลัยมะกรดู ใบเตยไปทีละข้นั ตอน จากนัน้ ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมประดิษฐ์พวงมาลยั มะกรูดใบเตยจนเสร็จและนากลบั ไปใชท้ บี่ า้ นของตนเอง

36 5. ฐานการเรียนรเู้ ปเปอรม์ าเช่ โดยวิทยากรได้อธิบายวัสดุ ต่าง ๆ และประโยชน์ของการทาเปเปอร์มาเช่วา่ ต้องนาไปใช้ได้อย่างไรบ้าง และอธิบายการทาเปเปอร์มาเช่ไปทลี ะขั้นตอน จากนน้ั ให้ผู้เข้ารว่ มกิจกรรมลงมือทาเปเปอร์มาเช่จนเสรจ็ และ นากลับไปใชท้ ีบ่ ้านของตนเอง

37 6. กจิ กรรมบรกิ ารตัดผมฟรี โดยได้รับความอนุเคราะห์จากชุดชุมชนสัมพันธ์ สถานีตารวจภูธรวังทรายพูนในการออกหน่วย ใหบ้ ริการตดั ผมชายฟรีใหก้ บั ผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรม

38 บทที่ 5 สรปุ ผลกำรดำเนินงำนและขอ้ เสนอแนะ จากการดาเนินโครงการห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอวังทรายพนู เคลื่อนท่ี สู่ชุมชน มผี ู้เขา้ รว่ มโครงการจานวน 102 คน และจากการตอบแบบสอบถามความพงึ พอใจของผ้เู ขา้ ร่วมกิจกรรมพบว่า ตอนท่ี 1 ข้อมลู ทัว่ ไปผตู้ อบแบบสอบถามทั้งหมด 100 คน พบว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมดมีช่วงอายุ 1 - 20 ปี จานวน 100 คนคิดเป็นร้อยละ 100 สาหรับระดับการศึกษาพบว่า ระดับการศึกษาระดับ ประถมศึกษา จานวน 100 คน คิดเป็นร้อยละ 100 สาหรับอาชีพพบว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรมท้ังหมดมีอาชีพ นักเรยี น/นกั ศกึ ษา จานวน 100 คน คดิ เป็นร้อยละ 100 ตอนท่ี 2 การแสดงความคิดเห็นผ้ตู อบแบบสอบถามจากกล่มุ ตัวอยา่ งท้ังหมด 100 คน พบว่า 1. ความพึงพอใจสถานที่มีความเหมาะสมต่อการจัดกิจกรรม มีความพึงพอใจในระดับมากขึ้นไป จานวน 96 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 96 2. ความพึงพอใจรูปแบบ และวิธีการจัดกิจกรรมมีความทันสมัย มีความพึงพอใจในระดับมากขึ้นไป จานวน 94 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 94 3. ความพึงพอใจระยะเวลาในการจัดกิจกรรมต่างๆ มีความเหมาะสม มีความพึงพอใจในระดับมาก ข้ึนไป จานวน 92 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 92 4. ความพึงพอใจกิจกรรมมีความหลากหลายและน่าสนใจตรงกับความต้องการมีความพึงพอใจใน ระดบั มากข้ึนไป จานวน 97 คน คิดเปน็ ร้อยละ 97 5. ความพึงพอใจมีการนาเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในการจัดกิจกรรมต่างๆ มีความพึงพอใจในระดับ มากขนึ้ ไป จานวน 99 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 99 6. ความพึงพอใจส่ือนวัตกรรมส่งเสริมการอ่านมีความทันสมัยตรงกับความต้องการ มีความพึงพอใจ ในระดับมากข้นึ ไป จานวน 99 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 99 7. ความพงึ พอใจผู้จัดกจิ กรรมมีความรู้ความสามารถและทักษะในการจัดกิจกรรม มีความพึงพอใจใน ระดบั มากขน้ึ ไป จานวน 98 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 98 8. ความพึงพอใจได้รับความรู้จากสื่อทรัพยากรสารสนเทศที่นาไปให้บริการ มีความพึงพอใจในระดับ มากข้นึ ไป จานวน 100 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 9. ความพึงพอใจผู้จัดกิจกรรมมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี ให้บริการด้วยรอยย้ิม สุภาพ เป็นมิตร/อัธยาศัยดี มีความพงึ พอใจในระดับมากข้นึ ไป จานวน 95 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 95 10. ไดร้ บั ประโยชนจ์ ากการเขา้ ร่วมกจิ กรรมและสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ มีความพึงพอใจ ในระดบั มากขึ้นไป จานวน 100 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100 ปญั หำและข้อเสนอแนะ เนอื่ งจากมกี ารแพรร่ ะบาดของโรคไวรัสโคโรนา่ 2019 ทาใหต้ ้องจากัดผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรมในการเข้าร่วม กิจกรรมอย่างเคร่งครัด และมีมาตรการในการป้องกันโรคไวรัสโคโรน่า 2019 อย่างเคร่งครัด สวมหน้ากาก อนามัยตลอดเวลาเข้ารว่ มกจิ กรรม

39 บรรณำนุกรม QR Code. (ม.ป.ป.). [Online]. Available: https://www.mindphp.com/. [2565, มนี าคม 29]. ควำมหมำยของ PDCA. (ม.ป.ป.). [Online]. Available: http://sites.google.com/site/ pumpkin2555/khwampdca. [2565, มนี าคม 29]. ยำเสพติด. (ม.ป.ป.). [Online]. Available: http://www.tamnop.go.th/news/detail/23756/data.html. [2565, มนี าคม 29]. สมหมาย ตามประวตั ิ. (ม.ป.ป.) หอ้ งสมดุ เคลอ่ื นที่ (Bookmobile library). [Online]. Available: https://www.nstda.or.th/th/nstda-knowledge/2849-bookmobile-library [2565, มีนาคม 29].

40 ภำคผนวก

41 บนั ทึกข้อควำมขออนุมตั ิโครงกำร

42 บญั ชีรำยช่ือผ้เู ขำ้ ร่วมโครงกำร

43 แบบประเมนิ ควำมพงึ พอใจในกำรเขำ้ ร่วมโครงกำร

44 คณะผู้จดั ทำ ทปี่ รึกษา นางสาวธนาภรณ์ แสงใส ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอวังทรายพนู คณะทางาน นางสาวภาวิณี เจรญิ สุข บรรณารกั ษ์หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” อาเภอวังทรายพูน รวบรวบสรุปข้อมูล นางสาวภาวณิ ี เจรญิ สขุ บรรณารักษ์หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” อาเภอวังทรายพนู จดั พมิ พ์/ออกแบบปก นางสาวภาวณิ ี เจริญสขุ บรรณารกั ษ์ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อาเภอวังทรายพูน

45 ศูนย์กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัยอำเภอวังทรำยพูน จังหวัดพิจิตร ถนนเขำทรำย-วงั ทอง ต.หนองพระ อ.วงั ทรำยพนู จ.พจิ ติ ร โทร 056-695615