Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุป5บทห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” เคลื่อนที่ 9 ก.พ.65

สรุป5บทห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” เคลื่อนที่ 9 ก.พ.65

Published by koy.23doraemon, 2022-06-05 12:17:19

Description: สรุป5บทห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” เคลื่อนที่ 9 ก.พ.65

Search

Read the Text Version

1

2 คำนำ เอกสารเล่มน้ี เป็นเอกสารรายงานผลการจัดกิจกรรมโครงการห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอวังทรายพูนเคล่ือนท่ี สู่ชุมชน เพ่ือส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน และผู้ร่วมกิจกรรมได้รับ ความร้จู ากการใชส้ อื่ ดิจทิ ัลและได้รบั ความร้เู กีย่ วกบั การใชป้ ระโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลต่าง ๆ รวมไปถึงเป็นการ ประชาสมั พันธ์ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อาเภอวังทรายพูน การทาโครงการน้ี ได้รบั ความรว่ มมือจากผู้บริหารสถานศึกษา คณะครู กศน.วังทรายพูน ทุกท่าน ภาคีเครือขา่ ย ผนู้ าชมุ ชน ปราชญ์ชาวบา้ น นักศึกษา และประชาชน เป็นอยา่ งดีจากการดาเนนิ การจัดกิจกรรม ในคร้ังน้ี จนสาเรจ็ บรรลุตามวตั ถุประสงค์ หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอวงั ทรายพูน จงั หวดั พิจิตร

สำรบัญ 3 คำนำ หนำ้ สำรบัญ บทท่ี 1 2 1 บทนา 2 โครงการห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อาเภอวังทรายพนู เคลื่อนที่ สชู่ ุมชน 3 หลักการและเหตผุ ล 5 วตั ถุประสงค์ 5 เป้าหมาย 6 วธิ ีการดาเนนิ งาน 6 งบประมาณ 6 ผู้รับผดิ ชอบโครงการ สถานทแ่ี ละวันท่ีดาเนนิ งานการจดั กิจกรรม 6 ดัชนีชวี้ ัดผลสาเรจ็ ของโครงการ การติดตามและประเมินผล 7 8 ๒ เอกสำรท่เี ก่ยี วข้อง 9 ห้องสมุดเคล่ือนท่ี 12 QR Code 17 การทาพวงมาลยั มะกรดู หอมใบเตย การทาการบรู หอมแฟนซี 27 ยางยดื พชิ ติ โรค 32 3 วธิ กี ำรดำเนนิ งำน 35 ขนั้ ตอนการดาเนนิ งาน 40 ๔ ผลกำรดำเนินงำน 41 สรปุ แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ 42 ผลการดาเนนิ งาน 5 สรปุ ผลกำรดำเนินงำนและข้อเสนอแนะ บรรณำนุกรม ภำคผนวก บนั ทึกขออนุมตั ิโครงการ บัญชรี ายชื่อผู้เขา้ รว่ มโครงการ แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ

4 บทที่ 1 บทนำ 1. ชอื่ โครงกำร หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี”อาเภอวังทรายพนู เคลอ่ื นที่สชู่ มุ ชน 2. สอดคล้องกับยทุ ธศำสตร์และจดุ เน้นกำรดำเนนิ งำน สำนักงำน กศน. ประจำปีงบประมำณ 2565 นโยบำยท่ีเก่ยี วข้องกบั งำนกำรศึกษำตำมอธั ยำศยั ปี 2565 1. ขับเคล่ือนนโยบำยของ รมต.และ รมช. ( กศน. WoW ข้อ 2 ) GOOD Place – Best Check in 1.1 พฒั นาหอ้ งสมุดประชาชนใหเ้ ปน็ Digital Library เป็นห้องสมุดดิจิทลั ท่มี ชี ีวติ มกี ิจกรรม ส่งเสริมการอา่ นที่หลากหลาย ใช้เทคโนโลยใี นการบรกิ ารและสง่ เสริมการอา่ น บรรยากาศและสภาพแวดล้อม ทเี่ อื้อต่อการเรียนรู้ 2. นโยบำยและจุดเนน้ สำนกั งำน กศน. ประจำปี พ.ศ. 2565 ซึง่ มรี ำยละเอียดทเี่ กี่ยวข้อง กบั งำนกำรศึกษำตำมอัธยำศัย ดังนี้ ข้อ 3. ดา้ นองคก์ ร สถานศึกษา และแหล่งเรียนรูค้ ุณภาพ ข้อ 3.2 ยกระดับมาตรฐาน กศน.ตาบล และศูนย์การเรียนรู้ชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ ฟ้าหลวง” (ศศช.) ให้เป็นพ้ืนทก่ี ารเรยี นรูต้ ลอดชีวิตทสี่ าคญั ของชมุ ชน ข้อ 3.3 ปรับรูปแบบกจิ กรรมในห้องสมดุ ประชาชน ท่ีเน้น Library Delivery เพ่ือเพิ่ม อัตราการอ่าน และการรู้หนงั สอื ของประชาชน ข้อ 3.5 ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างพ้ืนที่การเรียนรู้ในรูปแบบ Public Learning Space / Co- learning Space เพือ่ การสรา้ งนิเวศการเรยี นรูใ้ หเ้ กดิ ขึน้ สงั คม 3. นโยบำยของสำนกั งำน กศน. จงั หวัดพิจติ ร 3.1 เน้นปรบั ปรงุ อาคาร สถานที่ และการใหบ้ รกิ าร ( ห้องสมดุ ประชาชน / กศน. ตาบล ) สอดคล้องกับมำตรฐำนกำรศึกษำและตัวชี้วดั มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศยั มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผ้รู บั บริการการศึกษาตามอธั ยาศัย ประเด็นการพิจารณาที่ 1.1 ผู้รับบริการมีความรู้ หรือทักษะ หรือประสบการณ์ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ของโครงการหรือกิจกรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศัย มาตรฐานที่ 2 คณุ ภาพการจดั การศึกษาตามอธั ยาศยั ประเดน็ การพิจารณาท่ี 2.1 การกาหนดโครงการ หรอื กิจกรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ประเดน็ การพิจารณาท่ี 2.2 ผู้จดั กิจกรรมมคี วามรู้ ความสามารถในการจดั กจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศยั ประเดน็ การพิจารณาที่ 2.3 ส่อื หรือนวตั กรรม และสภาพแวดลอ้ มทเ่ี ออื้ ตอ่ การจัดการศึกษาตามอธั ยาศัย ประเดน็ การพจิ ารณาท่ี 2.4 ผรู้ บั บรกิ ารมคี วามพึงพอใจต่อการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย สอดคลอ้ งกับ หลกั ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง 3. สอดคล้องกับค่ำนิยมหลกั ของคนไทย 12 ประกำร คือ 1. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์

5 2. ซ่ือสตั ย์ เสยี สละ อดทน มีอุดมการณ์ในสง่ิ ที่ดงี ามเพอื่ เพ่อื รวม 3. กตญั ญตู ่อพอ่ แม่ ผปู้ กครอง ครอู าจารย์ 4. ใฝ่หาความรู้ หมัน่ ศึกษาเล่าเรยี นท้งั ทางตรงและทางอ้อม 5. รกั ษาวฒั นธรรมประเพณีไทยอนั ดงี าม 6. มีศลี ธรรม รักษาความสัตย์ หวังดตี ่อผอู้ ่นื เผื่อแผแ่ ละแบ่งบนั 7. เข้าใจเรยี นรูก้ ารเปน็ ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุขที่ถกู ต้อง 8. มีระเบยี บวนิ ยั เคารพกฎหมาย ผู้นอ้ ยรู้จักการเคารพผูใ้ หญ่ 9. มสี ติรู้ตัว รู้คดิ รู้ทา รู้ปฏบิ ตั ติ ามพระราชดารัสของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว 10. รู้จักดารงตนอยู่โดยใชห้ ลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง 11. มีความเขม้ แขง็ ทงั้ ร่างกายและจิตใจ 12. คานงึ ถงึ ผลประโยชน์ของส่วนรว่ ม 4. หลกั กำรและเหตผุ ล ตามนโยบายและจุดเน้นสานักงาน กศน. ประจาปี พ.ศ. 2565 ได้มอบหมายนโยบายให้จัดกิจกรรมใน หอ้ งสมุดประชาชนท่เี น้น Library Delivery เพื่อเพ่มิ อัตราการอ่าน และการรหู้ นังสอื ของประชาชนนัน้ ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอวังทรายพูน มีภารกิจในการให้บริการด้านการศึกษาตาม อัธยาศัย และการศึกษาตลอดชวี ติ ใหก้ บั ประชาชนในพื้นทอ่ี าเภอวงั ทรายพนู โดยมีสื่อใหบ้ ริการที่หลากหลาย โดยมีท้ัง สื่อรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์ มีทั้งการให้บริการในเชิงรับและเชิงรุก พร้อมทั้งการให้บริการเคล่ือนท่ีทุกพื้นที่ใน เขตพื้นทีรับผิดชอบและให้บริการครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย ทั้งนักเรียน นักศึกษาในระบบและนอกระบบและ ประชาชนท่ัวไป ดังน้ัน เพ่ือเป็นการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย และการให้บริการสารสนเทศไปสู่ประชาชนในพ้ืนที่ อย่างท่ัวถึง อีกท้ังยังเป็นการให้บริการในเชิงรุก ด้วยหลักการและเหตุผลดังกล่าว ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอวังทรายพูน จึงได้จัดโครงการห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี”อาเภอวังทรายพูน เคลอื่ นที่สูช่ ุมชน ขึน้ 5. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการอ่านและการเรียนรู้ ปลูกฝังให้ประชาชนทั่วไปมีนิสัยรักการอ่านเพ่ิมมากข้ึน โดยผ่านกิจกรรมการเรียนรู้รถโมบายเคลื่อนที่ ผลไม้การบูรหอมดับกลิ่น, กิจกรรมยางยืดเพ่ือสุขภาพดี, กิจกรรมการ ประดิษฐ์พวงมาลัยมะกรูดใบเตยและการพับเหรียญโปรยทาน พร้อมทั้งส่งเสริมการฝึกทักษะการปฏิบัติและการดูแล รักษาสขุ ภาพ 2. เพื่อส่งเสริมใหผ้ ู้เข้าร่วมกิจกรรมรจู้ กั ใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ปน็ ประโยชน์ 6.เป้ำหมำย เชิงปริมำณ ประชาชนทวั่ ไป จานวน 60 คน

6 เชิงคณุ ภำพ กลุ่มเป้าหมายท่ีเขา้ ร่วมกิจกรรมไดร้ ับบริการส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ มีนิสัยรักการอ่านเพ่ิมมากข้ึน ส่งเสริมสนับสนุนการอ่านและการเรียนรู้ ปลูกฝังให้ประชาชนท่ัวไปมีนิสัยรักการอ่านเพิ่มมากขึ้น โดยผ่านกิจกรรม การเรยี นรู้รถโมบายเคล่ือนท่ี ผลไม้การบูรหอมดับกลนิ่ , กจิ กรรมยางยืดเพอ่ื สขุ ภาพดี, กิจกรรมการประดิษฐ์พวงมาลัย มะกรูดใบเตยและการพับเหรียญโปรยทาน พร้อมท้ังส่งเสริมการฝึกทักษะการปฏิบัติและการดูแลรักษาสุขภาพ และ สามารถใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์ 7.วิธีกำรดำเนนิ งำน กจิ กรรม วตั ถุประสงค์ กล่มุ เป้ำหมำย พน้ื ทดี่ ำเนนิ กำร ระยะเวลำ งบ ประมำณ กศน.อาเภอ 1.สารวจความตอ้ งการ เพื่อทราบถึงความต้องการ ประชาชนท่วั ไป วังทรายพนู 21 ม.ค.65 - ของผู้เข้ารว่ มโครงการ ของผู้เข้ารว่ มโครงการแตล่ ะ จานวน 60 คน กลุ่ม 2.ประชมุ คณะทางาน เพอ่ื ใหผ้ เู้ ก่ยี วขอ้ งได้รว่ มกนั ผบู้ ริหารและ กศน.อาเภอ 26 ม.ค.65 - วงั ทรายพนู วางแผนแนวทางการทางาน บคุ ลากร กศน. อาเภอวังทรายพนู 3.จดั ทาและเสนอขอ เพื่อจัดทาโครงการและ ผบู้ รหิ ารและ กศน.อาเภอ 31 ม.ค.65 - วังทรายพนู อนุมัตโิ ครงการ เสนอขออนมุ ัตโิ ครงการ บุคลากร กศน. อาเภอวังทรายพนู 4.ประสานเครอื ข่าย/ ประสานงานโรงพยาบาล ประชาชนทว่ั ไป หอ้ งสมุดประชาชน” 2 ก.พ.65 - เฉลิมราชกมุ ารี” แหลง่ เรียนรู้ / สง่ เสริมสขุ ภาพประจาตาบล จานวน 60 คน อาเภอวังทรายพนู วิทยากร หนองปล้อง เพอ่ื ดาเนนิ การ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ 5.ดาเนนิ การจัด 1. เพอื่ สง่ เสรมิ ประชาชนท่วั ไป บ้านหนงั สอื ชุมชน 9 ก.พ.65 1,950 โรงพยาบาลส่งเสริม บาท กิจกรรม สนบั สนนุ การอ่านและการ จานวน 60 คน สุขภาพประจาตาบล หนองปลอ้ ง - กจิ กรรมการเรยี นรู้ เรียนรู้ ปลูกฝังให้ประชาชน อาเภอวงั ทรายพนู จังหวดั พจิ ติ ร หอ้ งสมุดประชาชน ทัว่ ไปมีนิสยั รกั การอ่านเพ่มิ “เฉลมิ ราชกมุ ารี” มากข้ึน โดยผา่ นกจิ กรรม อาเภอวงั ทรายพนู การเรยี นรรู้ ถโมบายเคล่ือนที่ - กิจกรรมการเรยี นรู้ ผลไม้การบรู หอมดับกลิ่น, ผลไมก้ ารบรู หอมดับ กิจกรรมยางยืดเพ่ือสขุ ภาพดี, กลนิ่ กจิ กรรมการประดิษฐ์ - กิจกรรมยางยดื เพ่อื พวงมาลัยมะกรดู ใบเตยและ สุขภาพดี การพับเหรยี ญโปรยทาน - กิจกรรมการเรยี นรรู้ ถ พร้อมทงั้ ส่งเสรมิ การฝกึ โมบายเคล่อื นที่ (บรกิ าร ทักษะการปฏิบตั ิและการดูแล

7 กิจกรรม วตั ถปุ ระสงค์ กลมุ่ เปำ้ หมำย พนื้ ทดี่ ำเนนิ กำร ระยะเวลำ งบ ประมำณ สอ่ื ส่งเสรมิ การอา่ น รักษาสขุ ภาพ คณะกรรมการ บ้านหนังสอื ชุมชน 9 - 20 สือ่ สิง่ พมิ พ์ สอ่ื ดจิ ิตอล 2. เพ่ือส่งเสริมให้ผูเ้ ข้าร่วม นเิ ทศ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ ก.พ.65 ฯลฯ – กจิ กรรมการ กจิ กรรมรจู้ กั ใช้เวลาว่างให้ สุขภาพประจาตาบล ประดิษฐ์พวงมาลยั เปน็ ประโยชน์ หนองปลอ้ ง มะกรูดใบเตยและการ อาเภอวังทรายพนู พับเหรียญโปรยทาน 1.เพอ่ื ตดิ ตามและ จงั หวัดพิจติ ร จากริบบิน้ ประเมินผลการดาเนินงาน 2. เพอ่ื นาผลการประเมนิ ไป 7. นเิ ทศ ติดตาม ประเมนิ ผล -แบบสงั เกตการเข้า ร่วมกิจกรรม ปรับปรงุ การดาเนนิ งาน - แบบประเมินความ พึงพอใจ 8.สรุปรายงานการ 1.เพื่อจดั ทาเปน็ ข้อมูล บรรณารกั ษ์ ห้องสมดุ ประชาชน” เสรจ็ สิ้น ดาเนนิ งานโครงการ สารสนเทศและการเผยแพร่ เฉลิมราชกุมารี” กจิ กรรม ประชาสัมพนั ธ์ ห้องสมุด อาเภอวงั ทรายพนู 2. เพอ่ื ประเมนิ ผลการ ประชาชน”เฉลมิ ดาเนนิ โครงการ ราชกมุ ารี”อาเภอ 2.รายงานผลตอ่ ผทู้ ีเ่ กยี่ วข้อง วงั ทรายพูน 8. งบประมำณ เบิกจ่ายจากเงินงบประมาณปี พ.ศ.2565 แผนงาน : ยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและ เสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โครงการขับเคล่ือนการพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนา นวัตกรรมการเรียนรู้ งบรายจ่ายอ่ืน รหัสงบประมาณ 2000235052700018 จานวนเงิน 1,950.-บาท (-หน่ึงพัน เก้าร้อยห้าสิบบาทถว้ น-) มรี ายละเอยี ดดงั นี้ 1. ค่าชดเชยนา้ มันเชื้อเพลิง (รถโมบาย สานกั งาน กศน.จงั หวดั พจิ ติ ร จานวน 1 คัน เป็นเงนิ 500 บาท 2. ค่าปา้ ยโครงการขนาด 1x1.5 เมตร จานวน 1 ป้าย เปน็ เงิน 450 บาท 3. คา่ วัสดุในการจัดกิจกรรม เปน็ เงิน 1,000 บาท - หนังยาง ขนาด 7 นวิ้ จานวน 1 ถุง ๆ ละ 120 บาท เป็นเงนิ 120 บาท - ผ้าใยบวั จานวน 6 หอ่ ๆ ละ 45 บาท เปน็ เงิน 270 บาท

8 - การบูรหอม จานวน 0.6 กโิ ลกรัม ๆ ละ 850 บาท เป็นเงิน 510 บาท - ฟอรา่ เทปสเี ขียว จานวน 4 มว้ น ๆ ละ 25 บาท เป็นเงนิ 100 บาท รวมเปน็ เงินทั้งสิ้น 1,950 บาท (-หนง่ึ พันเกา้ รอ้ ยห้าสิบบาทถ้วน-) หมำยเหตุ: ถัวจำ่ ยทกุ รำยกำร 9. แผนกำรใช้จำ่ ยงบประมำณ กจิ กรรมหลัก ไตรมำสที่ 1 ไตรมำสที่ 2 ไตรมำสที่ 3 ไตรมำสท่ี 4 ( ต.ค.64 – ธ.ค.64 ) ( ม.ค.65 – ม.ี ค.65) ( เม.ย.65– มิ.ย.65 ) ( ก.ค.65–ก.ย.65 ) 1.สารวจความต้องการในการ ดาเนินงาน --- จัดกิจกรรม 2.จัดทาแผนการจดั กจิ กรรม ดาเนินงาน ดาเนินงาน - - 3.ประสานงานผู้เกย่ี วข้อง ดาเนนิ งาน ดาเนนิ งาน - - 4.จัดเตรียมวสั ดอุ ุปกรณ์ ดาเนนิ งาน ดาเนนิ งาน - - กจิ กรรมหลกั ไตรมำสที่ 1 ไตรมำสท่ี 2 ไตรมำสท่ี 3 ไตรมำสท่ี 4 ( ต.ค.64 – ธ.ค.64 ) ( ม.ค.65 – มี.ค.65) ( เม.ย.65– ม.ิ ย.65 ) ( ก.ค.65–ก.ย.65 ) 5.ดาเนนิ การจดั กิจกรรม ดาเนนิ งาน 1,950 บาท 6.ติดตามประเมนิ ผล ดาเนินงาน ดาเนนิ งาน - - 7.สรปุ รายงานผลการจัด ดาเนินงาน ดาเนนิ งาน - - กิจกรรม 10. ผู้รับผดิ ชอบโครงกำร ตาแหนง่ ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอวงั ทรายพนู 1.นางสาวธนาภรณ์ แสงใส ตาแหน่ง ครู คศ.1 2.นางนศิ ารศั มิ์ ไตรยวงค์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย 3.นางสาวกานตส์ ินี ยอดจันทร์ ตาแหน่ง ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น 4.นางสาวณัฎชากร พศิ อ่อน ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล 5.นางสาวบานเยน็ จบู า้ นไร่ ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล 6.นางสาวเหมือนฝนั มีสวัสด์ิ ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล 7.นายสมโพด ราศรี ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล 8.นายจานงค์ กนั ษา ตาแหนง่ ครู ศูนย์การเรยี นชมุ ชน 9.นางกานดา แก้วเกตุ ตาแหน่ง บรรณารักษ์ 10.นางสาวภาวิณี เจริญสขุ ตาแหนง่ พนักงานบริการ 11. นางสาวนงคราญ ปอ้ มสุวรรณ์

9 11.สถำนทแ่ี ละวนั ท่ีดำเนนิ งำนกำรจัดกิจกรรม วนั ที่ดำเนนิ กำร วนั ท่ี 9 กมุ ภาพันธ์ 2565 สถำนทดี่ ำเนินกำร บ้านหนังสอื ชุมชนโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพประจาตาบลหนองปลอ้ ง อาเภอวงั ทรายพูน จงั หวัดพิจติ ร 12. ผลทีค่ ำดวำ่ จะได้รับ 1. กลุ่มเป้าหมายท่ีเขา้ ร่วมกิจกรรมไดร้ ับบริการส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ มีนิสัยรักการอ่านเพิ่ม มากข้ึน โดยผ่านกิจกรรมการเรยี นร้รู ถโมบายเคล่ือนที่ ผลไม้การบูรหอมดับกล่ิน, กิจกรรมยางยืดเพ่ือสุขภาพดี, กิจกรรมการประดิษฐ์พวงมาลัยมะกรูดใบเตยและการพับเหรียญโปรยทาน พร้อมทั้งส่งเสริมการฝึกทักษะการ ปฏิบัตแิ ละการดแู ลรักษาสุขภาพ และสามารถใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์ 2. เกิดนิสัยรักการอา่ นเพ่ิมมากข้ึนและสามารถใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์ 13.ดัชนีชี้วดั ผลสำเร็จของโครงกำร ตวั ช้ีวัดผลผลิต (Output) 1. ร้อยละ 80 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการมีนิสัยรักการเพิ่มมากขึ้น โดยผ่านกิจกรรมการเรียนรู้รถโม บายเคลื่อนท่ี ผลไม้การบูรหอมดับกลิ่น, กิจกรรมยางยืดเพื่อสุขภาพดี, กิจกรรมการประดิษฐ์พวงมาลัยมะกรูด ใบเตยและการพับเหรียญโปรยทาน พร้อมท้ังส่งเสริมการฝึกทักษะการปฏิบัติและการดูแลรักษาสุขภาพ และ สามารถใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์ 2. รอ้ ยละ 80 ของผู้เข้ารว่ มกิจกรรมมคี วามพึงพอใจในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมในระดบั ดขี ึน้ ไป ตวั ชว้ี ัดผลลัพธ์ (Outcome) 1. กลุ่มเป้าหมายท่ีเขา้ ร่วมกิจกรรมไดร้ ับบริการส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ มีนิสัยรักการอ่านเพิ่ม มากข้ึนโดยผ่านกิจกรรมการเรียนรู้รถโมบายเคลื่อนที่ ผลไม้การบูรหอมดับกล่ิน, กิจกรรมยางยืดเพ่ือสุขภาพดี, กิจกรรมการประดิษฐ์พวงมาลัยมะกรูดใบเตยและการพับเหรียญโปรยทาน พร้อมท้ังส่งเสริมการฝึกทักษะการ ปฏิบัติและการดแู ลรักษาสุขภาพ และสามารถใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์ 2. เกิดนสิ ัยรกั การอ่านเพม่ิ มากขนึ้ และสามารถใช้เวลาว่างให้เกดิ ประโยชน์ 14. กำรติดตำมประเมินผลโครงกำร 1 .ประเมนิ ความสาเร็จในการดาเนินการตามโครงการ -แบบสังเกตการเข้าร่วมกิจกรรม 2.การประเมนิ ความพงึ พอใจผ้รู ับบรกิ าร - แบบประเมนิ ความพึงพอใจ

10 บทที่ 2 เอกสำรที่เกยี่ วข้อง 1. ห้องสมุดเคล่อื นที่ (Bookmobile library) Bookmobile library หมายถึง หอ้ งสมดุ เคลอ่ื นที่ เป็นบริการประเภทหน่งึ ของหอ้ งสมดุ ประชาชน ใช้ ยานพาหนะท่ีออกแบบเพ่ือใช้เป็นห้องสมุด เพื่อให้ผู้อ่านสามารถเข้าถึงหนังสือได้ ภายในยานพาหนะน้ีจะมี พื้นท่ีเพียงพอสาหรับคนที่จะน่ังและอ่านหนังสือภายในรถ และสามารถบรรทุกหนังสือออกไปให้บริการ แก่ ประชาชนและกลุ่มบุคคลทมี่ ีความยากลาบากในการเข้าถึงห้องสมุด เช่น ชุมชนแออัด บ้านพักคนชรา สถาน พักฟ้ืน เป็นต้น ทั้งในท้องถิ่นที่ห้องสมุดน้ันตั้งอยู่ หรือในท้องถ่ินที่อยู่ห่างไกล สาหรับยานพาหนะที่ใช้มีท้ัง รถยนต์ รถลาก หรือเรือ ผู้ให้บริการในรถอาจเป็นเจ้าหน้าที่ท่ีขับรถทาหน้าที่เป็นบรรณารักษ์ไปด้วยในตัว บางทมี ีพรอ้ มทง้ั เจ้าหน้าที่ผู้ขบั รถและบรรณารักษ์ นอกจากให้บริการหนังสืออ่านแล้วรถของห้องสมุดเคลื่อนท่ี บางแห่งอาจมีส่ืออื่น ๆ เช่น วีดิทัศน์ เทปเสียง ซีดี-รอม ของเล่น และเกมต่าง ๆ ให้บริการด้วย บริการของ ห้องสมุดเคลื่อนที่เป็นประโยชน์อย่างมาก แก่ประชาชนท่ีอยู่ห่างไกลท่ีไม่สามารถไปใช้บริการของห้องสมุดได้ ทั้งนอ้ี าจเปน็ เพราะไม่มเี วลา การคมนาคมไม่สะดวก หรือยังไม่เห็นความสาคัญของห้องสมุด หรือสาเหตุอ่ืน ๆ ในประเทศไทยนอกจากห้องสมุดประชาชนที่ดาเนินการห้องสมุดเคลื่อน ที่แล้ว ยังมีห้องสมุดของ สถาบนั การศึกษา หนว่ ยงานตา่ ง ๆ ท้ังภาครฐั และเอกชนจัดห้องสมุดเคลื่อนท่ี เช่น สถาบันส่งเสริมและพัฒนา นวตั กรรมการเรยี นรู้ กรงุ เทพมหานคร มูลนธิ ิสกิ ขาเอเชยี เป็นต้น หอ้ งสมุดเคล่ือนท่:ี Bookmobile ในโลกสมัยใหม่ จักรยาน เกวียน รถลาก ลา อูฐ มอเตอร์ไซด์ เรือ เฮลิคอปเตอร์ รถไฟและรถตู้ ส่ิงเหล่านี้มีอะไรท่ี เหมือนกัน คาตอบคือยานพาหนะเหล่านี้เป็นวิธีการส่งมอบบริการของห้องสมุดให้ให้แก่ผู้ใช้ ทุกวันน้ี ยานพาหนะสิง่ ท่ีพบได้บ่อยทสี่ ดุ คอื รถตู้หรือเปน็ ท่รี ู้จักกนั ในนามของ “Bookmobile” Bookmobiles มีการใช้งานในประเทศสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ปี 1905 .. จากบทความที่ตีพิมพ์ในปี 2018 โดย Pew Charitable Trusts เผยว่าในปี 1995 มีการตีพิมพ์ Bookmobiles เกือบ 1,000 รายการ ในขณะท่ีปัจจุบันมีจานวนน้อยกว่า 650 รายการเท่านั้น ในขณะที่จานวน bookmobiles ลดลง ห้องสมุดจึง ต้องสรรหาวิธีการเข้าถึงผู้ใช้ด้วยวิธีการอ่ืนๆและเพ่ือให้ผู้ใช้ตระหนักถึงความสาคัญของห้องสมุดอยู่เสมอ Bookmobile ยงั เลยี นแบบแทรน “การช็อปป้ิงออนไลน์” ทล่ี ูกค้าคาดหวังวา่ จะได้รับสนิ ค้าเหมอื นกันกับในรูป Bookmobiles ไม่ได้มีไว้เพื่อส่งมอบหนังสือเท่าน้ัน มันยังเป็นการส่งมอบโปรแกรมมือถือและเทคโนโลยีท่ี สาคญั แก่ผูใ้ ช้อกี ด้วย การให้บริการออนไลน์อาจไม่มีประสิทธิภาพมากนักสาหรับห้องสมุดสาธารณะออนไลน์ตามชุมชนใน ชนบทห่างไกลอันเนื่องมาจากการขาดการพัฒนาเทคโนโลยี Bookmobiles นาเสนอระบบ Wi-Fi แล็ปท็อป ไอแพด ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์อื่นๆ ให้แก่ผู้ใช้ในชุมชน เม่ือเร็วๆน้ีคุณ Patti บรรณารักษ์ Bookmobile ประจาห้องสมุด BPL (Billings, MT) แชร์เร่ืองราวของเด็กในชุมชนท่ีได้รับหุ่นยนต์เป็นของขวัญวันเกิดและใช้ แล็ปท็อปของ Bookmobile อัพเดทซอฟต์แวร์ของหุ่นยนต์เพราะคอมพิวเตอร์ท่ีบ้านเขาไม่สามารถรองรับ ซอฟต์แวร์ของห่นุ ยนต์น้ไี ด้

11 เม่ือเร็วๆน้ีคุณ Patti บรรณารักษ์ Bookmobile ประจาห้องสมุด BPL (Billings, MT) แชร์เรื่องราว ของเด็กในชุมชนท่ไี ด้รบั หุ่นยนตเ์ ปน็ ของขวญั วันเกิดและใช้แล็ปท็อปของ Bookmobile อัพเดทซอฟต์แวร์ของ หุ่นยนต์เพราะคอมพวิ เตอร์ทบ่ี ้านเขาไมส่ ามารถรองรับซอฟตแ์ วรข์ องห่นุ ยนต์นไ้ี ด้ จากรัฐ Texas ไปสู่รัฐ Kentucky: โครงการ Two Bookmobile Programs โครงการห้องสมุดเคลอื่ นท่ีของหอ้ งสมุดชุมชน Texas’ Lake Travis Community Library ได้รับการ ยกย่องจากคณะกรรมการห้องสมุดรัฐ Texas (Texas State Library & Archives Commission) ในเดือน เมษายนท่ีผ่านมา (ในวัน National Bookmobile ท่ี 11 เมษายน) ห้องสมุดน้ีเพิ่งจัดซื้อ Bookmobile มาไม่ นานและยงั ใหมก่ ับการใช้ผลติ ภัณฑช์ ้นิ นม้ี าก โดยหอ้ งสมดุ ให้บรกิ ารชมุ ชนเปน็ พื้นทค่ี รอบคลุมกว่า 100 ตาราง ไมลแ์ ละชุมชนอ่ืนๆขา้ งเคียง รวมไปถงึ สวนสาธารณะ ตู้เก็บอาหาร โรงเรียนเตรียมอนุบาลและสิ่งอานวยความ สะดวกอื่นๆ ในปีแรกท่ีนา Bookmobile มาใช้ห้องสมุดก็สามารถเห็นผลลัพธ์อย่างชัดเจนจากจานวนการยืม คืนหนังสือเกือบ 20,000 รายการและผู้ใช้มากกว่า 10,000 คน ห้องสมุดยังได้สังเกตเห็นจานวนการยืมคืน หนังสือ “แบบดั้งเดิม” และผู้ใช้ท่ีเพ่ิมขึ้นซึ่งอาจเป็นผลมาจากการช่วยโฆษณาบน Bookmobile ซึ่งกันตรง ข้ามกับโครงการของห้องสมุดสาธารณะ Lake Travis Kentucky’s Graves County Library ในรัฐ Kentucky ที่ใช้ Bookmobile มายาวนานกว่า 20 ปีโดยครอบคลุมเขตพื้นที่อาเภอ Graves County กว่า 550 ตารางไมล์และให้บริการ Bookmobile ในสถานที่ต่างๆเช่นทะเลสาบ Travis และฟาร์ม Amish จาก ข้อมูลของ Pew หนังสือท่ีถูกยืมกว่าหนึ่งในส่ีน้ันมาจาก Bookmobile คุณ Sandra Hennesee บรรณารักษ์ Bookmobile ประจาห้องสมุด Graves กล่าวว่าในยุคที่อินเตอร์เนตความเร็วสูงน้ันมีความสาคัญมากข้ึน เธอ สามารถเช่ือมโยงผู้คนในชมุ ชนพืน้ ทหี่ ่างไกลได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพผ่านฮอทสปอตของ Bookmobile Lake Travis ได้รับเงินช่วยเหลือจากหน่วยงานของรัฐและเงินบริจาคจากองค์กรการกุศลในท้องถ่ิน เพ่อื ดาเนินโครงการ Bookmobile และโครงการ Bookmobiles LibGuide ของ ALA ยังช่วยสนับสนุนข้อมูล มากมายแกห่ อ้ งสมดุ ที่สนใจดาเนนิ การห้องสมุดเคลอื่ นที่เชน่ กนั การมสี ่วนรว่ มของนิตยสารดิจิทัลกับการบริการหอ้ งสมุดเคลอื่ นท่ี Flipster นาเสนอนิตยสารดิจิทัลจานวนมากที่เป็นประโยชน์แก่ทั้งบรรณารักษ์และผู้ใช้ นิตยสาร AudioFile และ Horn Book Magazine ช่วยแจ้งการพัฒนาคอลเลกช่ันสาหรับ bookmobile ในขณะที่ วารสาร Library Journal ให้การพัฒนาและการสนับสนุนข้อมูลอย่างมืออาชีพ ห้องสมุดเคลื่อนท่ีที่มี Wi-Fi และ iPads หรืออุปกรณ์พกพาอ่ืนๆ สามารถแนะนาแหล่งข้อมูลดิจิตอลท้ังหมดของห้องสมุดรวมถึงนิตยสาร ยอดนิยมทมี่ ีใน Flipster เท่านั้น เช่นนิตยสาร TIME นิตยสาร People และนิตยสาร Sports Illustrated แก่ ผใู้ ช้ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ดูรายชอื่ นิตยสารท้ังหมดบน Flipster ไดท้ ี่ Flipster.com 2. QR Code ปจั จบุ นั เรามกั เห็นสัญลักษณ์เส้นสีดาหักมุมแลดูยึกยือในกรอบสี่เหล่ียมพ้ืนสีขาวคล้ายกับเกมหาทาง ออก ปรากฎอยใู่ นโฆษณาสนิ ค้าในส่ือตา่ ง ๆ เชน่ หนงั สือพิมพ์ นิตยสาร ป้ายโฆษณา และนามบัตร สัญลักษณ์ นี้เรียกว่า ควิ อาร์โค้ด ซง่ึ ซอ่ นความหมาย และรายละเอียดทต่ี ้องการแสดงเอาไว้ ผู้ประกอบการบางรายก็จะทา ลงิ กไ์ ว้ภายในควิ อาร์โคด้ เพ่ือใหเ้ ข้าเวบ็ ไซตข์ องบรษิ ทั ได้ทันที QR Code (คิวอาร์ โค้ด) คือ สัญลักษณ์สี่เหลี่ยม ที่เริ่มเห็นแพร่หลายในบ้านเรามากข้ึน ไม่ว่าจะเป็น จากหนังสอื พิมพห์ รือนติ ยสาร เรยี กวา่ QR Code (คิวอาร์ โค้ด) ย่อมาจาก Quick Response (ควิ๊ก เรสปอน) เป็นบาร์โค้ด 2 มิติ ท่ีมีต้นกาเนิดมาจากประเทศญี่ปุ่น โดยบริษัท Denso-Wave (เดนโซ-เวฟ) ต้ังแต่ปี 1994 คุณสมบัติของ QR code คือ เป็นสัญลักษณ์แทนข้อมูลต่างๆ ที่มีการตอบสนองท่ีรวดเร็ว ซ่ึงส่วนใหญ่จะ

12 นามาใช้กับสินค้า, สื่อโฆษณาต่างๆ เพ่ือให้ข้อมูลเพ่ิมเติม หรือจะเป็น URL (ยูอาร์แอล) เว็บไซต์ เมื่อนากล้อง ของโทรศัพทม์ อื ถือไปถ่าย QR Code กจ็ ะเข้าสเู่ ว็บไซต์ไดท้ ันทีโดยไมต่ ้องเสยี เวลาพิมพ์ ประโยชน์ของ QR Code เราสามารถนา QR Code มาประยุกต์ใช้ได้หลากหลายรูปแบบ เช่น แสดง URL ของเวบ็ ไซต์, ข้อความ, เบอรโ์ ทรศัพท์ และข้อมูลที่เป็นตัวอักษรได้อีกมากมาย ปัจจุบัน QR Code ถูกนาไปใช้ในหลายๆ ด้านเน่ืองจากความรวดเร็ว เพราะทุกวันน้ีคนส่วนใหญ่จะมีมือถือกันทุกคนและมือถือ เด๋ียวนี้ ก็มีกล้องเกือบทุกรุ่นแล้ว ประโยชน์ที่เห็นได้ชัดท่ีสุดของ QR Code คือการแสดง URL ของเว็บไซต์ เพราะ URL โดยปกติแล้วจะจดจายากเพราะยาวและบางทีก็ จะซับซ้อนมาก แต่ด้วย QR Code เราเพียงแค่ ยกมือถือมาสแกน QR Code ท่ีเราพบเห็นตามผลิตภัณฑ์ต่างๆ, นามบัตร, นิตยสาร ฯลฯ แล้วมือถือ จะล้ิงค์ เขา้ เวบ็ เพจที่ QR Code นนั้ ๆ บนั ทกึ ขอ้ มูลอยูโ่ ดยอัตโนมัติ วธิ ีใชง้ าน QR Code วิธีใช้งานคิวอาร์โค้ด ต้องใช้งานผ่านโทรศัพท์มือถือที่มีสัญลักษณ์คิวอาร์โค้ดอยู่ภายในตัวเคร่ือง เพียงนา กล้องทอ่ี ยู่บนมือถือแสกนบนควิ อารโ์ คด้ รอสกั ครู่ เครือ่ งจะอ่านคิวอาร์โค้ดสีดาออกมาเป็นตัวหนังสือท่ีมีข้อมูล มากมาย เช่นรายละเอียดสินค้า โปรโมชัน สถานที่ตั้งของบริษัท ร้านค้า เว็บไซต์ เบอร์โทรศัพท์ หากอยู่บน นามบัตร เจ้าของนามบัตรก็จะใส่ท้ังช่ือ อีเมล์ ฯลฯ รวมท้ังสามารถใช้คิวอาร์โค้ดสื่อบอกความในใจได้ด้วย เพียงพิมพ์คิวอาร์โค้ดลงบนการ์ด ผู้ที่ได้รับการ์ดนาโทรศัพท์มือถือที่มีกล้องมาสแกน เพียงเท่านี้ก็รู้ความในใจ ดว้ ยไอทีแลว้ 3. กำรทำพวงมำลยั มะกรดู หอมใบเตย วตั ถุดิบ/อปุ กรณ์ 1. ตะปู ขนาดเลก็ 2. ไมเ้ สียบลกู ชิ้น ขนาดใหญ่ 3. ดอกไม้สาหรบั ตกแต่ง ชายมาลัย 4. มะกรูด 5. ใบเตย

13 วิธีทา 1. เลือกใบเตย ตัดเปน็ ช้ินๆละขนาด 2นิว้ ใชช้ ่วงใบที่แข็ง 1ใบไดป้ ระมาณ 3ชิน้ 2. นาใบเตยท่ีตัดแลว้ ขนาด 2นิ้ว มาผ่าเอาแกนกลาง ของใบเตยออก ให้ได้ขนาดเท่ากนั เพื่อ ความสวยงาม 3. ใชไ้ มเ้ สียบ ลูกมะกรดู ทะลุหัวทา้ ย ลกู เพ่ือใช้นาทางเวลาผกู เชือก และถืองา่ ยในการทา

14 4. นาใบเตย มาพับทลี ะใบ ม้วนเอาได้เงาออก ใชต้ ะปเู สยี บให้ตดิ กบั ลกู มะกรดู ทาสลับไป เร่อื ยๆ เป็นพุ่ม จนเต็มลูก

15 5. จากนั้น นามาผูกโบว์ สาหรบั แขวน และผกู ชาย ดว้ ยอุบะดอกไม้ หรอื อบุ ะใบเตย กไ็ ด้ ตามใจชอบได้เลยคะ 4. กำรทำกำรบรู หอมแฟนซี

16 การบูรเป็นชื่อของต้นไม้ชนิดหน่ึง ที่มีผลึกแทรกอยู่ตามรอยแตกของเนื้อไม้และยังสามารถนาลาต้น, ราก,ใบ มากล่ันหรือสกัดจนได้ผลึกดังกล่าวอีกทางหนึ่งด้วย ซ่ึงแต่เดิมนั้น คาว่า “การบูร” มาจากภาษา สันสกฤตว่า “Karapur” หรือ “กรปูร” ซึ่งแปลว่า “หินปูน” เพราะโบราณเข้าใจว่าผนึกนี้เป็นพวกหินปูนท่ีมี กล่ินหอม ต่อมาช่ือน้ีเพ้ียนเป็น “กรบูร” และเป็น “การบูร” ในปัจจุบัน (ผู้เขียนเข้าใจว่า ช่ือการบูรน้ีคงถูก เรียกจากผลึกที่ได้แล้วจึงนามาตั้งช่ือต้นไม้ที่ให้ผลึก) ส่วนลักษณะของผลึกการบูรน้ัน มีลักษณะเป็นผลึกหรือ เกล็ดกลมๆเล็กๆ มันวาว สีขาวแห้ง มีกล่ินหอมเย็นฉุน มักจะจับกันเป็นก้อนร่วน ๆ แตกง่าย หากทิ้งไว้ใน อากาศ จะระเหิดไปหมด มรี สร้อนปร่าเมา ประโยชน์และสรรพคุณการบูร 1. แก้ปวด แก้เคลด็ บวม ขดั ยอก แพลง แก้กระตุก แก้ปวดข้อ 2. แก้ปวดเสน้ ประสาท 3. ชว่ ยลดคอเลสเตอรอล 4. แก้พิษแมลงตอ่ ย 5. รกั ษาโรคผวิ หนงั เรอื้ รัง 6. ขบั เหง่ือ ขับเสมหะ ขับปสั สาวะ 7. แกไ้ ข้หวัด และขับลม 8. บารุงธาตุ บารุงกาหนัด 9. เปน็ ยากระตุ้นหัวใจ บารุงหัวใจ 10. แกป้ วดทอ้ ง ท้องร่วง ขับน้าเหลอื ง แก้เลอื ดลม 11. บรรเทาอาการปวดประจาเดือน และขบั นา้ คาวปลาในหญิงหลงั คลอดบตุ ร 12. ชว่ ยแกร้ อยผวิ หนงั แตกในช่วงฤดูหนาว 13. สามารถช่วยไล่ยุงและแมลง 14. ใช้รักษาแผล สมานแผล 15. ฆ่าเช้ือโรคท่ีเข้าสู่รา่ งกาย 16. ใช้ไล่แมลง 17. ช่วยลดกลิ่นอบั 18. แก้อาการเมารถ วัสดอุ ุปกรณ์ 1. ผา้ ใยบวั 2. ใยสงั เคราะห์ 3. การบูร 4. กรรไกร 5. ฟอรา่ เทป 6. ใบไม้สาเรจ็ รูป 7. ดา้ ย 8. กาว 9. ดิ้นทอง

17 ข้ันตอนการทา 1. ปน้ั ใยสงั เคราะห์ขนาด ๓ กามอื เป็นลกู กลมๆ ให้แน่นจนเหลือ ๑ กามอื 2. นาการบรู มาใสต่ รงกลางใยสงเคราะห์ท่ีปั้นเปน็ ลูกกลม โดยใชก้ ารบูร ๑ ชอ้ นโต๊ะ

18 3. จากนัน้ ใหน้ าผ้าใยบวั มาหมุ้ ใยสังเคราะห์ 4. ดงึ ผ้าใยบวั ให้แน่นตึง มัดดว้ ยด้ายใหแ้ น่น

19 5. ตกแตง่ ดว้ ยใบไมส้ าเรจ็ รูป บริเวณที่มดั ด้าย 6. สุดท้ายพันด้วยฟอรา่ เทปให้แน่น

20 5. ยำงยืดพชิ ิตโรค วิธกี ำรทำยำงยดื ด้วยหนงั ยำง 1. ใช้ยางวงขนาดใหญร่ ้อยต่อกันเหมอื นข้อโซ่ สำหรับผหู้ ัดใหม่ ร้อยยางเป็นขอ้ ข้อละ 5 – 6 เส้น จานวน 35 – 40 ข้อ สำหรบั ผฝู้ กึ มำนำน อาจเพ่ิมเปน็ ข้อละ 10 เสน้ 2. ระหว่างข้อที่ 13 หรอื 15 และ 23 หรอื 25 ให้เพิ่มจานวนยางมากกวา่ ปกติอีก 2 – 3 เส้น พรอ้ มกบั สอดยางไว้อกี 1 ชุด ในจานวนทเ่ี ทา่ กัน สาหรับคล้องรดั ข้อเทา้ หรือยึดเกาะกบั ขาโตะ๊ ในบางท่า

21 3. หาวัสดุ เช่น ท่อพีวีซมี าสอดทป่ี ลายเป็นท่ีจับ ประโยชนข์ องกำรออกกำลังกำยด้วยยำงยืด 1. ช่วยเสริมสร้างฟน้ื ฟกู ล้ามเนือ้ และเอ็นข้อต่อ 2. ชว่ ยกระชบั กล้ามเนอ้ื ให้แข็งแรงและยืดหย่นุ ไดด้ ี 3. ช่วยกระตนุ้ พฒั นามวลกระดกู ป้องกันปญั หากระดูกบาง กระดกู พรุน ทำ่ กำยบรหิ ำรออกกำลังกำยดว้ ยยำงยดื  ท่ำท่ี 1 บริหำรบำ่ ไหล่ ดันแขนดำ้ นหลัง  สองมือจบั ปลายยาง งอศอกกางดันแขนออก มืออยเู่ หนอื ไหล่ข้างลาตัว ฝา่ มอื หันไปด้านหนา้  ออกแรงผลักดันยาง เหยยี ดแขนท้งั สองข้างชขู นึ้ เหนือศีรษะพร้อมกัน หรือสลบั ทลี ะขา้ ง

22  ทำ่ ท่ี 2 บรหิ ำรกลำ้ มเนื้อสะโพก ดนั ขำด้ำนหน้ำ  ยนื ใช้เทา้ เหยียบก่ึงกลางยาง แขนเหยียดข้างลาตวั สองมือจับปลายเส้นยาง  งอสะโพก งอเขา่ ยอ่ ตวั ลงจนดันขาเกือบขนานกบั พื้น หลังเหยียดตรง เหยยี ดสะโพกและเขา่ กลบั สู่ท่าเรมิ่ ต้น  ทำ่ ท่ี 3 บริหำรกลำ้ มเน้ือไหล่ ลำตัวด้ำนขำ้ ง หลงั ส่วนบน – ลำ่ ง  ยนื ตรง มือขวาจับปลายยางข้างหนงึ่ ไวท้ ่ดี า้ นข้างต้นขาขวา มอื ซ้ายจบั ปลายยางอีกข้าง

23  ยกแขนซ้ายเหนย่ี วดงึ ยางเฉยี งไปด้านซ้ายของลาตัวเลยไปดา้ นหลังจนปลายมือสงู กว่า ศรี ษะเล็กนอ้ ยทาสลับซ้ายขวา  ท่ำที่ 4 บริหำรกล้ำมเนื้ออกส่วนกลำง  พาดยางไวด้ า้ นหลัง ลาตัว ระดับอก ควา่ มือจับปลายยางแตล่ ะขา้ ง  งอศอก กางแขนออกด้านข้างลาตัวระดับอก

24  ออกแรงเหยียดแขนผลักยางยืดไปข้างหน้า งอศอก กลบั ส่ทู ่าเริม่ ต้น  ทำ่ ท่ี 5 บริหำรกลำ้ มเน้ือต้นขำด้ำนหน้ำ สะโพกด้ำนหลัง  ยนื หรือน่งั เก้าอี้ เก่ียวคล้องเสน้ ยางไวท้ ี่ฝา่ มือ มอื จบั ปลายยาง งอเข่า ยกเทา้ ท่ีเก่ียว คลอ้ งยางขน้ึ จากพ้นื งอศอก มือดึงปลายยางแตล่ ะขา้ งไว้  .ใชเ้ ทา้ ถีบยันให้เสน้ ยางยืดออกไปจนเข่าเหยียดตรง

25  ท่ำท่ี 6 บรหิ ำรกล้ำมเนอ้ื บ่ำ ไหล่ ตน้ แขนด้ำนหนำ้  ยนื ใชเ้ ทา้ เหยียบปลายยางด้านหน่งึ ใช้มือจับปลายยางไวโ้ ดยควา่ ฝ่ามอื  ยกั ไหลแ่ ล้วใช้มอื ขา้ งทจี่ ับยางออกแรงดึงยางข้นึ ในลักษณะกางศอกใหส้ งู กว่าขอ้ มือ  ท่ำที่ 7 บรหิ ำรกลำ้ มเนือ้ สะโพกส่วนบน หลงั ส่วนล่ำง  มอื จบั ปลายยางทัง้ สองข้างแลว้ ใชฝ้ ่าเท้าเหยยี บกง่ึ กลางยาง ก้มตวั ไปขา้ งหน้า

26  เหยยี ดตวั ขึ้น หลังตรง  ทำ่ ที่ 8 บริหำรกล้ำมเนื้อไหล่ หลังสว่ นบน  กายางไวด้ ้วยมอื สองข้างกวา้ งประมาณชว่ งไหล่  ใชม้ ือสองข้างเหนี่ยวดงึ ยาง กางแขนออกข้างลาตวั

27  ทำ่ ท่ี 9 บรหิ ำรกล้ำมเนือ้ หลังส่วนลำ่ ง ลำตัวดำ้ นข้ำง  ยืนใช้เทา้ ซ้ายเหยยี บท่ีกลางเส้นยาง งอลาตวั ก้มไปทางเทา้ ที่เหยยี บยาง ใชม้ อื ขวาจบั ยางแลว้ ให้แขนตึง แขนซ้ายงอไขว้ไวท้ ่ีด้านหลังลาตัว  เหยียดลง กลบั สทู่ ่ายนื ตรง บดิ ลาตัวไปทางขวาทาสลบั ซา้ ยขวา  ทำ่ ท่ี 10 บริหำรกล้ำมเน้ือต้นแขนด้ำนหลงั  ยืนหรอื น่งั หลงั ตรง คล้องเสน้ ยางไว้ทต่ี ้นคอ มือจับปลายยางแต่ละขา้ ง ต้นแขนสองขา้ ง แนบชดิ ลาตัว ฝ่ามอื หันเขา้ หากนั

28  ออกแรงดึงยาง เหยยี ดแขนสู่พ้ืนจนแขนตงึ  ท่ำท่ี 11 บรหิ ำรกล้ำมเนอ้ื ไหล่ หลังส่วนบน ต้นแขนด้ำนหนำ้  นั่งเหยยี ดเทา้ หลงั ตรงเกี่ยวคล้องยางไว้ท่ฝี า่ เท้า มือจบั ท่ีปลายยางแต่ละข้างควา่ ฝา่ มือ แขนท้งั สองเหยียดไปทางปลายเท้า  ดงึ ยางกางศอกออกดา้ นข้างลาตัวระดับอก

29  ทำ่ ที่ 12 บรหิ ำรกลำ้ มเน้อื หนำ้ ท้อง นั่งกบั พ้ืน หลงั ตรง ขาเหยยี ดไปข้างหน้า คลอ้ งยางไวท้ ่ีฝ่าเท้า สองมือจบั ปลายยาง ค่อย ๆ เอนหลงั นอนราบกับพื้นแล้วยกศรี ษะ ไหล่ ลาตวั เหนีย่ วดงึ ยางลุกขึน้ ส่ทู า่ น่ัง

30 บทท่ี 3 วธิ กี ำรดำเนินงำน ควำมหมำย PDCA คือ วงจรการบริหารงานคุณภาพ ย่อมาจาก 4 คา ได้แก่ Plan (วางแผน), Do (ปฏิบัติ), Check (ตรวจสอบ) และ Act (การดาเนนิ การให้เหมาะสม) ซึ่งวงจร PDCA สามารถประยุกต์ใช้ได้กับทุกๆ เร่ือง นับต้ังแต่ กิจกรรมส่วนตัว เช่น การปรุงอาหาร การเดินทางไปทางานในแต่ละวัน การต้ังเป้าหมายชีวิต และการดาเนินงาน ในระดับบริษัท ซึ่งรายละเอียดในแต่ละขน้ั ตอนมดี งั นี้ 1. P = Plan ขน้ั ตอนการวางแผน ข้ันตอนการวางแผนครอบคลุมถึงการกาหนดกรอบหัวข้อท่ีต้องการปรับปรุงเปล่ียนแปลง ซึ่งรวมถึงการ พัฒนาส่ิงใหม่ ๆ การแก้ปัญหาที่เกิดข้ึนจากการปฏิบัติงาน ฯลฯ พร้อมกับพิจารณาว่ามีความจาเป็นต้องใช้ข้อมูล ใดบ้างเพื่อการปรับปรุงเปล่ียนแปลงน้ัน โดยระบุวิธีการเก็บข้อมูลและกาหนดทางเลือกในการปรับปรุงให้ชัดเจน ซ่ึงการวางแผนจะช่วยให้กิจการสามารถคาดการณ์สิ่งท่ีเกิดขึ้นในอนาคต และช่วยลดความสูญเสียต่าง ๆ ที่อาจ เกิดขน้ึ ได้ ทัง้ ในด้านแรงงาน วตั ถดุ บิ ช่ัวโมงการทางาน เงิน และเวลา 2. D = Do ขนั้ ตอนการปฏิบัติ ขั้นตอนการปฏบิ ตั ิ คือ การลงมือปรบั ปรุงเปล่ียนแปลงตามทางเลือกที่ได้กาหนดไว้ในขั้นตอนการวางแผน ซ่ึงในขั้นตอนน้ีต้องมีการตรวจสอบระหว่างการปฏิบัติด้วยว่าได้ดาเนินไปในทิศทางที่ต้ังใจหรือไม่ เพื่อทาการ ปรับปรงุ เปลี่ยนแปลงใหเ้ ป็นไปตามแผนการทไ่ี ดว้ างไว้ 3. C = Check ขั้นตอนการตรวจสอบ ขั้นตอนการตรวจสอบ คือ การประเมินผลที่ได้รับจากการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง เพ่ือให้ทราบว่า ใน ข้นั ตอนการปฏบิ ัติงานสามารถบรรลุเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ท่ีได้กาหนดไว้หรือไม่ แต่ส่ิงสาคัญก็คือ ต้องรู้ว่าจะ ตรวจสอบอะไรบ้างและบอ่ ยครง้ั แคไ่ หน เพ่ือใหข้ ้อมูลท่ไี ด้จากการตรวจสอบเปน็ ประโยชนส์ าหรบั ขน้ั ตอนถัดไป 4. A = Action ขน้ั ตอนการดาเนนิ งานใหเ้ หมาะสม ขนั้ ตอนการดาเนินงานให้เหมาะสมจะพจิ ารณาผลท่ีได้จากการตรวจสอบ ซ่ึงมีอยู่ 2 กรณี คือ ผลท่ีเกิดข้ึน เป็นไปตามแผนที่วางไว้ หรือไม่เปน็ ไปตามแผนที่วางไว้ หากเป็นกรณีแรก ก็ให้นาแนวทางหรือกระบวนการปฏิบัติ นั้นมาจัดทาให้เป็นมาตรฐาน พร้อมทั้งหาวิธีการที่จะปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้นไปอีก ซ่ึงอาจหมายถึงสามารถบรรลุ

31 เป้าหมายได้เรว็ กว่าเดมิ หรือเสยี คา่ ใช้จา่ ยน้อยกวา่ เดิม หรือทาให้คุณภาพดียิ่งขึ้นก็ได้แต่ถ้าหากเป็นกรณีที่สอง คือ ผลท่ีได้ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ตามแผนที่วางไว้ ควรนาข้อมูลที่รวบรวมไว้มาวิเคราะห์และพิจารณาว่าควรจะ ดาเนินการอย่างไร เช่น มองหาทางเลือกใหม่ที่น่าจะเป็นไปได้ ใช้ความพยายามให้มากขึ้นกว่าเดิม ขอความ ช่วยเหลอื จากผู้รู้ หรอื เปลีย่ นเปา้ หมายใหม่ เปน็ ตน้ ประโยชน์ 1. การวางแผนงานกอ่ นการปฏิบัตงิ าน จะทาใหเ้ กดิ ความพร้อมเมอื่ ไดป้ ฏบิ ัตงิ านจริงการวางแผนงานควร วางให้ครบ 4 ขน้ั ดงั นี้ 1.1 ขั้นการศึกษา คือ การวางแผนศึกษาข้อมูล วิธีการ ความต้องการของตลาด ข้อมูลด้าน วตั ถดุ ิบ ด้านทรพั ยากรที่มีอยู่หรือเงนิ ทนุ 1.2 ข้ันเตรียมงาน คือ การวางแผนการเตรียมงานด้านสถานท่ี การออกแบบผลิตภัณฑ์ ความ พรอ้ มของพนกั งาน อุปกรณ์ เครอื่ งจกั ร วัตถุดบิ 1.3 ขั้นดาเนินงาน คือ การวางแนวทางการปฏิบัติงานของแต่ละส่วนแต่ละฝ่าย เช่น ฝ่ายผลิต ฝา่ ยขาย 1.4 ขั้นการประเมินผล คือ การวางแผนหรือเตรียมการประเมินผลงานอย่างเป็นระบบ เช่น ประเมนิ จากยอดการจาหน่าย ประเมนิ จากการตชิ มของลกู ค้า เพอื่ ใหผ้ ลทไ่ี ดจ้ ากการประเมินเกิดการเทีย่ งตรง 2. การปฏิบัติตามแผนงาน ทาให้ทราบข้ันตอน วิธีการ และสามารถเตรียมงานล่วงหน้าหรือทราบ อุปสรรคลว่ งหนา้ ด้วย ดังนัน้ การปฏบิ ัตงิ านกจ็ ะเกิดความราบร่นื และเรียนร้อย นาไปสเู่ ปา้ หมายท่ีไดก้ าหนดไว้ 3. การตรวจสอบ ให้ได้ผลที่เที่ยงตรงเช่ือถือได้ ประกอบดว้ ย 3.1 ตรวจสอบจากเป้าหมายท่ไี ด้กาหนดไว้ 3.2 มเี ครอื่ งมือทเ่ี ช่อื ถือได้ 3.3 มเี กณฑ์การตรวจสอบท่ชี ดั เจน 3.4 มกี าหนดเวลาการตรวจท่แี น่นอน 3.5 บุคลากรที่ทาการตรวจสอบต้องได้รับการยอมรับจากทุกหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง เม่ือการตรวจสอบได้รบั การยอมรบั การปฏบิ ตั ิงานขัน้ ต่อไปก็ดาเนินงานตอ่ ไปได้ 4. การปรบั ปรุงแก้ไข ขอ้ บกพร่องที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะเปน็ ข้ันตอนใดกต็ าม เมือ่ มีการปรับปรุงแก้ไขคุณภาพก็ จะเกิดขึน้ ดังนั้น วงจร PDAC จึงเรยี กว่า วงจรบรหิ ารงานคณุ ภาพ

32 วิธกี ำรดำเนินงำน ข้ันที่ 1 P = Plan ขั้นตอนกำรวำงแผน โดยมวี ิธีกำรดังนี้ 1. ประชุมวางแผนร่วมกันของผู้บริหารและบุคลากร กศน.อาเภอวังทรายพูน ในเร่ืองของการกาหนด สถานที่ กลุ่มเป้าหมาย ระยะเวลาการจัดกิจกรรม และกาหนดประเภทการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านของ กลมุ่ เปา้ หมาย 2. เขียนโครงการ โดยเสนอโครงการตอ่ ผบู้ รหิ ารเพ่อื พิจารณาและอนุมัติโครงการตอ่ ไป 3. ประชุมคณะบคุ ลากร กศน.อาเภอวังทรายพูนในการกาหนดผรู้ ับผิดชอบของแต่ละกจิ กรรม 4. ประชาสมั พันธ์การจดั โครงการ โดยการประชาสมั พนั ธ์ให้กานัน ผูใ้ หญบ่ ้าน ประกาศเสียงตามสายใน ชมุ ชน และการประชาสมั พันธผ์ ่าน Facebook และเวบ็ ไซตแ์ หลง่ เช่อื มโยงการเรยี นรู้ 5. จัดเตรยี มสือ่ ในการจดั กจิ กรรม 6. สร้างเครื่องมือในการประเมินผลการจัดกิจกรรม ซ่ึงได้เตรียมแบบประเมินการสังเกตพฤติกรรมใน การเข้าร่วมโครงการไวใ้ ห้กับผ้เู ขา้ รว่ มโครงการ ข้ันท่ี 2 D = Do ขัน้ ตอนการปฏบิ ัติ ดาเนนิ การจดั กจิ กรรม โดยใหผ้ ูเ้ ข้ารว่ มกจิ กรรมสามารถเข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 4 กจิ กรรมดงั น้ี 1. กิจกรรมการเรียนรู้ผลไม้การบรู หอมดบั กลิ่น 2. กิจกรรมยางยดื เพ่ือสขุ ภาพดี 3. กจิ กรรมการเรยี นรู้รถโมบายเคล่ือนที่ (บริการสอ่ื สง่ เสรมิ การอา่ น ส่ือสง่ิ พิมพ์ ส่อื ดจิ ิตอล ฯลฯ) 4. กิจกรรมการประดิษฐ์พวงมาลัยมะกรูดใบเตย 3. C = Check ข้ันตอนกำรตรวจสอบ เก็บข้อมูลเพ่ือการประเมินผลด้วยแบบสังเกตพฤติกรรม วเิ คราะห์ข้อมูลและจดั ทารายงาน 4. A = Action ขัน้ ตอนกำรดำเนนิ งำนให้เหมำะสม บนั ทกึ ข้อคน้ พบจากการประเมนิ ขอ้ เสนอแนะจากการวเิ คราะห์ผลการประเมิน เผยแพร่และรายงาน นาข่าวข้ึนเผยแพร่บนเวบ็ ไซต์ สานกั งาน กศน. ระบบเชอ่ื มโยงแหล่งการเรียนรู้และ Facebook.com/ห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี”อาเภอวงั ทรายพูน

33 1. กจิ กรรมการเรียนรผู้ ลไมก้ ารบรู หอมดบั กลิ่น โดยแจกแผน่ พบั ข้นั ตอนการทาผลไมก้ ารบูรหอมดับกล่นิ ให้กบั ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จากนน้ั วทิ ยากรได้ อธิบายวสั ดุ ตา่ ง ๆ และประโยชน์ของการทาผลไม้การบูรหอมดับกลน่ิ วา่ ตอ้ งนาไปใช้ได้อย่างไรบ้างและ อธบิ ายการทาผลไมก้ ารบรู หอมดบั กลนิ่ ไปทีละขั้นตอน จากน้ันใหผ้ ู้เข้ารว่ มกิจกรรมทาผลไม้การบูรหอมดบั กลิ่นจนเสร็จและนากลบั ไปใช้ที่บ้านของตนเอง 2. กิจกรรมยางยืดเพ่ือสขุ ภาพดี โดยแจกแผ่นพบั ขนั้ ตอนการทายางยืดเพื่อสขุ ภาพดีให้กับผ้เู ขา้ ร่วมกิจกรรม จากนนั้ วิทยากรได้อธิบาย วสั ดุ ต่าง ๆ และประโยชนข์ องการทายางยดื เพื่อสุขภาพดี วา่ ต้องนาไปใช้ได้อย่างไรบ้างและอธบิ ายการทายาง ยดื เพ่อื สุขภาพดีไปทลี ะขัน้ ตอน จากนน้ั ใหผ้ เู้ ข้ารว่ มกิจกรรมทายางยดื เพ่ือสขุ ภาพดีจนเสรจ็ และนากลบั ไปใชท้ ่ี บ้านของตนเอง และใหผ้ ู้เข้ารว่ มกิจกรรมรว่ มกันออกกาลังกายดว้ ยยางยดื พร้อมกนั ตามวทิ ยากร

34 3. กิจกรรมการเรยี นร้รู ถโมบายเคลอื่ นท่ี (บริการสอ่ื สง่ เสริมการอ่าน สือ่ สิ่งพิมพ์ สื่อดจิ ิตอล ฯลฯ) โดยใหผ้ เู้ ข้ารว่ มโครงการไดเ้ รียนร้กู ิจกรรมสง่ เสรมิ การอา่ นบนรถโมบาย ของสานักงาน กศน.จังหวัดพิจิตร ซ่ึงมีท้ังสื่อท่ีเป็นหนังสือ ที่มีหลากหลายประเภท และส่ืออิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ แท็ปเล็ต เครื่องเล่น DVD นอกจากนี้แล้วยังมีสื่อพัฒนาการเรียนรู้ อินเทอร์เน็ต ให้บริการด้วย พร้อมท้ังมีเคร่ืองปรับอากาศเพื่อสร้าง บรรยากาศใหน้ า่ ข้นึ ไปใชบ้ นรถโมบายมากยิ่งข้ึน รถโมบายของ สานักงาน กศน. 4. กิจกรรมการประดิษฐ์พวงมาลัยมะกรดู ใบเตย โดยแจกแผน่ พับขน้ั ตอนการประดษิ ฐ์พวงมาลัยมะกรูดใบเตยให้กับผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรม จากนนั้ วทิ ยากร ไดอ้ ธบิ ายวสั ดุ ต่าง ๆ และประโยชนข์ องการประดิษฐพ์ วงมาลยั มะกรูดใบเตยวา่ ต้องนาไปใชไ้ ด้อย่างไรบ้างและ อธบิ ายการประดษิ ฐ์พวงมาลัยมะกรูดใบเตยไปทลี ะขนั้ ตอน จากนัน้ ใหผ้ ู้เข้าร่วมกจิ กรรมประดษิ ฐ์พวงมาลยั มะกรูดใบเตยจนเสรจ็ และนากลับไปใชท้ ี่บ้านของตนเอง

35 บทท่ี 4 ผลกำรดำเนินงำน จากผลการจัดโครงการห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอวังทรายพูนเคลื่อนที่ สู่ชุมชน วันท่ี 9 กุมภาพันธ์ 2565 ณ บ้านหนังสือชุมชนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจาตาบลหนองปล้อง อาเภอ วังทรายพูน จงั หวัดพิจติ ร มีผ้เู ข้าร่วมโครงการทัง้ หมด 76 คน แบ่งเปน็ เพศหญงิ 44 คน เป็นเพศชาย จานวน 32 คน โดยถือว่าบรรลุเป้าหมายท่ีกาหนดไว้ โดยการจัดโครงการน้ีได้ให้ผู้เข้าร่วมโครงการ 60 คนตอบแบบประเมิน ความพงึ พอใจ ดงั ตารางต่อไปนี้ สรุปแบบประเมนิ ควำมพึงพอใจ จำนวน (คน) รอ้ ยละ ตอนท่ี 1 ข้อมลู ท่ัวไป 23 38.33 1. เพศ 37 61.67 60 100.00 เพศ ชาย หญิง รวม 2. อายุ จำนวน (คน) ร้อยละ 0 0.00 อำยุ 2 3.33 1- 20 ปี 52 86.67 21-40 ปี 6 10.00 41-60 ปี 0 0.00 61-80 ปี 60 100.00 81-100 ปี รวม

36 3. ระดับการศึกษา ระดบั กำรศึกษำ จำนวน (คน) รอ้ ยละ ประถมศกึ ษา 9 15.00 มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 18 30.00 มัธยมศึกษาตอนปลาย 19 31.67 ปวช 0 0.00 อนุปริญญา 0 0.00 ปรญิ ญาตรี 4 6.67 ปริญญาโท 0 0.00 ปรญิ ญาเอก 0 0.00 60 100.00 รวม หมำยเหตุ 4. อาชีพ อำชีพ จำนวน (คน) รอ้ ยละ นกั เรยี น/นักศึกษา 0 0.00 เกษตรกรรม 14 23.33 รับจ้าง/ลกู จา้ ง 34 56.67 คา้ ขาย/ธุรกิจสว่ นตวั 12 20.00 ข้าราชการ/หนว่ ยงานภาครฐั 0 0.00 อ่ืน ๆ (ระบุ) 0 0.00 60 100.00 รวม

37 ตอนท่ี 2 กำรแสดงควำมคดิ เหน็ ระดับความพึงพอใจ ประเดน็ วดั ความพึงพอใจ มากที่สดุ ระดับความพึงพอใจ น้อย 6 มาก ปานกลาง 0 1. สถานทม่ี ีความเหมาะสมต่อการจดั คน 52 2 0.00 กิจกรรม รอ้ ยละ 10.00 86.67 3.33 0 11 46 3 0.00 2. รปู แบบ และวธิ ีการจัดกิจกรรมมี คน 18.33 76.67 5.00 0 ความทนั สมัย รอ้ ยละ 16 44 0 0.00 26.67 73.33 0.00 0 3. ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมตา่ งๆ มี คน 10 49 1 0.00 ความเหมาะสม ร้อยละ 16.67 81.67 1.67 0 13 47 0 0.00 4. กิจกรรมมคี วามหลากหลายและ คน 21.67 78.33 0.00 0 นา่ สนใจตรงกับความต้องการ ร้อยละ 21 39 0 0.00 35.00 65.00 0.00 0 5. มีการนาเทคโนโลยสี มัยใหมม่ าใชใ้ นการ คน 15 41 4 0.00 จัดกิจกรรมตา่ งๆ รอ้ ยละ 25.00 68.33 6.67 0 9 51 0 0.00 6. สื่อนวตั กรรมส่งเสริมการอ่านมีความ คน 15.00 85.00 0.00 0 ทนั สมัยตรงกบั ความต้องการ ร้อยละ 12 48 0 0.00 20.00 80.00 0.00 7. ผจู้ ัดกิจกรรมมีความร้คู วามสามารถและ คน 0 ทกั ษะในการจดั กจิ กรรม ร้อยละ 12 44 4 0.00 20.00 73.33 6.67 8. ได้รบั ความรจู้ ากส่ือทรัพยากร คน สารสนเทศทนี่ าไปใหบ้ ริการ รอ้ ยละ 9. ผู้จดั กิจกรรมมีมนุษย์สมั พันธ์ท่ดี ี คน ใหบ้ ริการดว้ ยรอยย้ิม สุภาพ ร้อยละ เป็นมิตร/อัธยาศยั ดี คน 10. ได้รับประโยชน์จากการเข้ารว่ ม ร้อยละ กจิ กรรมและสามารถนาไปใช้ ในชวี ิตประจาวันได้ โดยภาพรวมแลว้ ระดับความพึงพอใจในระดับมากขึ้นไปคิดเป็นร้อยละ 98 ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม -

38 ผลกำรดำเนินกจิ กรรม พธิ ีเปดิ โครงการหอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอวังทรายพูนเคล่ือนที่ สู่ชุมชน โดยได้รับ เกียรติจากท่านนายวชิระ บรรเจิดกิจ ผู้อานวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจาตาบลหนองปล้อง เป็นประธานในพิธีเปิด และนางสาวภาวิณี เจริญสุข บรรณารักษ์ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอวังทรายพนู เปน็ ผกู้ ลา่ วรายงาน นางสาวภาวณิ ี เจรญิ สุข บรรณารกั ษ์ ห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อาเภอวังทรายพูน ได้กลา่ วรายงานวัตถุประสงค์ของการจดั โครงการในคร้งั น้ีตอ่ หนา้ ทา่ นประธานในพิธี นายวชริ ะ บรรเจิดกจิ ผู้อานวยการโรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพประจาตาบลหนองปลอ้ ง ท่านประธาน ในพิธีกล่าวใหโ้ อวาทและกล่าวเปิดโครงการ

39 1. กิจกรรมการเรียนรผู้ ลไมก้ ารบูรหอมดบั กล่นิ โดยแจกแผน่ พับขั้นตอนการทาผลไมก้ ารบรู หอมดบั กลิน่ ให้กับผู้เข้าร่วมกจิ กรรม จากนน้ั วทิ ยากรได้ อธิบายวสั ดุ ตา่ ง ๆ และประโยชนข์ องการทาผลไม้การบรู หอมดับกลน่ิ วา่ ต้องนาไปใชไ้ ด้อยา่ งไรบ้างและ อธบิ ายการทาผลไม้การบรู หอมดับกล่นิ ไปทลี ะขน้ั ตอน จากน้นั ให้ผ้เู ข้าร่วมกิจกรรมทาผลไม้การบูรหอมดับ กลน่ิ จนเสร็จและนากลับไปใช้ทีบ่ ้านของตนเอง

40 2. กจิ กรรมยางยดื เพื่อสขุ ภาพดี โดยแจกแผน่ พับข้ันตอนการทายางยืดเพื่อสขุ ภาพดีให้กับผู้เข้ารว่ มกิจกรรม จากน้นั วทิ ยากรได้อธบิ าย วัสดุ ตา่ ง ๆ และประโยชน์ของการทายางยืดเพ่ือสุขภาพดี ว่าต้องนาไปใชไ้ ด้อย่างไรบ้างและอธิบายการทายาง ยดื เพื่อสุขภาพดีไปทีละข้ันตอน จากน้นั ใหผ้ เู้ ข้ารว่ มกจิ กรรมทายางยดื เพ่ือสุขภาพดีจนเสรจ็ และนากลับไปใชท้ ่ี บ้านของตนเอง และให้ผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรมรว่ มกันออกกาลงั กายดว้ ยยางยดื พร้อมกันตามวทิ ยากร

41 3. กิจกรรมการเรยี นรู้รถโมบายเคลอื่ นที่ (บริการสือ่ ส่งเสรมิ การอา่ น สอื่ สิ่งพมิ พ์ สื่อดจิ ติ อล ฯลฯ) โดยให้ผเู้ ข้าร่วมโครงการไดเ้ รยี นรู้กิจกรรมส่งเสริมการอ่านบนรถโมบาย ของสานักงาน กศน.จังหวัดพิจิตร ซึ่งมีทั้งส่ือท่ีเป็นหนังสือ ท่ีมีหลากหลายประเภท และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ แท็ปเล็ต เคร่ืองเล่น DVD นอกจากนี้แล้วยังมีสื่อพัฒนาการเรียนรู้ อินเทอร์เน็ต ให้บริการด้วย พร้อมทั้งมีเคร่ืองปรับอากาศเพ่ือสร้าง บรรยากาศให้น่าข้นึ ไปใชบ้ นรถโมบายมากยง่ิ ขึ้น

42 4. กจิ กรรมการประดษิ ฐ์พวงมาลัยมะกรดู ใบเตย โดยแจกแผน่ พบั ข้นั ตอนการประดิษฐ์พวงมาลยั มะกรูดใบเตยใหก้ ับผู้เข้าร่วมกจิ กรรม จากน้นั วทิ ยากร ได้อธบิ ายวสั ดุ ตา่ ง ๆ และประโยชน์ของการประดิษฐพ์ วงมาลยั มะกรดู ใบเตยว่าต้องนาไปใช้ไดอ้ ย่างไรบ้างและ อธบิ ายการประดษิ ฐ์พวงมาลัยมะกรูดใบเตยไปทีละขน้ั ตอน จากนัน้ ให้ผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรมประดิษฐ์พวงมาลยั มะกรูดใบเตยจนเสร็จและนากลับไปใชท้ บี่ า้ นของตนเอง

43 บทท่ี 5 สรปุ ผลกำรดำเนินงำนและขอ้ เสนอแนะ จากการดาเนนิ โครงการห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” อาเภอวังทรายพูน เคลื่อนท่ี สชู่ ุมชน มีผู้เขา้ ร่วมโครงการจานวน 76 คน และจากการตอบแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกจิ กรรมพบวา่ ตอนท่ี 1 ข้อมูลทั่วไปผู้ตอบแบบสอบถามท้งั หมด 60 คน พบว่าผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรมทงั้ หมดมชี ่วงอายุ 21-40 ปี จานวน 2 คน คดิ เป็นร้อยละ 3.33 ช่วงอายุ 41 – 60 ปี จานวน 52 คน คิดเป็นร้อยละ 86.67ช่วง อายุ 61 – 80 ปี จานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 10 สาหรับระดับการศึกษาพบว่า ระดับการศกึ ษาระดบั ประถมศกึ ษา จานวน 9 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 15 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น จานวน 18 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 30 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย จานวน19 คน คิดเปน็ ร้อยละ 31.67 สาหรบั อาชพี พบว่า อาชีพเกษตรกรรม จานวน 14 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 23.33 อาชีพรับจ้าง/ลกู จ้าง จานวน 34 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 56.67 อาชพี ค้าขาย/ธุรกิจสว่ นตัว จานวน 12 คน คิดเปน็ ร้อยละ 20 ตอนที่ 2 การแสดงความคิดเห็นผูต้ อบแบบสอบถามจากกล่มุ ตวั อยา่ งทัง้ หมด 60 คน พบว่า 1. ความพึงพอใจสถานท่ีมีความเหมาะสมต่อการจดั กิจกรรม มคี วามพงึ พอใจในระดับมากขึ้นไป จานวน 58 คน คิดเป็นร้อยละ 96.67 2. ความพึงพอใจรปู แบบ และวิธกี ารจัดกิจกรรมมคี วามทันสมยั มีความพึงพอใจในระดับมากขน้ึ ไป จานวน 57 คน คิดเป็นร้อยละ 95 3. ความพงึ พอใจระยะเวลาในการจดั กิจกรรมต่างๆ มีความเหมาะสม มคี วามพงึ พอใจในระดบั มาก ขน้ึ ไป จานวน 60 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100 4. ความพงึ พอใจกจิ กรรมมคี วามหลากหลายและนา่ สนใจตรงกบั ความต้องการมีความพึงพอใจใน ระดับมากข้นึ ไป จานวน 59 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 98.34 5. ความพงึ พอใจมีการนาเทคโนโลยีสมยั ใหมม่ าใชใ้ นการจัดกิจกรรมตา่ งๆ มีความพึงพอใจในระดับ มากขนึ้ ไป จานวน 60 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 6. ความพงึ พอใจส่ือนวัตกรรมสง่ เสริมการอา่ นมีความทันสมัยตรงกับความต้องการ มีความพงึ พอใจ ในระดับมากขน้ึ ไป จานวน 60 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100 7. ความพึงพอใจผ้จู ัดกจิ กรรมมคี วามรู้ความสามารถและทักษะในการจดั กจิ กรรม มคี วามพงึ พอใจใน ระดับมากขึ้นไป จานวน 56 คน คิดเป็นร้อยละ 93.33 8. ความพึงพอใจไดร้ ับความรู้จากสอ่ื ทรัพยากรสารสนเทศทีน่ าไปใหบ้ ริการ มีความพึงพอใจในระดับ มากข้ึนไป จานวน 60 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 9. ความพึงพอใจผูจ้ ดั กจิ กรรมมมี นษุ ย์สัมพันธท์ ี่ดี ใหบ้ ริการดว้ ยรอยยมิ้ สุภาพ เปน็ มติ ร/อธั ยาศยั ดี มคี วามพึงพอใจในระดบั มากขึ้นไป จานวน 60 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 10. ได้รับประโยชน์จากการเข้ารว่ มกจิ กรรมและสามารถนาไปใชใ้ นชีวิตประจาวันได้ มคี วามพงึ พอใจ ในระดับมากข้ึนไป จานวน 56 คน คิดเปน็ ร้อยละ 93.33 ปญั หำและข้อเสนอแนะ เนื่องจากมกี ารแพรร่ ะบาดของโรคไวรัสโคโรนา่ 2019 ทาให้ตอ้ งจากัดผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรมในการเขา้ รว่ มกิจกรรมอย่างเคร่งครัด และมีมาตรการในการป้องกนั โรคไวรัสโคโรนา่ 2019 อยา่ งเคร่งครัด สวมหน้ากาก อนามยั ตลอดเวลาเขา้ รว่ มกิจกรรม

44 บรรณำนกุ รม QR Code. (ม.ป.ป.). [Online]. Available: https://www.mindphp.com/. [2565, มนี าคม 29]. ควำมหมำยของ PDCA. (ม.ป.ป.). [Online]. Available: http://sites.google.com/site/ pumpkin2555/khwampdca. [2565, มนี าคม 29]. สมหมาย ตามประวตั ิ. (ม.ป.ป.) หอ้ งสมุดเคลือ่ นที่ (Bookmobile library). [Online]. Available: https://www.nstda.or.th/th/nstda-knowledge/2849-bookmobile-library [2565, มนี าคม 29].

45 ภำคผนวก

46 บนั ทึกข้อควำมขออนุมตั ิโครงกำร

47 บญั ชีรำยช่ือผ้เู ขำ้ ร่วมโครงกำร

48 แบบประเมนิ ควำมพงึ พอใจในกำรเขำ้ ร่วมโครงกำร

49 คณะผ้จู ดั ทำ ที่ปรกึ ษา นางสาวธนาภรณ์ แสงใส ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอวงั ทรายพนู คณะทางาน นางสาวภาวิณี เจริญสุข บรรณารักษห์ อ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อาเภอวังทรายพูน รวบรวบสรปุ ข้อมลู นางสาวภาวิณี เจรญิ สขุ บรรณารักษ์หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อาเภอวงั ทรายพูน จัดพิมพ/์ ออกแบบปก นางสาวภาวณิ ี เจริญสุข บรรณารักษห์ ้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อาเภอวงั ทรายพูน ศูนย์กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัยอำเภอวังทรำยพูน จังหวัดพิจิตร ถนนเขำทรำย-วงั ทอง ต.หนองพระ อ.วงั ทรำยพูน จ.พิจิตร โทร 056-695615