๓ อว.ปี กับความสําเร็จการปฏริ ูป การอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ๕.๗ ธัชวิทยม์ ุ่งทิศส่คู วามเปน็ เลศิ ในอนาคต โลกปัจจุบันท่ีมีการแข่งขันสูงข้ึน ความก้าวหน้าของ ความรู้ เทคโนโลยแี ละวทิ ยาการดา้ นวทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั การวิจัยและพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และนวัตกรรมด้านต่าง ๆ ท�ำให้เห็นว่า ประเทศไทย อย่างก้าวกระโดดนับเป็นกุญแจส�ำคัญต่อการพัฒนา มีศักยภาพ ความโดดเด่น และมีผลงานในระดับท่ีมี ประเทศท้ังในด้านเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดล้อม ความพร้อมจะน�ำไปใช้ประโยชน์ทั้งในด้านการพัฒนา และเป็นเรื่องท่ีต้องด�ำเนินการอย่างเร่งด่วน การจะ เศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ ศ. (พเิ ศษ) ดร. เอนก พฒั นาประเทศไทยใหเ้ ปน็ ประเทศทพ่ี ฒั นาแลว้ จำ� เปน็ เหลา่ ธรรมทศั น์ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวง อว. จงึ มดี ำ� ริ ตอ้ งพฒั นาวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรม เพอื่ ทจ่ี ะจดั ตงั้ วทิ ยสถานดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ หง่ ประเทศไทย สร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศอย่าง (Thailand Academy of Science : TAS) หรือเรียก ย่ังยืน ซึ่ง อว. มีสถาบันวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และ ว่า “ธัชวิทย์” ภายใต้ อว. ซ่ึงไม่ได้เป็นการจัดต้ัง เทคโนโลยีที่ครอบคลุมทั้งการวิจัยและนวัตกรรม หนว่ ยงานใหม่ แตเ่ ปน็ การบรู ณาการหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง สำ� หรบั ชมุ ชนและอตุ สาหกรรมไปจนถงึ การวจิ ยั ขนั้ สงู เพื่อรวบรวมสรรพก�ำลังและทรัพยากรให้มาท�ำงาน (Frontier Research) อาทิ การวิจัยเกี่ยวกับอวกาศ รว่ มกนั เพอ่ื ใหเ้ ปน็ ศนู ยก์ ลาง (Hub) ทำ� หนา้ ทเี่ ปน็ กลไก โลก ท้องทะเล พลังงานรูปแบบใหม่ ซ่ึงการวิจัยใน ในการเช่ือมโยงเครือข่ายนักวิจัยและนักวิทยาศาสตร์ ลักษณะนี้จะช่วยยกระดับความสามารถของบุคลากร สถาบันวิจัยแห่งชาติ และมหาวิทยาลัยมาท�ำงาน ให้กับประเทศในหลายสาขา สามารถรองรับ ร่วมกนั รวมทัง้ การใช้ประโยชน์ร่วมกันจากโครงสรา้ ง การเปลย่ี นแปลงของกระแสเทคโนโลยไี ดอ้ ยา่ งทนั ทว่ งที พนื้ ฐานทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยที มี่ อี ยู่ โดยเนน้ นอกจากน้ี ยงั กอ่ ใหเ้ กดิ องคค์ วามรู้ และความสามารถ งานในด้านการพัฒนาความเป็นเลิศด้านวิทยาศาสตร์ มากมายในระหว่างทางการท�ำวิจัย ซ่ึงสิ่งเหล่านี้ล้วน และเทคโนโลยี ท้งั ทเ่ี ปน็ สาขายทุ ธศาสตรแ์ ละสาขาที่ แล้วแต่สามารถน�ำมาสร้างนวัตกรรมได้อย่างต่อเน่ือง จำ� เปน็ ตอ่ อนาคต ดา้ นการพฒั นากำ� ลงั คนในรปู แบบใหม่ รวมถงึ การมสี ถาบนั ดา้ นโครงสรา้ งพน้ื ฐานทางคณุ ภาพ และด้านการขับเคล่ือนและชี้แนะนโยบายต่อรัฐบาล ของประเทศ (National Quality Infrastructure หรอื และสาธารณชน มีกลไกหลักในการขับเคลื่อนและ NQI) ทำ� หนา้ ทวี่ เิ คราะห์ ทดสอบมาตรฐาน และตรวจสอบ ดำ� เนินการมีดังนี้ รับรองด้วยศักยภาพของ อว. ซึง่ เป็นแหลง่ รวมขอ้ มลู 37
กระทรวงการอุดมศึกษา ๒กลไกท่ี ๓กลไกท่ี วิทยาศาสตร วิจยั และนวัตกรรม การพฒั นาสถาบนั วจิ ยั วทิ ยาศาสตร์ การพฒั นากำ� ลงั คนดา้ นวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติเสมือน และเทคโนโลยีขั้นสูงแบบมุ่งเป้า Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation เ พ่ื อ ส ร ้ า ง ขี ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ (STEM Workforce) โดยการใช้ ในการแข่งขัน (Intelligence สถาบันวิจัยที่มีเคร่ืองมือส�ำคัญ ๑กลไกที่ and Multidisciplinary Team) มารว่ มกบั มหาวทิ ยาลยั ทม่ี บี คุ ลากร การสรา้ งเครอื ขา่ ยคลงั สมองทาง ซึ่งเน้นทั้งสาขาท่ีจะเป็นรากฐาน คณุ ภาพ ธชั วทิ ยจ์ ะใชก้ ลไกทที่ ำ� ให้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อ ส�ำคัญในอนาคต และสาขาท่ีเป็น สถาบนั วจิ ยั ทำ� หนา้ ทผ่ี ลติ กำ� ลงั คน การพฒั นาประเทศ (Think Tank) ยุทธศาสตร์ของประเทศ โดยเน้น ได้ เสมอื นเปน็ บณั ฑติ วทิ ยาลยั แหง่ ท่ีจะรวบรวมผู้เช่ียวชาญและ การท�ำงานกับเครือข่ายพันธมิตร หนงึ่ ได้ เพอ่ื ผลติ กำ� ลงั คนคณุ ภาพสงู ผทู้ รงคณุ วฒุ ใิ นสาขาตา่ งๆใหม้ ารว่ ม การรวมกลุ่มงานวิจัยท่ีมีอยู่ และ ตอบโจทย์ความต้องการก�ำลังคน ทำ� งาน โดยหนว่ ยงานดา้ นนโยบาย การสร้างกลุ่มงานวิจัยใหม่ เลือก ของประเทศ โดยให้สถาบันวิจัย จะท�ำหน้าท่ีศึกษาวิจัยนโยบาย เรื่องท่ีดีท่ีสุดและส่ิงที่ดีท่ีสุดรวม ภายใต้ อว. ผลติ และพัฒนากำ� ลัง ออกแบบนโยบาย ขับเคลื่อนและ เข้าไว้ด้วยกัน เกดิ พลงั ในการสร้าง คนโดยเฉพาะในระดับสูงกว่า ผลักดันนโยบายไปสู่การปฏิบัติ ผลงาน องค์ความรู้ใหม่ และท�ำ ปริญญาตรี ร่วมกับสถาบัน รวมถงึ การชแ้ี นะนโยบายใหร้ ฐั บาล นวตั กรรมได้ อุดมศึกษา เช่น ก�ำลังคนด้าน และทำ� ใหส้ าธารณชนเกดิ ความเขา้ ใจ อวกาศ ดาราศาสตร์ นิวเคลียร์ แ ล ะ ต ร ะ ห นั ก ถึ ง ค ว า ม ส� ำ คั ญ เพ่ือให้เกิดความเชื่อมโยงระหว่าง ของนโยบายด้วย การเช่ือมโยง การศึกษาและการวิจัย โดยเน้น การสนับสนุนเชิงนโยบาย ท้ัง การผลิตกำ� ลงั คนในรูปแบบใหม่ ๆ การสรา้ งรปู แบบเครอื ขา่ ย การสรา้ ง ซ่ึงขณะนี้ มีกลไกแซนด์บ็อกซ์ ความสัมพันธ์ ความเข้มแข็งและ ขับเคลื่อนนวัตกรรมอุดมศึกษา พัฒนาความเปน็ ผู้นำ� ใน ๓ มิติ คอื ท่ีจะช่วยสนับสนุนการท�ำงานใน มติ นิ โยบายสาธารณะและทศั นคติ ลกั ษณะนไ้ี ด้ ของผู้ก�ำหนดนโยบาย มิติสถาบัน ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อพัฒนาพ้ืนที่กลยุทธ์ และมิติ ก�ำลังแรงงานฐานความรู้ โดย การท�ำหน้าที่ “เป็นที่พึ่งได้ของ ประเทศ ให้ค�ำตอบในเร่ืองส�ำคัญ ของประเทศได”้ ธัชวิทย์ ถือเป็นผลงานการปฏิรูปเพื่อดึงศักยภาพของหน่วยงานในระบบนิเวศนวัตกรรมที่มีอยู่ ทั้งในกระทรวงและนอกกระทรวงใหม้ าทำ� งานรว่ มกัน และเกิดการใช้ทรัพยากรร่วมกัน ซ่ึงจะน�ำไปสู่ การพัฒนาไทยให้เป็นประเทศทพี่ ฒั นาแล้ว 38
๓ อว.ปี กบั ความสําเร็จการปฏิรูป การอุดมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรมของประเทศ ๕.๘ ธชั ชาขับเคลอื่ นดา้ นสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศิลปกรรมศาสตร์ ครง้ั สำ� คญั ของประเทศ อว. ไดป้ ฏริ ูปการวิจยั และวชิ าการด้านสังคม ซงึ่ จะเป็นพลังสำ� คญั ในการร่วมขบั เคล่อื นประเทศ โดยได้ จัดต้ังวิทยสถานสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศิลปกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทย (Thailand Academy of Social Sciences, Humanities and Arts: TASSHA) หรอื “ธชั ชา” อยา่ งเปน็ ทางการ เม่อื วนั ท่ี ๕ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๔ เพ่อื เป็นกลไกหลักในการขบั เคล่ือนนโยบายส�ำคญั ทางดา้ นสังคมศาสตร์ มนษุ ยศาสตร์ และศิลปกรรมศาสตร์ของประเทศ นับว่าเป็นการปฏริ ูป อว. คร้ังส�ำคญั ท่มี พี ลังอยา่ งยง่ิ มุ่งเป้าผลักดันภารกิจส�ำคัญ ๕ ด้าน และมีหน่วยงานภายใน สำ� นกั งานปลัดกระทรวง อว. ทำ� หน้าทขี่ ับเคลื่อนหลกั ดงั น้ี ๑ สถาบันสุวรรณภูมิศึกษา มุ่งพัฒนาและ บูรณาการความรู้ครอบคลุมประเด็นที่ เก่ียวข้องกับประวัติศาสตร์ของประเทศ และภมู ภิ าคทย่ี อ้ นกาลเวลาไปราว ๒,๕๐๐ – ๓,๐๐๐ ปี ทำ� ใหค้ นไทยเขา้ ใจประวัติศาสตร์ ของภมู ภิ าค เกดิ ความภมู ใิ จและเปน็ ฐานเสรมิ มูลค่าทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม 39
กระทรวงการอุดมศกึ ษา วิทยาศาสตร วจิ ัยและนวัตกรรม Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation ๒ สถาบันโลกคดีศึกษา มุ่งพัฒนาและบูรณาการ ด้านการตา่ งประเทศของไทยในแง่มมุ ต่าง ๆ ทำ� ให้ คนไทยรเู้ ราและรู้ทนั โลก ๓ สถาบันเศรษฐกิจพอเพียง มุ่งบูรณาการรวบรวม องค์ความรู้ทางด้านปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่มีอยู่และสนับสนุนให้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ขยายให้เป็นโมเดลในระดับสากล ๔ สถาบันพิพธิ ภณั ฑ์ศลิ ปกรรมแห่งชาติ พัฒนาและ ต่อยอดองค์ความรู้เชิงวิชาการ วิจัย และสุนทรียะ ศิลปกรรมของไทย รวมถึงการใช้งานศิลปะเป็น เครอื่ งมอื ในการส่ือสารไทยสูโ่ ลกผา่ นพิพิธภณั ฑ์ ๕ อสงถคาค์ บวันามชร่าศู้ งลิ ศปิละพปน้ื ์ทถ้อน่ิ งอถนั ิ่นลำ้� คตา่ ่อขยองอปดรแะลเทะศรใักหษค้ าง อยู่คู่ประเทศไทย ไม่สูญสลายไปตามกาลเวลา มีการสบื ตอ่ ความร้ขู องช่างฝมี ือจากรนุ่ สูร่ ุน่ 40
๓ อว.ปี กบั ความสําเร็จการปฏิรปู การอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรมของประเทศ ธัชชามีภารกิจและบทบาทส�ำคัญที่จะท�ำให้คนไทย ความเป็นอย่ทู ด่ี ีดว้ ยอารยะ ประวัติศาสตร์ โบราณคดี เข้าใจในอดีต สร้างความภาคภูมิใจในปัจจุบันและ ระดบั โลกทนี่ ำ� ตน้ ทนุ ทางวฒั นธรรมและความคดิ สรา้ งสรรค์ ร่วมสร้างประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคม รวมท้ัง ทมี่ อี ยู่ มาพฒั นาตอ่ ยอดใหเ้ กดิ มลู คา่ ทางเศรษฐกจิ โดย สรา้ งอนาคตของประเทศ ดว้ ยองคค์ วามรู้ การพฒั นางาน “ธชั ชา” จะเปน็ กลไกในการขบั เคลอ่ื นในภาควชิ าการ วิชาการและงานวิจัยใหม่ ๆ ที่เช่ือมโยงสอดคล้องกับ ช่วยเสริมและขับเคล่ือนจุดที่แข็งอยู่แล้วของประเทศ ความเปล่ียนแปลงของโลกในปัจจุบันและอนาคต สู่การสร้างรายได้ด้วยเศรษฐกิจสร้างสรรค์จากการดึง โดยบูรณาการศาสตร์หลักทางด้านวิทยาศาสตร์ จุดแข็งและความโดดเด่นของมรดกทางวัฒนธรรม เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมกบั ศาสตรท์ างดา้ นสงั คมศาสตร์ อนั ลำ้� คา่ ของไทยทต่ี ดิ อนั ดบั โลกและใหเ้ ปน็ พลงั ขบั เคลอื่ น มนุษยศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์ ในการสร้างองค์ การยกระดับคณุ ภาพชวี ติ คนไทย ความรู้ท่ีอธิบายอดีต เกิดการสร้างภาคีเครือข่ายที่ เข้มแข็งทางด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และ ศิลปกรรมศาสตร์ของประเทศในเชิงบูรณาการจาก ทกุ ภาคสว่ น ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคชมุ ชน และ ภาคประชาชน ตามเอกลกั ษณแ์ ละอตั ลกั ษณข์ องพนื้ ถนิ่ เกดิ การสรา้ งการรบั รแู้ ละความเขา้ ใจในประวตั ศิ าสตร์ รากเหง้า และความเป็นมาของคนไทยและวิถีการ ดำ� เนนิ ชวี ติ ของผคู้ นในภมู ภิ าค “สวุ รรณภมู ”ิ มงุ่ ใหเ้ กดิ ธชั ชาจะขบั เคลอ่ื นการวจิ ยั และพฒั นา บุ ค ล า ก ร ด ้ า น สั ง ค ม ศ า ส ต ร ์ มนุษยศาสตร์ และศิลปกรรมศาสตร์ ของประเทศ ไปสกู่ ารสรา้ งคณุ คา่ และ ผลประโยชนข์ องชาติ เกดิ การพฒั นาที่ ยั่งยืนผ่านการเช่ือมโยงประเทศไทย เข้ากบั ภมู ภิ าคและโลก ซงึ่ จะชว่ ยปดิ ชอ่ งวา่ งระบบการวจิ ยั สาขาสงั คมศาสตร์ มนษุ ยศาสตร์ ชว่ ยบรู ณาการองคค์ วาม รู้แบบสหวิทยาการ ซึ่งจะน�ำมาสู่การ แกป้ ญั หาแบบองคร์ วม สรา้ งองคค์ วามรู้ และพฒั นางานวจิ ยั ใหม่ ๆ ทเ่ี ชอื่ มโยง สอดคลอ้ งกบั ความเปลยี่ นแปลงของโลก ในปจั จบุ นั และอนาคต 41
กระทรวงการอุดมศกึ ษา กองทุนนวตั กรรมเพ่ืออตุ สาหกรรมเต็มตัว วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม เรง่ วสิ าหกจิ ขนาดกลาง ในฐานะกระทรวงแห่งการปฏบิ ตั ิ และขนาดย่อม และกระทรวงแหง่ การพฒั นา ประเทศ ๑๒ การใหท้ นุ วจิ ัยแก่เอกชน ๘ ๓ พระราชบัญญตั สิ ง่ เสรมิ ๔ การใช้ประโยชนผ์ ลงานวจิ ยั ผลสัมฤทธ์ิ และนวตั กรรม พ.ศ. ๒๕๖๔ คณุ คา่ ต่อมวลชน การปฏิรปู การอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรม ๕ โครงการยกระดับเศรษฐกจิ และ ๖ สังคมรายต�ำบลแบบบูรณาการ เพอื่ ลดความเหลอื่ มลำ�้ (มหาวิทยาลัยสู่ตำ� บล สร้างรากแก้ว และการพัฒนาประเทศ ให้ประเทศ : U2T) ในทกุ มิติ นวัตกรรมเพ่อื สังคม ลดความเหลือ่ มลำ�้ ๘๗ อว. สว่ นหน้า การสนับสนนุ เฉพาะกิจ ในสถานการณ์ แพร่ระบาดโควิด-๑๙
๖. ๓ อว.ปี กบั ความสาํ เร็จการปฏิรูป การอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรมของประเทศ ผลสมั ฤทธิ์การปฏริ ปู การอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรมเพอื่ ลดความเหลอื่ มล้ำ� และการพฒั นาประเทศในทุกมติ ิ การปฏิรูปเพ่ือเชื่อมโยงการอุดมศึกษากับการสร้างนวัตกรรม สู่การสร้างสรรค์สังคม สนับสนุนการน�ำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ ให้ทุนวิจัยแก่ภาคเอกชน ที่จะร่วมขับเคล่ือน เพ่อื ลดความเหลื่อมลำ้� เศรษฐกจิ ฐานราก เร่งสรา้ งอุตสาหกรรมฐานความร้คู ่ไู ทย ยกระดับ วสิ าหกิจทุกระดับใหม้ รี ายได้สงู และ ประชาชนมคี ุณภาพชวี ิตทดี่ ี รวมทงั้ การพัฒนากลไก การประสานงานเชิงพื้นท่ี ส�ำหรับสนับสนุนการพัฒนาประเทศในทุกมิติสู่การเป็นประเทศ ทพ่ี ฒั นาแลว้ อยา่ งยงั่ ยนื ตลอดจนแกไ้ ขปญั หาของประเทศทงั้ ในยามปกติ และในยามฉกุ เฉนิ ท่มี กี ารแพร่ะบาดของโควดิ -๑๙ ท้ังสน้ิ ๘ เรอ่ื ง 43
กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร วิจยั และนวัตกรรม Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation ๖.๑ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม ในฐานะกระทรวงแห่งการปฏบิ ัติ และกระทรวงแหง่ การพฒั นาประเทศ อว. จัดตงั้ ขน้ึ เพ่อื เชือ่ มโยงระบบการศึกษากบั ระบบ ทัง้ ภาคอตุ สาหกรรม ภาคการเกษตร และภาคบริการ การสรา้ งนวตั กรรม รองรบั สภาวการณก์ ารเปลยี่ นแปลง สกู่ ารสรา้ งผปู้ ระกอบการทางเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมไทย แบบพลกิ โฉมทงั้ ดา้ นเทคโนโลยแี ละการดำ� เนนิ ธรุ กจิ ที่จะเป็นก�ำลังส�ำคัญในการพัฒนาประเทศ ตลอดจน โดย อว. จะเป็นกลไกส�ำคัญในระบบอุดมศึกษา การพัฒนาฐานราก ลดความเหล่ือมล�้ำทางเศรษฐกิจ วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ที่รับนโยบาย และสงั คม จากรฐั บาล สภานโยบายการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ ๓ ปีทผ่ี ่านมา กระทรวง อว. รว่ มกบั หนว่ ยงานภาครัฐ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ คณะกรรมการ ภาคเอกชน และชุมชน ขับเคลื่อนการปฏิรูป การอุดมศึกษา คณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม วิจัยและนวัตกรรม เพื่อน�ำไปขับเคล่ือนนโยบาย อย่างเต็มก�ำลังและต่อเนื่อง ซึ่งการปฏิรูปในคร้ังนี้ สกู่ ารปฏบิ ตั ทิ บ่ี รู ณการรว่ มกบั ทกุ ภาคสว่ นทเี่ กย่ี วขอ้ ง ไมเ่ พยี งแตม่ กี ารปรบั โครงสรา้ งองคก์ รและบทบาทหนา้ ที่ มุ่งผลสัมฤทธ์ิในการพัฒนาให้ไทยเป็นประเทศ ของหน่วยงานเท่านั้น แต่เป็นการปรับกระบวนทัศน์ ท่พี ัฒนาแลว้ วธิ คี ดิ และระบบการทำ� งานซงึ่ รวมถงึ กฎ กตกิ า ระเบยี บ ดว้ ยศกั ยภาพของกระทรวง อว. ซงึ่ มสี ถาบนั อดุ มศกึ ษา และกฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง ผ่านกลไกการปฏิรูป ทั้งใน ในสังกดั ทัง้ หมด ทกี่ ระจายในทกุ ภูมภิ าค สถาบันวิจยั ลกั ษณะทเ่ี ปน็ การแกไ้ ขขอ้ จำ� กดั ทม่ี อี ยใู่ นปจั จบุ นั และ และหน่วยงานสนับสนุนการท�ำงานในสังกัด อว. การวางรากฐานส�ำหรับอนาคต โดยการปฏิบัติจริง อกี ๑๘ แหง่ จะเปน็ กลไกสำ� คญั ในการขบั เคลอื่ นประเทศ ในภารกิจหลักท้ังในการก�ำหนดนโยบาย การด�ำเนิน ให้ไปสู่ประเทศท่ีพัฒนาแล้วอย่างเต็มรูปแบบ ยั่งยืน งานวิจัยและพัฒนานวัตกรรม การผลิตก�ำลังคนและ และครบทกุ มิติ โดยจะผนกึ สรรพกำ� ลังและทรพั ยากร ส่งเสริมการสร้างทุนทางปัญญาของประเทศ รวมท้ัง โครงสร้างพื้นฐานในการสนับสนุนและยกระดับสู่ สนับสนุนภารกิจของรัฐบาลเพ่ือขับเคล่ือนการพัฒนา งานวิจัยแนวหน้าและการพัฒนานวัตกรรม รวมทั้ง ไทยไปด้วยกันในทุกมิติ น�ำพาประเทศไทยก้าวไปสู่ โครงสรา้ งพน้ื ฐานทางคณุ ภาพของประเทศ ขบั เคลอื่ น ประเทศที่พัฒนาแล้ว โดยใช้องค์ความรู้ เทคโนโลยี การพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศในทกุ ระดบั วิทยาการ และบุคลากรท่ีมคี ุณภาพ 44
๓ อว.ปี กับความสาํ เรจ็ การปฏิรปู การอุดมศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรมของประเทศ ๖.๒ กองทุนนวตั กรรมเพอ่ื อตุ สาหกรรมเตม็ ตวั เร่งวสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ ม ก า ร จั ด ต้ั ง ก อ ง ทุ น น วั ต ก ร ร ม เ พื่ อ อุ ต ส า ห ก ร ร ม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ร่วมสมทบเงินเข้า เป็นความร่วมมือระหว่าง อว. และสภาอุตสาหกรรม กองทนุ นวตั กรรมเพอื่ อตุ สาหกรรมในสดั สว่ น ๕๐ : ๕๐ แห่งประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมและ ระยะเวลา ๓ ปี ภายใต้กรอบวงเงินงบประมาณรวม สนับสนุนวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ให้มี ของกองทุนนวัตกรรมไม่เกิน ๒,๐๐๐ ล้านบาท และ ศักยภาพด้านการวจิ ัยและนวัตกรรม นำ� ไปสกู่ ารสรา้ ง บริษัทที่บริจาคเงินเข้ากองทุนน้ีจะได้รับการยกเว้น โอกาสทางการแข่งขันและเสริมสร้างให้ธุรกิจเข้มแข็ง ภาษเี งนิ ได้ถึง ๒ เทา่ ของจ�ำนวนเงนิ ท่ีบรจิ าค เพื่อเป็น และเตบิ โตอยา่ งยงั่ ยนื รวมถงึ การพลกิ ฟน้ื ใหธ้ รุ กจิ กลบั แรงจูงใจในการบริจาคเงินเข้ากองทุน คนื สสู่ ถานภาพเดมิ จากวกิ ฤตโิ ควดิ -๑๙ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ การจดทะเบียนจัดตั้ง “มูลนิธิกองทุนนวัตกรรมเพ่ือ เพื่อรองรับธุรกิจรูปแบบใหม่ที่จะเกิดข้ึนในอนาคต อตุ สาหกรรม (Innovation Fund Foundation for หลังจากวิกฤติผ่านพ้นไป Industry)” เพื่อเป็นองค์กรบริหารจัดการกองทุน นวัตกรรม ซ่งึ จะมีความคลอ่ งตัวในการบริหารจัดการ ในระยะแรกกองทนุ นวัตกรรมเพ่ืออตุ สาหกรรม มากยง่ิ ขน้ึ มกี ารสนบั สนนุ ครอบคลมุ ทง้ั รปู แบบทนุ ใหเ้ ปลา่ ด�ำเนินการในลักษณะการระดมเงินทุนบริจาค และรปู แบบอน่ื อาทิ การใหค้ ำ� ปรกึ ษาจากผเู้ ชย่ี วชาญ จากธุรกจิ ขนาดใหญ่เป็นช่องทางหลัก เฉพาะทาง และ การเข้าถึงโครงสร้างพื้นฐานและ ก�ำหนดเงินกองทุนไว้ไม่น้อยกว่า ๑,๐๐๐ ล้านบาท ส่ิงอ�ำนวยความสะดวกทางเทคโนโลยีและนวัตกรรม มาจากภาคเอกชน และ อว. โดยกองทุนส่งเสริม รวมทั้งด้านการตลาด 45
กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร วิจยั และนวัตกรรม Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation การจัดต้ังกองทุนนวัตกรรม คาดว่าจะกระตุ้นให้ ศกั ยภาพของวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ มของไทย ภาคเอกชนลงทนุ ดา้ นนวตั กรรมเพมิ่ ขน้ึ ทำ� ใหม้ เี มด็ เงนิ เพมิ่ ศกั ยภาพการผลติ และการบรกิ ารเกดิ การปรบั เปลย่ี น ในระบบวิจัยและนวัตกรรมมากขึ้น สอดคล้องกับ โครงสรา้ งและรปู แบบธรุ กจิ ยกระดบั มาตรฐานคณุ ภาพ นโยบายเศรษฐกิจนวัตกรรมที่ส่งเสริมให้มีการลงทุน สินค้าและบริการเพื่อก้าวไปสู่การเป็นผู้ประกอบการ ด้านการวิจัยและนวัตกรรมเพ่ิมขึ้นเป็นร้อยละ ๒ นวตั กรรมตอ่ ไป ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ และช่วยยกระดับ ๖.๓ การใหท้ นุ วจิ ัยแก่เอกชน กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม การใช้ประโยชน์ได้ในเชิงพาณิชย์ โดยปีงบประมาณ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเพ่ิมขีดความสามารถใน พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ ไดส้ นบั สนนุ ทนุ วจิ ยั และพฒั นา การแขง่ ขนั และนำ� พาประเทศใหก้ า้ วขา้ มกบั ดกั รายได้ นวตั กรรมทีม่ ภี าคเอกชนเปน็ กลไกการขบั เคลอ่ื นหลกั ปานกลางไปสู่การเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว และมี ใน ๔ อุตสาหกรรม คือ การแพทย์และสุขภาพ การเติบโตที่ย่ังยืนในอนาคต โดยมุ่งเน้นการพัฒนา ระบบคมนาคมแห่งอนาคต ดิจิทัลแพลตฟอร์ม และ อุตสาหกรรมท่ีมีศักยภาพและมีผลกระทบทาง การพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมเพ่ือสังคมและชุมชน เศรษฐกจิ สงู เพอ่ื ผลกั ดนั ใหเ้ กดิ ผลติ ภณั ฑ์ และ บรกิ าร รวมจำ� นวนทง้ั สนิ้ ๗๔๔ ราย เปน็ เงนิ ทงั้ สนิ้ ๔,๓๕๑.๘๓ มูลค่าสูง หรือให้เกิดธุรกิจใหม่ สร้างผู้ประกอบการ ลา้ นบาท โดยเอกชนรว่ มสนบั สนนุ งบประมาณ จำ� นวน สรา้ งงาน สรา้ งรายได้ สรา้ งอาชพี ใหก้ บั ประชาชน รวมทง้ั ๑,๒๑๕.๒๙ ล้านบาท (เงินทุน ๔๗๙.๕๑ ล้านบาท ผลกั ดนั ใหเ้ กดิ การทำ� งานรว่ มกนั โดยเฉพาะภาคเอกชน และทุนในรูปแบบที่ไม่ใช่เงิน ๗๓๕.๗๘ ล้านบาท) ที่เป็นกลไกส�ำคัญในการผลักดันผลงานวิจัย ไปสู่ ใน ๗๕๐ โครงการ 46
๓ อว.ปี กับความสําเร็จการปฏริ ปู การอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ๖.๔ พพร.ศะร. า๒ช๕บ๖ัญ๔ญคตั ุณสิ ค่งเ่าสตร่อมิ มกวาลรชใชน้ประโยชนผ์ ลงานวิจยั และนวัตกรรม พระราชบัญญัติส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัย การแจ้งความประสงค์ขอเป็นเจ้าของผลงานวิจัยและ และนวัตกรรม พ.ศ. ๒๕๖๔ เป็นผลงานด้าน นวัตกรรม รวมทั้ง จัดท�ำแผนและกลไกการใช้ประโยชน์ กฎหมายชิ้นส�ำคัญของ อว. ท่ีมีขึ้นเพ่ือแก้ปัญหาที่ โดยผรู้ บั ทนุ จะตอ้ งนำ� ผลงานดงั กลา่ วไปใชป้ ระโยชนภ์ ายใน ผู้รับทุนท่ีได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาจาก ระยะเวลา ๒ ปีหรือระยะเวลาอ่ืนตามที่ก�ำหนดแล้วแต่ ภาครัฐไม่สามารถเป็นเจ้าของผลงานวิจัยและ ลักษณะเฉพาะของประเภทผลงาน และในกรณีที่ผู้รับทุน นวัตกรรมได้ด้วยข้อจ�ำกัดด้านกฎหมายและ มีรายได้จากการน�ำผลงานวิจัยและนวัตกรรมไปใช้ กฎระเบยี บ ทำ� ใหผ้ ลงานวจิ ยั และนวตั กรรมยงั ไมน่ ำ� ไป ประโยชน์ ผู้รับทุนจะต้องจัดสรรรายได้ส่วนหน่ึงให้แก่ ใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม ซ่ึงพระราชบัญญัติ นกั วิจัยซง่ึ เป็นผู้สรา้ งผลงานดังกลา่ วดว้ ย ฉบบั นที้ ำ� ใหผ้ รู้ บั ทนุ หรอื นกั วจิ ยั สามารถเปน็ เจา้ ของ นอกจากนี้ พระราชบัญญตั ิฉบับน้ียังมเี จตนารมณ์ทสี่ �ำคญั ผลงานวิจัยและนวัตกรรมท่ีเกิดจากเงินสนับสนุน อีกประการหน่ึง คือ มุ่งหวังให้มีการน�ำผลงานวิจัย ของภาครัฐได้ รวมถึงก�ำหนดให้มีกลไกการบริหาร และนวัตกรรมไปใช้ในการยกระดับคุณภาพชีวิตและ จัดการและติดตามการน�ำผลงานวิจัยและนวัตกรรม สงิ่ แวดลอ้ ม สรา้ งประโยชนใ์ หส้ งั คมหรอื ชมุ ชน และยกระดบั ไปใช้ประโยชน์ รวมท้ัง มาตรการบังคับใช้สิทธิโดย เศรษฐกิจฐานรากให้มีความเข้มแข็งเติบโตอย่างย่ังยืน รัฐในกรณีจ�ำเป็นเพ่ือประโยชน์สาธารณะได้ โดยกำ� หนดใหก้ องทนุ สง่ เสรมิ วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม ภายใต้พระราชบัญญัติฉบับน้ี ผู้รับทุนซึ่งอาจเป็นได้ท้ัง จัดสรรเงินสนับสนุนและส่งเสริมการน�ำผลงานวิจัยและ สถาบันอุดมศึกษา สถาบันวิจัย ภาคเอกชน รวมถึง นวตั กรรมเกย่ี วกบั เทคโนโลยที เี่ หมาะสมไปใชป้ ระโยชนใ์ น คณะบุคคลและประชาชนซ่ึงเป็นคู่สัญญารับทุนสนับสนุน วงกวา้ ง ครอบคลมุ เกษตรกร กลมุ่ อาชพี ในชมุ ชน วสิ าหกจิ การวิจยั และนวตั กรรมจากหน่วยงานของรฐั สามารถเป็น ชมุ ชน วสิ าหกิจเพอ่ื สงั คม ผู้ดอ้ ยโอกาส หรือประชาชนใน เจ้าของในผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่ค้นพบขึ้นได้ เมื่อมี พน้ื ที่ สามารถเขา้ ถงึ ไดง้ า่ ย โดยสภานโยบายการอดุ มศกึ ษา การเปดิ เผยการคน้ พบดงั กลา่ วตอ่ หนว่ ยงานผใู้ หท้ นุ รวมถงึ วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรมชาติ จะกำ� หนดหนว่ ยงาน เฉพาะใหม้ หี นา้ ทแี่ ละอำ� นาจในการดำ� เนนิ การสง่ เสรมิ และ สนับสนุนการน�ำผลงานวิจัยและนวัตกรรมเก่ียวกับ เทคโนโลยที ่ีเหมาะสมไปใชป้ ระโยชน์ในวงกว้าง รวมถงึ ให้ หนว่ ยงานดงั กลา่ วจา่ ยเงนิ เปน็ คา่ ตอบแทนการใชป้ ระโยชน์ แก่นักวิจัยที่ด�ำเนินการอันก่อให้เกิดประโยชน์ตาม วัตถปุ ระสงคด์ งั กล่าวด้วย 47
กระทรวงการอุดมศกึ ษา วิทยาศาสตร วิจยั และนวัตกรรม Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation ๖.๕ โครงการยกระดับเศรษฐกจิ และสังคมรายตำ� บลแบบบรู ณาการ (มหาวิทยาลยั สู่ตำ� บล สรา้ งรากแกว้ ให้ประเทศ : U2T) คณะรฐั มนตรี ในคราวประชมุ เมอ่ื วนั ที่ ๖ ตลุ าคม ๒๕๖๓ หลัก ได้แก่ การพัฒนาสัมมาชีพและสร้างอาชีพใหม่ ไดม้ มี ตริ บั ทราบและอนมุ ตั โิ ครงการยกระดบั เศรษฐกจิ การยกระดบั สนิ คา้ OTOP และอาชีพอืน่ ๆ การสรา้ ง และสงั คมรายตำ� บลแบบบรู ณาการ(๑ตำ� บล๑มหาวทิ ยาลยั ) และพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์เน้นการยกระดับ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับเศรษฐกิจและสังคม การท่องเท่ียว การน�ำองค์ความรู้ไปช่วยบริการชุมชน รายตำ� บลแบบบรู ณาการ โดยมมี หาวทิ ยาลยั ในพน้ื ทท่ี ำ� การดูแลสุขภาพและเทคโนโลยีท่ีเก่ียวข้อง และ หน้าท่ีเป็น System Integrator ในการจ้างงาน การส่งเสริมด้านส่ิงแวดล้อมด้วยเศรษฐกิจหมุนเวียน ประชาชนทั่วไป บัณฑิตจบใหม่ และนักศึกษา ให้มี การเพิ่มรายได้หมุนเวียนให้แก่ชุมชน ตลอดจนจัดท�ำ งานท�ำและฟนื้ ฟูเศรษฐกจิ ชมุ ชน และจดั กจิ กรรมเพอื่ ขอ้ มูลขนาดใหญข่ องชมุ ชน พฒั นาตำ� บลตามปญั หาและความตอ้ งการใน ๔ ประเดน็ 48
๓ อว.ปี กับความสาํ เร็จการปฏิรูป การอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรมของประเทศ ผลการดำ� เนนิ งานทส่ี ำ� คญั ภายใตโ้ ครงการฯ มดี งั นี้ ๑ เกิดการจา้ งงานประชาชนท่วั ไป บัณฑติ จบใหม่ และ นกั ศกึ ษา ในพน้ื ทท่ี ่ัวประเทศ โดยเฉลี่ย ๕๗,๒๖๔ คน ตอ่ เดือน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๙๕.๔๔ ของเปา้ หมาย ๒ ผู้ได้รับการจ้างงาน ได้รับการพัฒนาทักษะท่ีส�ำคัญ ๔ ด้าน ได้แก่ Digital Literacy, English Literacy Financial Literacy และ Social Literacy ผ่าน ระบบการศึกษาแบบออนไลน์ เฉลี่ยด้านละกว่า ๖๑,๐๐๐ คน ๓ ยกระดบั เศรษฐกจิ และสงั คมรายตำ� บลของมหาวทิ ยาลยั รวมถงึ เกดิ กจิ กรรมเพอ่ื ฟน้ื ฟเู ศรษฐกจิ และสงั คม ในพ้ืนท่ี ท่ีมีความครอบคลุมในประเด็นต่าง ๆ รายต�ำบลตามโจทย์ปัญหาต่าง ๆ ของแต่ละต�ำบล ท้ังการพฒั นาสมั มาชพี และสรา้ งอาชพี ใหม่ การสรา้ งและพัฒนาเศรษฐกจิ สร้างสรรค์ การนำ� องคค์ วามรู้ ไปชว่ ยบรกิ ารชมุ ชน และการส่งเสรมิ ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม โดยพฒั นาต�ำบลตามปัญหาและความต้องการ ของพน้ื ที่ จ�ำนวน ๒๕,๖๐๐ กจิ กรรม 49
กระทรวงการอุดมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร วิจยั และนวัตกรรม Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation ๔ ไดจ้ ดั ให้มีกจิ กรรมแข่งขัน U2T National Hackathon ๔ ดา้ น คอื (๑) เศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์ 2021 ที่เปิดโอกาสให้ผู้สนใจได้เข้าร่วมระดมความคิด (๒) การนำ� องคค์ วามรดู้ า้ นเทคโนโลยี อยา่ งสรา้ งสรรค์ บนปญั หาและความตอ้ งการในพนื้ ทจ่ี รงิ และสุขภาพไปช่วยบริการชุมชน กว่า ๓,๐๐๐ ตำ� บล เพอ่ื ใหไ้ ด้มาซ่งึ แนวทางแกไ้ ขปญั หา (๓) เศรษฐกิจหมุนเวียน และ (๔) ดา้ นนวตั กรรมทตี่ อบโจทยก์ บั บรบิ ทในพนื้ ที่ ผา่ นการเรยี นรู้ การส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม ปฏิบัติจริงในชุมชน และผ่านกิจกรรมภายใต้โจทย์ ซ่ึ ง มี ผู ้ ส น ใ จ ส มั ค ร ม า เ ข ้ า ร ่ ว ม “แนวทางแก้ปัญหาขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก” ใน กิจกรรมถึง ๙๖๕ ทีม หรือกว่า ๕,๐๐๐ คน จาก ๘ ภูมิภาค โดย รอบแรกได้ท�ำการคัดเลือกให้เหลือ ๓๐๐ ทีม จากนั้นจึงคัดเหลือ ๔๐ ทมี สดุ ยอดผา่ นเข้ารอบสดุ ทา้ ย เพอ่ื แขง่ ชงิ แชมปป์ ระเทศและคน้ หา ทมี ผชู้ นะระดบั ประเทศจำ� นวน ๕ ทมี ที่ได้รับคัดเลือกให้ได้รับรางวัล ชนะเลศิ ทส่ี ามารถนำ� ผลจากกจิ กรรม ไปพัฒนาต่อยอดการพัฒนาพื้นท่ี อยา่ งยัง่ ยนื ๕ การลงพื้นท่ีเพื่อให้ความช่วยเหลือใน สถานการณฉ์ ุกเฉนิ อาทิ การช่วยเหลือ ผปู้ ระสบอทุ กภยั ในพน้ื ทตี่ า่ งๆทวั่ ประเทศ ๖ ปรับบทบาทเป็น “จิตอาสา” ช่วยโรงพยาบาลสนาม เพอ่ื รบั มอื โควดิ -๑๙ สรา้ งความปลอดภยั ใหก้ บั ประชาชน ชุมชน ช่วยเหลือชาวบ้านให้รู้จักวิธีป้องกันตนเอง และรณรงค์การฉีดวัคซีนเพ่ือลดการระบาดโควิด-๑๙ ด้วยการศกึ ษาหาขอ้ มูลทถี่ ูกต้องเก่ียวกับวัคซนี เผยแพร่ 50
๓ อว.ปี กับความสําเร็จการปฏริ ปู การอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรมของประเทศ ขอ้ มลู ทถี่ กู ตอ้ งเกยี่ วกบั วคั ซนี ซกั ซอ้ มแนวทาง ปฏิบัติก่อนและหลังฉีดวัคซีน และเร่งส�ำรวจ คนในชุมชนท่อี ยู่ในกลมุ่ เส่ียง ผสู้ ูงอายุ คนทม่ี ี โรคประจำ� ตวั เรง่ สรา้ งความมน่ั ใจ และอำ� นวย ความสะดวกให้คนกลุ่มนี้ และคนในชุมชน ไดร้ บั การฉดั วคั ซนี เพอื่ สรา้ งภมู คิ มุ้ กนั และสามารถ กลบั มาใช้ชวี ิตกันอยา่ งปกตอิ ยา่ งรวดเรว็ นอกจากนี้ อว. ด�ำเนินการจัดท�ำข้อมูลต�ำบล กระทรวงมหาดไทย กรมชลประทาน กระทรางเกษตร ท่ีสามารถแสดงสถานะทางเศรษฐกิจ สังคม และสหกรณ์ กรมการท่องเที่ยว กระทรวง ศักยภาพและความพร้อมของต�ำบล และได้มี การท่องเที่ยวและกีฬา กรมพัฒนาธุรกิจการค้า การจัดท�ำข้อมูลชุมชนขนาดใหญ่ของประเทศ กระทรวงพาณชิ ย์ กรมพฒั นาฝมี อื แรงงาน กระทรวง (Thailand Community Big Data) โดยเป็น แรงงาน เปน็ ตน้ ในการเชอื่ มโยงและวเิ คราะหข์ อ้ มลู การรวบรวมข้อมูลทางด้านความหลากหลาย ในทุกมิติ เพ่ือเป็นฐานข้อมูลส�ำหรับการเผยแพร่ ทางชีวภาพ ความหลากหลายทางวัฒนธรรม ให้ทุกภาคส่วนเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากข้อมูล ในพ้ืนที่ของต�ำบล และได้ท�ำความร่วมมือกับ ดังกล่าว ในการพัฒนา สร้างงาน สร้างรายได้ หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง อาทิ กรมการปกครอง ให้กับชุมชน ทั้งน้ี อว. ได้ด�ำเนินการจัดท�ำการวิเคราะห์และถอดบทเรียนผลการด�ำเนินการ ภายใต้โครงการ จำ� แนกตามระดบั การดำ� เนนิ การของมหาวทิ ยาลยั ระดับภูมภิ าค และระดบั ตำ� บล โดยสามารถดรู ายละเอียดได้ตาม QR CODE น้ี 51
กระทรวงการอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร วจิ ัยและนวัตกรรม Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation ๖.๖ นวัตกรรมเพอื่ สังคมลดความเหลอ่ื มล้ำ� อว. ขับเคลื่อนเศรษฐกิจโดยใช้นวัตกรรม แพลตฟอร์มโครงการนวัตกรรมเพื่อสังคม สร้าง เชงิ สงั คมพรอ้ มกลไกสนบั สนนุ ทม่ี งุ่ สรา้ งและพฒั นา ความสามารถทางนวัตกรรมของผู้ประกอบการสังคม รวมทงั้ ยกระดบั ธรุ กจิ นวตั กรรมทเี่ ปน็ ประโยชน์ ลดความเหล่อื มลำ้� ซึง่ จะครอบคลมุ ทง้ั การสร้างธรุ กจิ ต่อสังคม สิ่งแวดล้อม ประชาชน และสนบั สนนุ นวตั กรรม และการสรา้ งเครือขา่ ยนวัตกรรมเชิงสงั คม ชมุ ชนทอ้ งถนิ่ โดยใชป้ ระโยชนจ์ ากวทิ ยาศาสตร์ โดยมุ่งส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการให้ประโยชน์ เทคโนโลยี การวจิ ัยและพัฒนานวตั กรรม โดยมี หรือสาธิตน�ำร่องผลิตภัณฑ์ หรือกระบวนการที่เพ่ิม เครอื ขา่ ยพนั ธมติ รในการดำ� เนนิ โครงการรว่ มกนั มูลค่า เพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถใน เพอ่ื ใหเ้ กดิ การสนบั สนนุ และขยายผลการพฒั นา การแข่งขันของชุมชน และยกระดับคุณภาพชีวิตของ ธุรกิจนวัตกรรมในเชิงสังคมอย่างเป็นรูปธรรม ประชาชนให้มีความทั่วถึงและเท่าเทียมกันมากขึ้น พร้อมทั้งก�ำหนดเป้าหมายของการพัฒนา ในประเดน็ นวตั กรรมเชงิ สงั คม ๙ ดา้ น คอื (๑) ดา้ น แพลตฟอร์มโครงการนวัตกรรมเพ่ือสังคม คือ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (๒) ด้านความเชื่อมโยง “การสร้างเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนสังคมด้วย ระหวา่ ง อาหาร น้�ำ และพลงั งาน (๓) ด้านการศึกษา นวัตกรรมเพ่อื สงั คม” (๔) ด้านการเงิน การจ้างงาน และสวัสดิการสังคม 52
๓ อว.ปี กบั ความสาํ เร็จการปฏริ ปู การอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรมของประเทศ (๕) ด้านเกษตรกรรมยั่งยืน (๖) ด้านภาครัฐและ นวตั กรรมเพอ่ื สงั คม รวมถงึ แสดงออกถงึ ความรบั ผดิ ชอบ ความเปน็ เมอื ง (๗) ดา้ นสขุ ภาพ (๘) ดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว ตอ่ สงั คมรว่ มกนั อยา่ งสรา้ งสรรคร์ ะหวา่ งชมุ ชน องคก์ ร และวัฒนธรรม และ (๙) ด้านการจัดการภัยพิบัติ ปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้ประกอบการธุรกิจเพ่ือสังคม ผ่านกลไกการสนับสนุนในรูปแบบต่าง ๆ นอกจากน้ี หนว่ ยงานวจิ ยั ทงั้ ภาครฐั และเอกชน หนว่ ยงานสนบั สนนุ ยังเป็นการสร้างและขยายเครือข่ายความร่วมมือด้าน เงนิ ทุน และภาคประชาสงั คม ผลการดำ� เนนิ งานตง้ั แต่ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ - นวตั กรรมของชุมชนจ�ำนวน ๑๘๐ ชุมชน นอกจากนี้ ๒๕๖๕ ได้จัดต้ังหน่วยขับเคลื่อนนวัตกรรมเพื่อสังคม ยงั มกี ารสรา้ งเครอื ขา่ ยความรว่ มมอื เพอื่ ขบั เคลอ่ื นงาน ร่วมกับมหาวิทยาลัยท่ัวประเทศ จ�ำนวน ๑๒ แห่ง นวตั กรรมเพอ่ื สงั คมจำ� นวน ๔๔ หนว่ ยงาน โดยรว่ มกนั สามารถพัฒนาผลงานนวัตกรรมเพ่ือสังคมไปสร้าง บ่มเพาะวิสาหกิจเพ่ือสังคมจ�ำนวน ๑,๗๘๒ ราย ประโยชน์แก่ชุมชนในพื้นท่ีจ�ำนวน ๑๑๗,๔๑๐ ราย จนสามารถสนบั สนนุ ทนุ เพอ่ื ดำ� เนนิ โครงการนวตั กรรม มีการด�ำเนินโครงการหมู่บ้านนวัตกรรมเพ่ือสังคมใน เพอื่ สงั คมได้ ๔๘๗ โครงการ กอ่ ใหเ้ กดิ การลงทนุ ในธรุ กจิ ๑๑ จงั หวดั ยากจน เพอื่ ชว่ ยกลมุ่ ผมู้ รี ายไดน้ อ้ ยจำ� นวน เพอื่ สงั คมมลู คา่ ราว ๑,๓๕๙ ลา้ นบาท สรา้ งผลกระทบ ๔๔,๕๖๘ ราย และมกี ารสำ� รวจปัญหาความตอ้ งการ เชงิ สังคมได้มากกว่า ๔๐๐ ลา้ นบาทต่อปี 53
กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร วิจยั และนวัตกรรม Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation ๖.๗ อว. สว่ นหน้า ตนเองได้อย่างยั่งยืนภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้ง การสนบั สนนุ งานวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาในเชงิ พน้ื ท่ี เพอ่ื พฒั นาความเขม้ แขง็ ของระบบเศรษฐกจิ เชงิ พน้ื ทแี่ ละสงั คม จากฐานภายในอยา่ งยง่ั ยนื น โ ย บ า ย ก า ร ด� ำ เ นิ น ง า น เ ชิ ง พ้ื น ที่ การจัดตั้งหน่วยปฏิบัติการส่วนหน้าของ อว. ในการสนับสนุน ที่สนับสนุนการน�ำองค์ความรู้ด้าน การพฒั นาจงั หวดั เพอ่ื ขบั เคลอื่ นไทยไปดว้ ยกนั หรอื “อว. สว่ นหนา้ ” อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ ทง้ั ๗๖ จงั หวดั ของประเทศ เพอ่ื เปน็ หนว่ ยประสานงานระหว่าง นวัตกรรม ไปพัฒนางานในจังหวัด จังหวัดกบั สถาบนั อุดมศึกษา และหนว่ ยงานในสังกัด อว. ท้งั หมด เพอื่ ยกระดบั ความเปน็ อยู่ใหก้ บั ประชาชน เพอ่ื รว่ มกนั บรู ณาการศาสตรท์ เี่ กย่ี วขอ้ งสกู่ ารพฒั นาและแกป้ ญั หา ในทุกพื้นที่ของประเทศให้ดีขึ้นอย่างมี ในระดับพ้ืนที่ โดยเฉพาะงานวิจัยและพัฒนาจนเกิดนวัตกรรม คุณภาพ โดยน�ำศักยภาพของจังหวัด หลากหลายของสถาบันการศึกษามาใช้ประโยชน์ได้อย่างมี มาผนวกกบั ความรจู้ ากการวจิ ยั และพฒั นา ประสทิ ธิภาพ ทง้ั ในระดบั ชุมชน ต�ำบล อำ� เภอ และจังหวัด โดยมี นวัตกรรม ที่มีฐานองค์ความรู้จาก โครงสร้างการด�ำเนินงานในระดบั จงั หวัด ดงั นี้ การบรู ณาการสรรพศาสตรใ์ นการตอบโจทย์ • ผู้บรหิ ารวทิ ยาศาสตรจ์ งั หวัดระดบั สูง (Provincial Chief โดยบรู ณาการเชงิ สรา้ งสรรค์ ทหี่ ลากหลาย แ ล ะ ย ก ร ะ ดั บ ศั ก ย ภ า พ ข อ ง ชุ ม ช น Science Officer : PCSO) คือ รองผู้ว่าราชการจังหวัด ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ พรอ้ มทง้ั สง่ เสรมิ ทร่ี บั ผดิ ชอบงานดา้ นยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาจงั หวดั ทำ� หนา้ ที่ การใช้ประโยชน์ในระดับพื้นท่ีเพ่ือเพิ่ม ประสาน กำ� กบั ดแู ล และ ตดิ ตามงานหรอื แผนงานบรู ณาการ ศักยภาพการผลิตและเศรษฐกิจชุมชน ด้านอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของ ผู้ประกอบการด�ำเนินธุรกิจบนฐานของ แต่ละจังหวัด รวมท้ังเช่ือมโยงการด�ำเนินงานต้ังแต่ระดับ องคค์ วามรดู้ า้ นเทคโนโลยแี ละนวตั กรรม กระทรวงสู่ระดับจังหวัด เพ่ือผลักดันนโยบายสู่การปฏิบัติ เพื่อให้สามารถช่วยเหลือและพึ่งพา ตอ่ ไป • หวั หนา้ หนว่ ยปฏบิ ตั กิ ารสว่ นหนา้ ของ อว. ในการสนบั สนนุ การพัฒนาจังหวัดเพื่อขับเคลื่อนไทยไปด้วยกัน (Chief Technical Officer : CTO) คอื ตัวแทน อว. ในพ้ืนท่ี ที่ได้ รบั การแตง่ ตัง้ จากรฐั มนตรวี ่าการกระทรวง อว. ซง่ึ ส่วนใหญ่ เปน็ อธกิ ารบดี หรอื รองอธกิ ารบดี ของมหาวทิ ยาลยั ในพื้นที่ จังหวัด หรือจังหวัดใกล้เคียง โดยท�ำหน้าที่ประสาน ให้ค�ำปรึกษา แก้ไขปัญหา ผลักดันแผนงานและโครงการ พฒั นาพน้ื ท่ี ดา้ นอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม 54
ระดับจังหวัด ร่วมกับ PCSO และหน่วยงาน ๓ อว.ปี กบั ความสําเร็จการปฏริ ปู จังหวัด ในการพัฒนาองค์ความรู้สรรพศาสตร์ เพ่ือการพัฒนาจังหวัดอย่างรอบด้านและครบ การอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรมของประเทศ ทุกมิติ • ผู้ประสานงาน อว. ประจ�ำจังหวัด (Provincial • ด้านศิลปวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว อาทิ Coordinator : PC) คอื เจา้ หนา้ ที่ส่วนกลางของ โครงการเชียงใหม่ ๑๒ เดือนเมืองเทศกาล ส�ำนักงานปลัดกระทรวง อว. ประสานงาน โครงการ Lampang Creative Tourism ระหว่างส่วนกลางและหน่วยปฏิบัติการของ อว. และมาลยั วิทยสถานจังหวัดเลย เป็นตน้ สว่ นหนา้ ประจำ� จงั หวดั ต่าง ๆ ท้งั ๗๖ จังหวัด ผลสัมฤทธิ์จากการสร้างกลไกการประสานประโยชน์ • ดา้ นการเกษตร อาทิ การจดั การระบบเกษตร เชงิ พ้ืนที่ โดย อว. ส่วนหนา้ ได้ด�ำเนนิ งานตามภารกิจ ปลอดภยั เกษตรอินทรียแ์ ละ Smart Farm ท่ีได้รับมอบหมาย และสามารถขับเคลื่อนงานตาม การพฒั นาระบบโคเนอื้ แบบครบวงจรจงั หวดั นโยบายและหนา้ ทส่ี ำ� คญั ในการผลกั ดนั ภารกจิ ๔ ดา้ น นครพนมและศรีสะเกษ มหานครผลไม้ ดงั นี้ ภาคตะวนั ออก การสง่ เสรมิ หลกั สูตร Smart (๑) ขบั เคลอื่ นแผนงานและโครงการ ดา้ นอดุ มศกึ ษา Farmer ด้วยเทคโนโลยี Aqua IoT เพิ่ม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมในพ้ืนที่ ประสิทธิภาพการเล้ียงกุ้งให้แก่เกษตรกร โดย อว. ส่วนหน้า ได้พัฒนาแผนงานและ จังหวัดสมทุ รสาคร สง่ เสริมการใช้ประโยชน์ โครงการท่ีเป็นข้อเสนอความต้องการของพ้ืนท่ี เทคโนโลยฐี านชวี ภาพและนวตั กรรมเพอ่ื เพมิ่ สู่แผนพัฒนาจังหวัด กลุ่มจังหวัด และภูมิภาค มูลค่าผลผลติ ภาคการเกษตรในภาคใต้ จำ� นวน ๑๓๘ โครงการ งบประมาณรวมทงั้ สน้ิ ๘๔๙.๓๖๔๙ ล้านบาท • ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (๒) ประสานการนำ� งานดา้ นอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ อาทิ การส่งเสริมการใช้ประโยชน์ด้าน วจิ ยั และนวตั กรรมไปเพมิ่ ขดี ความสามารถโดย เ ท ค โ น โ ล ยี อ ว ก า ศ แ ล ะ ภู มิ ส า ร ส น เ ท ศ เสรมิ ศกั ยภาพจงั หวดั ในแต่ละด้านตามบริบท การอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่งเช่ือมโยง พนื้ ที่ การทอ่ งเทยี่ วเชงิ นเิ วศ การพฒั นาและสรา้ ง ความตระหนกั ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มแกป่ ระชาชน จงั หวดั นครปฐม นนทบรุ แี ละราชบรุ ี การแกไ้ ข ปัญหาขยะและการจัดการขยะในครัวเรือน ใหก้ บั ชมุ ชนจงั หวดั ราชบรุ แี ละประจวบครี ขี นั ธ์ 55
กระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร วิจยั และนวัตกรรม Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation • ดา้ นการพฒั นาคณุ ภาพชีวิต เช่น Aging well : Aging Connected Lampang การพัฒนาคณุ ภาพ ชีวิตผู้สูงอายุ จังหวัดแพร่ แม่ฮ่องสอน และอุตรดิตถ์ การพัฒนาระบบฐานข้อมูลดิจิทัลภาครัฐของ จงั หวดั ชัยภมู ิ (๓) ส่งเสริมและน�ำองค์ความรู้ด้านอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรมสนับสนุนการพัฒนาจังหวัด เพื่อขับเคลื่อนและพัฒนา เศรษฐกิจฐานราก ด้วยการพัฒนาและสร้างมูลค่าเพ่ิมแก่ผลิตภัณฑ์ ชุมชนและทอ้ งถิน่ ประเภทต่าง ๆ ดังน้ี ผลติ ภัณฑ์อาหาร ผลิตผลและ ผลติ ภณั ฑแ์ ปรรปู ทางการเกษตร ผลติ ภณั ฑอ์ ตั ลกั ษณข์ องแตล่ ะจงั หวดั เพอื่ เพ่มิ ขีดความสามารถในการแข่งขนั ของผปู้ ระกอบการและชมุ ชน และเพมิ่ มลู ค่าทางเศรษฐกจิ แก่ชมุ ชน (๔) พัฒนาและให้ความช่วยเหลือจังหวัดเร่งด่วน เช่น จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-๑๙ อว. ส่วนหน้า มีบทบาทส�ำคัญในการสนับสนุนการด�ำเนินงานของจังหวัด ร่วมกับสถาบันการศึกษาที่มี ความพรอ้ ม จดั ตงั้ โรงพยาบาลสนาม สำ� หรบั รองรบั ผปู้ ว่ ยโรคโควดิ -๑๙ เขา้ รบั การรกั ษาและบรู ณาการรว่ มกบั หนว่ ยงานในจงั หวดั แกไ้ ขปญั หาการแพรร่ ะบาด และจดั ทำ� แอปพลเิ คชนั สนบั สนนุ การดำ� เนนิ งานของจงั หวดั ทง้ั นี้สามารถอ่านเอกสารผลการดำ� เนนิ งานของ อว. สว่ นหน้า เพิ่มเตมิ ไดใ้ น E-book ผา่ นช่องทาง QR code กา้ วถัดไปในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ มุง่ เนน้ การน�ำ การส่งต่อนโยบาย มาตรการ หรือกลไกต่าง ๆ จาก “BCG Model” (Bio-Circular-Green Economy สว่ นกลางไปสกู่ ารพฒั นาพนื้ ทต่ี อ้ งอาศยั “อว. สว่ นหนา้ ” Model) ซึ่งเป็น “วาระแห่งชาติ” ของรัฐบาล ที่จะ เป็นกลไกการขับเคล่ือนส�ำหรับการสร้างคน สร้าง น�ำพาประเทศไทยไปสู่เป้าหมายของการเป็นประเทศ องคค์ วามรู้ และสรา้ งนวตั กรรม อกี ทง้ั บรู ณาการภารกจิ ที่มรี ายไดส้ งู และเป้าหมายการพัฒนาท่ยี ง่ั ยืน (SDGs) เพื่อให้เกิดเป็นพลังในการขับเคล่ือนการพัฒนา และ โดยใช้วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมมาเสริม ตอบโจทย์ท้าทายของประเทศ อันจะสามารถน�ำ สร้างจุดแข็งของประเทศอันเป็นภารกิจหลักของ ศกั ยภาพ อว. สง่ มอบโอกาสและอนาคตของประเทศไทย กระทรวง อว. ซง่ึ รวมถงึ สถาบันการศกึ ษาทกุ ที่ และ ให้ทั่วถงึ อยา่ งเท่าเทียม อว. สว่ นหนา้ ช่วยกันขบั เคลื่อน BCG ในการพัฒนา พนื้ ท่อี ย่างเป็นรูปธรรม 56
๓ อว.ปี กับความสาํ เรจ็ การปฏริ ูป การอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรมของประเทศ ๖.๘ การสนับสนุนเฉพาะกิจในสถานการณแ์ พร่ระบาดโควดิ -๑๙ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรณุ า โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ผู้แทนพระองค์ เชญิ พระราชทรพั ยพ์ ระราชทานเพอื่ สนบั สนนุ การดำ� เนนิ การรองรบั สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาด ของโรคโควิด-๑๙ โดย ศ. (พิเศษ) ดร. เอนก เหลา่ ธรรมทศั น์ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวง อว. รบั พระราชทานจำ� นวน ๑๘,๙๐๐,๐๐๐ บาท ด้วยความส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณเป็น ลน้ พน้ และไดจ้ ดั สรรใหก้ บั โรงพยาบาลสนาม ของสถาบันอุดมศึกษาท่ัวประเทศ จ�ำนวน ๑๗,๓๐๐,๐๐๐ บาท และจัดซื้อชุดป้องกัน เชื้อไวรัสส่วนบุคคล (ชุด PPE) จ�ำนวน ๑๐,๐๐๐ ชดุ เป็นเงิน ๑,๖๐๐,๐๐๐ บาท ศ. (พิเศษ) ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ไดข้ ยายมายงั โรงพยาบาลรามาธบิ ดี โดยใชอ้ าคารจกั รนี ฤบดนิ ทร์ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวง อว. มดี ำ� รทิ จ่ี ะให้ มีขนาด ๔๐๐ เตียง และ ขยายสู่มหาวิทยาลัยท่ัวประเทศ สถาบันการศึกษาที่มีความพร้อมจัดตั้ง สนับสนุนการท�ำงานของกระทรวงสาธารณสุขอย่างเต็มที่ โดยได้ โรงพยาบาลสนามเพื่อช่วยเหลือผู้ป่วย ดำ� เนนิ การจดั ตง้ั โรงพยาบาลสนามในเครอื ขา่ ย อว. ทงั้ สนิ้ ๕๓ แหง่ โควิด-๑๙ ทไี่ มส่ ามารถเขา้ รบั การรกั ษาใน และศูนยแ์ ยกกักชุมชน อว. จำ� นวน ๑๖ แห่ง รวมทั้งสน้ิ ๖๙ แห่ง โรงพยาบาลได้เนื่องจากเตียงไม่เพียงพอ ใน ๕o จังหวัดทั่วประเทศ โดยมีเตียงพร้อมรับผู้ป่วย จ�ำนวน เพื่อร่วมแรงร่วมใจกันสู้ภัยโควิดเคียงข้าง ๑๓,๔๓๓ เตียง (เฉพาะกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จ�ำนวน ประชาชนใหร้ อดพน้ วิกฤตไิ ปดว้ ยกนั ๒,๘๗๙ เตียง ภาคกลางไม่รวมกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ม ห า วิ ท ย า ลั ย ธ ร ร ม ศ า ส ต ร ์ ไ ด ้ จั ด ต้ั ง ๘๒๔ เตียง ภาคใต้ ๒,๕๖๗ เตียง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โรงพยาบาลสนามเป็นแห่งแรกของไทย ๒,๖๕๗ เตียง ภาคเหนือ ๓,๗๒๕ เตียง และ ภาคตะวันออก ขนาด ๔๕๐ เตียง ท่ีเปิดรับผู้ป่วยโควิด ๗๘๑ เตียง) และพร้อมขยายเตียงเพื่อรองรับผู้ป่วยได้ถึงจ�ำนวน ล้นโรงพยาบาล ในช่วง พ.ศ. ๒๕๖๓ และ ๑๖,๕๐๐ เตียง นับตั้งแต่เปิดด�ำเนินการโรงพยาบาลสนาม อว. ขยายเปน็ ๔๗๐ เตยี งใน พ.ศ. ๒๕๖๔ ตอ่ มา ได้ดูแลผู้ติดเช้ือไวรัสโควิด-๑๙ ทั้งสิ้นจ�ำนวน ๑oo,๘๙๘ คน (ขอ้ มลู ณ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๕) 57
กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร วจิ ัยและนวัตกรรม Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation อว. จัดท�ำโครงการความร่วมมือกับศิริราชมูลนิธิ ซงึ่ มจี �ำนวนกว่า ๕๐ แหง่ ๆ ละ ๑๐๐,๐๐๐ บาท และจัดต้ังกองทุนส�ำหรับสนับสนุนโรงพยาบาล โดยจัดสรรเงินสนับสนุนให้แก่โรงพยาบาลสนาม สนามในเครอื ขา่ ย อว. มจี ำ� นวนเงนิ บรจิ าคทง้ั หมดกวา่ เครือข่าย อว. ที่มีผู้เข้าพักรักษาแล้ว และเป็น ๙ ลา้ นบาทโดยมอบให้ศิริราชมูลนิธิเป็นผู้บริหาร ศูนย์แยกกักชุมชน รวมเป็นเงนิ ๖,๕๐๐,๐๐๐ บาท จดั การ และไดม้ อบใหโ้ รงพยาบาลสนามทวั่ ประเทศ “อว. พารอด” ภายใตแ้ นวคดิ “เปลยี่ นคนทร่ี อเปน็ คน ท่รี อด” และไดจ้ ดั ตั้งศูนย์ประสาน อว. พารอด ซึ่งมี ปลดั กระทรวง อว. เปน็ ทป่ี รกึ ษาศนู ย์ ทำ� หนา้ ทปี่ ระสาน เครือข่ายจากทุกภาคส่วนท้ังภาครัฐ และภาคเอกชน เพ่ือด�ำเนินการช่วยเหลือประชาชนไทยให้ผ่านพ้น วิกฤติโควิด-๑๙ ผ่านช่องทางต่าง ๆ อาทิ การสร้าง ขวัญกำ� ลังใจและเสรมิ ขอ้ มูลทีเ่ ป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วย โควิด-๑๙ ผ่านการกักตัวที่บ้าน และ การกักตัวใน ชมุ ชน โดยดำ� เนนิ การรว่ มกบั จติ อาสาและอาสาสมคั ร รวมทง้ั ผปู้ ว่ ยทหี่ ายดแี ลว้ ใหเ้ ขา้ มารว่ มพดู คยุ แลกเปลย่ี น ประสบการณแ์ ละการปฏบิ ตั ติ วั ของผตู้ ดิ เชอ้ื โควดิ -๑๙ และได้มีการร่วมมือกันบรรจุหีบห่อและจัดส่ง 58
๓ อว.ปี กับความสําเรจ็ การปฏิรูป การอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรมของประเทศ “กลอ่ ง อว. พารอด” ซึง่ ประกอบไปด้วย ยาสมุนไพร อุปกรณ์ท่ีจ�ำเป็นต่าง ๆ เพิ่มเติมจากท่ีโรงพยาบาล จดั ให้ เพอื่ สง่ ใหก้ บั ผปู้ ว่ ยทอี่ ยใู่ นการดแู ลของโรงพยาบาล ในเครือข่าย โรงพยาบาลกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์ แห่งประเทศไทย (UHosNet) รวมท้งั ประชาชนท่วั ไป ทัว่ ประเทศ อว. ได้ขอรับการสนับสนุนวัคซีนโควิด-๑๙ จาก ให้บริการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-๑๙ ตั้งแต่วันท่ี ๗ กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสุข เพอ่ื ให้บรกิ าร มิถุนายน ๒๕๖๔ ในทุกพ้ืนที่ทั่วประเทศตามวาระ ฉดี วคั ซนี สำ� หรบั บคุ ลากร นสิ ติ นกั ศกึ ษา และผเู้ ขา้ รว่ ม แหง่ ชาติ สรา้ งภมู คิ มุ้ กนั หมพู่ รอ้ มกนั ทว่ั ไทย โดยหนว่ ย โครงการยกระดับเศรษฐกจิ และสังคม รายต�ำบลแบบ ใหบ้ รกิ ารฉีดวัคซีนของ อว. ทัว่ ประเทศ ได้ใหบ้ รกิ าร บรู ณาการ โดยไดร้ ว่ มกบั ทปี่ ระชมุ อธกิ ารมหาวทิ ยาลยั ฉดี วคั ซนี แกบ่ คุ ลากรนสิ ติ นกั ศกึ ษาของสถาบนั อดุ มศกึ ษา จดั ตง้ั หนว่ ยใหบ้ รกิ ารฉดี วคั ซนี สว่ นกลางจำ� นวน๑๑หนว่ ย รวมท้ังประชาชนทั่วไป ถึง ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๔ ในเขตพนื้ ทก่ี รงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑล และไดเ้ รมิ่ รวม ๑,๐๙๗,๒๔๗ โดส 59
กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation โดยส่วนใหญ่อยู่ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล คิดเป็นร้อยละ ๗๑.๘๑ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รอ้ ยละ ๑๐.๖๘ ภาคเหนือร้อยละ ๑๐.๐๖ ภาคใต้ ร้อยละ ๔.๐๓ ภาคตะวันออกและภาคตะวันตก รวมกันท่ีร้อยละ ๒.๔๒ และ ภาคกลาง (ยกเว้น กรุงเทพมหานครและปริมณฑล) รอ้ ยละ ๑ อว. Clear&Clean โดยกรมวิทยาศาสตร์บริการ ให้ใช้ในการฆ่าเช้ือโควิด-๑๙ รวมทั้งจัดท�ำคู่มือ ได้ศึกษาและพัฒนาวิธีการท�ำลายเช้ือโควิด-๑๙ การใชง้ านถา่ ยทอดองคค์ วามรกู้ ารใชง้ านนำ้� ยาฆา่ เชอื้ ในพื้นที่โรงพยาบาลสนาม ศูนย์พักคอยเพื่อส่งต่อ ผ่านวิดีโอสาธิตให้กับหน่วยงานต่าง ๆ สามารถน�ำไป ศนู ยฉ์ ดี วคั ซนี ปอ้ งกนั โควดิ -๑๙ เพอ่ื คนื พนื้ ทส่ี าธารณะ ศกึ ษาและใชป้ ระโยชน์ ใหป้ ระชาชน รวมทงั้ ปฏบิ ตั กิ ารรว่ มกบั สถานศกึ ษาและ โรงเรียนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เพอื่ การเตรียมความพร้อมในการเปิดภาคเรยี น ซ่ึงได้ ลงพ้ืนที่ในช่วงเดือนกันยายน-พฤศจิกายน ๒๕๖๔ รวม ๒๖ ครง้ั เพอ่ื ฉดี พน่ ฆา่ เชอ้ื ทำ� ความสะอาด สง่ มอบ อุปกรณ์และสนับสนุนชุดป้องกันการติดเชื้อ PPE พร้อมสาธิตวิธีการใช้น�้ำยาโซเดียมไฮโปคลอไรท์ (Sodium Hypochlorite) ตามทส่ี หภาพยโุ รปแนะนำ� 60
Search