Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือ ๓ ปี อว. กับความสำเร็จการปฏิรูปการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ

หนังสือ ๓ ปี อว. กับความสำเร็จการปฏิรูปการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ

Published by MBU SLC LIBRARY, 2022-05-11 03:00:00

Description: หนังสือ ๓ ปี อว. กับความสำเร็จการปฏิรูปการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ วันคล้ายวันสถาปนากระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ๒ พฤษภาคม ๒๕๖๕

Search

Read the Text Version

กระทรวงแหง่ ปัญญา โอกาส อนาคต

กระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation สารแสดงความยินดจี าก พลเอก ประยทุ ธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ผ ม ข อ แ ส ด ง ค ว า ม ยิ น ดี แ ล ะ ข อ ช่ื น ช ม กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ที่เป็นก�ำลังส�ำคัญ ในการพฒั นาประเทศ สรา้ งผลงานสำ� คญั ที่ เ ป ็ น ป ร ะ โ ย ช น ์ ต ่ อ ก า ร ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น ยุทธศาสตร์ชาติ ท้ังในด้านการพัฒนา เศรษฐกิจฐานนวัตกรรมและเศรษฐกิจ ฐานราก การพัฒนาสังคมและสงิ่ แวดล้อม การแก้ปัญหาส�ำคัญเร่งด่วนของประเทศ โดยเฉพาะในช่วงสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ซึ่งกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรมไดส้ นบั สนนุ การแกป้ ญั หา ทีเ่ กดิ ขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม ก

๓ อว.ปี กบั ความสําเร็จการปฏิรูป การอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรมของประเทศ เนื่องในโอกาสครบรอบ ๓ ปี วันสถาปนากระทรวง ของประเทศตามเจตนารมณ์ของการจัดตั้งกระทรวง การอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ที่ให้ความส�ำคัญกับการวิจัยและพัฒนา เพ่ือเร่งสร้าง วันที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๖๕ ผมขอส่งความระลึกถึง องค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และ และความปรารถนาดีมายังคณะผู้บริหาร ข้าราชการ การรงั สรรคน์ วตั กรรม ควบคไู่ ปกบั การพฒั นากำ� ลงั คน เจ้าหน้าท่ีของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ ใหม้ คี วามรู้ทกั ษะ และสมรรถนะรองรบั การเปลยี่ นแปลง วิจัยและนวัตกรรม และผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องทุกคน ท่ีผันผวนในศตวรรษท่ี ๒๑ ซ่ึงจะน�ำไปสู่การเพ่ิม ทม่ี สี ว่ นสำ� คญั ในการขบั เคลอื่ นภารกจิ ดา้ นการสง่ เสรมิ ขดี ความสามารถและอนั ดบั ในการแขง่ ขนั ของประเทศ สนับสนุน และก�ำกับการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ รวมทั้งบรรลุเป้าหมายในการพัฒนาเศรษฐกิจและ การวิจัย และการสร้างสรรค์นวัตกรรมของประเทศ สังคมตามแนวนโยบายประเทศไทย ๔.๐ ให้มคี วามเจริญกา้ วหน้าตลอดมา ในโอกาสน้ี ผมขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัยและ ผมขอแสดงความยินดีและขอชื่นชมกระทรวง สิ่งศักด์ิสิทธิ์ท้ังหลายในสากล อีกทั้งพระบารมีของ การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั และสมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ ท่ีเป็นก�ำลังส�ำคัญในการพัฒนาประเทศ สร้างผลงาน พระบรมราชินี โปรดดลบันดาลประทานพรให้ทุกคน สำ� คญั ทเี่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ การการขบั เคลอ่ื นยทุ ธศาสตรช์ าติ ประสบแต่ความสุข ความเจริญ เพ่ือร่วมกันพัฒนา ท้ังในด้านการพัฒนาเศรษฐกิจฐานนวัตกรรมและ การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เศรษฐกิจฐานราก การพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม ของประเทศไทยไปสมู่ าตรฐานระดับสากล และส่งผล การแก้ปัญหาส�ำคัญเร่งด่วนของประเทศ โดยเฉพาะ ต่อชวี ิตความเปน็ อยู่ท่ีดีของชาวไทยอยา่ งยัง่ ยนื ในชว่ งสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ ซงึ่ กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ พลเอก วิจัยและนวัตกรรมได้สนับสนุนการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น (ประยุทธ์ จันทรโ์ อชา) อยา่ งเปน็ รปู ธรรมอนั เปน็ ผลจากความสำ� เรจ็ ในการปฏริ ปู นายกรฐั มนตรี การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ข

กระทรวงการอุดมศกึ ษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation สารแสดงความยนิ ดจี าก นายดอน ปรมตั ถ์วนิ ัย รองนายกรัฐมนตรี ขอส่งความปรารถนาดีและค�ำขอบคุณ มายังผู้บริหาร ข้าราชการ พนักงาน และ เจ้าหน้าที่ของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมทุกท่าน ซงึ่ ไดป้ ฏบิ ตั หิ นา้ ทด่ี ว้ ยความวริ ยิ ะ อตุ สาหะ เพ่ือพัฒนางานด้านการอุดมศึกษา ด้าน วิทยาศาสตร์ ด้านการวิจัยและพัฒนา นวัตกรรมให้มีความก้าวหน้า สามารถ น�ำพาประเทศไทยไปสู่ประเทศที่มีความ ม่ันคง มั่งค่ัง และย่ังยืนต่อไป ค

๓ อว.ปี กับความสาํ เรจ็ การปฏริ ปู การอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรมของประเทศ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ ได้ง่ายและสามารถน�ำไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด นวัตกรรม เป็นหน่วยงานท่ีจัดตั้งขึ้นตามเจตนารมณ์ เพื่อให้การพัฒนาก�ำลังคน การพัฒนาผลงานวิจัย รัฐบาลท่ีต้องการปฏิรูปการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ และนวัตกรรมสามารถตอบสนองและสร้างประโยชน์ วจิ ยั และนวตั กรรม เพอ่ื ตอบสนองตอ่ การเปลย่ี นแปลง ตอ่ เศรษฐกจิ สงั คม และชุมชน อย่างเป็นรูปธรรม ในศตวรรษที่ ๒๑ โดยการรวมหลายหน่วยงาน ในโอกาสทก่ี ระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั ทเ่ี กยี่ วขอ้ งเขา้ ดว้ ยกนั เพอื่ ใหเ้ กดิ พลงั ในการขบั เคลอื่ น และนวัตกรรม ได้จัดต้ังมาครบรอบ ๓ ปี ในวันที่ ประเทศ ๒ พฤษภาคม ๒๕๖๕ ผมขอส่งความปรารถนาดี ท่ีผ่านมา หน่วยงานของกระทรวงการอุดมศึกษา และขอบคุณผู้บริหาร ข้าราชการ พนักงาน และ วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมได้ผนึกก�ำลัง เจ้าหน้าที่ของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ เพ่ือขับเคล่ือนงานท่ีส�ำคัญในการพัฒนาประเทศ วิจัยและนวัตกรรม ทุกท่านท่ีได้ปฏิบัติหน้าที่ด้วย โดยปฏริ ปู กระบวนการทำ� งาน การบรหิ ารงบประมาณ ความวิริยะ อุตสาหะ ยึดมั่นในจริยธรรมและ การติดตามและประเมินผล ในระบบการอุดมศึกษา ธรรมาภบิ าล เพื่อพัฒนางานอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ให้เป็นไปอย่างมี การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมให้มีความก้าวหน้า ประสิทธิภาพและบูรณาการ การพัฒนาระบบข้อมูล สามารถนำ� พาประเทศไทยไปสปู่ ระเทศทม่ี คี วามมน่ั คง ด้านการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม มง่ั คัง่ และยั่งยืนต่อไป ของประเทศให้เป็นระบบสารสนเทศกลางที่เข้าถึง (นายดอน ปรมัตถ์วนิ ยั ) รองนายกรฐั มนตรี ง

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation สารแสดงความยนิ ดจี าก ศ. (พิเศษ) ดร. เอนก เหลา่ ธรรมทัศน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรม ในฐานะรฐั มนตรวี า่ การ ผมปรารถนาทจี่ ะเหน็ กระทรวงนเี้ ปน็ กระทรวงแหง่ ศลิ ปวทิ ยาการ ท้ังปวง เป็นกระทรวงแห่งโอกาส และ อนาคต เป็นกระทรวงท่ีให้ความส�ำคัญ ท้ังด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีควบคู่ กบั ดา้ นสงั คมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และ ศิลปกรรมศาสตร์ เป็นกระทรวงที่เน้น การสร้างเศรษฐกิจจากวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยเี ท่า ๆ กับเศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์ จากศลิ ปะ สนุ ทรยี ะ และอารยะ เปน็ กระทรวง ท่ีเห็นความส�ำคัญของปากท้องชาวบ้าน ในชมุ ชนไมน่ อ้ ยไปกวา่ ความปรดี าปราโมทย์ ของนักวิทยาศาสตร์ท่ีเห็นความเจริญ ก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์ทัดเทียม ประเทศช้ันนำ� จ

๓ อว.ปี กับความสาํ เรจ็ การปฏริ ูป การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรมของประเทศ การจัดตั้งกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย กับเศรษฐกิจสร้างสรรค์จากศิลปะ สุนทรียะ และอารยะ และนวัตกรรม (อว.) เป็นการเชื่อมโยงองค์ความรู้และ เปน็ กระทรวงทเี่ หน็ ความสำ� คญั ของปากทอ้ งชาวบา้ นในชมุ ชน การพัฒนาก�ำลังคนในมหาวิทยาลัยกับหน่วยงานวิจัย ไมน่ อ้ ยไปกวา่ ความปรดี าปราโมทยข์ องนกั วทิ ยาศาสตรท์ เี่ หน็ และนวัตกรรม เพ่ือน�ำไปสู่การตอบโจทย์ประเทศ ความเจรญิ กา้ วหนา้ ทางดา้ นวทิ ยาศาสตรท์ ดั เทยี มประเทศ โดยการควบรวมกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั นำ� ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ส�ำนักงาน กระทรวง อว. นอกจากเปน็ กระทรวงทใี่ หค้ วามรู้ ใหค้ ำ� ตอบ คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ และส�ำนักงานกองทุน กบั ประเทศ ยงั ตอ้ งเปน็ กระทรวงทช่ี ว่ ยพฒั นาประเทศดว้ ย สนับสนุนการวิจัยอยู่ใต้กระทรวงเดียวกัน ถือว่าเป็น กระทรวง อว. ต้องเป็นส่วนหน่ึงของสังคมท่ีกว้างขวาง การปฏิรูปครั้งส�ำคัญของรัฐบาล มภี าระความรบั ผดิ ชอบตอ่ พนื้ ทใี่ นระดบั ทต่ี อ้ งใชล้ มหายใจ การเป็นกระทรวงใหม่ที่มีหน่วยงานเทียบเท่าหน่วยงาน เดียวกัน ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ได้ต้ังเป้าหมายให้ ระดับกรมมากกว่าร้อยกรม และมาจากการควบรวม ประเทศไทยเป็นประเทศท่ีพัฒนาแล้ว กระทรวง อว. กระทรวงทม่ี ีอำ� นาจ หน้าที่ พันธกิจ หรอื แม้แต่วัฒนธรรม ท่ีเป็นกระทรวงแห่งปัญญา ก็ควรจะเป็นกระทรวงท่ีต้อง องค์กรที่ต่างกัน มาท�ำงานในกระทรวงเดียวกันอย่าง พัฒนาและผลิตผลงานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัย นวัตกรรม ราบร่ืนเป็นสิ่งท่ีปฏิบัติได้ยากย่ิง แต่ ๓ ปีมานี้ เป็นท่ี และศิลปวิทยาการ ให้มีคุณภาพสูงทัดเทียมประเทศ ประจกั ษว์ า่ หนว่ ยงานในกระทรวง อว. มคี วามเปน็ อนั หนง่ึ ทพี่ ฒั นาแลว้ เพอ่ื นำ� ประเทศไปสเู่ ปา้ หมาย หรอื อกี นยั หนง่ึ อนั เดยี วกนั อยา่ งรวดเรว็ มคี วามรว่ มมอื กนั ทำ� งาน ชว่ ยเหลอื กระทรวง อว. ตอ้ งเป็นกระทรวงของประเทศทพี่ ฒั นาแลว้ สนับสนุนกัน ท้ังในรูปแบบท่ีเป็นทางการและแบบไม่เป็น ก่อนกระทรวงอ่ืนๆ โดยกระทรวงได้ตั้งเป้าหมายให้บรรลุ ทางการ ที่เป็นเช่นน้ีได้เพราะกระทรวงได้มีการออกแบบ ภายใน ๑๐ ปี หรอื ภายในปี พ.ศ. ๒๕๗๓ กลไกการท�ำงานไว้หลายประเภท ที่ส�ำคัญเกิดจาก มีสุภาษิตจีนบทหน่ึงกล่าวไว้ว่า “หนทางหมื่นลี้ เร่ิมต้น ความทุ่มเท เสียสละ ร่วมมือกันท�ำงานของผู้บริหาร ที่ก้าวแรก” ผมมีความเชื่อมั่นว่า ตั้งแต่ก้าวแรกจนถึง ทกุ ๆ หนว่ ยงานในกระทรวง ก้าวที่สามของกระทรวง อว. เป็นการก้าวเดินที่ถูกทาง ในฐานะรฐั มนตรีว่าการ ผมปรารถนาท่ีจะเห็นกระทรวงน้ี และเปน็ กา้ วทม่ี น่ั คง ผมหวงั ทจี่ ะเหน็ กระทรวง อว. จะเดนิ เป็นกระทรวงแห่งศิลปวิทยาการทั้งปวง เป็นกระทรวง ไปได้ไกล ถึงเป้าหมายในเวลาท่ีก�ำหนด และช่วยน�ำทาง แห่งโอกาส และอนาคต เป็นกระทรวงท่ีให้ความส�ำคัญ ใหป้ ระเทศไทยไปสู่การเปน็ อารยะประเทศ ทง้ั ดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยคี วบคกู่ บั ดา้ นสงั คมศาสตร์ มนษุ ยศาสตร์ และศลิ ปกรรมศาสตร์ เปน็ กระทรวงทเี่ น้น การสร้างเศรษฐกิจจากวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเท่า ๆ (ศ. (พิเศษ) ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ฉ

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรม เปน็ องคก์ รน�ำเพอื่ ขบั เคลอ่ื นการอดุ มศึกษาไทย วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรมไปสมู่ าตรฐานในระดบั สากล และเพิ่มอันดบั ความสามารถการแขง่ ขนั ในระดบั นานาชาตอิ ยา่ งย่ังยืน ภายในปี พ.ศ. ๒๕๘๐

๓ อว.ปี กบั ความสําเร็จการปฏิรูป การอุดมศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ค�ำนำ� กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ ประกอบดว้ ย การปฏริ ปู การพฒั นากำ� ลงั คนเพอื่ ความ นวตั กรรม มภี ารกจิ หลกั สำ� คญั ๓ ดา้ น คอื การสรา้ งคน ย่ังยืนของเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ การปฏิรปู สร้างองค์ความรู้ และสร้างนวัตกรรมของประเทศ และยกระดับโครงสร้างพื้นฐานและระบบนิเวศด้าน ท่ีมุ่งขับเคลื่อนการพัฒนาสู่ความส�ำเร็จอย่างรวดเร็ว วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมเพ่ืออนาคตท่ีย่ังยืน จึงได้ด�ำเนินการปฏิรูปท้ังโครงสร้าง กฎหมายที่ และการปฏิรูปการอุดมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและ เกี่ยวข้อง รูปแบบและแนวทางการพัฒนา รวมทั้ง นวัตกรรมเพ่ือลดความเหลื่อมล้�ำและการพัฒนา กลไกการบริหารจัดการที่จะขับเคล่ือนนโยบายสู่การ ประเทศในทุกมิติ รวมท้ังการขับเคล่ือนประเทศใน ปฏบิ ตั อิ ยา่ งเปน็ ระบบและมปี ระสทิ ธภิ าพ เพอื่ ขบั เคลอ่ื น สถานการณฉ์ กุ เฉนิ และเปน็ แนวหนา้ ฝา่ ฟนั วกิ ฤตกิ ารณ์ การพัฒนาประเทศในทุกมิติสู่เป้าหมายการเป็น การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ -๑๙ ประเทศท่พี ัฒนาแลว้ ในบริบทการเปน็ กระทรวงแห่ง กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม การปฏิบัติควบคกู่ ับกระทรวงแหง่ การพัฒนาประเทศ มงุ่ มน่ั ทจ่ี ะพฒั นาตอ่ ยอดเพอ่ื เรง่ การขบั เคลอื่ นเศรษฐกจิ ในโอกาสครบรอบ ๓ ปี วนั สถาปนากระทรวง จงึ จดั ทำ� และสังคมทุกระดับสู่ประเทศที่พัฒนาแล้วอย่างย่ังยืน หนังสือทร่ี ะลึก “๓ ปี อว. กับความส�ำเร็จการปฏิรปู ท�ำใหป้ ระเทศไทยสามารถแข่งขนั ไดใ้ นเวทีสากล และ การอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรมของ ประชาชนมีคณุ ภาพชีวิตท่ดี ี ประเทศ” โดยประมวลความสำ� เรจ็ ใน ๓ การปฏริ ปู หลกั ศ.ดร.นพ. สิริฤกษ์ ทรงศวิ ไิ ล ปลัดกระทรวงการอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ช

กระทรวงการอุดมศึกษา หนา้ วิทยาศาสตร วจิ ัยและนวัตกรรม ก ค Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation จ สารบัญ ช ซ สารแสดงความยนิ ดีจากพลเอกประยทุ ธ์ จันทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี ๑ สารแสดงความยนิ ดจี ากนายดอน ปรมัตถว์ นิ ัย รองนายกรฐั มนตรี ๒ สารแสดงความยินดจี าก ศ. (พิเศษ) ดร. เอนก เหลา่ ธรรมทศั น์ รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงการอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ๓ คำ� นำ� สารบัญ ๕ ๑. ความเปน็ มาของกระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม ๒. การขับเคลอื่ นกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม ๖ ๘ ท่ีมคี วามหลากหลายในองค์การ ๑๐ ๓. ผลสัมฤทธ์ิการปฏิรูปสกู่ ารพัฒนากระทรวงการอดุ มศกึ ษา ๑๒ วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม ๓ ด้าน ใน ๓ ปี ๔. ผลสัมฤทธก์ิ ารปฏิรปู การพฒั นากำ� ลังคนเพอ่ื ความยง่ั ยนื ๑๓ ๑๓ ของเศรษฐกจิ และสังคมของประเทศ ๑๕ ๔.๑ กองทุนเพื่อการพัฒนาอดุ มศกึ ษา ๔.๒ แซนด์บอ็ กซ์กลไกนวตั กรรมการอุดมศกึ ษา ๑๕ ๔.๓ การจดั กล่มุ สถาบนั อุดมศึกษาตามเปา้ หมายประเทศยกระดบั ๑๗ การพฒั นาก�ำลังคนและทนุ ทางปญั ญา ๑๘ ๔.๔ การขอตำ� แหนง่ วิชาการเพ่มิ ข้นึ ๕ ช่องทางโดยไมต่ ้องสง่ งานวิจัย หรอื ตำ� รา ๔.๕ การยกเลิกกรอบเวลาสำ� เรจ็ การศกึ ษาทุกระดบั ปริญญา ๔.๖ การเรียนข้ามสถาบนั ขยายพรมแดนอดุ มศึกษา ๔.๗ การจดั ต้ัง “ธนาคารหน่วยกติ แหง่ ชาต”ิ เกบ็ ออมทุกการเรียนรู้ เพ่ือรองรับการพัฒนาก�ำลังคนทกุ ช่วงวัย ๔.๘ การสร้างบณั ฑติ พนั ธ์ุใหม่และการพัฒนากำ� ลงั คน เพ่อื ตอบโจทย์ภาคการผลิต ๔.๙ บทบาทของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ในศตวรรษท่ี ๒๑ ๔.๑๐ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลโฉมใหม่ ซ

๓ อว.ปี กับความสาํ เร็จการปฏิรูป การอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ๕. ผลสมั ฤทธิก์ ารปฏิรปู และยกระดับโครงสร้างพนื้ ฐานและระบบนเิ วศ หน้า ด้านวทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรมเพอ่ื อนาคตทยี่ ัง่ ยนื ๒๑ ๕.๑ เคร่ืองกำ� เนิดแสงซินโครตรอนระดบั พลงั งาน 3 GeV และห้องปฏิบตั กิ าร ๒๒ ๕.๒ โทคาแมคส่กู ารพัฒนาเทคโนโลยีนิวเคลียร์ฟิวชนั ในประเทศไทย ๕.๓ ดาวเทียมธีออส ๒ สญั ชาติไทย ๒๔ ๕.๔ กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมสนับสนุน ๒๖ การพฒั นาไทยทุกมิติ ๒๙ ๕.๕ หนว่ ยบรหิ ารและจดั การทุนเฉพาะด้านขับเคลอ่ื นนโยบาย สู่การปฏิบัตทิ ่รี วดเร็ว ๓๒ ๕.๖ ภาคคี วามรว่ มมอื อวกาศไทยสูจ่ กั รวาล ๕.๗ ธัชวทิ ย์มุ่งทศิ ส่คู วามเป็นเลศิ ในอนาคต ๓๕ ๕.๘ ธัชชาขบั เคล่อื นดา้ นสังคมศาสตร์ มนษุ ยศาสตร์ และศิลปกรรม ๓๗ ศาสตร์ครัง้ สำ� คญั ของประเทศ ๓๙ ๖. ผลสัมฤทธิก์ ารปฏิรูปการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรม ๔๓ เพ่อื ลดความเหลอื่ มล�้ำและการพฒั นาประเทศในทุกมติ ิ ๖.๑ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรมในฐานะ ๔๔ กระทรวงแหง่ การปฏิบัติ และกระทรวงแหง่ การพฒั นาประเทศ ๖.๒ กองทนุ นวตั กรรมเพอื่ อตุ สาหกรรมเตม็ ตวั เร่งวิสาหกจิ ๔๕ ขนาดกลางและขนาดย่อม ๖.๓ การให้ทนุ วจิ ัยแก่เอกชน ๔๖ ๖.๔ พระราชบัญญตั สิ ง่ เสรมิ การใชป้ ระโยชน์ผลงานวจิ ยั ๔๗ และนวัตกรรม พ.ศ. ๒๕๖๔ คุณคา่ ตอ่ มวลชน ๖.๕ โครงการยกระดบั เศรษฐกจิ และสงั คมรายต�ำบลแบบบรู ณาการ ๔๘ (มหาวิทยาลัยสตู่ ำ� บล สร้างรากแก้วใหป้ ระเทศ : U2T) ๖.๖ นวตั กรรมเพอื่ สงั คมลดความเหลื่อมลำ�้ ๕๒ ๖.๗ อว. สว่ นหน้า ๕๔ ๖.๘ การสนบั สนนุ เฉพาะกจิ ในสถานการณ์แพร่ระบาดโควดิ -๑๙ ๕๗ ฌ

๓ปี ผลสมั ฤทธกิ์ ารปฏิรูปการพฒั นา กับผลสัมฤทธิ์ ๑ กำ� ลงั คนเพอ่ื ความย่ังยืนของ การปฏิรปู สู่การพัฒนา เศรษฐกิจและสงั คมของประเทศ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ ๒ ผลสมั ฤทธ์กิ ารปฏิรปู และยกระดบั โครงสรา้ งพนื้ ฐานและระบบนเิ วศ ๓ ดา้ นวิจยั และนวตั กรรม ดา้ นวิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม เพ่ืออนาคตท่ยี ั่งยนื ๓ ผลสมั ฤทธ์กิ ารปฏริ ูปการอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม เพอื่ ลดความเหล่อื มลำ้� และการพัฒนา ประเทศในทุกมติ ิ

๑. ๓ อว.ปี กบั ความสาํ เรจ็ การปฏริ ูป การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรมของประเทศ ความเป็นมาของกระทรวง การอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม รัฐบาลมุ่งพัฒนาก�ำลังคนท่ีตอบสนองต่อการพัฒนาประเทศ และสร้างขีดความสามารถใน การแขง่ ขนั ระดบั โลกโดยใชว้ ทิ ยาศาสตร์ การวจิ ยั และนวตั กรรม เปน็ หลกั ในการขบั เคลอื่ นประเทศ ทุกมติ ิ ท้ังดา้ นเศรษฐกจิ ชุมชนและสงั คม เกษตรกรรม อตุ สาหกรรม และภาคบรกิ ารใหเ้ กดิ ประสิทธิภาพ เพื่อแกป้ ัญหาและสร้างโอกาสไปพร้อม ๆ กับการพัฒนาทนุ มนุษย์ สเู่ ป้าหมาย การพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื จงึ รเิ รมิ่ การควบรวมภารกจิ ดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยซี งึ่ มหี นว่ ยงานที่ มคี วามเปน็ เลศิ ในดา้ นตา่ ง ๆ ผนวกกบั หนว่ ยงานทที่ ำ� หนา้ ทใ่ี นการสนบั สนนุ ทนุ วจิ ยั และพฒั นา นวตั กรรมรวมทง้ั นกั วจิ ยั และสำ� นกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา ซง่ึ มมี หาวทิ ยาลยั ในสงั กดั ทั่วท้ังประเทศ เพ่ือบูรณาการพัฒนาก�ำลังคนให้มีขีดความสามารถในการแข่งขันควบคู่กับ การผลติ ผลงานวจิ ยั และนวตั กรรมทตี่ อบโจทยแ์ ละนำ� ไปใชป้ ระโยชนไ์ ดอ้ ยา่ งเปน็ รปู ธรรม โดยในวนั ท่ี ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ราชกจิ จานเุ บกษา ประกาศใชก้ ฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การจดั ตง้ั กระทรวง การอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม (อว.) จำ� นวน ๙ ฉบบั ประกอบดว้ ย พระราชบญั ญตั ิ ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับท่ี ๑๙) พ.ศ. ๒๕๖๒ พระราชบัญญัติสภานโยบาย การอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๒ พระราชบัญญตั ริ ะเบยี บ บริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ พระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒ พระราชบัญญตั ิการอดุ มศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๒ พระราชบัญญัติ ระเบยี บบริหารราชการกระทรวงการอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรม พ.ศ. ๒๕๖๒ พระราชบัญญัติการบริหารส่วนงานภายในของสถาบันอุดมศึกษา (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒ พระราชบญั ญตั สิ ถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชน (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ และ พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บ ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒ ที่มีผลบังคับใช้วันที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒ จึงถอื เป็นวนั สถาปนา อว. โดย กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จะสิ้นสุดความเป็นส่วนราชการ ต่อมา ในวันที่ ๘ พฤษภาคม ๒๕๖๒ คณะกรรมการขับเคลื่อนการปฏิรูปการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม ทมี่ ี พล.อ.อ.ประจนิ จ่ันตอง รองนายกรัฐมนตรี เปน็ ประธานการประชุม เพ่ือจะสรุปการแบ่งส่วนราชการภายใน ส�ำนักงานปลัดกระทรวง อว. ส�ำนักงานสภานโยบาย การอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรม และ ส�ำนักงานการวิจยั แห่งชาติ โดยมี ดร. สวุ ทิ ย์ เมษินทรีย์ ด�ำรงต�ำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวง อว. คนแรก และ รองศาสตราจารย์สรนิต ศิลธรรม เป็นปลัดกระทรวง อว. คนแรก 01

กระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation ๒. อว. มีหน่วยงานในสังกัดทั้งระดับนโยบายและยุทธศาสตร์ของประเทศในการก�ำหนดทิศทาง การพฒั นา หนว่ ยงานกำ� กบั ดแู ลและการบรหิ ารจดั การเชงิ คณุ ภาพและความปลอดภยั หนว่ ยงาน วิจัยและพัฒนานวัตกรรมรวมท้ังเทคโนโลยี และ หน่วยงานผลิตก�ำลังคน ที่มีบทบาทหลักใน การวางรากฐานของประเทศสอู่ นาคต โดยมที ศิ ทางในการพฒั นาประชาชนใหม้ คี วามพรอ้ มรบั มอื กบั โลกทม่ี กี ารเปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ ทเี่ ปดิ โอกาสใหเ้ กดิ ความเทา่ เทยี มในการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ เพอ่ื ลดความเหลอ่ื มลำ้� และลดชอ่ งวา่ งทางสงั คม รวมทงั้ ยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ และสรา้ งความสขุ ของคนไทยทุกคน สร้างความเข้มแข็งให้กับประเทศ เกิดการกระตุ้นเศรษฐกิจฐานราก สร้าง ความเชอ่ื มนั่ และสรา้ งขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศในเวทโี ลก จงึ ตอ้ งปรบั เปลยี่ น แนวทางและรูปแบบการด�ำเนินงานไปพร้อม ๆ กับการเติมเต็มศักยภาพ ทั้งของสถาบัน อุดมศกึ ษาและสถาบนั วิจยั และพฒั นานวัตกรรม ให้เปี่ยมลน้ ไปด้วยการสรา้ งโอกาส แหลง่ ทนุ ทางปญั ญา และพลงั ขบั เคลอ่ื นเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศอยา่ งตอ่ เนอื่ ง และสามารถตอบโจทย์ ประเทศ สงั คม และประชาชนไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และมกี ารรว่ มพลงั กนั ขบั เคลอื่ นการปฏริ ปู อว. ทีเ่ น้นการสร้างคุณค่า ให้เป็น “กระทรวงแหง่ อนาคต” การขับเคลอ่ื น กระทรวงการอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรมทม่ี ีความหลากหลายในองค์การ อว. เกดิ จากการควบรวมของหน่วยงานจาก ๓ กล่มุ หลัก ดังน้ี (๑) กระทรวงวิทยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยี ซงึ่ มหี นว่ ยงานในสงั กดั ทง้ั สน้ิ ๑๖ แหง่ ประกอบดว้ ย สว่ นราชการ ๔ แหง่ หนว่ ยงาน ในก�ำกบั ๓ แหง่ องค์การมหาชน ๗ แหง่ และ รัฐวิสาหกิจ ๒ แห่ง (๒) การอุดมศึกษาภายใต้ กระทรวงศกึ ษาธิการ ๑๕๖ แหง่ สำ� นักงานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา กับสถาบันอุดมศึกษา อกี ๑๕๕ แหง่ แบง่ เปน็ สถาบนั อดุ มศกึ ษาภาครฐั ๘๓ แหง่ และ สถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชน ๗๒ แหง่ และ (๓) หน่วยงานด้านนโยบายและกองทนุ กลาง ๒ แห่ง คือ ส�ำนักงานคณะกรรมการการวิจัย แหง่ ชาติ ขึน้ ตรงต่อนายกรฐั มนตรี และ สำ� นักงานกองทนุ สนบั สนุนการวจิ ัย ซ่งึ อยูภ่ ายใตก้ ำ� กบั ของสำ� นกั นายกรฐั มนตรี จงึ เปน็ กระทรวงทมี่ ลี กั ษณะ รปู แบบองคก์ ร และ ภารกจิ ทห่ี ลากหลาย และเปน็ กลไกสำ� คัญในการพัฒนาประเทศ โดยบูรณาการการเรียนการสอน การวิจัย และการ สรา้ งสรรค์นวตั กรรม ด้านวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยีและศาสตรอ์ นื่ เขา้ ดว้ ยกนั ร่วมมือกันปฏบิ ตั ิ หน้าท่ีระหว่างสถาบันอุดมศึกษา สถาบันวิจัย และหน่วยงานขับเคลื่อนนโยบายและบริหาร กองทนุ ในทศิ ทางทสี่ อดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ แผน และนโยบายในการพัฒนาประเทศ 02

๓ อว.ปี กบั ความสาํ เรจ็ การปฏิรปู การอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรมของประเทศ ในระยะเวลา ๓ ปีท่ีผ่านมา อว. บูรณาการและน�ำความรู้สมัยใหม่ ความรู้ชั้นสูง เทคโนโลยี ทุกระดับมาใช้พัฒนาประเทศ เนื่องจากโลกก้าวสู่ยุคท่ีมีการเปลี่ยนแปลงแบบรวดเร็วฉับพลัน และคาดการณ์ยาก ท่ีประเทศไทยจะต้องปรับตัวและขับเคล่ือนสู่ประเทศท่ีพัฒนาแล้วให้ได้ ภายใน พ.ศ. ๒๕๘๐ ตามเปา้ หมายของยทุ ธศาสตรช์ าติ โดย อว. จะเปน็ กลไกสำ� คญั ของประเทศ ในการขบั เคลอ่ื นสปู่ ระเทศพฒั นาแลว้ ใหไ้ ดภ้ ายใน พ.ศ. ๒๕๗๐ ซง่ึ เรว็ กวา่ ยทุ ธศาสตรช์ าติ ๑๐ ปี ดว้ ยการพฒั นาเศรษฐกจิ ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ควบค่กู ับเศรษฐกิจฐานสงั คม ศลิ ปะ และวัฒนธรรมเชงิ สร้างสรรค์ โดยไดเ้ รง่ รัดการปฏริ ูปท้ังกฎหมาย หลกั คิด ระบบและกลไกเชงิ บรหิ าร รวมทงั้ วธิ กี ารปฏบิ ตั ิ สกู่ ารขบั เคลอื่ นประเทศอยา่ งเปน็ รปู ธรรม ใน ๓ ดา้ นหลกั ทงั้ การปฏริ ปู การพฒั นากำ� ลงั คนเพอื่ ความยง่ั ยนื ของเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ การปฏริ ปู และยกระดบั โครงสร้างพน้ื ฐานและระบบนเิ วศด้านวิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรมเพ่ืออนาคตท่ีย่ังยนื และ การปฏริ ปู การอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรมเพอ่ื ลดความเหลอ่ื มลำ�้ และการพฒั นา ประเทศในทกุ มิติ ๓. ผลสัมฤทธิ์การปฏิรปู สกู่ ารพัฒนา กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ๓ ดา้ น ใน ๓ ปี ๓ ปีแห่งการปฏิรูปกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมมีผลสัมฤทธ์ิ เชิงประจกั ษ์ ดงั นี้ การปฏิรูปการพัฒนากำ� ลังคนเพือ่ ความย่ังยืนของเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศ การปฏิรูปและยกระดับโครงสร้างพ้ืนฐานและระบบนิเวศด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรมเพ่ืออนาคตที่ยั่งยืน การปฏิรูปการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมเพ่ือลดความเหล่ือมล�้ำและ การพฒั นาประเทศในทกุ มติ ิ 03

๒ แซนดบ์ ็อกซ์ กลไกนวตั กรรมการอุดมศึกษา กองทุน ๑ ๓ การจดั กลุ่มสถาบนั อดุ มศึกษา เพอื่ การพัฒนา ตามเปา้ หมายประเทศ ยกระดับ การพัฒนาก�ำลงั คนและทุนทางปัญญา อุดมศึกษา ๑๐ ๔ การขอต�ำแหนง่ วชิ าการ เพมิ่ ขึ้น ๕ ช่องทาง ผลสมั ฤทธิ์ โดยไมต่ ้องส่งงานวิจัยหรอื ตำ� รา การปฏริ ปู การพฒั นาก�ำลงั คน ๕ การยกเลิกกรอบเวลา เพือ่ ความยั่งยืนของเศรษฐกจิ ส�ำเรจ็ การศกึ ษา ทุกระดับปริญญา และสังคมของประเทศ ๖ การเรยี นข้ามสถาบัน ขยายพรมแดนอดุ มศึกษา ๗ การจดั ต้งั “ธนาคารหนว่ ยกิตแห่งชาติ” เกบ็ ออมทกุ การเรียนรู้ เพ่อื รองรบั การพฒั นากำ� ลงั คนทกุ ช่วงวัย มหาวิทยาลยั ๑๐ ๘ การสร้างบณั ฑิตพนั ธ์ใุ หม่ เทคโนโลยีราชมงคล และการพัฒนากำ� ลงั คน เพ่อื ตอบโจทยภ์ าคการผลติ โฉมใหม่ ๙ บทบาทของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ในศตวรรษท่ี ๒๑

๔. ๓ อว.ปี กบั ความสาํ เร็จการปฏริ ูป การอุดมศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรมของประเทศ ผลสัมฤทธ์ิการปฏิรูปการพัฒนาก�ำลงั คน เพ่ือความยง่ั ยนื ของเศรษฐกิจ และสงั คมของประเทศ ผลสมั ฤทธกิ์ ารปฏริ ปู การพฒั นากำ� ลงั คนใหม้ คี ณุ ภาพ การพฒั นาบคุ ลากรใหม้ คี วามเชยี่ วชาญ และสมรรถนะที่สอดรับกับความต้องการของภาคเศรษฐกิจของประเทศ โดยการปรับ ทง้ั กระบวนการพฒั นา วธิ กี าร หลกั สตู รเรยี นการสอน และรปู แบบและกลไกความรว่ มมอื รวมทงั้ การด�ำเนินงานที่ยืดหยุ่นสอดคล้องความต้องการของผู้เรียน เพื่อขับเคล่ือนการพัฒนา ประเทศให้แข่งขนั ไดใ้ นบรบิ ทโลกแห่งอนาคต ทงั้ สิ้น ๑๐ เร่อื ง 05

กระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร วิจยั และนวัตกรรม Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation ๔.๑ กองทนุ เพอื่ การพัฒนาอุดมศึกษา กองทุนเพ่ือพัฒนาการอุดมศึกษา จัดตั้งขึ้นด้วยแนวคิดมาจากความจ�ำเป็นเพ่ือพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาใน การผลติ กำ� ลงั คนใหม้ คี ณุ ภาพรองรบั การเปลยี่ นแปลงอยา่ งฉบั พลนั และความจำ� เปน็ ในการพฒั นาการเรยี นรู้ ตลอดชีวิตเพื่อตอบสนองความต้องการของคนทุกช่วงวัยให้มีโอกาสเข้าถึงการศึกษาตามความต้องการของ ผเู้ รยี นได้ การสนบั สนนุ ภารกจิ เฉพาะดา้ นในการพฒั นาความเปน็ เลศิ ของสถาบนั อดุ มศกึ ษาและการผลติ กำ� ลงั คน ระดบั สูงเฉพาะทางตามความต้องการของประเทศ กองทุนเพื่อพฒั นาการอดุ มศึกษา “ขับเคลื่อนประเทศ ผลติ “คนคณุ ภาพระดบั สงู ” ด้วยวิทย์และศิลป์ ตอบโจทยค์ วามตอ้ งการของประเทศ เพื่อก้าวสู่ประเทศ พฒั นาแลว้ ” ศ.(พเิ ศษ) ดร.เอนก เหลา่ ธรรมทัศน์ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงการอุดมศกึ ษา วิทยาศาสต์ วจิ ัยและนวตั กรรม พระราชบญั ญตั กิ ารอดุ มศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๔๗ เมอ่ื วนั ที่ ๔ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๔ มมี ตเิ หน็ ชอบในหลกั การ ครอบคลุม ในกรณีท่ีเห็นสมควร คณะรัฐมนตรีโดย การจัดตั้งกองทุนเพื่อพัฒนาการอุดมศึกษา โดยจะใช้ ข้อเสนอร่วมกันของกระทรวงและกระทรวงการคลัง แหล่งงบประมาณตามมาตรา ๔๕(๓) งบพัฒนา อาจมมี ตใิ ห้จัดตงั้ กองทุนเพือ่ พฒั นาการอุดมศึกษาข้ึน ความเปน็ เลศิ และการผลติ กำ� ลงั คนระดบั สงู เฉพาะทาง เพื่อพัฒนาความเป็นเลิศของสถาบันอุดมศึกษาและ และมาตรา ๔๕(๔) งบเข้ากองทุนให้กู้ยืมดอกเบี้ยต่�ำ สง่ เสรมิ การผลติ กำ� ลงั คนระดบั สงู เฉพาะทางตามความ ใหแ้ ก่ สถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชน การสนบั สนบั สนนุ งาน ต้องการของประเทศ อว. จึงไดจ้ ดั ท�ำข้อเสนอการขอ วิจัยและการสร้างนวัตกรรมให้ตรงกับความต้องการ จัดต้ังกองทุนเพ่ือพัฒนาการอุดมศึกษาข้ึน โดยสภา ของประเทศ พัฒนาและยกระดับมาตรฐานของ นโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ การอุดมศกึ ษา สถาบันอดุ มศกึ ษา นวัตกรรมแห่งชาติ ในการประชุมครั้งท่ี ๑/๒๕๖๕ 06

๓ อว.ปี กบั ความสําเรจ็ การปฏิรปู การอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรมของประเทศ ก า ร จั ด ตั้ ง ก อ ง ทุ น เ พื่ อ พั ฒ น า ก า ร อุ ด ม ศึ ก ษ า มี คณะรัฐมนตรีในคราวประชุม เมื่อวนั ท่ี ๑๑ มกราคม วัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาความเป็นเลิศของสถาบัน ๒๕๖๕ มีมติเห็นชอบให้จัดตั้งกองทุนเพ่ือพัฒนา อุดมศึกษาและการผลิตก�ำลังคนระดับสูงเฉพาะทาง การอุดมศึกษา ซึ่งเป็นกลไกส�ำคัญในการพลิกโฉม ตามความต้องการของประเทศ พัฒนาการเรียน ระบบอุดมศึกษาไทย ในการสนับสนุนงบประมาณ การสอน การวิจัย และการสร้างนวัตกรรม ร่วมกับ เพื่อพัฒนาความเป็นเลิศของสถาบันอุดมศึกษา และ นักวชิ าการ สถาบนั วชิ าการและองค์กรชนั้ น�ำของโลก การผลิตก�ำลังคนระดับสูงเฉพาะทาง ซ่ึงขณะน้ี และเชอื่ มโยงการเรยี นการสอน การวจิ ยั และการสรา้ ง อย่รู ะหว่างกระบวนการนิตบิ ญั ญตั ิ นวตั กรรมกบั สถานประกอบการทง้ั ภาคเอกชน ภาครฐั กองทุนเพ่ือพัฒนาการอุดมศึกษานับเป็นก้าวส�ำคัญ และภาคประชาสังคม รวมท้ังสนับสนุนการใช้ความรู้ สำ� หรบั การปฏริ ปู การอดุ มศกึ ษาไทย และจะเปน็ แรงจงู ใจ ในการพัฒนาสมรรถนะของชุมชนและสังคม และ ให้มหาวิทยาลัยพัฒนาและทดลองหลักสูตรใหม่ ๆ สนบั สนนุ การปฏริ ปู การอดุ มศกึ ษา สง่ เสรมิ การพฒั นา ทแี่ ตกตา่ งจากเดมิ โดยเฉพาะหลกั สตู รทเ่ี นน้ การพฒั นา มาตรฐานการอุดมศึกษา พัฒนาระบบการเรียนรู้ ทักษะตามความต้องการของตลาด และตอบโจทย์ ส่งเสริม สนับสนุนระบบพัฒนาศักยภาพ สมรรถนะ ประเทศได้มากขึ้น ด�ำเนินการเชิงบูรณาการร่วมกับ ทกั ษะของคณาจารย์ และสนบั สนนุ เงนิ กยู้ มื ดอกเบยี้ ตำ่� หน่วยงานต่าง ๆ โดยเฉพาะกับภาคเอกชน อาทิ ใหแ้ ก่สถาบนั การอุดมศกึ ษาเอกชน อว. รว่ มกบั สำ� นกั งานสง่ เสรมิ การลงทนุ จดั ทำ� หลกั สตู ร อว. ได้ร่วมกันศึกษาหลักการ และจัดท�ำข้อเสนอ แซนด์บอกซ์ เพื่อผลิตวิศวกรและนักวิทยาศาสตร์ การจัดต้ังกองทุนและร่างแก้ไขพระราชบัญญัติ ให้ได้มากกว่า ๑๐,๐๐๐ คน ตามความต้องการ การอดุ มศกึ ษาพ.ศ.๒๕๖๒ดว้ ยการเพม่ิ เตมิ หมวดกองทนุ ของภาคเอกชนท่ีจะมาลงทุนในเขตเศรษฐกิจพิเศษ เพอื่ พฒั นาการอดุ มศกึ ษาโดยอาศยั อำ� นาจตามมาตรา๔๗ ภาคตะวันออก และจะจัดท�ำหลักสูตรที่ตอบโจทย์ แห่งพระราชบัญญัติการอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๒ ความต้องการของโลกยุคใหม่ และพระราชบัญญัติที่เก่ียวข้อง และเสนอในวาระ การประชมุ สภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรมแหง่ ชาติ คร้งั ท่ี ๑/๒๕๖๔ เมอ่ื วันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ ที่ประชุมได้มีมติเห็นชอบ หลกั การการจดั ตง้ั กองทนุ ดงั กลา่ ว ตอ่ มาคณะกรรมการ นโยบายการบรหิ ารทนุ หมนุ เวยี น ไดเ้ สนอเรอ่ื งดงั กลา่ ว ให้คณะรฐั มนตรพี ิจารณา 07

กระทรวงการอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร วจิ ยั และนวัตกรรม Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation ๔.๒ แซนด์บ็อกซก์ ลไกนวตั กรรมการอดุ มศกึ ษา มาตรฐานการจัดการศึกษาแบบเดิมท�ำให้ เฉพาะเรอื่ ง ดา้ นการสง่ เสรมิ นวตั กรรมการอดุ มศกึ ษา เพอ่ื ปฏบิ ตั ิ ไม่สามารถผลิตก�ำลังคนในรูปแบบใหม่ หน้าท่ีแทนสภานโยบายฯ ในการเห็นชอบให้สถาบันอุดมศึกษา ได้ทันต่อการเปล่ียนแปลง ศ. (พิเศษ) ทดลองจดั การศกึ ษา และกำ� หนดแนวทาง กลไก รวมทงั้ มาตรการ ดร. เอนก เหลา่ ธรรมทศั น์ รฐั มนตรีว่าการ เพื่อส่งเสริม สนับสนุน และออกขอ้ ก�ำหนดสภานโยบายฯ เรอื่ ง กระทรวง อว. จึงริเร่ิม “แซนด์บ็อกซ์ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขการจัดการศึกษาท่ีแตกต่างจาก อุดมศึกษา” ซึ่งเป็นนวัตกรรมอุดมศึกษา มาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๔ ที่จะท�ำให้มีการพัฒนาหลักสูตรทดลอง ผลการด�ำเนินงานส�ำคัญคือ ได้มีการแต่งตั้งคณะท�ำงานเพื่อ ทส่ี ามารถปรบั ปรงุ ใหแ้ ตกตา่ งจากทปี่ ฏบิ ตั ิ สง่ เสรมิ การจัดการศึกษาทแ่ี ตกต่างจากมาตรฐานการอุดมศึกษา ตามมาตรฐานเดิม อาทิ ผู้สอนไม่จ�ำเป็น โดยมีหน้าท่ีในการจัดท�ำข้อก�ำหนด หลักเกณฑ์ วิธีการ และ ต้องเป็นอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา แต่ เง่ือนไขการจัดการศึกษาที่แตกต่างจากมาตรฐานการอุดมศึกษา เป็นบุคลากรจากหน่วยงานภาครัฐหรือ รวมถึงให้ข้อเสนอแนะต่อสถาบันอุดมศึกษาในการพัฒนา เอกชนได้ สว่ นการเรยี นการสอนในรายวชิ า แนวทางจดั การศกึ ษาทแ่ี ตกตา่ งจากมาตรฐานการอดุ มศกึ ษา และ บังคับบางวิชา ไม่จ�ำเป็นต้องเข้าเรียน ไดช้ แ้ี จงสถาบนั อดุ มศึกษาและผู้ทเี่ กย่ี วข้อง ท้งั ผ้บู ริหารสถาบัน ในสถานศึกษา แต่สามารถไปเรียนจาก อดุ มศกึ ษา ประธานสภาวชิ าการของสถาบนั อดุ มศกึ ษา ตลอดจน การท�ำงานในสถานประกอบการแทน ผู้ทส่ี นใจตามภมู ิภาคต่าง ๆ ท่วั ประเทศ เพอื่ ใหเ้ กิดความเข้าใจ อาศยั ความตามมาตรา๖๙แหง่ พระราชบญั ญตั ิ เกี่ยวกับหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการจัดการศึกษา การอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๒ ได้เปิดโอกาส ที่แตกตา่ งจากมาตรฐานการอุดมศกึ ษาดงั กล่าว ใ ห ้ ส ถ า บั น อุ ด ม ศึ ก ษ า ส า ม า ร ถ ท ด ล อ ง จัดการศึกษาที่แตกต่างไปจากมาตรฐาน การอุดมศึกษาในปัจจุบัน เพ่ือประโยชน์ใน การพฒั นานวตั กรรมอดุ มศกึ ษาและปรบั ปรงุ มาตรฐานการอุดมศึกษาของประเทศ ท่ี ป ร ะ ชุ ม ส ภ า น โ ย บ า ย ก า ร อุ ด ม ศึ ก ษ า วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ ได้เห็นชอบในหลักการข้อเสนอการจัด การศึกษาที่แตกต่างไปจากมาตรฐาน การอุดมศกึ ษา หรือ แซนด์บ๊อกซอ์ ดุ มศกึ ษา ซึ่งน�ำไปสู่การแต่งต้ังคณะกรรมการพิเศษ 08

๓ อว.ปี กบั ความสําเร็จการปฏริ ปู การอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรมของประเทศ นอกจากน้ี อว. ได้มีความร่วมมือกับส�ำนักงาน (Higher Education Sandbox) อาทิ หลักสูตร คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน สภาคณบดีคณะ ด้านความม่ันคงไซเบอร์ ร่วมกับที่ประชุมอธิการบดี วิศวกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทย และสภาคณบดี แหง่ ประเทศไทย หลกั สตู รดา้ นวศิ วกรรมปญั ญาประดษิ ฐ์ คณะวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย จัดท�ำโครงการ และคอมพวิ เตอร์ รว่ มกบั สถาบนั วศิ วกรรมปญั ญาประดษิ ฐ์ ระบบพฒั นากำ� ลงั คนสมรรถนะสงู เพอ่ื รองรบั การลงทนุ มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล ภายใต้การด�ำเนินงานของ ในอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ของประเทศ โดยมี เครือข่ายมหาวิทยาลัยปัญญาประดิษฐ์ไทย และ วตั ถปุ ระสงค์เพ่อื พัฒนาแพลตฟอรม์ การผลติ กำ� ลังคน หลกั สูตรฉกุ เฉินการแพทย์ (Paramedicine) รว่ มกบั สมรรถนะสูงที่สอดคล้องกับความต้องการทั้งใน ราชวทิ ยาลัยจุฬาภรณ์ เปน็ ต้น เชงิ คณุ ภาพและเชงิ ปรมิ าณ เพอ่ื รองรบั ความตอ้ งการ ของอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์และทิศทางการลงทุน ของประเทศ พฒั นากลไกการผลติ กำ� ลงั คนแบบเฉพาะ เจาะจง (Tailor-made) กับความต้องการของ ภาคอุตสาหกรรมและก�ำหนดแนวทางการร่วมพัฒนา บคุ ลากรระหวา่ งภาคการศกึ ษากบั ผใู้ ช้ ใหเ้ ชอ่ื มโยงกบั การขบั เคลอ่ื นอตุ สาหกรรมทง้ั ในระยะสนั้ และระยะยาว ตลอดจนร่วมออกแบบและพัฒนาหลักสูตรการเรียน การสอน หลักสูตรการฝึกอบรม เพ่ือพัฒนาก�ำลังคน ให้มคี วามพรอ้ มเข้าส่กู ารทำ� งาน ปัจจุบัน อว. ขับเคลื่อนให้สถาบันอุดมศึกษา และ หนว่ ยงานตา่ ง ๆ รว่ มกนั พฒั นานวตั กรรมการอดุ มศกึ ษา 09

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วจิ ยั และนวัตกรรม Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation ๔.๓ การจัดกลมุ่ สถาบันอดุ มศึกษาตามเปา้ หมายประเทศ ยกระดบั การพัฒนาก�ำลงั คนและทนุ ทางปญั ญา รัฐบาลเล็งเห็นถึงความส�ำคัญ ในการส่งเสริมและ ๑กลมุ่ ท่ี กลุ่มพัฒนาการวิจัยระดับแนวหน้าของโลก กำ� กบั ดแู ลสถาบนั อดุ มศกึ ษา และหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง จึงพัฒนาก�ำลังคนให้มีทักษะสอดคล้องกับการพัฒนา จำ� นวน ๑๖ แหง่ ประกอบด้วย จุฬาลงกรณ์ ของประเทศ ควบคู่กับการก�ำกับดูแลและการพัฒนา มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัย นวัตกรรมดว้ ย ศ. (พเิ ศษ) ดร. เอนก เหลา่ ธรรมทัศน์ เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัย รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงอว.จงึ จดั กลมุ่ สถาบนั อดุ มศกึ ษา เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี ตามความโดดเด่นเฉพาะทาง รวมทั้ง จุดมุ่งหมาย สรุ นารี มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร พันธกจิ ยทุ ธศาสตร์ ศักยภาพและผลการดำ� เนินงาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยมหิดล ท่ีผ่านมาของแต่ละแห่ง เพ่ือสร้างความเป็นเลิศตาม มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ความเชี่ยวชาญของสถาบันอุดมศึกษา โดยได้ลงนาม มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ ในประกาศกระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์ และ สถาบนั บณั ฑติ และนวตั กรรม เร่ือง การก�ำหนดให้สถาบนั อดุ มศกึ ษา ศกึ ษาจฬุ าภรณ์ สังกัดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาประจ�ำปีงบประมาณ ๒๕๖๕ เม่ือวันท่ี ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ เพ่ือ ๒กลมุ่ ท่ี กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสรมิ การสรา้ ง ประโยชน์ในการส่งเสริม สนับสนุน ประเมินคุณภาพ ก�ำกับดูแล และจัดสรรงบประมาณให้แก่สถาบัน นวตั กรรม จ�ำนวน ๑๘ แห่ง ประกอบดว้ ย อดุ มศึกษา โดยไดแ้ บง่ ไว้ ๕ กลุ่ม ดังนี้ มหาวิทยาลัยทักษิณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลา้ พระนครเหนือ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลกรุงเทพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล 10

๓ อว.ปี กบั ความสําเรจ็ การปฏิรูป การอุดมศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ตะวนั ออก มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ราชนครนิ ทร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั รำ� ไพพรรณี ธัญบุรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ลำ� ปาง มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เลย มหาวทิ ยาลยั พระนคร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั รตั นโกสนิ ทร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล ศรสี ะเกษ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร มหาวิทยาลัยราชภัฏ ล้านนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สงขลา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏ ศรีวิชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สรุ นิ ทร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั หมบู่ า้ นจอมบงึ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สุวรรณภูมิ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล อุดรธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ อีสาน มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ อบุ ลราชธานี มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ สถาบันวทิ ยาลยั ชุมชน และ มหาวทิ ยาลัยวงษช์ วลติ กุล มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พบิ ลู สงคราม มหาวทิ ยาลยั ๔อบุ ลราชธานี สถาบนั เทคโนโลยจี ติ รลดา และ กล่มุ ที่ กลมุ่ พฒั นาปญั ญาและคณุ ธรรมดว้ ยหลกั ศาสนา ยงั ไมม่ ี สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คณุ ทหาร ลาดกระบงั ๓ ๕กล่มุ ท่ี กลุ่มผลิตและพัฒนาบุคลากรวิชาชีพและสาขาจ�ำเพาะ กลุ่มที่ กลุ่มพัฒนาชุมชนท้องถ่ินหรือ จ�ำนวน ๗ แห่ง ประกอบด้วย มหาวิทยาลัยราชภัฏ ชมุ ชนอนื่ จำ� นวน๔๑แหง่ ประกอบดว้ ย นครปฐม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาวทิ ยาลยั กาฬสนิ ธ์ุ มหาวทิ ยาลยั นครพนม สวนสุนันทา มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง สถาบันการพยาบาล มหาวิทยาลัยพะเยา มหาวิทยาลัยราชภัฏ ศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน และ กาญจนบุรี มหาวทิ ยาลัยราชภัฏกำ� แพงเพชร สถาบันอาศรมศลิ ป์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั จนั ทรเกษม มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชัยภูมิ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ มหาวิทยาลัย ราชภฏั เทพสตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครศรธี รรมราช มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครสวรรค์ มหาวิทยาลัยราชภฏั บ้านสมเดจ็ เจ้าพระยา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร มหาวิทยาลัย ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา มหาวิทยาลัย ราชภัฏเพชรบรู ณ์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏภูเกต็ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด 11

กระทรวงการอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร วจิ ยั และนวัตกรรม Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation ๔.๔ การขอตำ� แหนง่ วชิ าการเพมิ่ ข้ึน ๕ ชอ่ งทางโดยไม่ตอ้ งสง่ งานวิจยั หรอื ต�ำรา คณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื นในสถาบนั อดุ มศกึ ษา เอกชนให้ด�ำรงต�ำแหน่งทางวิชาการ พ.ศ. ๒๕๖๕ (ก.พ.อ.) โดย ศ. (พเิ ศษ) ดร. เอนก เหลา่ ธรรมทศั น์ โดยมผี ลใชบ้ งั คับตั้งแต่วนั ที่ ๒๒ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง อว. เป็นประธาน ได้ให้ ประกาศ ก.พ.อ. และระเบียบ กกอ. ดังกล่าว ได้มี ความเหน็ ชอบเกณฑใ์ นการกำ� หนดตำ� แหนง่ ศาสตราจารย์ การกำ� หนดหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารแตง่ ตงั้ บคุ คลใหด้ ำ� รง รองศาสตราจารย์ และผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ทไี่ มใ่ ชต้ ำ� รา ต�ำแหน่งทางวิชาการเฉพาะด้าน ซึ่งประกอบด้วย หรอื งานวจิ ยั แตใ่ ชผ้ ลงานทที่ ำ� ใหแ้ กพ่ นื้ ทห่ี รอื ชมุ ชน ผลงานรบั ใช้ทอ้ งถน่ิ และสงั คม ผลงานสร้างสรรค์ดา้ น หรือใช้ผลงานในการน�ำหลักศาสนาและปรัชญามา สนุ ทรยี ะ ศลิ ปะ ผลงานการสอน ผลงานนวตั กรรม และ ชนี้ ำ� วชิ าการหรอื ชวี ติ ในทางโลก หรอื ใชผ้ ลงานศลิ ปะ ผลงานศาสนา เพมิ่ เตมิ จากหลกั เกณฑก์ ารขอตำ� แหนง่ หรอื งานสรา้ งสรรคม์ าแทนได้ ทางวิชาการทั่วไป เพื่อเป็นช่องทางในการพัฒนา ตอ่ มาไดม้ ปี ระกาศ ก.พ.อ. เรอ่ื ง หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี าร คุณภาพวิชาการและนวัตกรรมของประเทศ ให้มี พิจารณาแต่งต้ังบุคคลให้ด�ำรงต�ำแหน่งผู้ช่วย ความหลากหลายเพมิ่ ขน้ึ สอดคลอ้ งกบั ความหลากหลาย ศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ ของศาสตรท์ ง้ั ปวง รวมทงั้ ครอบคลมุ ผลงานทคี่ ณาจารย์ พ.ศ. ๒๕๖๔ โดยมผี ลใช้บังคบั ต้ังแต่วนั ที่ ๘ มกราคม ได้น�ำความรู้ความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาของตนมาใช้ ๒๕๖๕ และ คณะกรรมการการอุดมศึกษา (กกอ.) ในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาประเทศ ชุมชน หรือ ไดอ้ อกระเบยี บ กกอ. วา่ ดว้ ยมาตรฐานหลกั เกณฑแ์ ละ สังคม โดยเน้นการน�ำไปใช้จริงที่สามารถประเมิน วธิ กี ารพจิ ารณาแตง่ ตง้ั คณาจารยใ์ นสถาบนั อดุ มศกึ ษา ผลลพั ธแ์ ละผลกระทบที่เกดิ ข้นึ ได้ 12

๓ อว.ปี กบั ความสาํ เรจ็ การปฏิรูป การอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรมของประเทศ ๔.๕ การยกเลิกกรอบเวลาสำ� เร็จการศึกษาทุกระดับปรญิ ญา คณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา (กมอ.) มีมติ ท่ีหลากหลาย ที่ท�ำให้นักศึกษาสามารถเรียนควบคู่ ยกเลิกกรอบเวลาส�ำเร็จการศึกษาทุกระดับปริญญา กับการท�ำงาน เพ่ือหารายได้มาจุนเจือครอบครัว จากเดิมทกี่ ำ� หนดระดับปรญิ ญาตรเี รยี น ๔ ปี ไมเ่ กิน ไปดว้ ย หรอื ในกรณีทีต่ ้องการหาประสบการณต์ า่ ง ๆ ๘ ปี ปริญญาโท ๒ ปี ไม่เกิน ๕ ปี ปรญิ ญาเอก ๓ ปี นอกห้องเรียนก่อนกลับมาเรียนอีกครั้ง เรียกว่า ไมเ่ กนิ ๖ ปี เปน็ “ไมก่ ำ� หนดเวลาจบการศกึ ษา” ทงั้ นี้ การยกเลกิ กำ� หนดปเี รยี นจบ เออ้ื ประโยชนต์ อ่ นกั ศกึ ษา มหาวิทยาลัยสามารถก�ำหนดเง่ือนไขเองได้ เพื่อให้ ทปี่ ระสบปญั หาดา้ นการเงนิ หรือต้องการค้นหาตัวตน สอดคล้องกับบริบทการศึกษาที่เปลี่ยนแปลงไปสู่ อยา่ งมาก ส่วนการรไี ทรย์ ังคงมีอยู่ หากผลการศกึ ษา การเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ และตอบสนองอปุ สงคก์ ารศกึ ษา ไมเ่ ปน็ ไปตามเกณฑ์ท่ีมหาวทิ ยาลยั กำ� หนด ๔.๖ การเรียนขา้ มสถาบันขยายพรมแดนอุดมศกึ ษา วันที่ ๑๓ มกราคม ๒๕๖๕ อว. ลงนามในบันทึก มหาวิทยาลยั ศิลปากร มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ ความเข้าใจการลงทะเบียนเรียนข้ามสถาบันระหว่าง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัย สถาบนั สมาชกิ ของทปี่ ระชมุ คณะผบู้ รหิ ารบณั ฑติ ศกึ ษา ธรรมาธิราช มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สถาบัน มหาวิทยาลัยของรัฐและมหาวิทยาลัยในก�ำกับของรัฐ บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และมหาวิทยาลัย (ทคบร.) ซึ่งมีอธิการบดีมหาวิทยาลัยของรัฐและ อุบลราชธานี ซึ่งนิสิต นักศึกษา และผู้สนใจทั่วไป มหาวิทยาลัยในก�ำกับของรัฐ ๒๕ สถาบันเข้าร่วม สามารถศกึ ษารายละเอยี ดการลงทะเบยี นขา้ มสถาบนั ประกอบดว้ ย มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ มหาวิทยาลัยทักษิณ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง มหาวิทยาลัย เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี พระจอมเกลา้ พระนครเหนอื มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร มหาวทิ ยาลยั บรู พา มหาวทิ ยาลยั พะเยา มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 13

กระทรวงการอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร วจิ ยั และนวัตกรรม Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation และรายวชิ าทเี่ ปดิ รบั ลงทะเบยี นเพม่ิ เตมิ ไดท้ ่ี การลงทะเบียนเรียนข้ามสถาบันอุดมศึกษา เป็นผลสัมฤทธิ์ เว็บไซต์ https://graduate.mahidol.ac.th/ การปฏิรูประบบการอุดมศึกษาไทยที่ส�ำคัญคร้ังประวัติศาสตร์ cgau/courses.php ซึ่งมีการน�ำนโยบายของ อว. ในประเด็นระบบคลังหน่วยกิต บันทึกความเข้าใจระหว่าง ๒๕ สถาบัน และการใช้ทรัพยากรร่วมกัน มาสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม การศกึ ษานี้ มเี จตนารมณท์ จี่ ะสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ จึงเป็นประโยชน์ต่อนิสิตและนักศึกษาในการเพ่ิมโอกาสและ ความเช่อื มโยงการศกึ ษาระดับบณั ฑติ ศกึ ษา ช่องทางในการแสวงหาความรู้ตามรายวิชาที่สนใจ และได้รับ ด้วยการเปิดโอกาสให้นิสิตและนักศึกษา ประสบการณท์ ห่ี ลากหลาย จากมหาวทิ ยาลยั ไทยทมี่ คี วามเปน็ เลศิ สามารถลงทะเบยี นเรยี นรายวชิ าขา้ มสถาบนั แตกต่างกัน ขณะที่มหาวิทยาลัยก็ได้รับประโยชน์จาก การศึกษาดงั กลา่ ว และสามารถใช้หน่วยกติ การสนธิก�ำลังใช้ทรัพยากรร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ รวมท้ัง ของรายวิชาดังกล่าว มาเป็นส่วนหน่ึงของ บูรณาการเชื่อมโยงข้อมูลและองค์ความรู้ระหว่างมหาวิทยาลัย หนว่ ยกติ ในหลกั สตู รทนี่ กั ศกึ ษากำ� ลงั ศกึ ษาได้ เพอื่ น�ำไปสู่การพฒั นาประเทศในกา้ วตอ่ ไป รวมทงั้ สามารถนำ� ไปอยใู่ นระบบคลงั หนว่ ยกติ สะสมตามข้อก�ำหนดของแต่ละสถาบัน การศกึ ษา ทสี่ ง่ เสรมิ ประสบการณห์ ลากหลาย ทางวิชาการและสังคมแก่นิสิตและนักศึกษา อกี ด้วย 14

๓ อว.ปี กบั ความสาํ เรจ็ การปฏริ ูป การอุดมศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรมของประเทศ ๔.๗ การจัดต้ัง “ธนาคารหน่วยกิตแห่งชาติ” เก็บออมทุกการเรียนรู้เพื่อรองรับ การพัฒนากำ� ลังคนทุกชว่ งวัย ธนาคารหนว่ ยกิตแห่งชาติ (National Credit Bank) หลักสูตรการฝึกอบรมท่ัวไป จะสามารถน�ำหน่วยกิต เป็นอีกหนึ่งผลงานที่สอดรับกับการปฏิรูปอุดมศึกษา มาเก็บสะสมไว้ในธนาคารหน่วยกิตแห่งชาติได้ เพื่อการพัฒนาก�ำลังคนตลอดทุกช่วงวัย (Lifelong ซงึ่ การฝากและสะสมหนว่ ยกติ นี้ จะเปน็ ไปตามเงอื่ นไข Learning) โดยเฉพาะในวัยท�ำงานและวัยเกษียณ ของแต่ละมหาวิทยาลัยหรือสถาบันฝึกอบรมที่ได้รับ สามารถเข้าถึงองค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม การรับรองคุณภาพจาก อว. โดยเมื่อสะสมหน่วยกิต ใหม่ ๆ รวมถึงไดพ้ ัฒนาและเรียนรู้ทักษะใหมท่ ่จี ำ� เป็น ได้ถึงระดับหน่ึงจะสามารถได้รับใบประกาศนียบัตร ในโลกยุคปัจจุบัน เพ่ือเอาไปต่อยอดในการท�ำงาน ความเชย่ี วชาญ หรอื ปรญิ ญาบตั ร เพอ่ื แสดงถงึ การเปน็ พฒั นาตนเอง ตลอดจนสามารถสะสมไวเ้ พอ่ื การศกึ ษา ผมู้ คี วามรแู้ ละทกั ษะในดา้ นต่าง ๆ ซงึ่ สามารถนำ� ไปใช้ ตอ่ ในระดบั ต่าง ๆ ได้ โดยธนาคารหน่วยกติ แห่งชาตินี้ ประโยชน์ในการท�ำงานและการท�ำธุรกิจต่อไป จะทำ� หนา้ ทใ่ี นการรบั ฝากหนว่ ยกติ ของผเู้ รยี น ซงึ่ ไมว่ า่ นบั เปน็ การสง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นสามารถเขา้ ถงึ การเรยี นรู้ นักศึกษาในมหาวิทยาลัย ผู้ที่สนใจก็สามารถเรียนใน ทุกช่วงวัย สามารถน�ำไปสู่การพัฒนาทักษะใหม่ ๆ หลกั สตู รตา่ ง ๆ ได้ มที ง้ั หลกั สตู รประกาศนยี บตั ร หรอื ให้ก�ำลังคนของประเทศได้อย่างต่อเน่ือง ๔.๘ กเพาือ่รตสอรา้บงโจบทัณยฑ์ภิตาคพกนั าธร์ุใผหลมติแ่ ละการพัฒนาก�ำลังคน คณะรัฐมนตรีในการประชุมเม่ือวันท่ี ๒๔ เมษายน ๒๕๖๑ ได้มีมติเห็นชอบในหลักการโครงการสร้าง บณั ฑติ พนั ธใ์ุ หมแ่ ละการพฒั นากำ� ลงั คนเพอ่ื ตอบโจทย์ ภาคการผลิตตามนโยบายการปฏิรูปอุดมศึกษาไทย เพอ่ื ยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาใหป้ ระเทศไทยสามารถ ผลกั ดนั การเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ โดยสนบั สนนุ ให้ สถาบนั อดุ มศกึ ษาปรบั เนอ้ื หาหลกั สตู รและกระบวนการ จัดการเรียนการสอน เพ่ือสร้างบัณฑิตพันธุ์ใหม่และ ก�ำลังคนที่มีสมรรถนะตอบโจทย์ภาคการผลิต และ สนองตอ่ การปฏริ ปู การศกึ ษาและการพฒั นาประเทศไทย รวมทั้ง สามารถผลกั ดนั การเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ 15

กระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร วจิ ัยและนวัตกรรม Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation รองรับอุตสาหกรรมใหม่ ซ่ึงจะเป็นกลไกส�ำคัญ ใน เพื่อประโยชน์ในการท�ำงานท้ังปัจจุบันและอนาคต การขบั เคลอื่ นเศรษฐกจิ ของประเทศไทยโดยมจี ดุ มงุ่ หมาย เป็นการเปลี่ยนแปลงแพลตฟอร์มการอุดมศึกษา เพื่อสร้างบัณฑิตและหรือก�ำลังคนที่มีทักษะสูง เพื่อให้ตอบสนองโลกยุคใหม่ท่ีต้องการคนท�ำงาน สมรรถนะเรง่ ดว่ นใหม่ เพอื่ ตอบโจทยก์ ลมุ่ อตุ สาหกรรม ให้ตรงกับความต้องการของทั้งภาคอุตสาหกรรม เป้าหมาย ๙ กลุ่ม ประกอบด้วย (๑) อุตสาหกรรม ชุมชน รวมทัง้ ทอ้ งถน่ิ ยานยนตส์ มยั ใหม่(๒)อตุ สาหกรรมอเิ ลก็ ทรอนกิ สอ์ จั ฉรยิ ะ ผลด�ำเนนิ งาน ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๖๒ - ๒๕๖๔ มสี ถาบัน (๓) อตุ สาหกรรมเกษตรสมยั ใหมแ่ ละเทคโนโลยชี วี ภาพ อุดมศึกษาทั้งในและนอกสังกัด อว. เข้าร่วม จ�ำนวน (๔) อุตสาหกรรมการแปรรปู อาหาร (๕) ห่นุ ยนต์เพ่ือ ๕๒ แห่ง ซ่ึงได้จัดท�ำหลักสูตรท่ีเป็นความร่วมมือกับ อุตสาหกรรม (๖) อตุ สาหกรรมการบินและโลจิสติกส์ ภาคเอกชน สถานประกอบการ อุตสาหกรรมและ (๗) อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ ชุมชน รวม ๔๒๔ หลักสูตร มีผู้เรียนรวมทั้งส้ิน (๘)อตุ สาหกรรมดจิ ทิ ลั และ(๙)อตุ สาหกรรมการทอ่ งเทยี่ ว ๓๑,๑๔๘ คน โดยแบง่ เปน็ หลกั สูตรปรญิ ญาบัตร ๙๑ เชงิ สขุ ภาพและยงั ครอบคลมุ การยกระดบั ขดี ความสามารถ หลกั สตู ร มผี ลู้ งทะเบยี นเรยี นทงั้ สนิ้ ๙,๑๑๕ คน สำ� เรจ็ “การเรียนร”ู้ ของกำ� ลังคน ๔ กลมุ่ คอื “อตุ สาหกรรม การศกึ ษาแลว้ ๑,๒๐๓ คน และหลกั สตู รประกาศนยี บตั ร วสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม” “ครแู ละบคุ ลากร จ�ำนวน ๓๒๙ หลักสูตร มผี ู้สนใจลงทะเบยี นเรียนแล้ว ทางการศกึ ษา” “รฐั ประชาสงั คม และชุมชน” และ มากกวา่ ๒๐,๐๐๐ คน “ผู้สูงอายุ” โครงการฯ มุ่งเน้นการปรับเปล่ียนการผลิตและการ จากการลงพื้นที่เพื่อติดตามผลการจัดการเรียน พฒั นากำ� ลงั คนของสถาบนั อดุ มศกึ ษา ใหเ้ นน้ การเรยี น การสอนหลกั สตู ร และไดม้ กี ารแลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ ควบคกู่ ารทำ� งาน มกี ารปฏบิ ตั งิ านในสถานประกอบการ รวมทงั้ ขอ้ เสนอแนะจากผเู้ รยี นทก่ี ำ� ลงั ศกึ ษาและทจี่ บ ร้อยละ ๕๐ และในสถาบันอุดมศึกษาอกี รอ้ ยละ ๕๐ การศึกษา และ สถานประกอบการ พบวา่ ผเู้ รียนไดร้ ับ โดยจะต้องมีการลงนามในบันทึกความเข้าใจร่วมกัน การตอบรับที่ดีจากสถานประกอบการ บางส่วนไดร้ บั ระหว่างสถานประกอบการกับสถาบันอุดมศึกษา การสนับสนุนงบประมาณในการสร้างบัณฑิตและ เพื่อร่วมกันด�ำเนินการ และ รับผิดชอบร่วมกันต้ังแต่ พัฒนาก�ำลังแรงงาน สามารถปลดหนี้ให้กับครัวเรือน การจัดท�ำหลักสูตร จนถึงการผลิตและสร้างก�ำลังคน และสามารถน�ำความรู้ที่ได้ไปถ่ายทอดให้คนในชุมชน ใหม้ ที กั ษะ สมรรถนะ เจตคติ และความรู้ อยา่ งเหมาะสม ทำ� ใหค้ ุณภาพชวี ิตของคนในชุมชนดขี น้ึ 16

๓ อว.ปี กับความสําเร็จการปฏิรูป การอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรมของประเทศ ๔.๙ บทบาทของมหาวิทยาลยั ราชภัฏในศตวรรษที่ ๒๑ มหาวิทยาลัยราชภัฏมีทั้งส้ิน ๓๘ แห่ง จัดการศึกษา การศกึ ษา และยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาระบบการบรหิ าร ตามพระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษาของพระบาทสมเดจ็ จดั การ โดยยทุ ธศาสตรด์ งั กลา่ วครอบคลมุ (๑) การสรา้ ง พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๑๐ ซึ่งทรงให้ความส�ำคัญ และพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์ ทมี่ ุ่งเนน้ การเปิดโอกาส กับการศึกษาสร้างคนไทยใหม้ ีคณุ ลกั ษณะ ๔ ประการ ทางการศึกษาเพ่ือลดความเหล่ือมล�้ำทางการศึกษา ไดแ้ ก่ มที ัศนคติที่ดแี ละถูกต้อง มีพนื้ ฐานชวี ิตที่มัน่ คง โดยผลิตบัณฑิตที่มีทักษะทางสังคมและทักษะ เขม้ แขง็ มอี าชพี มงี านทำ� และเปน็ พลเมอื งดี มรี ะเบยี บ เชงิ สมรรถนะเปน็ กำ� ลงั สำ� คญั ในการพฒั นาชมุ ชนทอ้ งถน่ิ วินัย เพื่อสนองตอบต่อพระบรมราโชบายดังกล่าว และมีบทบาทส�ำคัญในการสร้างนวัตกรรมบนฐาน มหาวิทยาลัยราชภัฏได้ปรับวิสัยทัศน์ พันธกิจ ทรัพยากรและทุนทางสังคมของพื้นท่ีท่ีตรงกับความ และบทบาทให้สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงของโลก ต้องการของผู้บริโภคท้ังในประเทศและต่างประเทศ ในปัจจบุ ันมากขนึ้ สง่ เสรมิ บณั ฑติ ใหม้ คี ณุ ลกั ษณะ ๔ ประการ นอกจากนน้ั ใน พ.ศ. ๒๕๖๕ มหาวิทยาลัยราชภัฏได้ปรับเพิ่ม ยังมุ่งเน้นการเป็นมหาวิทยาลัยแห่งการเรียนรู้ตลอด บทบาทในการด�ำเนินงานให้สอดรับกับการจัดการ ชีวิต เพิ่มโอกาสการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพของ ศกึ ษาในยคุ ปจั จบุ นั และตอบโจทยส์ ำ� คญั ของประเทศ ประชาชนทุกระดบั ทุกกลุ่ม ทุกช่วงวัยในพ้ืนท่ีบรกิ าร โดยได้ร่วมกัน จัดท�ำแผนปฏิบัติการเชิงยุทธศาสตร์ (๒) การสร้างงานวิจัยและสร้างนวัตกรรม มุ่งเน้น (Strategic Action Plan) มหาวิทยาลัยราชภฏั ระยะ การเปดิ มติ ใิ หมข่ องการพฒั นาชมุ ชนทอ้ งถนิ่ ตามภมู สิ งั คม ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) เพ่อื ใชเ้ ป็นกรอบแนวทาง และความตอ้ งการเชงิ พน้ื ทแ่ี ละตลาด (Demand-Driven) การด�ำเนินงานร่วมกัน ประกอบด้วย ๔ ยุทธศาสตร์ เน้นการน�ำองค์ความรู้สู่การบริการและพัฒนา ได้แก่ ยุทธศาสตร์การพัฒนาท้องถ่ิน ยุทธศาสตร์ ประชาชนในท้องถิ่น น�ำนวัตกรรมท่ีเกิดจากงานวิจัย การผลติ และพฒั นาครู ยทุ ธศาสตรก์ ารยกระดบั คณุ ภาพ สกู่ ารพฒั นาและขบั เคลอื่ นเศรษฐกจิ ชมุ ชน มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏซ่ึงกระจายอยู่ท่ัวทุกภูมิภาคถือเป็นคลังสมอง 17

กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร วิจยั และนวัตกรรม Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation คลังปัญญา ที่สามารถพฒั นาท้องถิ่นอยา่ งยงั่ ยืนทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และการศึกษา และ (๓) การอนุรักษ์ศิลป วฒั นธรรม มงุ่ เนน้ การอนรุ กั ษ์ สบื ทอด เพมิ่ มลู คา่ ทนุ ทางวฒั นธรรม และภมู สิ งั คมของทอ้ งถนิ่ นำ� สเู่ ศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์ โดยรว่ มมอื กบั ภาคีเครือข่ายในชุมชนและทอ้ งถน่ิ การขบั เคลอ่ื นแผนปฏบิ ตั กิ ารเชงิ ยทุ ธศาสตร์ พรอ้ มกนั ทง้ั ๓๘ แหง่ ยอ่ มจะทำ� ใหเ้ กดิ ผลลพั ธต์ ามเปา้ หมายและสง่ ผลกระทบในวงกวา้ ง ได้อย่างเด่นชัด บทบาทของมหาวิทยาลัยราชภัฏในยุคปัจจุบัน จึงเป็นบทบาทท่ีสะท้อนให้เห็นถึงการเป็นมหาวิทยาลัยเพ่ือ การพฒั นาทอ้ งถนิ่ ทเ่ี ปน็ ภมู พิ ลงั สงั คม เปน็ พลงั ปญั ญาของแผน่ ดนิ ฟื้นฟูพลังการเรียนรู้ เชิดชูภูมิปัญญาของท้องถิ่น สร้างสรรค์ ศลิ ปวทิ ยาเพอ่ื ความเจรญิ กา้ วหนา้ ของชาตไิ ดอ้ ยา่ งมนั่ คงและยง่ั ยนื ๔.๑๐ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลโฉมใหม่ กลุ่มมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ถือได้ว่ามี ได้อย่างเหมาะสม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล บทบาทส�ำคัญต่อการพัฒนาประเทศ เน่ืองจาก มีการด�ำเนินการร่วมกันในการผลักดันให้เกิดระบบ เป็นมหาวทิ ยาลยั ทมี่ ุ่งผลติ บณั ฑิตนักปฏิบตั ิ ในทกั ษะ นิเวศท่ีเอ้ือต่อการสนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิต เทคโนโลยีทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผา่ นระบบ RMUT Digital Credit Bank และเคลอื่ นยา้ ย สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการกำ� ลงั คนของภาคประกอบการ ก�ำลังคนไปท�ำงานร่วมกับสถานประกอบการท่ี ภาคการผลติ ภาคบรกิ าร ภาคการเกษตร และสามารถ บูรณาการทรัพยากรบุคคล ความรู้ และเครือข่าย เชอ่ื มโยงองคค์ วามรทู้ างดา้ นเทคโนโลยสี รู่ ะดบั ทอ้ งถนิ่ รว่ มกบั หน่วยงานอื่น ๆ ใน อว. ผสานกบั ศกั ยภาพ เชงิ ทตี่ งั้ ของมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลทก่ี ระจายตวั อยูใ่ น ๒๓ จงั หวัด ทว่ั ทง้ั ๖ ภูมภิ าคของประเทศ และ มคี วามพรอ้ มดา้ นโครงสรา้ งพน้ื ฐาน และความเชย่ี วชาญ ของบุคลากรท่ีหลากหลายสอดคล้องกับบริบทของ พนื้ ที่ 18

๓ อว.ปี กบั ความสําเร็จการปฏิรปู การอุดมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรมของประเทศ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล ภายใต้ อว. จงึ มงุ่ มน่ั ทจี่ ะเปน็ เฟอื ง สำ� คญั ในการเปลยี่ นผา่ นภาคเกษตรกรรม ภาคการผลติ ภาคบรกิ าร และขบั เคลอ่ื นสงั คมไปสกู่ ารสรา้ งเศรษฐกจิ คณุ คา่ สงู โดยจะดำ� เนนิ การ ภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ ดงั นี้ (๑) พลกิ โฉมระบบนเิ วศการผลติ กำ� ลงั คน ทกั ษะสงู และนวัตกรมอื อาชีพบนมาตรฐานสากล ผ่านนวตั กรรม การเรยี นรู้ ดว้ ยเทคโนโลยแี ละความคดิ สรา้ งสรรค์ (๒) เปลย่ี นผา่ น ภาคการเกษตร ภาคการผลติ และภาคการบรกิ ารไปสเู่ กษตรอจั ฉรยิ ะ อตุ สาหกรรมสรา้ งสรรคท์ มี่ มี ลู คา่ สงู และอตุ สาหกรรมการผลติ ฐาน เทคโนโลยีและนวัตกรรม จากศักยภาพและทรัพยากรของกลุ่ม มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล (๓) ผนกึ กำ� ลงั ชมุ ชนในพนื้ ทบ่ี รกิ าร ของกลมุ่ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล เพอื่ มงุ่ สกู่ ารพฒั นาพน้ื ท่ี อย่างเหมาะสมและยั่งยืนพร้อมรับการเปล่ียนแปลง ในมิติ ความหลากหลายของพนื้ ท่ี ดว้ ยความเชยี่ วชาญและความโดดเดน่ ของกลุ่มมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ผลการด�ำเนินงานตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ การจา้ งงานในพ้ืนท่ี ๑๐,๖๖๐ คน และร่วมพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลทั้ง ๙ แห่ง ได้ร่วม นวัตกรรมท่ีเหมาะสมกับพื้นที่ในการยกระดับ ผลิตบัณฑิตพันธุ์ใหม่ทั้งระดับปริญญา และระดับ เศรษฐกิจและสงั คม ประกาศนียบัตร ให้เป็นก�ำลังคนที่มีสมรรถนะและ ท้ังนี้กลุ่มมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลมุ่งหวัง ศักยภาพสูงส�ำหรับท�ำงานในอุตสาหกรรม มุ่งเป้า เปน็ อยา่ งยงิ่ วา่ การรว่ มดำ� เนนิ งานของทกุ หนว่ ยงานภายใต้ แห่งอนาคตของประเทศ และได้ร่วมโครงการ อว.นน้ั จะเปน็ กำ� ลงั สำ� คญั ในการขบั เคลอ่ื นประเดน็ สำ� คญั ยกระดบั เศรษฐกจิ และสงั คมรายตำ� บลแบบบรู ณาการ ของประเทศสง่ ผลใหเ้ กดิ การพฒั นาทยี่ ง่ั ยนื โดยด�ำเนินการไปแล้วท้ังส้ิน ๕๓๓ ต�ำบล ก่อให้เกิด 19

ธัชชาขับเคลอื่ น ๘ เครอื่ งกำ� เนดิ โทคาแมคสู่การ ด้านสงั คมศาสตร์ แสงซนิ โครตรอน มนุษยศาสตร์ ระดบั พลังงาน 3 GeV ๒ พฒั นาเทคโนโลยี และศิลปกรรมศาสตร์ และห้องปฏิบัติการ นิวเคลยี รฟ์ วิ ชัน ครั้งส�ำคญั ของประเทศ ในประเทศไทย ๑ ๓ ดาวเทียม ธัชวดิทายว์มเท่งุ ียทมิศ ๗ ธีออส ๒ สคู่ วธาอี มอเสป็น๒เลศิ ๘ผลสัมฤทธิ์ สญั ชาตไิ ทย ในอสนญั าคชตาติไทย การปฏิรปู และยกระดบั โครงสรา้ งพื้นฐานและระบบนเิ วศ ๔ ๖ ด้านวิทยาศาสตร์ วิจัย กองทุนสง่ เสรมิ วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและ ภาคคี วามรว่ มมือ และนวัตกรรม นวัตกรรมสนบั สนนุ อวกาศไทยสจู่ ักรวาล เพื่ออนาคตที่ยั่งยนื การพัฒนาไทยทกุ มิติ ๕ หน่วยบรหิ ารและจดั การทุน เฉพาะด้านขับเคลอ่ื นนโยบาย ส่กู ารปฏบิ ัตทิ ร่ี วดเรว็

๓ อว.ปี กบั ความสาํ เรจ็ การปฏริ ปู การอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรมของประเทศ ๕. ผลสัมฤทธกิ์ ารปฏิรูปและยกระดบั โครงสร้างพนื้ ฐานและระบบนเิ วศด้านวิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรมเพอ่ื อนาคตทย่ี ง่ั ยนื การปฏริ ปู และยกระดบั โครงสรา้ งพน้ื ฐานดา้ นวทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรมทพ่ี ฒั นาตอ่ ยอด จากองค์ความรู้สู่การพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรม มุ่งเน้นสู่การพัฒนาเทคโนโลยีและ ผู้ประกอบการธุรกิจสัญชาตไิ ทย การสร้างระบบนิเวศท่เี อือ้ อ�ำนวยตอ่ การพัฒนาท้งั กองทนุ ส่งเสริมการพฒั นาวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรม หน่วยบรหิ ารและจัดการทนุ เฉพาะดา้ น ขับเคล่ือนนโยบายสู่การปฏิบัติที่รวดเร็ว การสร้างความร่วมมือด้านอวกาศ การจัดการ สถาบันเรยี นรทู้ ่ีเช่ือมโยงมิติตา่ ง ๆ ควบคู่การพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคม ทั้งสน้ิ ๘ เรื่อง 21

กระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร วจิ ัยและนวัตกรรม Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation ๕.๑ เคร่ืองกำ� เนิดแสงซินโครตรอนระดับพลงั งาน 3 GeV และหอ้ งปฏิบัตกิ าร “เคร่ืองก�ำเนิดแสงซินโครตรอน” ถือเป็นโครงสร้าง Achromat (DTBA) ซึ่งเป็นเทคโนโลยที ีล่ ำ�้ สมยั ท�ำให้ พ้ืนฐานทางด้านวิทยาศาสตร์ท่ีส�ำคัญ และได้รับ แสงซินโครตรอนที่ได้มีความสว่างจ้าของแสงมาก การยอมรับจากประเทศท่ีพัฒนาแล้วว่าเป็นเคร่ืองมือ กวา่ เดมิ ลา้ นเทา่ รวมถงึ สามารถรองรบั ระบบลำ� เลยี งแสง ทม่ี พี ลานภุ าพ และเปน็ ตน้ กำ� เนดิ ของเทคโนโลยดี า้ นตา่ ง ๆ ได้สูงถึง ๒๒ ระบบ จึงสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ ที่สามารถสร้างคุณประโยชน์มากมายมหาศาลต่อ ประโยชนด์ า้ นงานวจิ ยั ได้หลากหลาย โดยสถานที่ตง้ั งานวจิ ัยทางดา้ นการแพทย์ การเกษตร อตุ สาหกรรม ท่ีเหมาะสมทางยุทธศาสตร์ของเครื่องก�ำเนิดแสง และด้านอ่นื ๆ ท่ีจะพฒั นาต่อยอดไปสูก่ ารสร้างสรรค์ ซนิ โครตรอนเครอื่ งใหมน่ น้ั จะตง้ั อยใู่ นพน้ื ทเี่ ขตนวตั กรรม นวตั กรรมมลู ค่าสงู มีผลกระทบโดยตรงตอ่ การพฒั นา ระเบยี งเศรษฐกจิ ภาคตะวนั ออก (Eastern Economic เศรษฐกจิ และสงั คม รวมทงั้ ทนุ มนษุ ย์ ซง่ึ เครอ่ื งกำ� เนดิ Corridor of Innovation: EECi) จังหวัดระยอง แสงซินโครตรอนที่จะสร้างใหม่เป็นเครื่องที่ ๒ จะมี ซง่ึ สอดคลอ้ งกบั นโยบายของรฐั บาล และเปน็ การสรา้ ง คา่ ระดบั พลงั งานท่ี 3 GeV ขนาดเสน้ รอบวงประมาณ ระบบนิเวศที่เอ้ือต่อการลงทุนจากภาคเอกชนทั้งใน ๓๒๑.๓ เมตร และใชเ้ ทคโนโลยี Double Triple Bend และตา่ งประเทศ ทำ� ใหเ้ ศรษฐกจิ ไทยขยายตวั และกา้ วสู่ 22

๓ อว.ปี กบั ความสําเร็จการปฏริ ูป การอุดมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรมของประเทศ การเป็นประเทศพัฒนาแล้ว โครงการสร้างเคร่ือง เมื่อโครงการแล้วเสร็จและเปิดบริการ จะก่อให้เกิด ก�ำเนิดแสงซินโครตรอนระดับพลังงาน 3 GeV มลู ค่าเพิ่มทางเศรษฐกจิ ของประเทศอีกไม่ต�่ำกว่าปีละ จะกอ่ ใหเ้ กดิ ผลประโยชน์ตอ่ ประเทศ ทั้ง การสรา้ งคน ๖,๐๐๐ ล้านบาท ซึ่งเคร่ืองก�ำเนิดแสงซินโครตรอน สรา้ งงาน สรา้ งอาชพี การพฒั นาเทคโนโลยสี ญั ชาตไิ ทย ระดบั พลงั งาน 3 GeV รองรบั กลมุ่ งานวจิ ยั หลากหลาย ต้ังแต่ข้ันตอนการออกแบบการก่อสร้าง การผลิต อาทิ ด้านการแพทย์ ด้านอาหารและการเกษตร ชนิ้ สว่ น การพฒั นาอปุ กรณต์ น้ แบบตา่ ง ๆ เชน่ อปุ กรณ์ ด้านอุตสาหกรรมวัสดุขั้นสูง ด้านส่ิงแวดล้อม ระบบสญุ ญากาศ ระบบแม่เหลก็ ระบบปรับแตง่ พกิ ดั ดา้ นโบราณคดี เปน็ ต้น เชงิ กลความแมน่ ยำ� สงู ระบบควบคมุ เป็นตน้ เพือ่ ใช้ กบั เครอื่ งกำ� เนดิ แสงซนิ โครตรอนรนุ่ ใหมน่ ี้ และในอนาคต จะพัฒนาต่อยอดไปสู่ระดับการผลิตจ�ำนวนมาก (Mass Production) ร่วมกับภาครัฐและ ภาคอุตสาหกรรมไทย ซงึ่ มเี ปา้ หมายทีจ่ ะผลติ อปุ กรณ์ ต่าง ๆ ในประเทศไทยให้ได้มากกว่าร้อยละ ๕๐ เพื่อลดการนำ� เข้าจากต่างประเทศ และท�ำให้อุปกรณ์ ท่ีผลิตขึ้นในประเทศไทยน้ันน�ำมาใช้งานกับเคร่ือง ก�ำเนดิ แสงซนิ โครตรอนระดบั พลงั งาน 3 GeV ได้ 23

กระทรวงการอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร วจิ ัยและนวัตกรรม Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation ๕.๒ โทคาแมคสกู่ ารพัฒนาเทคโนโลยนี ิวเคลยี ร์ฟวิ ชนั ในประเทศไทย ปัจจุบันท่ัวโลกมีอัตราการใช้พลังงานจากฟอสซิลกว่า ประชาชนจีน (Institute of Plasma Physics, ร้อยละ ๘๖ และ ร้อยละ ๖ จากพลังงานนิวเคลียร์ Chinese Academy of Sciences – ASIPP) ส่วนท่ีเหลืออีกเล็กน้อยเป็นพลังงานหมุนเวียน ใน พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยมีขอบข่ายความร่วมมือ จากพลังงานชีวภาพ พลังน้�ำ พลังงานลม พลังงาน ในการพฒั นาหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารเพอื่ การทำ� วจิ ยั ดา้ นพลาสมา แสงอาทิตย์ พลังงานความร้อนใต้พิภพ เป็นต้น และการพัฒนาห้องปฏิบัติการด้านนิวเคลียร์ฟิวชัน ในการขับเคลื่อนสร้างความเติบโตทางเศรษฐกิจ จากความร่วมมือดังกล่าว สถาบันพลาสมาฟิสิกส์ และสงั คมของประเทศตา่ ง ๆ พลงั งานซงึ่ มบี ทบาทสำ� คญั แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีนได้มอบเครื่องโทคาแมค ในการขบั เคลอื่ นกลไกตา่ ง ๆ จงึ ถกู นำ� มาใชอ้ ยา่ งมากมาย HT-6M ให้สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ มหาศาล ผลกระทบที่ตามมาคือ วิกฤติดา้ นพลงั งาน อย่างเป็นทางการ เน่ืองจากแหล่งพลังงานท่ีใช้ก�ำลังจะหมดไป และ สมเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ ด้านสิ่งแวดล้อมจากการเผาผลาญเชื้อเพลิง ปัจจุบัน สยามบรมราชกมุ ารีเสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ทรงเปน็ ประธาน ทั่วโลกจึงหันมาให้ความส�ำคัญกับการวิจัยพัฒนา รบั มอบเครอ่ื งเมอ่ื วนั ที่๑๕กรกฎาคม๒๕๖๑หลงั รบั มอบ เทคโนโลยใี นการผลติ พลงั งานสะอาด เพอ่ื ความมนั่ คง เคร่ืองโทคาแมค สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลีย์แห่งชาติ ทางพลงั งานอยา่ งยัง่ ยืน ได้วางแผนการท�ำงานเป็น ๓ ระยะดังนี้ ระยะแรก เป็นการถอดแบบและศึกษาองค์ประกอบของเคร่ือง อว. โดยสถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ โทคาแมคและอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ รวมถึง มแี ผนการวจิ ยั และพฒั นาการใชป้ ระโยชนจ์ ากพลงั งาน การกอ่ สรา้ งอาคาร เพอื่ เตรยี มการตดิ ตงั้ เครอื่ งโทคาแมค นิวเคลียร์ฟิวชันร่วมกับมหาวิทยาลัยและหน่วยงาน ในระยะที่ ๒ สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ ช้ันน�ำในประเทศไทยอีก ๒๓ แห่ง ได้ลงนามบันทึก จะสง่ เจา้ หนา้ ทเ่ี ขา้ รบั การถา่ ยทอดองคค์ วามรู้พรอ้ มรว่ ม ความเข้าใจกับสถาบันพลาสมาฟิสิกส์แห่งสาธารณรัฐ 24

๓ อว.ปี กบั ความสาํ เรจ็ การปฏริ ูป การอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรมของประเทศ ออกแบบและพฒั นาระบบตา่ ง ๆ ของเคร่ืองโทคาแมค ๑,๐๐๐,๐๐๐ องศาเซลเซียส และในอนาคตจะมี และประกอบเครื่องจนสามารถเดินเครื่องได้ และ การออกแบบและสร้างเคร่ืองโทคาแมคเครื่องใหม่ ระยะท่ี ๓ เป็นการย้ายเคร่ืองกลับมาประเทศไทย ขนึ้ มาเอง โดยจะใชเ้ ทคโนโลยแี มเ่ หลก็ จากตวั เหนย่ี วนำ� ซ่งึ คาดวา่ จะแล้วเสร็จราว พ.ศ. ๒๕๖๖ และเมอ่ื วันที่ ยง่ิ ยวด (Superconducting magnet) เพอ่ื สรา้ งสนาม ๗ มิถุนายน ๒๕๖๔ ท่ีผ่านมา สถาบันเทคโนโลยี แม่เหล็กที่มีความเข้มสูงขึ้นส�ำหรับกักพลาสมาและ นวิ เคลยี รแ์ หง่ ชาตไิ ดล้ งนามกบั สถาบนั พลาสมาฟสิ กิ ส์ การใหค้ วามรอ้ นเสริมดว้ ยวธิ กี ารต่าง ๆ ซึง่ คาดว่าจะ แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน เพื่อท่ีจะพัฒนาระบบ สามารถสร้างพลาสมาที่มีอุณหภูมิสูงในระดับ สนบั สนนุ ตา่ ง ๆ ทส่ี าธารณรฐั ประชาชนจนี จนเมอ่ื เครอื่ ง ๑๐,๐๐๐,๐๐๐ องศาเซลเซียสได้ เคร่ืองโทคาแมค ท�ำงานได้ก็จะท�ำการถอดประกอบและขนส่งมาติดตั้ง ทต่ี ดิ ตงั้ นี้ จะใชส้ ำ� หรบั การศกึ ษาปฏกิ ริ ยิ านวิ เคลยี รฟ์ วิ ชนั ในอาคารปฏบิ ตั กิ ารเครอื่ งโทคาแมคทต่ี ง้ั อยู่ ณ สถาบนั เพื่อใช้เป็นพลังงานสะอาดในการผลิตกระแสไฟฟ้า เทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ จังหวัดนครนายก ในรูปแบบโรงไฟฟ้าพลังงานฟิวชันของไทยในอีก ซ่ึงอาคารดังกล่าว สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า ๓๐ ปีข้างหน้า และการน�ำพลาสมาไปใช้ในด้าน กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี อตุ สาหกรรม การเกษตร และด้านการแพทย์ และ เสด็จพระราชด�ำเนินมาทรงวางศิลาฤกษ์อาคารเมื่อ จากการพัฒนาเครื่องโทคาแมคน้ีจะท�ำให้ประเทศ วันท่ี ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ มีองค์ความรู้และสามารถสนบั สนนุ งานด้านวศิ วกรรม เคร่ืองโทคาแมคท่ีไทยพัฒนาร่วมกับสถาบันพลาสมา ระบบรางของไทยไดใ้ นอนาคต ฟิสิกส์แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จะมีช่ือว่า Thai Tokamak-1 หรือ TT-1 เม่ือเดินเคร่ือง คาดว่า อุณหภูมิของพลาสมาในระยะแรกจะอยู่ท่ีประมาณ ๑๐๐,๐๐๐ องศาเซลเซียส และ สถาบันเทคโนโลยี นิวเคลียร์แห่งชาติมีแผนพัฒนาระบบให้ความร้อน เสรมิ แกพ่ ลาสมาดว้ ยวธิ กี ารใหค้ วามรอ้ นดว้ ยคลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟ้าเพื่อยกระดับอุณหภูมิของพลาสมาไปสู่ระดับ 25

กระทรวงการอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation ๕.๓ ดาวเทยี มธอี อส ๒ สญั ชาติไทย อว. โดย สำ� นกั งานพฒั นาเทคโนโลยอี วกาศและภมู สิ ารสนเทศ (องคก์ ารมหาชน) หรอื สทอภ. พฒั นาดาวเทยี มเลก็ (THEOS-2 SmallSAT) ภายใตโ้ ครงการระบบดาวเทยี มสำ� รวจเพอื่ การพฒั นา หรอื ธอี อส-๒ ซงึ่ เปน็ ดาวเทยี ม สำ� รวจทรพั ยากรดวงแรกทมี่ มี าตรฐานในระดบั อตุ สาหกรรม (Industrial grade) ทอ่ี อกแบบและพฒั นาโดย ทมี วศิ วกรดาวเทยี มของไทยมากกวา่ ๒๒ คน ดำ� เนนิ งานรว่ มกบั ทางบรษิ ทั Surrey Satellite Technology Ltd. (SSTL) ณ เมอื งกลิ ฟอรด์ สหราชอาณาจกั ร ดาวเทยี มเลก็ นม้ี แี ผนการสง่ ขน้ึ สวู่ งโคจรภายใน พ.ศ. ๒๕๖๖ โดยมีองค์ประกอบหลัก ดังนี้ หวั ข้อ คณุ สมบัติ ประเภทดาวเทยี ม ดาวเทยี มสำ� รวจทรัพยากรธรรมชาติ อายกุ ารใชง้ านตามการออกแบบ ๓ ปี Platform Carbonite ๒+ น้ำ� หนกั ดาวเทยี ม (โดยประมาณ) ๑๐๕ กโิ ลกรัม ระดบั ความสงู จากพ้ืนโลก ๕๐๐-๕๕๐ กิโลเมตร/ (โดยประมาณ)/ประเภทวงโคจร วงโคจรแบบ Sun-Synchronous Orbit (SSO) กลอ้ งบันทกึ ภาพ (Primary Payload) RGB: ๑.๑๘ เมตร (ทร่ี ะดบั ความสงู ๕๕๐ กโิ ลเมตร) ความกวา้ งแนวภาพ ๕.๙ กโิ ลเมตร ระบบตรวจจับสญั ญาณ (Secondary ตรวจจับสัญญาณเรือ (AIS)/ตรวจจับสัญญาณ Payload) เครอื่ งบิน (ADS-B) ระบบปฏบิ ตั กิ ารภาคพืน้ ดนิ ระบบปฏิบตั กิ ารภาคพืน้ ดิน ติดตง้ั ณ SKP เพ่ือ ควบคุมและรบั สัญญาณภาพถ่ายดาวเทยี มหลัก THEOS-๒ Small SAT การพฒั นาดาวเทยี มเลก็ (SmallSAT TT&C Facilities, Receiving Stations development) โดยวิศวกรไทย มี ส่วนร่วมต้ังแต่กระบวนการออกแบบ SOC GroPuGlanISndTnsDtinaAgtion SCFCoiClen:C-cTBoeHnapEtstrOeoSdSlS-OST๒LypseSMtrmeaimstaisloliSonnAsT FeDeoIdmwbaangclikenkon GCroooCurondnditnsatacatttioionn ดาวเทยี มระบบการถา่ ยภาพการประกอบ MOC G(IBSTaDckAuFpO)S SFSDTSL PCloaOnnPsnTtieEnlMlgatITiSooonl และทดสอบส่วนต่าง ๆ ของดาวเทียม EnGgTIinSoTeoeDlsrAing MSiSsTsiLoSnmSaSatcllPhSleaadtnunlienrg ตั้งแต่ระดับหน่วยประกอบ (Module) SSTMLisCsoionnstBarroSkeerrver SPS ระบบย่อย (Sub-system) จนถึงระบบ RPadrToiEocRmeRsesAtorric PGreoocmesestirnicg PrIoPmcoerastgsaeilng TrOarcdkeinrg ดาวเทยี มทง้ั ดวง ซ่ึงจากการด�ำเนินการ PMreoAtcaOeCsDsSaintag MiSsSsFiTorLnoCnIontentnestrdafarce ดงั กลา่ วจะทำ� ใหป้ ระเทศไทยมศี กั ยภาพ AIrmchagivee SSTL Deliverables ในการสร้างดาวเทียมดวงต่อไปได้ด้วย ตนเอง SSTL Deliverables GISTA Components 26

๓ อว.ปี กบั ความสําเรจ็ การปฏิรูป การอุดมศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรมของประเทศ การพัฒนาอุตสาหกรรมอวกาศ (Thailand Space Economy) โดยการด�ำเนินโครงการ ธีออส ๒ ได้ สนบั สนนุ ผปู้ ระกอบการในประเทศดว้ ยการสงั่ ผลติ โดยใช้ การเขียนแบบ (Drawing) จากอุปกรณ์ในดาวเทียมเล็ก ท้ังอุปกรณ์ทางกล และ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ซ่ึง ผู้ประกอบการไทยสามารถผลติ ช้นิ ส่วนดาวเทยี มที่น�ำไป ใช้กบั ดาวเทียมเลก็ ได้ ๒ ช้นิ คือ GPS Antenna Riser คือ แท่นวางเสาสายอากาศรับสัญญาณดาวเทียมระบุ ตำ� แหน่ง และ Bracket Connector คอื อปุ กรณ์ชว่ ยยึด หัวต่ออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เข้ากับโครงสร้างดาวเทียม ซึ่งการสร้างกลุ่มผู้ประกอบการด้านการผลิตชิ้นส่วน ดาวเทียม (Space Manufacturing Cluster) ถือว่า เป็นการยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของ การผลติ ชน้ิ สว่ นดว้ ยมาตรฐานการผลติ ชน้ิ สว่ น ทส่ี ามารถ นำ� ไปใชใ้ นอวกาศไดจ้ รงิ และเปน็ การสรา้ งผปู้ ระกอบการ กล่มุ ห่วงโซ่การผลติ (Supply Chain) ทีม่ คี วามสามารถ ในการผลิตช้ินส่วนดาวเทียมไว้ใช้ภายในประเทศ และ สามารถให้บรกิ ารในการผลิตกับต่างประเทศได้ด้วย สทอภ. มีความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐาน ทดสอบจุดศูนย์ถ่วงของดาวเทียม (Moment of ศูนย์ประกอบและทดสอบดาวเทียมแห่งชาติ ซ่ึงมี Inertia : MOI) และ (๔) ระบบการทดสอบสภาวะ ระบบการทดสอบดาวเทียมขนาดเล็ก ประกอบด้วย ร้อนเย็นในสุญญากาศของดาวเทียม (Thermal (๑) ระบบทดสอบการสั่นของดาวเทียม (Vibration Vacuums Chamber : TVAC) ซ่ึงจะท�ำให้เกิด System) (๒) ทดสอบความเข้ากันได้ทางไฟฟ้า ความยั่งยนื ในการพัฒนาดาวเทยี มในประเทศไทย (Electromagnetic Compatibility : EMC) (๓) ระบบ 27

กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร วิจยั และนวัตกรรม Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation สทอภ. ไดด้ ำ� เนนิ การถา่ ยทอดองคค์ วามรู้ โดยวศิ วกร ๒๒ คน ซง่ึ เปน็ กลมุ่ ทเี่ ดนิ ทางไปสหราชอาณาจกั ร ไดเ้ ผยแพร่ องค์ความร้สู ู่บุคลากรในประเทศไทยร่นุ ตอ่ ไป ณ สทอภ. อ�ำเภอศรรี าชา จงั หวัดชลบรุ ี วนั ท่ี ๑๗ กนั ยายน ๒๕๖๔ พล.อ. ประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี และ ศ. (พเิ ศษ) ดร. เอนก เหลา่ ธรรมทศั น์ ไดต้ ดิ ตามความกา้ วหนา้ การพฒั นาดาวเทยี มและศนู ยก์ ลางขบั เคลอ่ื นอตุ สาหกรรมอวกาศ และ โครงการอทุ ยาน รังสรรค์นวัตกรรมอวกาศ (Space Krenovation Park: SKP) ในพื้นท่ีเขตส่งเสริมอุตสาหกรรมและนวัตกรรม ดจิ ทิ ลั (Eastern Economic Corridor of Digital: EECd) รวมทั้ง การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยขี ั้นสูง โดยมี ความกา้ วหนา้ ในการดำ� เนนิ งาน ดงั นี้ (๑) การถา่ ยทอดองคค์ วามรใู้ นการพฒั นาดาวเทยี มธอี อส ๒ โดยวศิ วกรไทย (๒) การพฒั นาเศรษฐกจิ อวกาศ (New Space Economy) จากเครอื ขา่ ยดาวเทยี มวงโคจรตำ�่ (Low Earth Orbit: LEO satellite network) และ (๓) การนำ� เทคโนโลยอี วกาศและภมู สิ ารสนเทศ ไปใชป้ ระโยชนด์ ้านการบริหาร จดั การนำ้� ดาวเทยี มธีออส ๒ ถือเป็นความก้าวหน้า ครั้งส�ำคัญของเทคโนโลยีอวกาศและ ภูมิสารสนเทศของชาติท่ีสร้างโดยฝีมือ คนไทย ทจ่ี ะมบี ทบาทในการสง่ เสรมิ และ สนับสนุนให้เกิดการท�ำงานอย่างมี สว่ นรว่ มกบั หนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทง้ั จากภาครฐั ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา รวมถึง ภาคประชาชน ทจ่ี ะทำ� ใหม้ ผี ปู้ ระกอบการ ไทยอยู่ในห่วงโซ่คุณค่าตลอดเส้นทาง การผลิต รวมทงั้ การใชป้ ระโยชนใ์ นดา้ น ต่าง ๆ ทจ่ี ะสรา้ งความมั่งคง และมงั่ คัง่ อย่างย่ังยืนให้กับชุมชน สังคม และ ประเทศชาติ 28

๓ อว.ปี กบั ความสาํ เรจ็ การปฏิรูป การอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ๕.๔ กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม สนับสนุนการพัฒนาไทยทกุ มิติ กองทนุ สง่ เสรมิ วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม จดั ตงั้ จัดสรรเงินขับเคลื่อนแผนงาน และ โครงการท่ีมี ขึ้นจากการปฏิรูประบบการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ลกั ษณะความจำ� เปน็ ทจี่ ะตอ้ งดำ� เนนิ การอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ของประเทศ เพื่อเป็นกลไกเชิงนโยบายในการบริหาร รอ้ ยละ ๒๕ และจดั สรรทนุ วิจยั ทม่ี ีการจดั สรรงบประมาณใหเ้ ปน็ ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ถงึ ๒๕๖๕ กองทนุ ไปตามกรอบนโยบายและยุทธศาสตร์การอุดมศึกษา ส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ได้รับ วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เพื่อก�ำหนดทิศทาง การจดั สรรงบประมาณรวมทงั้ สน้ิ ๔๖,๖๔๘ ลา้ นบาท ในการพัฒนาให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนา และได้สนับสนุนหน่วยรับงบประมาณ ๑๖๘ แห่ง ประเทศ ตั้งแต่ระดับยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บท ประกอบดว้ ย สถาบันอุดมศกึ ษา ๙๐ แหง่ หน่วยงาน ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ และ ดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยใี นสงั กดั อว. ๑๕ แหง่ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ โดยจดั ทำ� แผน หน่วยงานนอก อว. และรัฐวิสาหกิจ ๖๓ แห่ง โดย ด้านวทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม ระยะ ๕ ปี ซ่งึ พจิ ารณาถงึ ความจำ� เปน็ เรง่ ดว่ นของประเทศ ควบคกู่ บั ทบทวนเปน็ ประจำ� ทกุ ปี และมกี ารจดั สรรงบประมาณ การวางรากฐานสอู่ นาคต แบ่งเปน็ ๓ สว่ น ดงั นี้ ผา่ นหนว่ ยบรหิ ารจดั การทนุ วจิ ยั และนวตั กรรม(Program • การลงทนุ ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม Management Unit-PMU) ๙ แห่ง ประกอบด้วย สำ� นกั งานการวจิ ยั แหง่ ชาติ สำ� นกั งานนวตั กรรมแหง่ ชาติ เพอื่ การพฒั นาพน้ื ท่ี คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชน ส�ำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร สถาบันวิจัย และการแก้ปัญหาท้าทายของสังคม มุ่งเน้น ระบบสาธารณสุข หน่วยบริหารและจัดการทุนด้าน การผสมผสานการพัฒนาเทคโนโลยีกับมิติ การพฒั นาระดบั พนื้ ที่ หนว่ ยบรหิ ารและจดั การทนุ ดา้ น การจดั การทางสงั คม เนน้ การปรบั ตวั ในวถิ ใี หม่ อาทิ การพัฒนาก�ำลังคน และทุนด้านการพัฒนาสถาบัน การอยรู่ ว่ มกนั ของคนในสงั คมสงู วยั การแกป้ ญั หา อดุ มศึกษา การวจิ ัยและสรา้ งนวัตกรรม หนว่ ยบริหาร ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มการบรหิ ารจดั การนำ�้ โครงการพฒั นา จัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน คุณภาพอากาศ การจัดการขยะ การวิจัยด้าน ของประเทศ สถาบันวัคซีนแห่งชาติ และ ศูนย์ความ สขุ ภาพและระบบสาธารณสุข การพัฒนาระบบ เปน็ เลศิ ดา้ นชวี วทิ ยาศาสตร์ เพอ่ื พฒั นาและขบั เคลอ่ื น สุขภาพเพ่ือตอบภาวะวิกฤติและโรคอุบัติใหม่ ระบบด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของ ความมน่ั คงและความปลอดภยั ดา้ นอาหารการสรา้ ง ประเทศ กลไกการใช้ประโยชน์ และการถ่ายทอดสู่พ้ืนท่ี นอกจากนี้ อว. ได้มีการปฏิรูประบบงานงบประมาณ และเมอื งเพอื่ แกไ้ ขปญั หาคนจนกระจายความเจรญิ ด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ที่ส�ำคัญคือ และลดความเหล่ือมล�้ำ โดย ครัวเรือนมรี ายได้ กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เพม่ิ ขน้ึ ไมน่ อ้ ยกวา่ ๑๘,๐๐๐ บาทตอ่ ครวั เรอื นตอ่ ปี 29

กระทรวงการอุดมศกึ ษา วิทยาศาสตร วจิ ยั และนวัตกรรม Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation การจดั สรรงบประมาณกองทนุ เปนอยา งไร การจดั สรรงบประมาณ ของ กองทุนสง เสริมวทิ ยาศาสตร วจิ ยั และนวัตกรรม (ตาม พรบ. สภานโยบายฯ และ พรบ.การสง เสริม) กสว. 1 หนวยงานดา นกรใหทุน ม.7(2) ม.41 (4) (6) (7) ห นวยงานในระบบ ิว ัจยและน ัวตกรรม (ม.7) สํานกั งานพฒั นาการ สํานักงาน นกั วจิ ัยรายบุคคล กสว. บริหารกองทนุ สง เสรมิ ววน. วจิ ยั การเกษตร (สวก.) การวจิ ยั แหง ชาติ (วช.) นักวจิ ยั กลุม วิจัย สถาบันวิจยั อนื่ ๆ ระบบสาธารณะสุข (สวรส.) สกสว. 2 หนายงานที่ทําวิจัยและสรางนวัตกรรม ม.7(3) ววน.กองทนุ สงเสรมิ สถาบัน รัฐบาล เอกชน อุดมศึกษา หนว ยงานระบบวิทยาศาสตร Operators หนวยราชการ ที่มใิ ชส ว นราชการ นอกกระทรวง ในระบบ ววน. ดา น ววน. ในกระทรวง ภาคเอกชน ม.4 3 หนวยงานดานมาตรวิทยา มาตรฐานการทดสอบ (วตั ถุประสงค การใชจาย การจัดสรร การบริหารกองทุน บรกิ ารคณุ ภาพฯ ม.7(4) 4 หนว ยงานการจดั การความรูและผใู ชประโยชน ม.7(5) ม.17 (2) 5 หนวยงานอน่ื ทส่ี ภากาํ หนด ม.7(6) คาของงบประมาณ ของหนว ยงานระบบวิจัย โครงการ วท. โครงการ วน. และ การจัดสรรเงินกองทนุ ใหเปน งบประมาณของหนว ยงานน้ัน เกิดวิสาหกิจชุมชนสร้างสรรค์ รายได้เพ่ิมข้ึน ชวี ภาพ เศรษฐกจิ หมนุ เวยี น และเศรษฐกจิ สเี ขยี ว รวมถึงผู้ประกอบการในพ้ืนท่ี บนฐานทรัพยากร หรอื BCG ใน ๔ สาขา คือ การเกษตรและอาหาร พื้นถิ่นเพ่ือสร้างเศรษฐกิจฐานรากและเศรษฐกิจ การแพทย์ การท่องเที่ยว และพลังงานชีวภาพ หมุนเวยี นในพ้ืนที่มากกวา่ ๔๐๐ กลุ่ม ชุมชนนำ� การพฒั นาเกษตรสมยั ใหมแ่ ละเกษตรแมน่ ยำ� เพอื่ ความรู้และนวัตกรรมไปใช้ในการจัดการชุมชน เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพและสรา้ งผลติ ภณั ฑท์ มี่ คี ณุ ภาพสงู ของตนเองให้มีคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดี การพฒั นาระบบการแพทยท์ แี่ มน่ ยำ� ในการรกั ษา ขนึ้ กวา่ ๓๒๐ แหง่ จำ� นวนประชาชนทไ่ี ดป้ ระโยชน์ โรคทเี่ ก่ียวข้องกับพันธกุ รรม การพัฒนาพลังงาน จากการแก้ไขปัญหาหรือยกระดับการพัฒนา สมัยใหม่และยานยนต์สมัยใหม่เพื่อเตรียมการ อย่างยั่งยืนเพ่ือตอบโจทย์ท้าทายของสังคม อุตสาหกรรมแห่งอนาคต การวิจัยและพัฒนา โดยการน�ำองคค์ วามรู้ เทคโนโลยีและนวตั กรรม เพอื่ ผลติ วคั ซนี โรคโควดิ -๑๙ การพฒั นาการแพทย์ ไปใช้ในทางปฏิบัติและ/หรือขยายผลประมาณ ระยะไกลดว้ ยระบบดจิ ทิ ลั การพฒั นาการทอ่ งเทย่ี ว ๑,๐๐๐,๐๐๐ คน ใน ๑,๔๐๐ ต�ำบลท่วั ประเทศ เพ่ือสุขภาพท่ีทันสมัยส�ำหรับวิถีใหม่ การพัฒนา น วั ต ก ร ร ม ข ้ อ มู ล แ ล ะ ป ั ญ ญ า ป ร ะ ดิ ษ ฐ ์ ใ น • การลงทนุ ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม ด้านเทคโนโลยีสุขภาพ เกษตร อาหาร และ เพอ่ื พฒั นาเศรษฐกจิ ใหเ้ ตบิ โตอยา่ งยง่ั ยนื วถิ ใี หม่ โลจิสติกส์ รวมถึงการพัฒนาส่งเสริม และ มุ่งเน้นการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน สนับสนุนสตาร์ทอัฟ และวิสาหกิจขนาดกลาง ด้วยอุตสาหกรรมใหม่ อาทิ โครงการเศรษฐกิจ และขนาดย่อม โดยเกิดวิสาหกจิ ฐานนวตั กรรมท่ี 30

๓ อว.ปี กับความสําเร็จการปฏิรูป การอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรมของประเทศ เกย่ี วขอ้ งกบั เศรษฐกจิ BCG เพม่ิ ขนึ้ ๑๐,๐๐๐ ราย การจัดการสมัยใหม่ เกิดการร่วมทุนและลงทุน เกษตรกรรนุ่ ใหมท่ ใ่ี ชเ้ ทคโนโลยที มี่ รี ายไดม้ ากกวา่ เพิ่มของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมใน ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาทต่อปี จ�ำนวน ๗๕๐ คน ดา้ นการพัฒนานวัตกรรมไมน่ อ้ ยกวา่ ๑๐๐ ราย ผปู้ ระกอบการวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม ส่งผลให้เกิดการจ้างงานในแรงงานท่ีใช้ความรู้ และสตาร์ทอัฟ ประมาณ ๕๐๐ ราย ได้รับ แ ล ะ ทั ก ษ ะ ใ น อุ ต ส า ห ก ร ร ม เ ป ้ า ห ม า ย ก ว ่ า การสนบั สนนุ ใหใ้ ชค้ วามรแู้ ละนวตั กรรม เทคโนโลยี ๑,๐๐๐,๐๐๐ ต�ำแหน่ง • การลงทนุ ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม และหนว่ ยงานวจิ ยั ระดบั นานาชาตกิ วา่ ๑๕เครอื ขา่ ย เพอ่ื การพัฒนาคนและความร้สู ู่อนาคต มุ่งเน้น เกดิ ระบบและกลไกทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพในการสรา้ ง การสร้างระบบ การเร่งผลิตก�ำลังคนระดับสูง ความตระหนักและความรู้ความสามารถด้าน รองรับพ้ืนทเ่ี ศรษฐกจิ ใหม่ของประเทศ การสรา้ ง ปัญญาประดิษฐ์ จนถึงข้ันสามารถน�ำไปใช้ องคค์ วามรดู้ า้ นปญั ญาประดษิ ฐเ์ พอ่ื เพม่ิ บคุ ลากร ประโยชน์ได้ส�ำหรับคนหลากหลายระดับ ต้ังแต่ วิจัยระดับสงู การพฒั นาพน้ื ทแี่ ละนเิ วศการเรียน ประชาชนทวั่ ไป เยาวชน ผทู้ มี่ พี น้ื ฐาน นกั วจิ ยั และ รทู้ ไ่ี ดม้ าตรฐานและเขา้ ถงึ ไดส้ ำ� หรบั คนทกุ วยั เพอื่ ผู้ประกอบการ ครอบคลุมเป้าหมายมากกว่า ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต นวัตกรรมต้นแบบ ๘๐,๐๐๐ คน คนรนุ่ ใหมไ่ ดร้ บั โอกาสทางการศกึ ษา ใ น ก า ร ย ก ร ะ ดั บ ก า ร ศึ ก ษ า แ บ บ บู ร ณ า ก า ร ทมี่ คี ณุ ภาพสงู โดยมสี ดั สว่ นแรงงานทกั ษะขนั้ สงู การเรยี นรกู้ บั การทำ� งานระหวา่ งสถาบนั การศกึ ษา เพ่ิมขึ้นจากการปฏิรูปมหาวิทยาลัย และการใช้ และภาคอตุ สาหกรรม โดยเกดิ การสรา้ งเครอื ขา่ ย การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาการศึกษาและ วิจัยนานาชาติระหว่างสถาบันความรู้ของไทย การเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ กวา่ ๑๕๐,๐๐๐ คน 31

กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation ๕.๕ หนว่ ยบริหารและจัดการทุนเฉพาะด้านขบั เคลอื่ นนโยบาย สู่การปฏิบัติทร่ี วดเร็ว ในการขับเคล่ือนการปฏิรูประบบการอุดมศึกษา การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม โดยหน่วยบริหารและ วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม สภานโยบายได้มี จดั การทนุ เฉพาะดา้ นดงั กลา่ ว ทำ� หนา้ ทเี่ ปน็ หนว่ ยงาน การจัดตั้งหน่วยบริหารและจัดการทุนเฉพาะด้าน ระดบั กลางทร่ี บั นโยบายจากหนว่ ยนโยบาย และสง่ ตอ่ ภายใต้สภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ นโยบายนั้นไปยังหน่วยท�ำวิจัยและนวัตกรรม โดยใช้ วจิ ยั และนวตั กรรมแหง่ ชาติ โดยมสี ำ� นกั งานสภานโยบาย การบรหิ ารและจดั การทนุ เปน็ เครอ่ื งมอื ในการดำ� เนนิ งาน การอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรมแหง่ ชาติ ซง่ึ จะชว่ ยเรง่ รดั การดำ� เนนิ งานตามนโยบายและยทุ ธศาสตร์ เป็นร่มนิติบัญญัติ ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ระบบ ใหเ้ กดิ ผลสมั ฤทธิ์ รวมถงึ ชว่ ยแกไ้ ขปญั หาวกิ ฤตเรง่ ดว่ น การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โดย หนว่ ยบรหิ ารและจดั การทนุ ทจี่ ดั ตงั้ ขนึ้ ประกอบดว้ ย มีกลไกการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์ไปสู่ ๓ หน่วย ดงั นี้ ตวั อย่างผลการด�ำเนินงานตาม Flagship ที่สำ� คัญของ บพค. ปัญญาประดิษฐ์ / วิทยาการหุ่นยนตส์ ำ� หรบั ทกุ คน (AI for All) การด�ำเนินงาน ผลการ • ประเทศมีแนวทางต้นแบบของ กลไกที่มี ด�ำเนนิ งาน ประสทิ ธภิ าพในการสรา้ งความตระหนกั ดา้ น ท่ีส�ำคัญ ปญั ญาประดษิ ฐ์ และกลไกการพฒั นากำ� ลงั คน กลไกที่มีประสิทธิภาพในการสร้างความตระหนัก และ ที่สามารถสร้าง และพัฒนาเครื่องมือและ พัฒนาระบบและกลไกในการสร้างความตระหนักให้ประชาชน ความร้คู วามสามารถด้าน AI จนถงึ ข้ันสามารถ นำ� ไปใช้ ทำ� งาน โดยใชเ้ ทคโนโลยปี ญั ญาประดษิ ฐไ์ ด้ ทุกระดับรับรู้ความส�ำคัญและประโยชน์ของเทคโนโลยีปัญญา ประโยชนใ์ ด้ สำ� หรบั คนหลากหลายระดบั จำ� นวน ๕ กลไก ประดิษฐ์ (AI) และพัฒนาก�ำลงั คนใหม้ ที ักษะความรู้ความเข้าใจ ประชาชนทกุ ระดับ ต้ังแต่ประชาชนท่ัวไป เยาวชน ผทู้ ่ีมี • มีบุคลากรที่มีความรู้หรือผู้ท่ีสามารถท�ำงาน ด้าน AI โดย พ้นื ฐานดา้ น AI นักวิจยั นวัตกร/วิศวกร วสิ าหกิจเรม่ิ ต้น ดา้ นปญั ญาประดษิ ฐเ์ พยี งพอตอ่ ตลาดงาน เพอ่ื ดา้ นปญั ญาประดษิ ฐ์ และ ผปู้ ระกอบการ ไดร้ บั การพฒั นา รองรบั การเปลย่ี นผา่ นของภาคเศรษฐกจิ และ • สรา้ งกระแสความสนใจ ความรแู้ ละความเขา้ ใจเรอ่ื ง Al เบอ้ื งตน้ ทักษะความรคู้ วามเข้าใจด้าน AI เพม่ิ ข้นึ ๑๓๒,๒๑๒ คน สังคมจากยุคเทคโนโลยีสารสนเทศไปสู่ยุค สำ� หรบั สาธารณะ ปญั ญาประดษิ ฐ์ • สรา้ งทกั ษะและความรพู้ น้ื ฐาน และแรงบนั ดาลใจเกย่ี วกบั AI ให้ กบั เดก็ และเยาวชน ครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษา • พฒั นากำ� ลงั คนทสี่ ามารถทำ� งานโดยใชเ้ ทคโนโลยปี ญั ญาประดษิ ฐ์ และการเรยี นรขู้ องเครอื่ ง (AI/Machine learning) ปอ้ นตลาด แรงงาน • ส่งเสริมการวิจัย พัฒนาเทคโนโลยี และการถ่ายทอดความรู้ พฒั นาขดี ความสามารถดา้ น AI ใหก้ บั ผปู้ ระกอบการ • พัฒนานักวิจัยด้านปัญญาประดิษฐ์ และประยุกต์ใช้ ปัญญา ประดษิ ฐก์ บั เทคโนโลยอี น่ื ๆ เชน่ หนุ่ ยนตแ์ ละระบบอตั โนมตั ิ • หนว่ ยบรหิ ารและจดั การทนุ ดา้ นการพฒั นากำ� ลงั คน การอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม และทนุ ดา้ นการพฒั นาสถาบนั อดุ มศกึ ษา การวจิ ยั และนโยบายของรฐั บาล รวมถงึ การใหท้ นุ การศกึ ษา และการสร้างนวัตกรรม (บพค.) จัดสรรทุน ทนุ สนบั สนนุ นกั วจิ ยั และบคุ ลากรอน่ื หลงั ปรญิ ญา ด้านการพัฒนาก�ำลังคนในสาขาที่จ�ำเป็นต่อ ทนุ ดา้ นการพฒั นาสถาบนั อดุ มศกึ ษาและสถาบนั วจิ ยั การพัฒนาประเทศตามนโยบายและยุทธศาสตร์ และนวตั กรรม และทนุ ดา้ นการพัฒนาโครงสร้าง 32

๓ อว.ปี กบั ความสําเรจ็ การปฏิรูป การอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรมของประเทศ พื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยมี จ�ำนวน ๑๓๒,๒๑๒ คน รวมถงึ สนบั สนนุ การสรา้ ง ตวั อยา่ งผลการดำ� เนนิ งานทสี่ ำ� คญั ใปงี บประมาณ องคค์ วามรใู้ นสาขาตา่ ง ๆ และสนับสนุนการวิจัย ๒๕๖๓ ดังน้ี สนับสนุนทุนและได้มีการพัฒนา ขน้ั แนวหนา้ โดยสามารถจดั ทำ� ตน้ แบบเทคโนโลยี นกั วจิ ยั ทสี่ ามารถทำ� งานตอบโจทยภ์ าคอตุ สาหกรรม ด้านออปติกส�ำหรับกล้องโทรทรรศน์อวกาศและ ได้จ�ำนวน ๑๘๐ คน สร้างความตระหนักและ ตน้ แบบควอนตมั ทกั ษะทางดา้ น ปญั ญาประดษิ ฐใ์ ห้กับประชาชน ตวั อย่างผลการด�ำเนินงานตาม Flagship ทสี่ �ำคญั ของ บพข. การพฒั นาเทคโนโลยีรว่ มกับภาคเอกชนเพื่อน�ำงานวจิ ยั สู่อุตสาหกรรม การด�ำเนินงาน ผลการ ดำ� เนนิ งาน ทีส่ ำ� คัญ พัฒนาเทคโนโลยีเพื่อผลิตผลิตภัณฑ์ โครงการท่ีภาคเอกชนร่วมให้ทุนเพ่ือน�ำงานวิจัยท่ี เป็นการลดความเสี่ยงในการน�ำเทคโนโลยีท่ี มลู คา่ สงู ในกลมุ่ อตุ สาหกรรม BCG เชน่ ส�ำเร็จ แล้วจากห้องปฏิบัติการไปใช้ประโยชน์เชิง ส�ำเร็จจากห้องปฏิบัติการมาพัฒนาต่อยอดเพ่ือ อตุ สาหกรรมดา้ นการแพทย์ อตุ สาหกรรม พาณิชย์ เชน่ ชดุ ตรวจ Covid-๑๙ ชนิด RT-PCR ให้กเิ ดการน�ำเทคโนโลยีไปใช้ประโยชน์จรงิ โดย การผลิตสารสกัดจากธรรมชาติและ และ LAMP เปลย่ี นสี อุปกรณ์ทางการแพทยท์ ีใ่ ช้ AI ภาคเอกชนมีส่วนร่วมลงทุน อย่างน้อย ๒๐% สว่ นประกอบอาหารทไ่ี ดจ้ าก bioprocess ในการแปรผล, xanthone บรสิ ุทธ์, beta-glucan ของวงเงินวจิ ยั การประยุกต์ใช้ดิจิทัล กับอุตสาหกรรม เป็นตน้ เกิด SME ท่ใี ช้เทคโนโลยขี ้นั สงู สรา้ งมลู คา่ เพ่ิม BCG ในปี ๖๓ เนน้ อตุ สาหกรรมการแพทย์ โครงการด้านการท่องเที่ยวเป็นการศึกษาเชิง มากกว่าเดมิ นโยบาย และระบบเพอื่ เตรยี มการฟน้ื ฟอู ตุ สาหกรรม การศึกษาและพฒั นาเทคโนโลยีเพ่อื การ การท่องเท่ียว ซ่ึงกระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา เกดิ การผลติ สนิ คา้ ทไี่ มเ่ คยผลติ มากอ่ นในประเทศ ปรับตัวของอุตสาหกรรมแห่งอนาคต ใชผ้ ลงานวิจัยนใ้ี นการกำ� หนดนโยบาย เช่น ชุดตรวจ วิเคราะห์ สารสกัดมูลค่าสูง เน้นการท่องเที่ยว และอุตสาหกรรม อตุ สาหกรรมยานตม์ กี ารปรบั ตวั เพอื่ ผลติ ยานพาหนะ ยานยนต์ไฟฟ้า ด้านคมนาคม ซึ่งมีการเปล่ียนแปลง ไฟฟ้า แบตเตอร่ี และแท่นชาร์จ อยา่ งมากในระยะ ๓-๕ ปี • หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่ม เทคโนโลยี ทั้งน้ี การให้ทุนดังกล่าวมุ่งเน้น ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ (บพข.)  การสนับสนุนแผนงานที่มีความร่วมมือหรือ จัดสรรทุนวิจัยและสร้างนวัตกรรมเพื่อเพ่ิม การร่วมลงทุนกับผู้ใช้ประโยชน์ โดยมีตัวอย่าง ความสามารถในการแขง่ ขนั ของภาคการผลติ และ ผลการดำ� เนนิ งานทสี่ ำ� คญั ในปงี บประมาณ ๒๕๖๓ ภาคบริการรวมถึงทุนสนับสนุนการถ่ายทอด ดังนี้ สนับสนุนทุนและท�ำให้เกิดผลิตภัณฑ์หรือ เทคโนโลยี การสรา้ งตลาดนวตั กรรม การสง่ เสรมิ โรงงานตน้ แบบดา้ นพลงั งาน เคมแี ละวสั ดชุ วี ภาพ การใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรมใน ทีม่ ศี ักยภาพ จ�ำนวน ๕๒ นวัตกรรม ผลิตภัณฑ์ เชิงพาณิชย์ และการพัฒนาแพลตฟอร์มทาง ท้องถ่ินและสินค้าสร้างสรรค์ จ�ำนวนมากกว่า นวตั กรรมในภาคการผลติ และภาคบรกิ าร ทนุ เพอื่ ๖๐ ผลิตภัณฑ์ สนับสนุนการจัดต้ังศูนย์บริการ พัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานห้องปฏิบัติการเพื่อ ตน้ แบบ เพอื่ ใหบ้ รกิ ารตรวจวเิ คราะหท์ ดสอบโดย การให้บริการด้านคุณภาพและการถ่ายทอด ไม่ใช้สัตว์ทดลอง การทดสอบการแพ้ต่อผิวหนัง 33

กระทรวงการอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร วจิ ัยและนวัตกรรม Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation ของสารสมนุ ไพร ผลติ ภณั ฑส์ มนุ ไพร และสารเคมี ยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของ ด้วยวิธีการตามมาตรฐาน (OECD Guideline) ผูป้ ระกอบการรายใหม่ ธรุ กจิ ขนาดจ๋ิว วสิ าหกจิ และพฒั นากลไกบม่ เพาะและเรง่ สรา้ งการเตบิ โต ขนาดกลางและขนาดย่อม วิสาหกิจชุมชน และ ของผลงานวิจัยท่ียังไม่สามารถน�ำไปใช้งานใน วิสาหกิจเพ่ือสังคมในระดับพื้นที่โดยมีตัวอย่าง อุตสาหกรรมได้ จ�ำนวน ๕ ต้นแบบ รวมท้ัง ผลการด�ำเนินงานท่ีส�ำคัญในปีงบประมาณ ช่วยแก้ไขปัญหาวิกฤติโควิด-๑๙ โดยพัฒนา ๒๕๖๓ ดังน้ี ได้สนับสนุนทุนและท�ำให้เกิด กระบวนการผลติ ชดุ ตรวจมากกวา่ ๑,๐๐๐,๐๐๐ชดุ การสร้างขีดความสามารถของชุมชนในพ้ืนที่ ซึ่งสามารถน�ำไปใช้พัฒนาชุดตรวจคัดกรอง ๕๐๐ ต�ำบล เกิดเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมและ ผู้ติดเชื้อได้มากถึง ๑๐๐,๐๐๐ ชุด นวัตกรรมพร้อมใช้ จ�ำนวน ๕๑๑ เทคโนโลยี/ • หนว่ ยบรหิ ารและจดั การทนุ วจิ ยั และนวตั กรรม นวตั กรรม และเกดิ นวตั กรชาวบา้ น ๑,๙๐๐ คน ดา้ นการพฒั นาระดบั พน้ื ท่ี (บพท.)จดั สรรทนุ วจิ ยั รวมท้งั ได้จัดทำ� ระบบข้อมูลเปดิ ครวั เรือนยากจน และนวตั กรรมเพอ่ื การพฒั นาเชงิ พนื้ ท่ี การพฒั นา และส่งต่อเข้าสู่ระบบช่วยเหลือสงเคราะห์ใน ชมุ ชน หรอื ทอ้ งถน่ิ ทมี่ วี ตั ถปุ ระสงคใ์ หป้ ระชาชน ระดับพื้นท่ีและระดับส่วนกลาง โดยปัจจุบัน มีชีวิตความเป็นอยู่ดีขึ้น มีคุณภาพชีวิตที่ดีและ มคี นจนทไี่ ดร้ บั ความชว่ ยเหลอื แลว้ จำ� นวนทงั้ สนิ้ ๑๕๓,๙๐๙ คน จาก ๑๔,๒๕๘ ครัวเรอื น ตัวอยา่ งผลการดำ� เนินงานตาม Flagship ท่ีสำ� คัญของ บพท. การแก้ไขปัญหาความยากจนแบบเบ็ดเสรจ็ และแม่นยำ� ปี ๒๕๖๓-๒๕๖๔ การดำ� เนินงาน ผลการ ด�ำเนนิ งาน ทส่ี �ำคญั 1. สรา้ งกลไกความรว่ มมือในการแกไ้ ขปญั หา คน้ หาและสอบทานคนจนในพนื้ ท่ี ๑๐ จงั หวดั ยากจนพบ เกิดกลไกความร่วมมือใน ความยากจนระดับจังหวัด เพ่ือให้เกิด ๔๕๑,๕๙๐ คน พ้ืนที่ระหว่างมหาวิทยาลัย เปา้ หมายรว่ ม ดำ� เนนิ งานรว่ มกนั ทงั้ การคน้ หา ภาคประชาสังคมและกลไก สอบทาน การบูรณาการข้อมูลและส่งต่อ การพฒั นาพนื้ ท่ี เพอื่ เขา้ ไป ความเหลอื จากหนว่ ยงานระดบั จงั หวดั ไปสู่ แก้ปัญหาความยากจนได้ ครัวเรือนที่ยากจนอย่างเป็นรูปธรรมและ อย่างตรงจุดโดยใช้ระบบ ยง่ั ยนื เครอ่ื งมอื และกระบวนการ วจิ ยั ในการสรา้ งเปา้ หมายรว่ ม 2. พัฒนาระบบข้อมูลครัวเรือนยากจนระดับ การสง่ ตอ่ ความชว่ ยเหลอื ใหก้ บั คนยากจน จำ� นวน ๑๕๓,๙๐๙ คน บ่งช้ีและร่วมกันรับผิดชอบ พน้ื ที่ กระทรวง อว. เปน็ ระบบขอ้ มลู เปดิ แบบ ในด้านท่ีอยู่อาศัย การศึกษา การพัฒนา ทักษะทางอาชีพ ชว่ ยใหค้ นจนกลมุ่ เปา้ หมาย Real Time ชเี้ ปา้ คนจนและเชอื่ มโยงการ การสงเคราะหด์ า้ นเงิน และสวัสดิการสังคม มี คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ที่ ดี ขึ้ น มที กั ษะในการประกอบอาชพี ชว่ ยเหลอื กบั หนว่ ยงานภาครฐั ที่สามารถเลยี้ งดตู วั เองและ ครอบครวั ได้ 3. พัฒนาระบบการวิเคราะห์และออกแบบ เกดิ Operating Model แกจ้ นระดบั พน้ื ทจี่ ำ� นวน ๑๖ โมเดล และ ความช่วยเหลือครัวเรือนยากจน www. ส่งต่อข้อมูลและความรู้สู่การขยายผลในแผน และโครงการของ pppconnext.com จงั หวดั เชน่ จงั หวดั สกลนคร มรภ. สกลนคร ไดข้ บั เคลอ่ื นโครงการ นำ� รอ่ ง “กดุ บากโมเดล” อำ� เภอกดุ บาก (รบั งบจากจงั หวดั จำ� นวน ๖๐ ล้านบาท) มาขยายผลการแกไ้ ขปัญหาความยากจน 4. พัฒนาและสร้างโมเดลแก้จนระดับพ้ืนท่ี เกิดบันทึกข้อตกลงความร่วมมือของ ๑๒ หน่วยงาน จาก ๓ โดยความรว่ มมอื กบั กลไกชมุ ชนและภาครฐั กระทรวง ได้แก่ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการพฒั นาสังคม ส่งต่อและขยายผลกับแผนจังหวัดและ และความมั่นคงของมนุษย์ กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการ โครงการภาครฐั ในจงั หวดั ศกึ ษา และสถาบนั วจิ ยั เศรษฐกจิ ปว่ ย อง๊ึ ภากรณ์ (ลศป.)- ธนาคาร แหง่ ประเทศไทย เพอ่ื บรู ณาการขอ้ มลู คนจน และครวั เรอื นยากจน สง่ ตอ่ ความชว่ ยเหลอื ระดบั หนว่ ยงาน และจดั ทำ� ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย 34

๓ อว.ปี กับความสาํ เร็จการปฏริ ูป การอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรมของประเทศ ๕.๖ ภาคคี วามร่วมมอื อวกาศไทยสจู่ ักรวาล “ประเทศไทยจะเปน็ ประเทศท่ี ๕ ใน เอเชีย ที่จะสามารถผลิตยานอวกาศ ส่งไปดวงจันทร์ และจะใช้เวลาจากนี้ ไม่เกิน ๗ ปี ท�ำให้ประเทศไทยเป็น ประเทศที่พัฒนาแล้ว” ค�ำกล่าวของ ศ. (พเิ ศษ) ดร. เอนก เหลา่ ธรรมทัศน์ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวง อว. เมอ่ื วนั ท่ี ๑๔ ธันวาคม ๒๕๖๔ น�ำมาสู่ สญั ญาประชาคมท่ี “ภาคคี วามรว่ มมอื อวกาศไทย” (Thai Space Consortium : TSC) ต้องร่วมแรงรว่ มใจและเสรมิ ศกั ยภาพกนั ในการขบั เคลอื่ นไปใหถ้ งึ จุดหมายปลายทาง “ภาคีความร่วมมืออวกาศไทย” คือ ประเทศไทย อาทิ วศิ วกรรมเครอื่ งกล ไฟฟา้ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ โทรคมนาคม การผนกึ กำ� ลงั ของหนว่ ยงานวทิ ยาศาสตร์ ระบบควบคมุ และเมคคาทรอนกิ ส์ สมองกลฝังตัว เป็นต้น สู่การเป็น และสถาบันอุดมศึกษา ในสังกัด อว. ประเทศท่ีมีความสามารถด้านการผลิตและสร้างสรรค์นวัตกรรม และกระทรวงกลาโหม รวมทั้งส้ิน ยานยนต์ไฟฟ้า อากาศยาน เกษตรอัจฉริยะ เทคโนโลยีดิจิทัลและ ๑๓ แห่ง โดยสถาบันวจิ ัยดาราศาสตร์ ปัญญาประดษิ ฐ์ รวมถึงรองรบั อตุ สาหกรรมอวกาศในอนาคต แห่งชาติ (องค์การมหาชน) เป็น ผปู้ ระสานงานหลกั มเี ปา้ หมายในการสรา้ ง เทคโนโลยอี วกาศมคี วามสำ� คญั ตอ่ การพฒั นาเศรษฐกจิ ของประเทศ กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ นักวิทยาศาสตร์ ทม่ี ใิ ชเ่ รอื่ งไกลตวั หลายสงิ่ ทเี่ ราใชใ้ นชวี ติ ประจำ� วนั ตา่ งเปน็ ผลพลอยได้ วศิ วกรรุ่นใหม่ ใหม้ ีโอกาสเรียนรลู้ งมอื จากการพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศทัง้ สน้ิ อาทิ อนิ เทอรเ์ น็ต การส่อื สาร ในการสรา้ ง“ดาวเทยี มวจิ ยั วทิ ยาศาสตร”์ ผ่านดาวเทยี ม ระบบก�ำหนดตำ� แหน่งบนโลก (GPS) เป็นต้น ที่ผา่ นมา ดว้ ยกำ� ลงั คนและเทคโนโลยใี นประเทศ ประเทศไทยพง่ึ พาอตุ สาหกรรมการเกษตร อตุ สาหกรรมการทอ่ งเทยี่ ว ทั้งออกแบบการพัฒนา สร้าง ทดสอบ สินค้าส่งออก ซ่ึงส่วนใหญ่ติดกับดักเดิม ๆ เม่ือเกิดสถานการณ์วิกฤติ และควบคมุ การใช้งานโดยฝีมอื คนไทย โควิด-๑๙ ลุกลามทั่วโลก สินค้าเกษตรส่งออกไม่ได้ นักท่องเที่ยวเข้า สรา้ งประสบการณก์ ารพฒั นาเทคโนโลยี ประเทศไมไ่ ด้ ทำ� ใหเ้ กดิ ภาวะเศรษฐกจิ ตกตำ�่ อยา่ งรนุ แรง และใชร้ ะยะ และวศิ วกรรมขนั้ สงู ยกระดบั องคค์ วามรู้ เวลานานมากกว่าจะฟื้นตัวกลับมาอยู่ในสภาพเดิม ในขณะที่กลุ่ม และ ทกั ษะดา้ นวศิ วกรรมขนั้ สงู ภายใน ประเทศรายได้สูงท่เี นน้ การส่งออกสินคา้ เทคโนโลยีจำ� นวนมาก หนั มา 35

กระทรวงการอุดมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation พฒั นาเทคโนโลยใี หม่ เพอ่ื ตอบรบั สถานการณโ์ ควดิ -๑๙ ศักยภาพและความเชี่ยวชาญสูงทั้งด้านวิทยาศาสตร์ หลายบริษัทหันมาผลิตเครื่องช่วยหายใจ ผลิตวัคซีน เทคโนโลยี วิศวกรรม และคณิตศาสตร์ (STEM) ผลิตอุปกรณ์ต่าง ๆ ท่ีรองรับสถานการณ์และวิถีชีวิต นอกจากน้ี ยังสามารถถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ภาค แบบใหม่  อุตสาหกรรม สร้างงานวิศวกรรมข้ันสูง เหน่ียวน�ำให้ ประเทศไทยเป็นผู้ซื้อเทคโนโลยี น�ำเทคโนโลยี เกดิ หว่ งโซอ่ ปุ ทานใหมใ่ นประเทศดว้ ยกำ� ลงั ซอ้ื ทผ่ี ลกั ดนั ตา่ งประเทศเขา้ มาใชก้ นั อยา่ งแพรห่ ลาย หากเรายงั คงเปน็ โดยภาครัฐ เปิดโอกาสให้ภาคเอกชนไทยมีส่วนร่วม ผู้ซื้อต่อไป ประเทศไทยก็ไม่สามารถหลุดพ้นจากการ ในการพัฒนา และสร้างสรรค์งานอุตสาหกรรมตาม เปน็ ประเทศทมี่ รี ายไดป้ านกลาง การพฒั นาเทคโนโลยี ความเช่ียวชาญ อาทิ ชนิ้ สว่ นสำ� คัญในการสร้างจรวด อวกาศ จงึ ถอื เปน็  “โจทยย์ ากทที่ า้ ทายความสามารถ และยานอวกาศ ที่เป็นการยกระดับอุตสาหกรรมไทย ในการสรา้ งเสน้ ทางสอู่ ตุ สาหกรรมอวกาศในประเทศ” ให้ก้าวหน้าในเวทโี ลก สามารถเพ่มิ มูลคา่ ของสนิ คา้ ได้ เปน็ อกี หนงึ่ ทางออกทจี่ ะชว่ ยยกระดบั ประเทศไทยให้ อย่างก้าวกระโดด นอกจากน้ี ส่ิงส�ำคัญที่สุดก็คือ หลดุ พน้ จากกบั ดกั รายไดป้ านกลาง เพราะการพัฒนา เทคโนโลยอี วกาศจะชว่ ยสรา้ งแรงบนั ดาลใจชนั้ ยอดให้ เทคโนโลยีอวกาศไม่ได้ต้องการแค่นักวิทยาศาสตร์ เกิดแก่คนในชาติ ความร่วมแรงร่วมใจของคนในชาติ หรือวิศวกร ยังต้องการนักบริหาร ท�ำงานร่วมกับ ส่งตอ่ แรงบันดาลใจไปถงึ เยาวชน นกั เรียน นักศกึ ษาที่ นกั โลจสิ ตกิ ส์ เพอื่ บรหิ ารจดั การหว่ งโซอ่ ปุ ทานขนาดใหญ่ สนใจสรา้ งอาชพี และ สรา้ งอนาคตใหแ้ กล่ กู หลานไทย ทจี่ ะตอ้ งเกดิ ขนึ้ จากการสรา้ งโครงการอวกาศ ตอ้ งการ ผลทีเ่ กิดจากการดำ� เนินโครงการ ไม่เพียงแตท่ �ำใหเ้ กดิ นักการเงินฝีมือดี ๆ มาบริหารการเงินให้โครงการ อตุ สาหกรรมอวกาศในประเทศ เกดิ การสรา้ งองคค์ วามรู้ ท่ีต้องการเงินทุนนับหมื่นล้านบาท ต้องการ สรา้ งกำ� ลงั คนดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สรา้ งงาน นกั เศรษฐศาสตรท์ จ่ี ะมาจดั ทำ� นโยบายทางเลอื กทด่ี ที สี่ ดุ สร้างคนเกง่ ในสายอาชีพวทิ ยาศาสตรแ์ ละสาขาอนื่ ๆ ในการสร้างโครงการภายใต้เงื่อนไขและข้อจ�ำกัดของ ท่ีร่วมสร้างเทคโนโลยีแล้ว ส่ิงส�ำคัญที่สุดท่ีไม่อาจ ประเทศ ต้องการนักรัฐศาสตร์ นักความสัมพันธ์ ประเมินเป็นมูลค่าได้ คือการสร้างแรงบันดาลใจ ระหวา่ งประเทศในการบรหิ ารโครงการขนาดใหญข่ อง ใหก้ บั คนในชาติ ปจั จบุ นั ประเทศไทยมสี ดั สว่ นของคน ภาครัฐ ให้ได้รับการสนับสนุนท้ังจากประชาชนใน ทเี่ ขา้ มามสี ว่ นรว่ มในวงการวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ประเทศ และประชาคมโลกในการถา่ ยทอดเทคโนโลยี ต่อสาขาอ่ืน ๆ เพียง ๓๐ : ๗๐ ในขณะที่ประเทศ และยงั สามารถต่อยอดสภู่ าคอตุ สาหกรรมได้อกี ดว้ ย ทพ่ี ฒั นาแลว้ มีอตั ราสว่ นท่กี ลบั กันคอื ๗๐ : ๓๐ ทง้ั นี้    ประเทศเหลา่ นนั้ ลว้ นแลว้ แตใ่ ชเ้ ทคโนโลยอี วกาศเปน็ “การออกแบบและสรา้ งดาวเทยี ม” เป็นการยกระดับ เครื่องมือในการสร้างแรงบันดาลใจให้คนในชาติ ความสามารถดา้ นการแขง่ ขนั ของชาติ ท่มี ตี วั เทียบวดั หนั มาสนใจการพฒั นาดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กับชาติอ่ืน ๆ นับเป็นเทคโนโลยีที่มีความซับซ้อนท่ี อาทิ สหรัฐอเมริกา สหพันธรัฐรัสเซีย สาธารณรัฐ จ�ำเป็นต้องบูรณาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประชาชนจีน ญ่ปี นุ่ สาธารณรฐั อินเดีย เปน็ ตน้ หลากหลายสาขา ผลกั ดนั ใหเ้ กิดการสรา้ งก�ำลงั คนทม่ี ี 36