Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอนาด้วง จังหวัดเลย/ศตวรรษ สงกาผัน

การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอนาด้วง จังหวัดเลย/ศตวรรษ สงกาผัน

Published by MBU SLC LIBRARY, 2021-07-06 09:38:08

Description: วารสารศรีล้านช้างปริทรรศน์
ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2564

Search

Read the Text Version

Received: April 18, 2021; Revised: May 7, 202ว1;าAรccสeาptรedศ: รMีลay้า2น5,ช2้า02ง1ป; ริทรรศน์ 25 วันรบั บทความ: 18 เมษายน 2564; วันแกไขบทความม: ห7าพวฤทิ ษยภาาลคยั มม2ห5า6ม4ก; ฏวุ ันรตาอชบวทริ ับยบาทลคยั วาวมทิ : ย2า5เขพตฤศษภรลีาคา้ มนช2า้5ง64; การบรหิ ารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององคก รปกครองสวนทอ งถิ่น อำเภอนาดวง จงั หวัดเลย GOOD GOVERNANCE-BASED ADMINISTRATION OF LOCAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATIONS, NA DUANG DISTRICT, LOEI PROVINCE ศตวรรษ สงกาผนั มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วิทยาลัยสงฆเลย Satawat Songkaphan Mahachulalongkorn Buddhist University, Loei Religious College Correspondint Author E-mail: [email protected] บทคดั ยอ การวิจัยเรื่องการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน อำเภอนาดว ง จงั หวัดเลยนี้ เปนการวิจัยเชิงสำรวจ มวี ัตถปุ ระสงคเ พอ่ื (1) ศึกษาความคดิ เห็นเก่ียว การบริหารงานตามหลักธรรมาภบิ าลของขององคกรปกครองสวนทองถิ่น อำเภอนาดวง จังหวัด เลย และ (2) เปรยี บเทียบขององคกรปกครองสวนทองถิ่น อำเภอนาดวง จังหวดั เลย จำแนกตาม อายุ และระดับการศึกษา ประชากร ที่ใชในการศึกษาครัง้ นี้คือ พนักงานสวนตำบลและลูกจางใน องคกรปกครองสวนทองถิน่ อำเภอนาดวง จังหวดั เลย จำนวน 212 คน กลุม ตัวอยางจำนวน 139 คนโดยวิธีการใชสูตรการคำนวณขนาดตัวอยางดวยวิธีของ Taro Yamane เครื่องมือที่ใชใน การศึกษาเปนแบบสอบถาม ประกอบไปดวยเนื้อหา 2 สวน และสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล คือสถิติพรรณนา ไดแก จำนวน รอยละ คา เฉล่ีย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานสำหรับศึกษาขอมูล ท่ัวไปของกลมุ ตวั อยา ง สถติ ิเชงิ อนุมาน ไดแ ก T-test และ F-test ผลการวิจัยพบวา ความคดิ เห็นเก่ียวกับการบรหิ ารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององคกร ปกครองสวนทองถิ่นอำเภอนาดวง จังหวัดเลยโดยภาพรวมอยูในระดับมาก ( �X = 3.56, S.D. = 0.87) และเม่ือพจิ ารณารายดาน พบวา ดานทม่ี ีคาเฉล่ยี สงู สดุ คือ ดานหลกั ความรับผดิ ชอบ ( �X = 3.67, S.D. = 0.97) รองลงมา คือ ดานหลักความโปรงใส (X� = 3.57, S.D.= 1.09) และดานที่มี คาเฉล่ยี นอยทสี่ ดุ คอื ดา นหลกั การมสี ว นรว ม ( �X = 3.44, S.D. = 0.92) ผลการเปรียบเทียบความ

26 วารสารศรีล้านช้างปริทรรศน์ ปที ่ี 7 ฉบับท่ี 1 มกราคม – มิถนุ ายน 2564 คิดเหน็ เก่ยี วกับการบรหิ ารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององคกรปกครองสว นทองถ่ินอำเภอนาดวง จงั หวัดเลย โดยจำแนกตามอายุ และระดับการศึกษา โดยภาพรวม พบวา ไมมีความแตกตา งกัน คำสำคัญ: หลกั ธรรมาภิบาล; การบรหิ าร; องคกรปกครองสวนทองถ่นิ ; Abstract The research, titled “Good Governance-based Administration of Local Administrative Organizations, Na Duang District, Loei Province,” was conducted by the survey research methodology. The objectives of the research were (1) to study the opinions of people on administration, based on good governance, of local administrative organizations in Na Duang district, Loei province, and (2) to compare the people’s opinions on good governance-based administration, Na Duang district, Loei province, classified by their age and educational level. The samples of the research were 139 people from five local administrative organizations, Na Duang district, Loei province, selected by Taro Yamane’s sampling method (Yamane, 1973). The instruments used for data collection comprised of the five-point rating scale questionnaire, and the descriptive statistics used for data analysis consisted of percentage, mean, and standard deviation whereas the statistics used for the research hypothesis were the t-test and one way analysis of variance (ANOVA). The findings of the research were as follows: The opinions of people on administration based on good governance of local administrative organizations, Na Duang district, Loei province, was found to be overall at a high level (�X = 3.56, S.D. = 0.87). Separately considered in the descending order, responsibility was found to be at the highest level (X� = 3.67, S.D. = 0.97), followed by transparency (X� = 3.57, S.D. = 1.09), and cooperation was found to be at the lowest level (X� = 3.44, S.D. = 0.92). The comparison of people’s opinions on good governance-based administration of local administrative organizations, Na Duang district, Loei province, classified by their gender and educational level, was found not to be different. Keywords: Good Governance; Administration; Local Administrative Organization;

วารสารศรีล้านช้างปริทรรศน์ 27 มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตศรลี า้ นชา้ ง บทนำ ธรรมาภิบาลเปนหลักการบริหารที่เกิดขึ้นหลังจากการประชุมทางดานรัฐประศาสน ศาสตรทีเ่ มืองมินนาวบรูค ในป ค.ศ.1968 หรอื ป 2511 ประเทศสหรัฐอเมริกา (วรี ะศักด์ิ เครือเทพ, 2547: 13) ซึ่งถือวาเปนการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน (Paradigm Shift) ของการบริหารจัดการ ภาครัฐทีแ่ ตเ ดมิ พิจารณาจากบทบาทของภาครัฐท่ีมีตอประชาชนมาสูบทบาทของภาคประชาชนที่ มีความสำคัญเดน ชัดมากขึน้ จากการบริหารการปกครองไปสู ความเปนธรรมาภิบาล (จรัส สุวรรณ มาลา, 2546: 15) แนวความคิดเรือ่ งหลักธรรมาภิบาล (Good Governance) ถกู นำเสนอเปนครง้ั แรก โดยองคกรระหวางประเทศ คือ ธนาคารโลก และองคการพัฒนาแหงสหประชาชาติ ซึ่งมี ความหมายสากล คอื ระบบโครงสรางและกระบวนการตาง ๆ ที่วางกฎเกณฑค วามสมั พันธร ะหวาง เศรษฐกิจ การเมือง และสังคมของประเทศ โดยเฉพาะภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน เพื่อ พฒั นาการอยูร วมกนั อยา งสงบสขุ (อรยิ ธัช แกวเกาะสะบา, 2548) ประเทศไทยไดใหความสำคัญเรื่องหลักธรรมาภิบาลอยางมาก ภายหลังประเทศเกิด วกิ ฤตเศรษฐกิจ ใน พ.ศ. 2540 เมื่อมีการบังคับใชรัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ก็ยังมุงเนนการพัฒนาใหสัมพันธกับหลักธรรมาภิบาล โดยสงเสริมการมีสวนรวมทางการ เมืองของภาคประชาชน ตลอดถึงเรื่องการตรวจสอบอำนาจรัฐโดยภาคประชาชนและองคกรท่ี เกี่ยวของ โดยใน พ.ศ. 2542 คณะรัฐมนตรีไดออกระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี วาดว ยการสราง ระบบบริหารกิจการบานเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ. 2542 เพื่อนำหลักธรรมาภิบาลไปปรับใชใน องคกรภาครัฐและภาคเอกชนซึ่งมกี ารพัฒนาการอยางตอเนื่อง และใน พ.ศ. 2545 ก็ไดมีการตรา พระราชบัญญัติระเบียบบรหิ ารราชการแผนดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 โดยเพ่ิมมาตรา 3/1 ซึ่งมี หลักการเพื่อมุงเนนใหสวนราชการใชวิธีการบริหารบานเมืองที่ดี มาเปนแนวทางในการปฏิบัติ ราชการ องคกรปกครองสว นทองถิ่น อำเภอนาดวง จังหวัดเลย ประกอบดวย เทศบาลตำบล 2 แหง องคก ารบรหิ ารสว นตำบล 3 แหง รวม 5 แหง เพือ่ อำนวยประโยชนใหแกประชาชน หรอื การ นำบรกิ ารตาง ๆ ไปสปู ระชาชน ไดด ำเนนิ การตามหลกั ธรรมาภิบาลในหลกั การหนง่ึ หลักการใดหรือ ในทุกหลักการแลวจะตองพึงระลึกวาตองมีการเผยแพรประชาสัมพันธใหสาธารณะชนทั่วไปได รับทราบอยางเปนระบบท่วั ถงึ และตอเน่อื ง

28 วารสารศรีล้านช้างปริทรรศน์ ปีที่ 7 ฉบับท่ี 1 มกราคม – มถิ นุ ายน 2564 ดังนั้นผูวิจัยจึงมีความสนใจที่จะทำการศึกษาเกี่ยวกับการบริหารจัดการตามหลัก ธรรมมาภิบาลขององคกรปกครองสวนทองถิ่น อำเภอนาดวง จังหวัดเลย เพื่อนำขอมูลไปใช พฒั นาการทำงานขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน อำเภอนาดวง จงั หวดั เลยตอ ไป วตั ถปุ ระสงคการวจิ ยั 1. ศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของขององคกร ปกครองสวนทองถ่นิ อำเภอนาดว ง จังหวัดเลย 2. เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวการบรหิ ารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององคกร ปกครองสวนทองถิ่น อำเภอนาดว ง จงั หวัดเลย จำแนกตาม อายุ และระดับการศกึ ษา สมมุติฐานการวิจยั 1. พนกั งานสว นตำบลและลกู จางท่ีมีอายุตางกันมีความคิดเหน็ เก่ียวการบรหิ ารงานตาม หลักธรรมาภบิ าลขององคก รปกครองสว นทอ งถนิ่ อำเภอนาดว ง จงั หวัดเลยแตกตางกนั 2. พนักงานสวนตำบลและลูกจางที่มีระดับการศึกษาตางกันมีความคิดเห็นเกี่ยวการ บริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององคกรปกครองสวนทองถิ่น อำเภอนาดวง จังหวัดเลย แตกตา งกนั

วารสารศรีล้านช้างปริทรรศน์ 29 มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตศรลี า้ นชา้ ง กรอบแนวคิดการวิจัย การวจิ ัยความคดิ เห็นเกย่ี วการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของขององคกรปกครอง สว นทองถิน่ อำเภอนาดว ง จังหวัดเลยมีกรอบแนวคดิ การวจิ ัยดงั นี้ ตวั แปรตน ตวั แปรตาม ปจจยั สวนบคุ คล การบริหารงานตามหลกั ธรรมาภิบาล 1. อายุ 1. ดา นหลักนิตธิ รรม 2. ดา นหลกั คุณธรรม - ไมเ กนิ 30 ป 3. ดานหลักความโปรงใส - 30 – 50 ป 4. ดานหลกั การมีสวนรว ม - 51 ปข ้นึ ไป 5. ดานหลักความรบั ผิดชอบ 2. ระดบั การศึกษา 6. ดา นหลกั ความคมุ คา - ต่ำกวา ปรญิ ญาตรี - ปริญญาตรีขนึ้ ไป ภาพท่ี 1 กรอบแนวคดิ การวิจัย ระเบยี บวิธีวจิ ัย 1. ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากร ที่ใชในการศกึ ษาครั้งน้ีคือ พนกั งานสวนตำบลและลูกจางในองคกรปกครอง สวนทอ งถ่ิน อำเภอนาดว ง จังหวัดเลย จำนวน 212 คน กลมุ ตวั อยา งจำนวน 139 คนโดยวิธีการใช สูตรการคำนวณขนาดตัวอยา งดวยวิธีของ Taro Yamane (Yamane, 1973, อางใน จักรกฤษณ โพดาพล, 2563: 99) เมอ่ื ไดขนาดกลมุ ตวั อยา งผูวิจัยไดท ำสมุ แบบแบง ชัน้ ภูมิ โดยยึดตามหนวยงาน หลงั จากน้นั ไดทำการสุมอยางงายดว ยวิธีการจบั สลากรายช่อื เพือ่ ระบุผใู หขอมลู

30 วารสารศรีล้านช้างปริทรรศน์ ปีที่ 7 ฉบับท่ี 1 มกราคม – มิถนุ ายน 2564 ตารางท่ี 1 แสดงประชากรและกลมุ ตัวอยา ง รายชือ่ ประชากร (คน) วธิ หี าสัดสว น กลมุ ตวั อยา ง (คน) เทศบาลตำบลนาดวง 98 98 ×139 ÷212 64 เทศบาลนาดอกคำ 66 66 ×139 ÷212 43 องคก ารบริหารสวนตำบลนาดว ง 15 15 ×139 ÷212 10 องคก ารบรหิ ารสว นตำบลทาสะอาด 16 16 ×139 ÷212 11 องคก ารบรหิ ารสว นตำบลทาสวรรค 17 17 ×139 ÷212 11 รวม 212 139 2. เครอ่ื งมือการทำวิจยั เครอ่ื งมือที่ใชใ นการเก็บรวบรวมขอมลู ครง้ั น้ี คอื แบบสอบถาม ซ่ึงแบง ออกเปน 2 ตอน ตอนที่ 1 เกี่ยวกับปจจัยสวนบุคคล ไดแก อายุ และระดับการศกึ ษาเปนแบบสอบถาม แบบปลายปด (Close-ended Question) ซงึ่ เปน แบบเลอื กตอบ (Check List) ตอนที่ 2 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของของ องคกรปกครองสวนทองถิ่น อำเภอนาดวง จังหวัดเลย เปนแบบสอบถามมาตราวัด 5 ระดับ (5 rating scale questionnaire) ซึง่ มเี กณฑก ารวัด 5 ระดบั ดงั นี้ 5 หมายถึง มีการบรหิ ารงานตามหลักธรรมาภิบาลอยใู นระดับ มากท่สี ุด 4 หมายถึง มีการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลอยใู นระดบั มาก 3 หมายถงึ มีการบรหิ ารงานตามหลักธรรมาภิบาลอยใู นระดบั ปานกลาง 2 หมายถงึ มีการบรหิ ารงานตามหลักธรรมาภิบาลอยใู นระดบั นอ ย 1 หมายถงึ มีการบริหารงานตามหลกั ธรรมาภิบาลอยูในระดับ นอยท่ีสดุ โดยมีการแปลความหมายคาเฉลี่ยของแบบสอบถาม โดยใชเกณฑดังน้ี (บุญชม ศรี สะอาด, 2535: 99) 4.51 – 5.00 หมายถงึ ระดับการบรหิ ารงานตามหลักธรรมาภิบาลอยูใ นระดบั มากทสี่ ดุ 3.51 – 4.50 หมายถึง ระดบั การบรหิ ารงานตามหลักธรรมาภิบาลอยใู นระดับมาก 2.51– 3.50 หมายถึง ระดบั การบริหารงานตามหลกั ธรรมาภิบาลอยูในระดับปานกลาง 1.51 – 2.50 หมายถงึ ระดับการบริหารงานตามหลกั ธรรมาภิบาลอยูในระดบั นอย

วารสารศรีล้านช้างปริทรรศน์ 31 มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตศรลี า้ นชา้ ง 1.00 – 1.50 หมายถงึ ระดับการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลอยูใ นระดับนอ ยทีส่ ุด ผลการวจิ ัย 1. ความคิดเห็นเกย่ี วการบริหารงานตามหลักธรรมาภบิ าลของขององคกรปกครองสวน ทอ งถ่ิน อำเภอนาดวง จงั หวัดเลย ตารางที่ 2 ความคิดเห็นเกี่ยวการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของขององคก รปกครอง สว นทองถิน่ อำเภอนาดวง จงั หวดั เลย ลำดับ การบรหิ ารงานตามหลกั ธรรมาภิบาล X� S.D. แปลผล 1 ดา นหลกั นิตธิ รรม 3.56 0.72 ดี 2 ดานหลักคุณธรรม 3.55 0.75 ดี 3 ดานหลักความโปรงใส 3.57 0.78 ดี 4 ดา นหลักการมสี วนรว ม 3.44 0.88 ปานกลาง 5 ดา นหลักความรบั ผดิ ชอบ 3.67 0.58 ดี 6 ดา นหลกั ความคุมคา 3.56 0.78 ดี รวม 3.58 0.77 ดี จากตาราง พบวา ความคดิ เห็นเกย่ี วกับการบรหิ ารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององคกร ปกครองสวนทองถิ่นอำเภอนาดวง จังหวัดเลย โดยภาพรวมอยูในระดับมาก (X�= 3.56, S.D.= 0.87) และเมื่อพิจารณารายดาน พบวา ดานท่ีมีคาเฉลี่ยสูงสุด คือ ดานหลกั ความรับผิดชอบ (X�= 3.67, S.D.= 0.97) รองลงมา คือ ดานหลักความโปรงใส (�X = 3.57, S.D.= 1.09) และดานที่มี คา เฉล่ยี นอ ยท่สี ุด คือ ดา นหลักการมสี วนรวม (X� = 3.44, S.D.= 0.92) 2. การเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององคกร ปกครองสว นทอ งถ่ิน อำเภอนาดว ง จงั หวัดเลย จำแนกตาม อายุ และระดับการศกึ ษา ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของ องคกรปกครองสวนทองถิ่นอำเภอนาดวง จังหวัดเลย โดยจำแนกตาม อายุและระดับการศึกษา โดยภาพรวม พบวา ไมมคี วามแตกตา งกัน

32 วารสารศรีล้านช้างปริทรรศน์ ปีที่ 7 ฉบับท่ี 1 มกราคม – มถิ ุนายน 2564 การอภปิ รายผลการวจิ ยั 1. ความคิดเห็นเกยี่ วการบรหิ ารงานตามหลักธรรมาภิบาลของขององคกรปกครองสวน ทอ งถ่ิน อำเภอนาดวง จงั หวัดเลย ความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององคกรปกครองสวน ทองถิ่นอำเภอนาดวง จังหวัดเลย โดยภาพรวมอยูในระดับมาก และเม่ือพิจารณารายดาน พบวา ดานทม่ี คี า เฉลยี่ สูงสดุ คือ ดา นหลกั ความรบั ผิดชอบ รองลงมา คอื ดานหลกั ความโปรง ใส และดาน ท่ีมคี าเฉล่ียนอ ยที่สุด คือ ดานหลกั การมีสว นรว ม ทั้งนี้อาจเปนเพราะวาในชวงเวลาปจจบุ นั ไมไดม ี การเลือกตั้งผูบริหารทองถิ่นมาเปนเวลานานนับตั้งมีการปฏิวัติรัฐประหารในป 2557 ทำให ผูบริหารทองถิ่นและสมาชิกสภาทองถ่ินไดสิทธ์ิในการบรหิ ารอยางตอเนื่องมายาวนาน เรยี กไดวา ผกู ขาดอำนาจการบรหิ ารทำใหการสรา งการมสี วนรวมกับภาคสว นตาง ๆ ลดนอ ยลง สอดคลอ งกับ องคกรไอลอว (2562) ไดกลาวไววา ตลอดเกือบ 5 ป ที่ประเทศตองอยูภายใตการปกครองของ คณะรักษาความสงบแหงชาติ (คสช.) ดเู หมอื นขอบเขตของการมสี ว นรวมของประชาชนในมิติตาง ๆ จะดแู คบลงไปถนดั ตา ทงั้ นี้ หากจะพอสรปุ สาเหตขุ องทท่ี ำใหก ารสวนรว มของประชาชนมีขอจำกัด ก็เพราะ คสช. ตองการจะผูกขาดอำนาจในการออกกฎหมายและนโยบาย ในขณะเดยี วกันก็เปดให ประชาชนมีสวนรว มไดเทาที่ คสช. กำหนด หากล้ำเสนมากไปกวานั้น อำนาจรัฐจะเขา มาจัดการ กบั ประชาชนทีไ่ มย อมเชอ่ื ฟง 2. การเปรยี บเทียบความคิดเห็นเกี่ยวการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององคกร ปกครองสวนทอ งถิ่น อำเภอนาดว ง จงั หวัดเลย จำแนกตาม อายุ และระดับการศกึ ษา ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของ องคกรปกครองสวนทองถิ่นอำเภอนาดวง จังหวัดเลย โดยจำแนกตาม อายุ และระดับการศึกษา โดยภาพรวม พบวา ไมม ีความแตกตางกนั ท้ังนีอ้ าจเปน เพราะวาในชวงในชวงทผี่ านมาประเทศไทย อยูกับการปฏิวัติรัฐประหารอยางตอเนื่องยาวนานทำใหค วามรูสึกในการมีสวนรวมในการทำงาน เปล่ยี นแปลงไปอยางเหน็ ไดช ัดทุกเพศ ทุกวยั ซึ่งบรรยากาศเหลาน้เี กิดจากการความใหสำคัญการ ปกครองสวนทองถิ่นลดลงในชวงหลังปฏิวัติ สอดคลองกับ ศิริวดี วิวิธคุณากร และคณะ (2563: 361) กลาววา ปรากฎการณการรัฐประหาร พ.ศ. 2557 โดยคณะรักษาความสงบแหงชาติ ไดเขา มาควบคุมอำนาจ การปกครองประเทศในชวงระยะเวลาพฤษภาคม พ.ศ. 2557 – การเลือกตั้ง ท่ัวไปเมือ่ วันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 พบวา การปกครองทองถิ่นถกู แชแข็ง การเคลื่อนไหวของ

วารสารศรีล้านช้างปริทรรศน์ 33 มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตศรลี า้ นชา้ ง ทอ งถิ่นถูกปดกัน้ ดวยประกาศจากคณะรักษาความสงบเรียบรอยแหงชาติ และการกระจายอำนาจ จากราชการสวนกลางสูทองถิ่นเปนประเด็นที่มีการพูดถึงนอยท่ีสุด ในทางตรงกันขาม และในยุค รัฐบาลนั้นมีแตแนวโนมทำใหการปกครองสวนทองถิ่นออนแอลง ราชการสวนกลางและสวน ภูมิภาคกลับเติบโตขึ้นอยางชัดเจน ไมไดใหความสำคัญกับการกระจายอำนาจไปสูทองถิ่นอยา งมี นยั สำคญั การกระจายอำนาจไปสทู อ งถ่นิ สูประชาชนถือวาลดเลือนลงไปอยางมาก ขอเสนอแนะการวิจยั 1. ขอ เสนอแนะเชิงนโยบาย 1) ดานหลักนิติธรรม ทองถิ่นควรสงเสริมปฏิบัติงานโดยยึดหลักความถูกตองตาม กฎระเบียบขอบงั คบั 2) ดานหลักคุณธรรม ทองถิ่นควรมีมาตรการและแนวทางบริหารงานโดยยึดหลัก ความถกู ตอ ง เปน ธรรมและเสมอภาค 3) ดานหลักความโปรง ใส ทองถิ่นควรมีชองทางเปดเผยการบริหารงานของเทศบาล ตอ สาธารณะ ที่หลากหลาย 4) ดานหลักการมีสวนรวม ทองถิ่นควรเปดโอกาสใหบุคลากรมีอิสระที่จะเสนอ ความคดิ และสามารถแสดงความคิดเห็นในการแกป ญหารวมกนั 5) ดานหลักความรับผิดชอบ ทองถิ่นควรเอาใจใสตอปญหาของประชาชนและเรง แกไขเพ่อื บรรเทาความเดอื ดรอ นตามนโยบายทตี่ ั้งไว 6) ดานหลักความคมุ คา ทองถ่ินควรมีการจัดสรรการใชท รพั ยากรอยางคุมคาใหเ กิด ประโยชนสงู สดุ 2. ขอ เสนอแนะในการวิจัยครง้ั ตอ ไป 1) ควรมีการศึกษารูปแบบการบรหิ ารงานตามหลักธรรมาภบิ าลขององคกรปกครอง สวนทอ งถิน่ อำเภอนาดว ง จงั หวัดเลย 2) ควรมีการศึกษาขอเสนอเชิงนโยบายการมีสวนรวมในการบริหารงานตามหลัก ธรรมาภิบาลขององคก รปกครองสวนทองถิ่น อำเภอนาดวง จงั หวัดเลย

34 วารสารศรีล้านช้างปริทรรศน์ ปีท่ี 7 ฉบับท่ี 1 มกราคม – มถิ นุ ายน 2564 องคความรูใหม ความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององคกรปกครองสวน ทอ งถิ่นอำเภอนาดวง จังหวัดเลย โดยภาพรวมอยูในระดบั มาก และเม่ือพิจารณารายดาน พบวา ดานทีม่ คี าเฉลีย่ สงู สุด คอื ดานหลกั ความรับผิดชอบ รองลงมา คอื ดา นหลกั ความโปรงใส และดาน ที่มีคาเฉลี่ยนอยที่สุด คือ ดานหลักการมีสวนรวม การเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับการ บริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององคกรปกครองสวนทองถิ่นอำเภอนาดวง จังหวัดเลย โดย จำแนกตาม อายุ และระดับการศกึ ษา โดยภาพรวม พบวา ไมมีความแตกตา งกัน เอกสารอางองิ จรัส สุวรรณมาลา. (2546). การมสี วนรว มของพลเมืองในการปกครองทอ งถิ่น. รฐั สภาสาร. 2(51). จักรกฤษณ โพดาพล. (2563). สถิติเพื่อการวิจัย และการใชโปรแกรม SPSS ในการวิจัย. เลย: สำรวยกอ ปปบ านใหม. บุญชม ศรสี ะอาด. (2535). หลกั การวจิ ยั เบ้ืองตน . พมิ พครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สุวรี ยิ าสาสน. วีระศักดิ์ เครือเทพ. (2548). นวัตกรรมสรางสรรคขององคกรปกครองสวนทองถิ่น. กรุงเทพมหานคร: สำนกั งานกองทุนสนบั สนนุ การวจิ ัย (สกว.). ศิริวดี วิวิธคุณากร และคณะ. (2563). การปกครองทองถิ่นไทยในยุคพลิกผันการเปลี่ยนแปลง. วารสารการบริหารการปกครองและนวัตกรรมทองถิ่น: ปที่ 4 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม- สิงหาคม, 2563), (หนา 357 – 374). อรทัย ทวีระวงษ. (2557). การบรหิ ารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององคกรปกครองสวนทองถิ่น อำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี. วิทยานิพนธปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. (สาขาวิชาการจัดการ). กาญจนบุร:ี บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั ราชภัฏกาญจนบรุ .ี อริยธัช แกว เกาะสะบา. (2548). ธรรมาภิบาลกบั หลักสิทธิเสรีภาพในรัฐธรรมนญู . กรุงเทพฯ: พิมพ ลักษณ. iLaw. (2562). “มีสวนรวมไดเทาที่เขากำหนด” บทสรุปการมีสวนรวมยุค คสช. ออนไลน. สืบคนเมอ่ื 12 มกราคม 2564 แหลงสบื คน https://ilaw.or.th/node/5222