25 สว่ นบุญท่ีญาติอุทศิ ให้ ได้แก่ ผ้ทู ่ีตายไปเกิดในนรกเกิดเป็นสัตว์ดิรัจฉานเกดิ เป็นมนุษย์เกิดเป็นเทวดา สตั ว์เหล่านี้จะมีอาหารเฉพาะตนอยแู่ ล้วฉะน้ันบุญท่ีญาตอิ ุทิศไปให้เขาจึงไม่ได้รับ แต่ถ้าหากผู้ตายไป เกดิ เป็นเปรตญาติทำบุญอุทิศให้สัตวป์ ระเภทน้ีจงึ จะได้รบั และการท่ีญาติทั้งหลายท่ีตายไป แล้วจะไม่ ไปเกดิ เป็นเปรตก็เป็นไปไม่ได้เพราะเวลาผ่านมาชา้ นานแล้วกรรมหรอื การกระทำท่ีทำให้ไปเกดิ ในนรก สัตว์เดรัจฉาน ได้แก่ เป็นผู้ฆ่าสัตว์สักทรัพย์ ประพฤติผิดในกาม พูดเท็จ พูดส่อเสียด พูดคำหยาบ พดู เพ้อเจ่อ มคี วามอยากไดข้ องผอู้ ื่นมจี ิตปองร้ายมคี วามเหน็ ผดิ สว่ นการกระทำทท่ี ำใหไ้ ปเกิดเปน็ มนษุ ย์หรือเทวดาก็คอื การไม่กระทำกรรมดังกล่าวข้างต้น นบ้ี างคนแม้จะกระทำการฆ่าสัตว์ลกั ทรัพย์ ฯลฯ มีความเหน็ ผิด แตไ่ ดใ้ หท้ านด้วยข้าวน้ำผ้ายานมาลา ของหอมเครื่องลบู ไล้ทน่ี อนทพี่ ักและเครื่องประทปี แกส่ มณพราหมณ์เม่ือตายไปจะไปเกดิ เป็นช้างหรือ สุนัขจะมีข้าวนำ้ มาลาและเคร่ืองประดบั ตา่ ง ๆ เพราะกรรมคือการให้ทานนั้นบางคนเมือ่ มชี ีวิตอยู่เว้น ขาดจากการฆ่าสัตว์ ฯลฯ มคี วามเห็นชอบได้ให้ทานแก่สมณพราหมณ์เมอื่ ตายไปจะไปเกดิ เป็นมนุษย์ หรือเทวดาจะได้รับเบญจกามคุณท่ีเป็นของมนุษย์ และ เบญจกามคุณของเทวดาเพราะกรรมคือการ ให้ทานน้ันการให้ทานถือเป็นหลักปฏิบัติอย่างหน่ึงของพุทธศาสนิกชนและจากประโยชน์ของการให้ ทานทีก่ ลา่ วมาพอสรปุ ได้ ดังน้ี 1. ประโยชน์ในปัจจุบัน (ทิฏฐธัมมิกัตถะ) เป็นประโยชน์ข้ันต้นที่ผู้ให้ทานจะจึงได้รับเป็น ประโยชนท์ เ่ี ห็นไดโ้ ดยง่ายเชน่ การไดค้ วามรักความพอใจคนดเี ข้ามาคบหาสมาคมดว้ ยชื่อเสียงอนั ดีงาม ย่อมขจรไปทั่วมีทรัพย์สมบัตมิ ฐี านะมีชวี ติ ทเ่ี ป็นสุขโดยสรปุ คอื มลี าภยศสขุ สรรเสรญิ 18 2. ประโยชน์ในเบ้ืองหน้า (สัมปรายกัตถะ) เป็นประโยชน์ระดับกลางมีความลึกซึ้งกว่า ระดบั แรกเป็นคุณคา่ ของชวี ิตภายใน ท่สี ามารถจะพัฒนาให้กา้ วเข้าไปสู่ระดับสงู ระดับนี้ จะไม่ยึดติด ในวัตถุ แต่จะให้ความสำคัญแก่ คุณธรรมยึดมั่นในการทำความดีดำเนินชีวิตอยู่เหนือแรงจูงใจ ทาง วตั ถุเปน็ อยูอ่ ย่างมีความหวังในชีวติ มีการสมาคมกบั คนอนื่ ด้วยความจริงใจกระทำกจิ ท่ีชอบธรรมดว้ ย ความรักร้จู ักฝกึ ฝนตนเองควบคมุ อารมณ์ฝา่ ยตำ่ ไม่ลว่ งล้ำกระทำความผิดมีความอดทนและมชี ีวิต เพื่อ ผูอ้ ืน่ โดยการเสียสละแบง่ ปัน เออ้ื อาทรต่อคนอืน่ เปน็ ต้น19 3. ประโยชน์สูงสุด (ปรมัตถะ) 1) เป็นประโยชน์ระดับสูงสุดท่ีสืบเนื่องมาจากระดับ และ 2) เป็นอานิสงส์ขั้นสุดท้ายแห่งการให้ทานเป็นชั้นที่จะบรรลุสาระแห่งชีวิต คือ รู้แจ้งแห่งสภาพของ สรรพสิ่งตามความเป็นจริงเปน็ ผูห้ มด เครอื่ งผูกรัดทง้ั ปวงถึงความหลุดพ้น (วิมุตติ) และได้ปฏิสัมภิทา เป็นต้น20 18องฺ.อฏฐฺ ก. 23/144/289. 19เร่อื งเดยี วกนั . 20เรอ่ื งเดยี วกัน.
26 2.2 การบำเพญ็ ทานบารมี เพ่ือให้ประเด็นที่จะอภิปรายชัดเจนขึ้นในที่น่ีจึงได้ศึกษา คำว่า บารมี ในพระไตรปิฎก คัมภีร์ปกรณ์พิเศษ อรรถกถา และคัมภีร์อื่น ๆ ความหมายในคัมภีร์เหล่านั้นก็ย่อมจะแตกต่างกันไป ในที่นี่จะศึกษาเฉพาะความหมายของคำว่า บารมี ท่ีเกี่ยวขอ้ งกับทานบารมีท่ศี ึกษาในงานวิจยั นี้ บารมี หมายถึง คุณความดีที่ควรบำเพ็ญมี 10 อย่าง ได้แก่ ทานบารมี ศีล เนกขัมมะ ปัญญา วิริยะ ขันติ สัจจะ อธิฏฐาน เมตตา อุเบกขา คุณความดีท่ีได้บำเพ็ญมา คุณสมบัติที่ทำให้ ยง่ิ ใหญ่21 พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต) ให้ความหมายไวว้ ่า บารมี คือ ปฏิปทาอันยวดยิ่ง, คุณธรรม ท่ีประพฤติปฏิบัติอย่างย่ิงยวดทคือ ความดีที่บำเพ็ญอย่างพิเศษ เพ่ือบรรลุซ่ึงจุดหมายอันสูง เช่น ความเป็นพระพุทธเจ้า และความเปน็ มหาสาวก เป็นต้น22และไดอ้ ธบิ ายโดยศัพท์ความว่า คำวา่ บารมี นน้ั โดยตัวศัพท์แปลว่า ความจบถ้วน ภาวะทย่ี อดยง่ิ สดุ ยอด เต็มเปี่ยม หมายถงึ คุณความดที ่ีบำเพ็ญ อย่างย่ิงของพระโพธิสัตว์ไม่ว่าจะเป็นมหาโพธิสัตว์(ท่านผู้มุ่งต่อการตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า) ปัจเจกพุทธเจ้า (ท่านผู้มุ่งต่อการตรัสรู้เป็นพระปัจเจกพุทธเจ้า) หรือสาวกโพธิสัตว์ (ท่านผู้มุ่งต่อการ ตรัสรูเ้ ปน็ พระอรหนั ตสาวก) ก็ตาม โดยทั่วไป จะหมายถึงมหาโพธิสัตว์ คอื ท่านผู้มุ่งต่อการตรัสรู้เป็น พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ดังนั้น จึงสามารถสรุปได้ว่า บารมี คือ การบำเพ็ญคุณความดีงามที่พ่ึงปฏิบัติอย่างยิ่งยวด ของพระโพธิสัตว์ ซึ่งเมื่อยึดปฏบิ ัตแิ ล้ว จะชว่ ยให้บรรลุจุดมงุ่ หมายสูงสดุ ตามมโนปณิธานที่ได้ต้ังความ ปรารถนาไว้ พระโพธสิ ัตวท์ ุก ๆ พระองค์ ทรงปฏิบัติบารมี เพื่อจดุ มุ่งหมายสูงสดุ ของพระศาสนา คือ การช่วยมนุษย์ให้หลุดพ้นจากวัฏฏะสงสาร บารมี ก็เป็นข้ันตอนนำไปสู่ ซึ่งการบรรลุธรรมและการ ช่วยเหลือมนุษยใ์ ห้หลดุ พ้นได้ ทาน หมายถึง การให้ และเป็นการให้เพือ่ บูชาคุณ เพอื่ ตอบแทนคุณหรือเพื่อสงเคราะห์23 ทาน หมายถึง จาคเจตนา กล่าวคอื 24 การให้ทานต้องมีเจตนาเป็นสำคัญจึงสละส่ิงท่ีจะให้ ไดแ้ ละเจตนาน้ันต้องประกอบดว้ ยลกั ษณะ 3 ประการ ดงั น้ี 1) มีความเชอื่ 2) มีความละอายต่อบาป 21ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525, พิมพ์ครั้งที่ 6, (กรุงเทพฯ : อักษรเจรญิ ทศั น์. 2539), หน้า 303. 22พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), พุทธธรรม,. (กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2538), หนา้ 284. 23ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2525, อา้ งแลว้ , หนา้ 315. 24มหามกุฏราชวิทยาลัย, มังคลตฺถทีปนี แปล เล่ม 3, (กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2531), หนา้ 2.
27 3) ใหส้ งิ่ ทีเ่ ปน็ ประโยชน์25 ทาน หมายถึง การให้อภัย26 ตามความหมายนี้ ท่านหมายเอาการงดเวน้ จากเวรภัย ได้แก่ การรักษาศีล มีเว้นจากการฆ่าสัตว์ เป็นต้น การรักษาศีล เป็นการให้ทานอย่างหนึ่ง ถือเป็นการให้ ยิ่งใหญ่ เพราะเปน็ การใหต้ วามปลอดภยั ในชวี ติ สัตว์ทงั้ หลาย ทาน หมายถงึ วัตถุทาน27 ท่านประสงคเ์ อาการให้ส่ิงของ มีขา้ ว น้ำ เป็นตน้ ดังน้ัน ทาน จึงหมายถึง การให้ การเสียสละส่ิงของ โดยมีเจตนาดี เพื่อเป็นประโยชน์แก่ ผอู้ ่นื รวมไปจนถงึ การให้อภยั ทถ่ี อื ว่าเปน็ การให้ทย่ี ่งิ ใหญ่ เรยี ก อภยั ทาน เมอื่ พิจารณาจากความหมายของ คำท้ังสอง ทานบารมี จึงหมายถึง การบำเพญ็ คุณความดี งามท่ีพึ่งปฏิบัติอย่างย่ิงยวดของพระโพธิสตั ว์ ซึ่งเม่ือยึดปฏิบัติแล้ว จะช่วยให้บรรลุจุดมุ่งหมายสูงสุด ตามมโนปณิธานที่ได้ต้ังความปรารถนาไว้ และการให้ การเสียสละส่ิงของ โดยมีเจตนาดี เพ่ือเป็น ประโยชน์แก่ผู้อ่นื รวมไปจนถงึ การใหอ้ ภัย ทถ่ี ือวา่ เป็นการให้ทย่ี ่ิงใหญ่ เรยี ก อภัยทาน การให้ทานที่เป็นการบำเพ็ญทานบารมี จะต้องเป็นการให้ทานท่ีต้องส่ังสมสืบเนื่องโดย ตลอดโดยไม่ขาดสาย เป็นการบำเพ็ญที่เกิดจากการอธิษฐานจิต มีการทำอภินิหาร เพ่ือมุ่งหวังพระ สัพพัญญตุ ญาณในอนาคตกาล แลว้ ปฏบิ ตั ิตามความต้งั ใจจนกวา่ จะบรรลถุ งึ จุดหมายปลายทาง โดยสรปุ ลกั ษณะของการบำเพ็ญทานบารมี มีดงั น้ี 1. ใหแ้ ก่คนหรอื สตั ว์ เพอื่ ประโยชน์แกเ่ ขาในชีวติ ท่เี ปน็ จริง 2. ให้ดว้ ยจิตใจเสยี สละแท้จรงิ โดยไม่หวังอะไรตอบแทน 3. การให้น้ัน เป็นสว่ นหนึ่งของการก้าวไปในกระบวนการฝึกฝนพัฒนาตนให้ปัญญาเจริญ สมบูรณ์ เพ่อื จะได้บำเพญ็ ประโยชนส์ ุขแกส่ รรพสตั ว์ไดบ้ รบิ ูรณ์ 4. ผู้ให้จะเป็นใครก็ได้ ไม่ว่าจนมี ใหญ่โตหรือต่ำต้อย ข้อสำคัญอยู่ที่ว่า ความเข้มแข็งเด็ด เดยี่ วมงุ่ แน่วแนไ่ ปในกระบวนการศกึ ษาพฒั นาตน ความหมายของทานบารมมี ักจะพบในชาดกเร่อื งตา่ ง ๆ โดยเฉพาะในอรรถกถาชาดก สเุ มธ ดาบสโพธิสัตว์ ได้เลือกทานบารมีเป็นประการแรกก่อนจะบำเพ็ญสีลบารมี และบารมีประการอ่ืน ๆ ตอ่ ไป ดงั ปรากฏข้อความว่า พระโพธิสตั ว์ ลุกขึ้นจากท่ีประทับ ในเวลาที่เทวดาและมนุษย์ทง้ั หลายหลีกไปแล้ว ประทับ นัง่ คู้บัลลังกบ์ นกองดอกไมด้ ้วยความดำริว่า เราจักพจิ ารณาบารมีทัง้ หลาย 25เร่ืองเดียวกัน. 26เร่อื งเดียวกัน. 27เรื่องเดยี วกัน.
28 พระโพธิสัตว์ ตกลงพระทัยดังน้ีว่า เราจะต้องเป็นพระพุทธเจ้าอย่างแน่นอน เพ่ือ จะไตร่ตรองถึงธรรมทั้งหลาย ท่ีเป็นเคร่ืองกระทำความเปน็ พระพุทธเจ้า จึงพิจารณาธรรมธาตุท้ังสิ้น ตามลำดับว่า ธรรมที่เป็นเคร่อื งกระทำความเป็นพระพุทธเจ้ามีอยู่ ณ ที่ไหนหนอแล อยู่เบื้องบนหรือ เบอ้ื งล่าง อยู่ในทิศ หรอื ทิศเฉยี งทัง้ หลาย ไดท้ อดพระเนตรเหน็ ทานบารมี อันเปน็ บารมปี ระการแรกท่ี พระโพธิสัตว์องค์ก่อน ๆ ได้ประพฤติปฏิบัติกันมาแล้ว จึงแนะนำตนเองดังนี้ว่า ดูก่อนสุเมธบัณฑิต ท่านควรบำเพ็ญทานบารมเี ป็นประการแรกให้บริบูรณ์นบั ตงั้ แต่บัดน้ีเป็นต้นไป เปรยี บเสมือนหมอ้ น้ำ ท่ีควำ่ ย่อมหล่ังน้ำออกจนหมดไม่มีเหลือ ทา่ นกจ็ ักต้องไม่แลเหลียวถึงทรัพย์สมบัติ ยศถาบรรดาศักดิ์ บุตร ภรรยา หรืออวัยวะน้อยใหญ่ ให้ทานแก่ผู้ขอท้ังหลายที่พบเข้า ทำให้ถึงที่สุดตามท่ีคนเหล่าน้ัน ตอ้ งการโดยไม่ให้เหลือ น่ังท่ีโคนต้นโพธ์ิแลว้ จะต้องเปน็ พระพุทธเจา้ พระโพธิสตั ว์น้ันจึงอธษิ ฐานทาน บารมีเปน็ ประการแรกอย่างหนกั แนน่ 28 พระโพธิสัตว์พิจารณาเห็นบารมี 10 อุปปารมี 10 และปรมัตถปารมี 10 อย่ างนี้ว่า การบริจาคข้าวของเคร่อื งใช้ทวั่ ไป ชอ่ื ทานปารมี การบริจาคอวยั วะ ชอื่ ว่า ทานอุปปารมี การบริจาค ชวี ติ ช่อื วา่ ทานปรมตั ถปารมี.29 การทีพ่ ระโพธสิ ตั ว์เลอื กทานบารมีเปน็ ประการแรกน้นั ย่อมแสดงใหเ้ ห็นถงึ ความสำคัญของ การใหท้ าน เน่อื งจากการให้ทานนี้เปน็ ธรรมทต่ี รงข้ามกับความโลภ และมัจฉริยะ (ความตระหนี่) เม่ือ บุคคลให้ทานย่อมสามารถขจัดความโลภ ความตระหน่ีในใจตนเอง ไม่ยืดม่ันถือม่ัน ไม่ยึดติดกับวัตถุ หรือแม้กระทั้งบุตร ธิดา และภรรยา สามี ซึ่งเป็นส่ิงที่จะต้องละให้ได้ในระดับ เร่ิมต้นก่อนที่ จะ บำเพญ็ บารมีในขั้นอื่น ๆ ท่ีสงู ข้ึนไป ทานบารมีน้ีมี 3 ระดับคอื ระดับบารมี ระดบั อุปบารมี และระดับ ปรมัตถบารมี การให้ทาน ของพระโพธิสตั ว์นี้ ถือว่าเป็นการกระทำที่ทำได้ยาก เพราะไม่มีความเสียดาย ในส่งิ ท่ีตนให้ มีจิตยินดแี ละมองเหน็ ประโยชน์ต่อสรรพสัตวจ์ งึ ได้ใหท้ าน โดยเฉพาะทานในระดับที่สอง คือทานอุปบารมี และปรมัตถบารมีย่ิงเป็นทานท่ีทำได้ยาก เพราะมีการสละอวัยวะบางส่วน เช่น ตา เป็นต้น หรอื การบริจาคอวยั วะใหก้ ับผู้ท่ตี อ้ งการเปล่ียนถ่ายอวยั วะเพื่อให้ใช้งานได้ตามปกติ โดยความ สมัครใจ มิใชก่ ารแลกเปลีย่ น เหล่าน้จี ัดเปน็ ทานอปุ บารมี ส่วนการบำเพ็ญปรมัตถบารมี เป็นการบำเพญ็ ทานขั้นสูงสดุ ในบรรดาการบำเพญ็ บารมีด้วย การใหท้ าน เนื่องจากการบำเพญ็ ปรมัตถบารมีนี้ ต้องสละชีวิตของตนเพ่ือผูอ้ ่ืน การยอมสละชีวิตของ ตนเพื่อผอู้ ่ืนในสังคมปัจจุบันนี้ อาจจะทำได้โดยการยอมตายเพ่ือผู้มีพระคุณ และผู้ท่ีเป็นท่ีรักของตน แต่การบำเพ็ญปรมัตถบารมี จะต้องเป็นการสละชีวิตท่ตี นเองยินดี พร้อมใจ ไม่ถูกบังคับ และสละได้ 28ขุ.อป. 33/2/295-311. 29ขุ.อป. 33/36/406-408.
29 กับทุกคน ไม่ว่าจะเป็นมิตรหรือศัตรู และต้องทำไปเพ่ือมุ่งหวังพระสัพพัญญุตญาณเพียงสิ่งเดียว เท่าน้นั การบําเพ็ญบารมีขั้นตอนแห่งความเป็นพระพุทธเจ้านั้น ใครก็ตามจะได้บรรลุความเป็น พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่านแสดงว่าต้องผ่านข้ันตอนในการพัฒนาจิตมาโดยลำดับ คือ การปลูกฝังความพอใจในความเป็นพระพุทธเจ้า ผา่ นภพชาติต่าง ๆ มาทกุ ชาติ จนถึงเปล่งวาจาแสดง ความปรารถนาที่จะเป็นพระพุทธเจ้าในภพชาติต่าง ๆ เป็นอันมากและเสริมสร้างคุณสมบัติครบ 8 ประการ ที่เรียกว่า “ธรรมสโมธาน”30 คือ การประชุมพร้อมแห่งธรรมในชาติใดชาติหน่ึง ธรรม สโมธาน 8 ประการน้นั อันไดแ้ ก่ 1.) มนุสสมบตั ิ เกดิ เปน็ มนุษยใ์ นชาติทตี่ ั้งความปรารถนาเปน็ พระพุทธเจา้ 2.) ลงิ คสมบตั ิ เป็นบรุ ุษที่สมบูรณ์ ไมม่ ีความผดิ ปกติทัง้ ทางกาย และจิต 3.) เหตุสัมปทาสมบัติ สมบูรณ์ด้วยอุปนิสัยบารมี คือหากจะออกบวชในชาตินั้น ก็จะได้ บรรลอุ รหันต์เป็นพระอรหนั ตใ์ นชาตินน้ั ได้ 4.) สัตถทุ ัสสนสมบตั ิ ได้พบเหน็ พระพุทธเจ้าพระองคใ์ ดพระองคห์ นง่ึ 5.) ปพั พชาสมบัติ ในชาตนิ ั้นตนจะตอ้ งเป็นนักบวชประเภทใดประเภทหนึง่ 6.) คณุ สมบตั ิ จะต้องเป็นผ้มู ีคณุ สมบัติพิเศษคอื ไดฌ้ านสมาบัติ 7.) อธิการสมบัติ มีการบําเพญ็ บุญญาภสิ มภารอยา่ งยวดยง่ิ แม้จะสละชีวิตกย็ อม 8.) ฉนั ทตาสมบัติ มีฉนั ทะคอื ความพอใจในพระสัพพัญญูตตญาณอย่างแรงกลา้ ทา่ นท่ีมคี ุณสมบัติครบ 8 ประการดังที่กลา่ วมาข้างต้นนี้ เม่ือได้รับการพยากรณ์หลังจากที่ ได้ตั้งความปรารถนาในสำนักของพระพุทธเจ้าแล้ว ฐานะของท่านจะเปลี่ยนเป็นพระโพธิสัตว์แล้ว จะบําเพ็ญบารมี คือ การเก็บสะสมคุณงามความดีในภพชาติต่าง ๆ เรียกว่า บําเพ็ญพุทธการกธรรม คือ ธรรมที่ทำพระโพธิสัตว์ให้ได้เป็นพระพุทธเจ้า ได้แก่ ทานบารมี สีลบารมี เนกขัมมบารมี ปัญญา บารมี ขนั ติบารมี สัจจบารมี วริ ิยะบารมี อธษิ ฐานบารมี เมตตาบารมี และอเุ บกขาบารมี บารมเี หล่าน้ี ท่านแสดงว่าต้องบําเพ็ญได้เป็น 3 ช้ัน คือ บารมี อุปบารมี และปรมัตถบารมี เม่ือบารมีทั้ง 3 ระดับ สมบูรณแ์ ล้ว31 30สุดาพร เขยี วงามดคี ติ, “ความเช่อื เร่อื งพระพุทธเจา้ ในเถรวาทและพุทธตันตระ”, วารสารสนั ติศึกษา ปรทิ รรศน์ มจร, ปีที่ 8 ฉบบั ที่ 2 (มีนาคม - เมษายน 2563) : 780. 31เรอ่ื งเดียวกนั .
30 2.2.1 ทานบารมี ทานบารมี ได้แก่ ทานท่ีบำเพ็ญด้วยการสละทรัพย์ ในขุททกนิกาย จริยาปิฎก กล่าวถึง การบำเพ็ญทานบารมีของมหาโควินทพราหมณ์โพธิสัตว์ที่ได้บริจาคมหาทานร้อยล้านแสนโกฏิ เพื่อ พระสัพพญั ญตู ญาณ32ระดบั การบำเพญ็ ทานในฐานะเปน็ บารมี ระดับที่ 1 ทานบารมี พระโพธิสัตว์โดยปกติก็มีอุปนิสัยฝักใฝ่ในทาน มีกุศลเจตนาในการให้อยู่ตลอดเวลา ให้ อามสิ ทานบ้าง ธรรมทานบ้าง ตามปกติในชีวติ ประจำวนั ชื่อว่าบำเพ็ญทานบารมีตวั อย่างการบำเพ็ญ ทานระดับนี้เช่น พระโพธิสัตว์สมัยที่เกิดเป็นพระเจ้าสิวีราชทรงบำเพ็ญทาน เรื่องมีอยู่ว่า พระเจ้าสิวี ทรงให้ทานทกุ อย่างทคี่ นท้ังหลายนิยมให้กนั โดยไมม่ ีความกังวลพระทัยในการให้ท้าวสักกะทรงทราบ พระจรยิ าวัตรของพระองค์ ประสงค์จะทดลองจึงทรงแปลงเพศเป็นคนแก่ ตาบอด ผมหงอกเดนิ ตวั สั่น เข้าไปเฝ้าพระเจ้าสวิ ีกราบทูลวา่ “ข้าแตพ่ ระมหาราชาผู้ทรงธรรม นัยนต์ าทั้งสองของขา้ พระองค์บอด เสียแล้ว ขอจงพระราชทานพระเนตรข้างหน่ึงแก่ข้าพระองค์เถิด” พระเจ้าสิวีได้ฟังคำของคนแก่น้ัน แลว้ ทง้ั ดใี จและสลดใจประคองอญั ชลีมปี ีตแิ ละปราโมทย์ ไดพ้ ระราชทานนัยน์ตาทง้ั สองข้างแกเ่ ขาโดย ไม่ลังเลพ ระ ทัยพ ร้อมกับ ตรัสกับ อำมาตย์ท้ังหลายว่าเร าบริจาค ดวงตาน้ั น เพ ราะ ยศก็ห ามิได้เร า ปรารถนาบุตร ทรัพย์และแควน้ ก็หาไม่แตน่ ี้เปน็ ธรรมของสัตบุรุษที่ทา่ นประพฤตมิ าแต่โบราณเพราะ เหตุนั้น ใจของเราจึงยนิ ดใี นการใหท้ านดวงตาท้งั 2 ข้าง เราจะเกลยี ดชังก็หาไม่ ตวั ตนเราจะเกลียดชัง กห็ าไม่ แตส่ ัพพญั ญตุ ญาณเป็นที่รกั ของเรา เพราะเหตุนน้ั เราจงึ ได้บรจิ าคดวงตา33 2.2.2 ทานอปุ บารมี ทานอุปบารมี ได้แก่ ทานที่บำเพ็ญด้วยการสละอวัยวะ เช่นดวงตา และโลหิต ใน การบำเพ็ญทานอุปบารมนี ี้ ในขทุ ทกนิกาย จรยิ าปฎิ ก กล่าวถึงพระจรยิ าของพระเจา้ สีวีราชโพธิสตั วท์ ี่ ให้ทานพระเนตรข้างหนงึ่ แกท่ ้าวสักกะ การใหท้ านครงั้ นก้ี เ็ พือ่ สัพพญั ญตู ญาณ34 ระดับที่ 2 ทานอุปบารมี อามิสทานหรือธรรมทานท่ีพระโพธิสัตว์บำเพ็ญด้วยอัธยาศัยย่ิงใหญ่ไม่มีขอบเขตและด้วย เจต น า ที่ บ ริ สุ ท ธิ์ ด้ ว ย สั จ จะ ค ว า ม จริ ง ใจ แ ละ อ ธิ ษ ฐาน ะ คื อ จิ ต ใจ ม่ั น ค ง ชื่ อ ว่ า ท าน บ าร มี ตั ว อ ย่า ง การบำเพ็ญทานระดับนี้เช่น พระโพธิสัตว์สมัยท่ีเกิดเป็นพระเวสสันดร ทรงยินดีท่ีจะบริจาคทุกอย่าง โดยท่ีสุดแมช้ ีวติ เม่อื ขึน้ ครองราชสมบัติกท็ รงบริจาคช้างปัจจัยนาค ทำให้ถกู ชาวเมืองขับออกไปอยู่ป่า พระเวสสนั ดรเมือ่ ทรงทราบสาเหตุท่ีชาวกรุงสีพโี กรธเคือง พระองค์ทรงแสดงเจตนารมณว์ ่า“เราจะให้ 32ขุ.จรยิ า. 33/37-39/547. 33ข.ุ ชา. 27/52-82 /478-483, ข.ุ ชา.อ. 7/52-82/38-55. 34ข.ุ จริยา. 33/51-66/549-551.
31 หทัยให้จักษุเงินทอง แก้วมุกดา แก้วไพฑูรย์หรือแก้วมณีซ่ึงเป็นทรัพย์ภายนอกของเราจะเป็นไรไป เมื่อยาจกมาถึง เราเห็นแล้วจะพึงให้แขนขวาแขนซ้ายก็ไม่หวั่นไหวเลยใจของเรายินดีในการให้ถึง ชาวกรุงสีพีท้ังมวลจะขบั ไลเ่ ราหรือจะเขน่ ฆ่าเรา หรือจะตดั เราออกเป็น 7 ท่อนก็ตามเถิด เราจะไม่งด การให้เลย” ขณะเสด็จออกพระนครมีคนมาขอราชรถ พระองค์ก็ทรงบริจาคขณะอยู่ในป่าชูชกมา ขอพระโอรส(ชาลี)และพระธดิ า(กัณหา)ก็ทรงบรจิ าคด้วยพระทัยแน่วแน่ต่อพระสัพพัญญูตญาณ ดังท่ี ตรสั ตอนหนึ่งว่า ชาลีลูกรัก มาน่ีเถิด เจ้าทั้ง 2 ช่วยกันบำเพ็ญบารมีของพ่อให้เต็มเถิดจงช่วยกันโสรจสรง หทัยของพ่อให้เยือกเย็นเถิด จงเชื่อฟังคำของพ่อเจ้าทัง้ 2 เป็นดุจยานนาวาของพ่ออันไม่โยกโคลงใน สาครคอื ภพเถดิ พ่อจกั ขา้ มฝั่งคอื ชาติจักชว่ ยสตั ว์โลกพรอ้ มด้วยเทวโลกใหข้ ้ามด้วย35 2.2.3 ทานปรมัตถบารมี ทานปรมัตถบารมี ได้แก่ ทานที่บำเพ็ญด้วยการสละชีวิต ในปัณฑิตจริยา กล่าวถึง การบำเพญ็ ทานปรมัตถปารมีของบณั ฑติ พระโพธิสตั ว์ทอี่ ุทิศรา่ งกายให้เป็นทานแก่พราหมณ์36 ทานบารมีที่พระโพธิสัตว์บำเพ็ญควบคู่กับอธิษฐานบารมีช่ือว่าทานปรมัตถบารมีตัวอย่าง การบำเพ็ญทานระดบั นีเ้ ชน่ พระโพธสิ ตั วส์ มยั ที่เกิดเป็นกระต่ายป่า บำเพ็ญทาน เรื่องมีอยู่ว่า กระต่ายอาศัยอยู่ในป่ากับเพ่ือนสัตว์ 3 ตัว คือ ลิง สุนัขจ้ิงจอก และนาก สตั ว์ทัง้ 4 มนี ิสัยเปน็ บณั ฑิต อยู่ร่วมกนั เวลาเยน็ ก็มาประชมุ ร่วมกนั กระต่ายบัณฑติ ก็อบรม ส่งั สอนว่า “ควรใหท้ าน ควรรักษาศลี ควรทำการรกั ษาอุโบสถ” วันหน่ึง กระต่ายมองดูจันทร์รู้ว่าพรุ่งน้ีจะเป็นวันอุโบสถ จึงให้โอวาทว่า“พรุ่งนี้เป็นวัน อุโบสถ แม้ท้ังท่าน 3 จงสมาทานศีล รักษาอุโบสถเถิด ทานท่ีผู้ดำรงอยู่ในศีลให้แล้วจึงมีผลมาก เพราะฉะน้นั เมื่อผู้ขอมาถงึ แล้ว ทา่ นท้ังหลายก็ควรให้ทานจากอาหารท่ีจะพึงบริโภคเสียก่อน แล้วจึง บริโภคภายหลงั ”สตั วท์ งั้ 3 รับคำแล้วกลบั ไปยงั ทอี่ ยู่ของตน วันรุ่งขึน้ มนี ายพรานคนหน่ึง ตกเบ็ดได้ปลาตะเพียน 7 ตัวฝังทรายกลบไว้นากออกหาอาหารได้กล่ินปลานั้นแล้วจึงร้อง ขน้ึ 3 ครงั้ รู้ว่าไมม่ เี จา้ ของแล้วจงึ คาบเอาปลาทง้ั 7 ตัว ไปยังทอี่ ยขู่ องตนนอนรักษาศลี อยู่ ลิงเข้าไปในป่าได้มะม่วงมาแล้วก็กลับท่ีอยู่ตนนอนรักษาศีลอยู่ สุนัขจ้ิงจอกส่วนกระต่าย รักษาศีลอยู่ในท่ีอยู่ของตนคิดวา่ “ถึงเวลาเสียก่อน เราจึงจะออกไปกินหญ้าแพรก”แล้วคิดว่า“เราไม่ สามารถใหห้ ญ้าเป็นทานแก่คนผู้ท่ีมาขอเราได้แม้งาและขา้ วสารเรากไ็ มม่ ีถ้าผู้ขอมาถึง เราก็จะใหเ้ นื้อ ของเราเป็นทาน” คดิ แล้วกน็ อนรักษาศลี อยู่ด้วยเดชแหง่ ศลี ของกระตา่ ยโพธิสัตว์” 35ข.ุ ชา. 28/1655-2006/447-497, ข.ุ ชา.อ. 10/1655-2006/383-636, ขุ.จรยิ า.อ. 88/127. 36ขุ.จรยิ า. 33/125-143/558-560.
32 ทา้ วสกั กะทรงทราบเรอ่ื ง ประสงค์จะทดลองพญากระตา่ ย จึงแปลงรา่ งเป็นพราหมณ์ไปขอ อาหารจากนาก สุนัขจิ้งจอก และลิงตามลำดับแล้วได้ไปท่ีอยู่ของกระต่ายเพ่ือขออาหาร โดยทำทีว่า เม่ือได้อาหารแล้วจะรักษาอุโบสถ กระต่ายดีใจจึงพูดว่า“พราหมณ์ท่านมายังสำนักของข้าพเจ้าเพ่ือ การอาหารดแี ลว้ วันน้ีขา้ พเจ้าจักให้ทานท่ีขา้ พเจา้ ยังไม่เคยให้ ท่านไปเถิด ก่อกองไฟแล้วบอกข้าพเจ้า ข้าพเจ้าจะบริจาคตนโดดเข้ากองไฟ เม่ือร่างกายของข้าพเจา้ สุกแล้ว ท่านพงึ บริโภคเนื้อ(ของข้าพเจ้า) แลว้ บำเพญ็ ธรรมเถดิ ”พญากระต่ายโพธิสัตว์ลกุ ขน้ึ แล้วสลดั ตัว 3 ครัง้ เพือ่ ให้แนใ่ จว่าไม่มสี ัตว์อะไรอยู่ ในขนของตัวเองถูกไฟเผาไปด้วย จากนั้นกระโดดเข้ากองไฟอุทิศร่างกายให้เป็นทาน แต่กองไฟนั้น กลบั เย็นเหมือนหญ้าหิมะไม่ไหมร้ า่ งของกระต่ายเมื่อทดลองได้ความจริงอยา่ งนี้แล้ว ทา้ วสกั กะจึงบอก ความจรงิ ว่าตนเองไม่ใช่พราหมณ์แต่แปลงร่างเป็นพราหมณ์มาเพื่อทดลองการบำเพ็ญบารมีจากน้ัน ท้าวสักกะจึงบนั ดาลบบี ภเู ขาเอานำ้ ศลิ ามาจารึกรูปกระต่ายไวใ้ นดวงจันทรอ์ ุ้มพญากระต่ายโพธสิ ัตว์ให้ นอนเหนือหญา้ แพรกออ่ นแลว้ เสด็จกลบั ไปเทวโลก37 สรุปได้ว่า การบําเพ็ญบารมีขั้นตอนแห่งความเป็นพระพุทธเจ้าน้ัน ใครก็ตามจะได้บรรลุ ความเป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่านแสดงว่าต้องผ่านขั้นตอนในการพัฒนาจิตมาโดยลำดับ คือ การปลูกฝังความพอใจในความเป็นพระพุทธเจ้า ผ่านภพชาติต่าง ๆ มาทุกชาติ จนถึงเปล่งวาจา แสดงความปรารถนาท่ีจะเป็นพระพุทธเจ้าในภพชาติต่าง ๆ การบำเพ็ญทานบารมี ได้แก่ ทานท่ี บำเพ็ญด้วยการสละทรัพย์ ได้กล่าวถึงการบำเพ็ญทานบารมีของมหาโควินทพราหมณ์โพธิสัตว์ที่ได้ บริจาคมหาทานร้อยล้านแสนโกฏิ เพื่อตนจะได้เป็น พระสัพพัญญูตญาณระดับการบำเพ็ญทานใน ฐานะเป็นบารมี การทานอุปบารมี ได้แก่ ทานที่บำเพ็ญด้วยการสละอวัยวะ เช่นดวงตา และโลหิต ในการบำเพ็ญ การใหท้ านคร้งั นกี้ เ็ พ่อื สัพพญั ญตู ญาณทานท่ีบำเพ็ญด้วยการสละชีวติ ในปัณฑติ จรยิ า การบำเพ็ญทานปรมัตถปารมีของบัณฑิตพระโพธิสัตว์ท่ีอุทิศร่างกายให้เป็นทานแก่พราหมณ์ การบำเพ็ญบารมีท้ัง 3 ระดับน้ัน ถือว่าเป็นการกระทำของผู้ที่อธิฐานตนเป็นพระพุทธเจ้า เป็นการ กระทำที่ทำได้ยาก เป็นระดบั ของการบำเพ็ญจากสิ่งง่ายๆ ไปส่สู ิ่งยากๆ พระพุทธเจา้ ทกุ ๆ พระองค์ พระปัจเจกพุทธเจ้า ทุก ๆ พระองค์ ได้บำเพ็ญบารมี แบบนีเ้ ช่นกนั เพ่อื ปรารถนาเปน็ สัพพัญญูตญาณ 2.3 หลกั คำสอนทานบารมีในพทุ ธศาสนาเถรวาท 2.3.1 หลกั คำสอนทานบารมที ปี่ รากฏในพระไตรปิฎก การบำเพ็ญบารมีอันเป็นเครื่องบ่มพระโพธิญาณเหล่าน้ี จัดเป็นบารมี 10 อุปบารมี 10 ปรมตั ถบารมี 1038 คอื การบำเพ็ญทานในภพท่ตี ถาคตเปน็ พระเจ้าสวิ ริ าชผปู้ ระเสริฐเป็นทานบารมี ใน 37ขุ.ชา. 27/61-64/169, ข.ุ ชา.อ. 4/61-64/279-285. 38ข.ุ อป. 33/36/406-408.
33 ภพทเ่ี ราเป็นเวสสันดรและเปน็ เวลามพราหมณ์ เป็นทานอุปบารมี ในภพทีเ่ ราเป็นอกิตดิ าบสอดอาหาร น้ัน เป็นทานอุปบารมี ในภพที่เราเป็นพระยาไก่ป่า สีลวนาคและพระยากระต่าย เป็นทานปรมัตถ บารมีในภพที่เราเป็นพระยาวานร ช้างฉัททันต์ และช้างเล้ียงมารดาเป็นศีลบารมี พระผู้มีพระภาคผู้ แสวงหาคุณย่ิงใหญ่ตรัสไว้ดังนี้ การรักษาศีลในภพท่ีเราเป็นจัมเปยยกนาคราช และภูริทัตตนาคราช เป็นศีลอุปบารมี ในภพที่เราเป็นสังขปาลบัณฑิต เป็นศีลปรมัตถบารมีในภพท่ีเราเป็นยุธัญชยกุมาร มหาโควินทพราหมณ์ คนเลยี้ งช้างอโยฆรราชโอรส ภัลลาติ สุวรรณสาม มฆเทวะและเนมิราช บารมี เหล่านี้เป็นอุปบารมี ในภพที่เราเป็น มโหสถผู้เป็นทรัพย์ของรัฐกุลฑลตัณฑิละและนกกระทาบารมี เหลา่ นเี้ ป็นปัญญาอปุ บารมี ในภพท่ีเราเปน็ วิธรู บัณฑิตและสรุ ิยะพราหมณ์มาตังคะ ผูเ้ ป็นศษิ ย์เก่าของ อาจารย์บารมีทั้ง 2 คร้ังน้ี เป็นปัญญาบารมี ในภพที่เราเป็นพระราชาผู้มีศีล มีความเพียร เป็นผู้ กอ่ ให้เกดิ สัตตภุ ัสตชาดก บารมีน้แี ลเป็นปัญญาปรมัตถบารมี ในภพท่ีเราเป็นพระราชาผู้มีความเพียร บากบ่ัน เป็นวริ ิยะปรมัตถบารมี ในภพท่ีเราเป็นพระยาวานรผ้มู ีครุธรรม5 ประการ เป็นวิรยิ บารมี ใน ภพที่เราเป็นธรรมปาลกุมาร เป็นขันติบารมี ในภพที่เราเป็นธรรมิกเทพบุตร ทำสงครามกับอธรรมิก เทพบุตร เรียกว่าขันติอุปบารมี ในภพที่เราเป็นขันติวาทีดาบสแสวงหาพุทธภูมิด้วยการบำเพ็ญขันติ บารมี ได้ทำกรรมที่ทำได้ยากเป็นอันมาก น้ีเป็นขันติปรมัตถบารมี ในภพที่เราเป็นสสบัณฑิตนกคุ่ม ซ่ึงประกาศคุณสัจจะ ยังไฟให้ดับดว้ ยสัจจะ น้ีเป็นสัจจบารมใี นภพทเ่ี ราเป็นปลาอยู่ในนำ้ ได้ทำสัจจะ อยา่ งสงู ยังฝนใหต้ กใหญ่น้เี ป็นสัจจบารมขี องเรา ในภพท่เี ราเปน็ สปุ ารบณั ฑิตผู้เป็นนักปราชญ์ยงั เรือให้ ขา้ มสมุทรจนถึงฝ่ัง เป็นกัณหทีปายนดาบส ระงบั ยาพิษได้ดว้ ยสัจจะ และเปน็ วานรข้ามกระแสแม่น้ำ คงคาได้ด้วยสัจจะนี้เป็นสัจจอุปบารมีของเรา ในภพท่ีเราเป็นสุตโสมราชา รักษาสัจจะอย่างสูง ชว่ ยปลอ่ ยกษตั รยิ น์ ้ีเป็นสจั จปรมัตถบารมี 39เปน็ ความพอใจไปกวา่ อธิษฐาน นเี้ ป็นอธษิ ฐานบารมี ในภพที่เราเป็นมาตงั ฏิล และช้างมาตังคะ น้ีเปน็ อธิษฐานอุปบารมี ในภพที่เราเปน็ มูคผักข กมุ าร เป็นอธษิ ฐานปรมัตถบารมี ในภพที่เป็นมหากัณหฤาษี และพระเจ้าโสธนะ และบารมีสองอย่าง คือในภพทเี่ ราเปน็ พระเจา้ พรหมทตั ต์ และคัณฑิตณิ ฑกะ ท่กี ล่าวแลว้ เป็นเมตตาบารมี ในภพทเ่ี ราเป็น โสณนันทบัณฑิตผู้ทำความรกั บารมีเหล่านั้นเป็นเมตตาอปุ บารมี เมตตาบารมีในภพท่เี ราเป็นพระเจ้า เอกราช เป็นบารมีไม่มขี องผู้อ่ืนเหมือน นี้เปน็ เมตตาปรมัตถบารมีในภพท่ีเราเป็นนกแขกเต้าสองคร้ัง เป็นอุเบกขาบารมี ในภพที่เราเป็นโลมหังสบัณฑิต เป็นอุเบกขาปรมัตถบารมี บารมีของเรา 10 ประการน้ี เป็นส่วนแห่งโพธญิ าณอันเลศิ บารมยี ่ิงกวา่ 10 ไม่มีหยอ่ นกว่า 10 กไ็ มม่ ี เราบำเพ็ญบารมี ทุกอยา่ งไมย่ ง่ิ ไมห่ ยอ่ น เปน็ บารมี 10 ประการ 39เร่ืองเดียวกนั .
34 2.3.2 การใหท้ านทป่ี รากฏในคมั ภรี ์พระพทุ ธศาสนาเถรวาท หลกั การให้ทานท่ีปรากฏในคมั ภีร์พระพทุ ธศาสนาเถรวาท มคี วามเก่ียวขอ้ งโดยตรงกับการ ให้ทานท่ีปรากฏอยูใ่ นพระสตู ร อรรถกถาและคัมภีร์ต่าง ๆ คือ สังคหวตั ถุธรรม ฆราวาสธรรม พรหม วหิ ารธรรม และอทิ ธบิ าท 4 ท่ีสำคญั ไดจ้ ำแนกประเภทของทานออกเปน็ 3 ประเภท มดี ังนี้ อามิสทาน40 การให้ธรรมทาน และอภัยทานท่ีนอกเหนอื จากการทำบุญให้ทานประเภทอ่ืน ๆ การถวายทานที่สงั คมมักจะเข้าใจ การกระทำ บุญ ก็คือ ปาฏิบคุ ลิกทาน การให้เจาะจง และสังฆทาน ให้โดยไม่มุ่งหวงั เจาะจง เฉพาะแก่ พระภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง ในคัมภีร์กล่าวว่า การให้ทานท่ีไม่เจาะจง จะมีผลอานิสงส์มากกว่าข้ึนอยู่กับ เจตนาของผู้ให้ทาน เป็นสำคัญ ทำให้สังคมได้มีคนดชี ่วยกันพัฒนาประเทศ ตั้งแต่ในระดับครอบครัว ระดับสังคม ระดับประเทศและระดบั นานาชาติ แต่การให้ทาน มีธรรมทานอย่างเดียวเท่าน้ันอันเป็น วิทยาทานท่ีสามารถทำให้ผู้รบั ได้เปน็ ปจั จัยเขา้ ถงึ พระนพิ พาน41 สปั ปุริสทาน 8 เป็นหลักการให้ตามหลักพระพุทธศาสนา หมายถึง การให้ของสัตบุรุษการ ให้อย่างสัตบุรุษ ประกอบด้วย 1.สุจึ เทติ ให้ของสะอาด 2.ปณีต เทติ ให้ของประณีต 3.กาเลน เทติ ให้ของเหมาะกาล ใหถ้ กู เวลา 4.กปฺปิย เทติ ใหข้ องสมควร ให้ของที่ควรแก่เขาซง่ึ เราจะใหไ้ ด้ 5.วิเจยฺย เทติ พิจารณาเลือกให้ ให้ด้วยวิจารณญาณ เลือกของ เลือกคนที่จะให้ ให้เกิดผลประโยชน์มาก 6.อภิณฺห เทติ ให้เนืองนิตย์ ให้ประจำหรือสม่ำเสมอ 7.ททจิตฺต ปสาเทติ ให้เพ่ือทำจิตผ่องใส และ 8.ทตวฺ า อตฺตมโน โหติ ใหแ้ ลว้ เบกิ บาน42 ทานสมบัติ คือองคค์ ุณหรือองค์ประกอบของการให้ทานที่ว่าสัมฤทธ์ิประโยชน์ท้ังผู้ให้ผู้รับ คือมีผลอย่างยอดเย่ียม ทานสมบัติ 3 เน้นส่วนสำคัญของวิจัยทาน คือผู้ให้จะต้องคิดให้ถี่ถ้วนก่อนให้ คอื ผู้รับทานเป็นเขตตสมบัติ เป็นผ้มู ีศีลมีธรรม เช่น พระสงฆ์ ส่วนสงิ่ ของทจ่ี ะให้ต้องบรสิ ทุ ธ์ิ ไดม้ าโดย ชอบธรรม สะอาด ประณีต และจิตรสมบัติ มีจิตใจผ่องใสทั้งก่อนให้ ขณะให้ และหลังการให้ ทาน สมบัติ จะต้องประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ประการ คือ 1.เขตตสมบตั ิบญุ เขตถึงพร้อม คือปฏิคาหก หรือผู้รับทาน เป็นผู้ประพฤติดีปฏิบัติชอบ ประกอบด้วยคุณธรรม 2.ไทยธรรมสมบัติไทยธรรมถึง พร้อม คือสิ่งที่ให้เป็นของบริสุทธิ์ ได้มาโดยชอบธรรม และเหมาะสมเป็นพิเศษแก่ผู้รับ 3.จิตตสมบัติ 40อง.ฺ เอกก. 20/143/120. 41พระครูพิลาศสรกิจ (สุรศักดิ์ ธารายศ), “ศึกษาวเิ คราะห์การใหท้ านในสงั คมไทยยุคปัจจุบนั ”, วารสาร มหาจุฬานาครทรรศน์, ปที ี่ 6 ฉบับที่ 5 (กรกฎาคม 2562) : 2307. 42พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม, พิมพ์ครั้งที่ 36, (กรุงเทพฯ : ผลิธัมม์, 2559), หนา้ 300.
35 เจตนาถึงพร้อม คือให้ด้วยความต้ังใจ คิดจะเป็นประโยชน์แก่ผู้รับแท้จริง มีเจตนาบริสุทธ์ิท้ัง 3 กาล คอื กอ่ นให้ยินดี ขณะให้จิตผ่องใส ให้แล้วเบิกบานใจ43 1 หลกั ธรรมพรหมวิหาร ความหมายของพรหมวิหารธรรมคาํ าว่า “พรหมวหิ าร”44 เปน็ ภาษาบาลี แปลความหมาย ไวว้ ่า ธรรมเป็นเครอื่ งอยอู่ ย่างพรหม หรอื ของทา่ นผู้ใหญ่ ซึง่ ประกอบด้วย 2 อยา่ ง คอื 1) พรหม หมายถงึ พรหม หรอื ท่านผ้ใู หญ่ 2) วหิ าร หมายถงึ เป็นเครอื่ งอยู่ เม่ือนํา 2 คำศัพท์มารวมกันตามหลักทางภาษา “พรหมวิหาร” จึงหมายถึง ธรรมเป็น เครื่องอยู่ของพรหม หรือธรรมประจำใจของพรหม กล่าวคือ พรหมเป็นเทพเจ้าสูงสุดในศาสนา พราหมณ์ที่สร้างโลกและอภิบาลโลกตามทัศนะของพราหมณ์ เพราะถือว่า มนุษย์เม่ืออยู่กันไปพอถึง กัปหนึ่งโลกจะพินาศ และพระพรหมจะสรา้ งโลกข้ึนมาใหม่และจะลขิ ิตชีวติ มนษุ ยว์ ่าจะเปน็ อยู่อยา่ งไร แต่ทัศนะของพระพุทธศาสนาไมเ่ ชื่อเหมอื นศาสนาพราหมณ์และถือวา่ มนุษย์ทุกคนมีสว่ นรับผิดชอบ ในการสรา้ งสรรค์และอภิบาลสังคม ด้วยเหตนุ ้ี ทุกคนต้องทำตัวให้เป็นพรหม หรือคุณธรรมความเป็น พรหม และในการปฏิบตั ใิ นลักษณะนี้ เปน็ การสรา้ งสรรค์ตนเองดว้ ยหลักพรหมวหิ ารและพรหมวหิ าร เมือ่ นําามาใช้กับมนุษยใ์ นฐานะทีม่ นุษย์สามารถสร้างสรรคแ์ ละอภิบาลโลกได้ด้วยตัวมนษุ ยเ์ อง สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ สุวฑฺฒโน) ได้ให้ความหมายของพรหมวิหารธรรม หมายถึง ธรรมเครอื่ งอยู่ของผู้ใหญ่ ผู้ไม่มัวหมองในศีล ในธรรม ในวินัย คือ พรหมวิหาร เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา จะให้เกิดผลเปน็ ประโยชนไ์ ด้จริงจะตอ้ งทำให้ค้นุ ใจ คอื เป็นอันหนึง่ อนั เดียวกันกบั ใจดว้ ย พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ได้ให้ความหมายของพรหมวิหารธรรม ว่าหมายถึง ธรรมเคร่ืองอยู่อย่างประเสริฐ ธรรมประจำใจอันประเสริฐ หลักความประพฤติที่ประเสริฐบริสุทธิ์ ธรรมที่ต้องมีไว้เป็นหลกั ใจและกาํ ากับความประพฤติ จึงจะช่อื ว่า ดำเนนิ ชวี ิตแบบหมดจด และปฏิบัติ ตนตอ่ มนุษยส์ ัตวท์ ั้งหลายโดยชอบนอกจากนี้ พรหมวหิ าร ยังมีความหมายทสี่ ามารถแปลอกี ในหน่งึ ว่า ธรรมเป็นเครอื่ งอยขู่ องพรหม หรอื ธรรมประจำใจท่ีทำให้เป็นพรหมหรอื ให้เสมอด้วยพรหมหรือเป็น เครือ่ งอยูข่ องท่านผมู้ ีคณุ ยงิ่ ใหญ่ พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช) ได้ให้ความหมายของพรหมวิหารธรรมไว้ว่า พรหม วหิ ารธรรม หมายถึง บุคคลผู้มีคณุ ธรรมครบถ้วนบริบรู ณ์เท่านั้นสรปุ คําาว่า “พรหมวิหารธรรม” คือ ธรรมเปน็ เครื่องอยูข่ องพรหม หรอื ธรรมประจำใจของพรหม หรอื ธรรมเคร่ืองอยอู่ ย่างประเสริฐ ธรรม ประจำใจอันประเสริฐ หลักความประพฤติท่ีประเสริฐบริสุทธ์ิ ธรรมที่ต้องมีไว้เป็นหลักของจิตใจ 43เร่ืองเดยี วกัน, หน้า 155. 44ท.ี ม. 10/327/256.
36 และกําากับความประพฤติ หรือเป็นธรรมท่ีใช้ในการยึดเหนี่ยวจิตใจของผู้ปกครอง ท่านผู้ใหญ่ ถ้า ปฏิบัติตนโดยใช้พรหมวิหารเป็นเคร่ืองมือในการดำเนินชีวิตแล้ว จึงจะช่ือว่า ได้ดำเนินชีวิตหมดจด และปฏบิ ตั ติ นต่อมนุษยท์ ้ังหลายโดยชอบ ความสำคัญของหลักพรหมวิหารธรรมพรหมวิหารธรรม เป็นคุณธรรมสำหรับผู้ใหญ่หรือ ผู้บริหารมี 4 ประเภท คือ เมตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขา เป็นคําาสอนสำคัญท่ีมุ่งส่งเสริมการ สร้างสรรค์สังคม เป็นหลักธรรมท่ีแสดงออกต่อผู้อื่น ท้ังมนุษย์และสรรพสัตว์ และพรหมวิหารทั้ง 4 ขอ้ จะต้องประสานกลมกลนื กัน เพราะถ้าขาดเพียงข้อใดข้อหน่ึง ยอ่ มกอ่ ให้เกิดความบกพร่องทาง สังคมอย่างแน่นอน เช่น เม่ือคนมีน้ำใจต่อกัน มีเมตตา กรุณา และมุทิตาต่อกัน ก็มีความอบอุ่น มี ความสุขในการอยู่รวมกัน แต่ข้อเสียจะเกิดขึ้นสืบเนื่องมาจาก มนุษย์จำนวนหนึ่งจะชอบหวังพึ่งพา ผู้อ่ืนเสมอ โดยคิดว่าถ้าเราเดือดร้อนก็ไปหาผู้ใหญ่ ไปหาญาติ เมื่อเป็นเช่นนี้ มนุษย์ส่วนมากจะเกิด ความเกียจคร้าน ประมาท ขาดความรับผดิ ชอบ ด้วยเหตุนี้ อุเบกขา จึงเป็นจุดถ่วงดุลยภาพในสังคม หรือเป็นหลักประกันทส่ี ำคัญ กล่าวคือ บคุ คลท่ีทำผิด ขาดความรบั ผิดชอบ มักจะเข้าไปหาผู้ใหญ่เพ่ือ ขอความเมตตา แต่ถ้าผู้ใหญ่มีอุเบกขา ก็หมายความว่า คนผิดย่อมได้รับผลแห่งความผิด เมื่อเป็น เช่นนี้ การมีพรหมวิหารธรรม เป็นพ้ืนฐานทางจิตใจจึงเท่ากับว่า เป็นหลักประกันทางสังคม ตามท่ี กล่าวมาจะเห็นได้วา่ พรหมวิหารเป็นคุณธรรมที่สำคัญอย่างย่ิงในการดำเนินชีวิตของมนุษย์ในสังคม ในทน่ี ผ่ี ้ศู ึกษาจะม่งุ กลา่ วถึงความสำคัญของพรหมวิหารธรรมในเชงิ สังคมและในเชิงจริยธรรม 2 หลักธรรมสงั คหวัตถธุ รรม สังคหวัตถุ หมายถึง คุณธรรมท่ียึดเหน่ียวจิตใจของบุคคลและประสานหมู่ชนให้ตั้งอยู่ใน ความสามัคคี ตามหลักความสงเคราะห์ ซึ่งประกอบไปด้วยคุณธรรม 4 ประการ ได้แก่ 1) ทาน 2) ปิยวาจา 3) อตั ถจรยิ า 4) สมานัตตา 1) ทาน คอื การให้ การแบง่ ปัน ความเออ้ื เฟอื้ เผือ่ แผ่ ความเสยี สละ การชว่ ยเหลอื ด้วยทุน การแบ่งปันส่ิงของแก่ผู้อื่นท่ีสมควรให้ ตลอดจนให้ความรู้ความเข้าใจและศิลปวิทยาการ รวมไปถึง การให้อภัยแก่ผู้อ่ืน ทำให้สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข เพราะการช่วยเหลือสงเคราะห์ซ่ึงกันและ กัน การใหแ้ บ่งออกเปน็ 3 ประเภทดังนี้ (1) อามิสทาน คือการให้วัตถุ สิ่งของ หรอื เงินเปน็ ทานเพ่ือให้ เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่นการให้วัตถุทานมีอยู่ 10 อย่างได้แก่ 1) ข้าว หมายถึงอาหาร 2) น้ำดื่ม เช่น นำ้ หวาน บ่อน้ำ ถังน้ำ 3) ผ้า เชน่ ผ้านงุ่ ผ้าหม่ ผา้ เช็ดตัว 4) ยานพาหนะ เคร่อื งอุปกรณ์การไป เช่น ร่ม รองเท้า ถนน สะพาน 5) ดอกไม้ ต้นไม้ดอก ต้นไม้ใบ 6)ของหอม เคร่ืองกำจัดกล่ินชั่ว 7)เครื่องตบแต่ง เช่น ธงทิวและเครื่องย้อมเครื่องทา 8) ท่ีนอน ที่อยู่ เช่น เส่ือ หมอน มุ้ง 9) ท่ี พัก เคร่ืองรับรอง ศาลา ม้าน่ัง 10) ประทีป ธูป เครื่องแสงสว่างทานวัตถุ 10 อย่างนี้ เป็นเกณฑ์ พจิ ารณาในขั้นแรกว่าของที่ควร (2) ธรรมทาน คือการสอนใหธ้ รรมะเป็นความรู้เป็นทานเชน่ ให้วิชา
37 ความรู้ ให้คำแนะนำสั่งสอนในทางท่ีดี ให้คำตักเตือนเมื่อหลงทางผดิ และที่ทำให้ง่ายทส่ี ุดคอื การให้ หนังสอื ธรรมะเป็นทาน ในบรรดาการใหท้ ้ังหลาย ไม่ว่าเปน็ ขา้ วน้ำ วตั ถสุ ง่ิ ของ พระพุทธเจ้าทรงสรรเสริญการให้ธรรมเป็นทานวา่ เป็นสิง่ ท่ีประเสริฐที่สุด และเป็นสุดยอด แห่งการใหท้ านทั้งปวงธรรมทานแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คอื การให้ความรู้ทางโลกและการให้ความรู้ ทางธรรม การให้ความรู้ทางโลก คือ การสั่งสอนให้เกิดความรู้ความสามารถในทางศิลปวิทยาเพ่ือไป ประกอบสัมมาอาชีพในการเล้ียงชีพ เรียกว่า วิทยาทานส่วนการให้ความรู้ทางธรรมน้ันจัดเป็นธรรม ทานโดยแท้เพราะว่าการให้ธรรมเป็นทานเปรียบเสมือนเป็นการให้ขุมทรัพย์ หรือให้ประทีปท่ีให้แสง ว่างที่จะเป็นเคร่ืองส่องทางในชีวิต ให้ดำเนินไปในทางท่ีถูกต้องดีงามนำไปสู่ความสุข ความเจริญ เมื่อยังเวยี นวา่ ยตายเกดิ อยู่ในสังสารวัฏ ย่อมไม่เป็นผู้ทีต่ กต่ำ ย่อมมีชีวิตท่ีดงี ามเกิดในสคุ ติภพ เมอื่ ส่ัง สมบารมีแก่กล้าแล้วย่อมละกิเลสได้โดยส้ินเชิง เรียกว่า ธรรมทาน และ อภัยทาน คือการให้อภัยแก่ คนหรอื สัตว์45การปล่อยวางความผูกโกรธใหห้ มดไปจากใจ การให้ที่ไมม่ ีภัย การให้ความปลอดภยั ความไมม่ ีภัยแก่ตนเองและผู้อ่ืน ไมถ่ ือโทษโกรธเคอื งในการล่วงเกินของคนอ่ืน ไม่มีเวรผูก เวรกับผู้หน่งึ ผู้ใด การให้อภัยเปน็ การยอมรบั ตัวตนภายในท่แี ท้จรงิ ของมนุษย์ทกุ คน วา่ เหมือนกนั หรือ แตกต่างกันอย่างไร การให้อภัยเป็นการให้ทานท่ีไม่ตอ้ งลงทุนอะไร และเป็นการใหท้ ่ีง่ายแสนงา่ ยแต่ ก็ท าไดย้ ากเนื่องจากมกี เิ ลสอยู่ในใจต้องอาศัยการขดั เกลาจากการปฏบิ ัติธรรมอยู่ย่อย ๆ จนกเิ ลสเบา บางเกดิ ความแจม่ แจ้งในพระสัจธรรมจนสามารถให้อภยั แก่ทุกสงิ่ ทกุ อยา่ งได้46 2) ปิยวาจา คอื การพดู จาดว้ ยถอ้ ยคำทีไ่ พเราะอ่อนหวาน พูดดว้ ยความจริงใจ ไม่พูดหยาบ คายก้าวร้าว พูดในสง่ิ ทเี่ ปน็ ประโยชน์เหมาะสำหรับกาลเทศะ การพูดเป็นอย่างยิ่ง เพราะการพูดเป็น บนั ไดข้นั แรกที่จะสร้างมนุษย์สมั พนั ธ์อันดีให้เกิดขึ้น วิธีการท่จี ะพูดให้เปน็ ปยิ วาจานน้ั จะต้องพดู โดย ยึดถือหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) เว้นจากการพูดเท็จ คือ การพูดเร่ืองที่ไม่เป็นความจริง พูดไม่ตรง ตามท่ีเห็นมาด้วยตา ได้ยินมาด้วยหู มีความมุง่ หมายทางวาจาโดยตรง แต่การใช้สิ่งที่แทนคำพูดแทน วาจา ก็จัดเป็นการพูดเท็จได้เช่นกัน เช่น ก. การใช้กริยาท่าทางแทนคำพูดทำให้คนเข้าใจผิด ข. การเขียนหนังสือ การสรา้ งเอกสาร รายงานอันเป็นเท็จ ค. การทำเครื่องหมายให้คนอื่นหลงเชื่อและ เขา้ ใจผิด ง. การสร้างหลักฐานปลอม จ. การทำบุ้ยใบ้ให้คนอื่นหลงเชื่อและเข้าใจผิด (2) เว้นจากการ พูดส่อเสียดการพูดส่อเสียด คือ การพูดเร่ืองจริงที่ให้ร้ายคนอื่น พูดเสียดสีพาดพิงให้คนอื่นเจ็บแค้น แทงใจดำพูดจาเหน็บแนม กระทบกระเทียบทากถาง เย้ยหยันให้คนอ่ืนได้รับความเสียหาย เสียใจ คับ แค้นใจ ขุ่นเคืองใจ เหลา่ นเี้ ป็นต้นคอื ลักษณะของการพูดสอ่ เสียด (3) เว้นจากการพูดคำหยาบการพูด 45ที.ส.ี 9/18/20. 46พระปลัดณรงค์ศักดิ์ วิสุทฺธิเมธี, “สังคหวัตถุองค์ธรรมแห่งการสังคมสงเคราะห์”, วารสารพุทธมัคค์, ปที ี่ 4 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2562) : 5.
38 คำหยาบ คอื การดา่ การแช่ง ด้วยความไม่พอใจ เน่ืองด้วยความโกรธเคอื งเพราะสาเหตอุ ยา่ งใดอยา่ ง หน่ึง คำ หยาบเป็นคำท่ีคนอ่ืนฟังแล้วเก็บไปคิดแล้วเกิดความทุกข์ทรมานใจ (4) เว้นจากการพูดเพ้อ เจอ้ การพูดเพอ้ เจ้อ คือ การพูดเรอ่ื งทเี่ ป็นไปไม่ได้รู้ทั้งรู้ว่าไมม่ ีทางเปน็ ไปไดไ้ มม่ ีทางเกิดข้นึ จริงแตก่ ฝ็ ืน พูดออกไปใหค้ นเชื่อ เหมือนกบั โฆษณาชวนเชื่อทพ่ี ูดเกินความเปน็ จริง ลกั ษณะอยา่ งนี้เรียกว่า การพูด เพ้อเจ้อ 3) อัจถจริยา คือ การประพฤติส่ิงที่เป็นประโยชน์แก่บุคคลอื่น เป็นการทำประโยชน์แก่ ผอู้ ื่นด้วยแรงกาย ขวนขวายช่วยเหลือผู้อื่นในกิจกรรม ต่าง ๆ บำเพ็ญสาธารณะประโยชน์รวมท้ังการ แกป้ ัญหาในด้านตา่ ง อัตถจรยิ าสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้ (1) การทำตนให้เป็นประโยชน์ คือ การทำตนให้มีคุณค่าในสงั คมทต่ี นอาศัยอยู่ (2) การทำในสง่ิ ท่ีเป็นประโยชน์ คือ เม่อื ทำตนให้เป็น ประโยชน์แลว้ จะต้องบำเพญ็ ตนให้เปน็ ประโยชนแ์ ก่ผู้อ่ืน ดว้ ยความเกอ้ื กูล มีน้ำใจไมตรีต่อกนั บำเพ็ญ ตนให้เป็นประโยชนแ์ ก่ผอู้ ื่นและสังคมตามความสามารถ 4) สมานัตตา คือ การวางตนสม่ำเสมอ ทำตัวให้เข้ากับผู้อื่นได้ ให้ความเสมอภาค ปฏิบัติ ต่อผู้อ่ืนอย่างสม่ำเสมอ ไม่ถือตัว ไม่หย่ิงจองหอง เป็นการวางตนให้สมกับฐานะของตน สมานัตตา สามารถแบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท47 ดังน้ี 1) การวางตนให้เหมาะสมกับฐานะที่ตนมีอยใู่ นสังคม ตนอย่ใู นฐานะอะไรก็วางตนให้กับท่ี ตนมีอยู่และทำอย่างเสมอต้นเสมอปลายเช่น เป็นพ่อ แม่ ก็ประพฤติตนให้เหมาะสมกับฐานะความ เปน็ พ่อเป็นแม่ เป็นครูเป็นอาจารย์ก็ทำตัวให้เหมาะสมกับฐานะของความเป็นครูเป็นอาจารย์ เป็นต้น (2) การปฏิบัติตนอย่างเสมอต้นเสมอปลายต่อผู้อ่ืน ให้ความเสมอภาค ไม่เอารัดเอาเปรยี บผู้อื่น ร่วม สขุ ร่วมทุกข์ รว่ มรับรู้ปญั หาและรว่ มแก้ไขปัญหาเพ่ือประโยชน์ของสงั คม48 2.3.3 การให้ทานในทัศนะของพระธรรมโกศาจารย์ (พทุ ธทาสภิกข)ุ พระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาสภิกขุ) ไดแ้ สดงการทศั นะเกี่ยวกบั การใหท้ านไว้ว่า ให้ทานมี ความสำคัญอย่างยง่ิ ในการให้ทานนั้น บางคนก็ทำด้วยปญั ญา เพราะเข้าใจหลกั ในการให้ทาน เหน็ ว่า บุญกุศลก่อให้เกดิ ปีตเิ ปน็ ประโยชนแ์ ก่ตนเองและส่วนรวมจึงให้ทาน แตบ่ างคนขาดความรใู้ นเร่ืองของ การให้ทาน ไม่เข้าใจกฎเกณฑท์ ่ีถูกตอ้ ง จงึ มกี ารนำส่งิ ท่ีไม่ควรมาทำบุญ ไม่รจู้ ักเลือกบุคคลท่คี วรจะให้ ทาน ในสังคมปจั จุบัน วถิ ีชีวิตของผู้คนได้เปลีย่ นแปลงไปแทบทุกด้าน มีความเจริญทางดา้ นวัตถุมาก 47ที.ปา. 11/140/167. 48พระปลัดณรงค์ศักด์ิ วิสุทฺธิเมธี, “สังคหวัตถุองค์ธรรมแห่งการสังคมสงเคราะห์”, วารสารพุทธมัคค์, อา้ งแลว้ , หนา้ 7.
39 ขึน้ ทัศนะของบุคคลในสังคมก็เปลี่ยนแปลงไปด้วย อิทธิพลแนวความคิดเรอื่ งทานที่บรรพบุรุษยึดถือ เป็นแนวปฏบิ ตั ิสบื ตอ่ กนั มา49 2.3.4 การให้ทานในทศั นะของ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโฺ ต ) พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยตุ โฺ ต ) ได้แสดงการทัศนะเกยี่ วกับการใหท้ านไว้ว่า คำวา่ ทาน จึงมีความหมาย 2 นัย คือเป็นกิรยิ านาม แสดงอาการให้ และหมายถึงวตั ถุคือสง่ิ ของที่ให้ คือเป็นนาม ในลักษณะกิริยา จึงแปลว่า การให้, การสละให้ปันสิ่งของของตนเพื่อประโยชน์แก่ผู้อื่น ส่วนใน ลกั ษณะของนามคอื สิ่งทค่ี วรให้ ให้ของที่ควรให้เพอื่ ประโยชน์แก่เขา50 สรุปได้ว่า พุทธศาสนิกชนควรจะได้รับรู้และเข้าใจการให้ทานท่ีสมบูรณ์แบบว่ามีลักษณ์ อย่างไร จะได้ปฏิบัติได้ถูกต้องอย่างแท้จริง จะได้ช่ือว่าได้รับกุศลผลบุญ และเป็นการประสานน้ำใจ ของชาวไทยพุทธให้เป็นอันหน่ึงอันเดียวกัน อีกทั้งยังเป็นการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาและเผยแผ่ พระธรรมของพระพุทธเจ้าให้แพร่หลายอีกด้วยด้วยเหตุผลท่ีกล่าวมาผู้วิจัยมีความสนใจศึกษา วิเคราะห์การให้ทาน นา่ จะมีการศึกษาใหเ้ ข้าใจถูกต้อง เพ่ือเปน็ ประโยชนแ์ ก่ผทู้ ี่ตอ้ งการให้ทานจะได้ มีความเขา้ ใจเรื่องทานได้ถูกต้องและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดำเนินชีวิตที่ดี งามวิถีชีวิตของผู้คนได้เปลี่ยนแปลงไปแทบทุกด้าน มีความเจริญทางด้านวัตถุมากข้ึน ทัศนะของ บุคคลในสังคมก็เปล่ียนแปลงไปดว้ ย อิทธิพลแนวความคดิ เรื่องทานที่บรรพบุรุษยดึ ถือเป็นแนวปฏบิ ัติ สบื ตอ่ กันมา 2.4 แนวคิดมมุ มองการให้ทานของพระเวสสันดร พระเวสสันดรมีมโนปณิธานที่สูงส่ง หวังจะยกตนและสรรพสัตว์ให้หลุดพ้นจากสังสารวัฏ มุ่งไปสู่อายตนนิพพาน นับเป็นสุดยอดแห่งความปรารถนาท้ังหมดของผู้เป็นสัพพัญญูท้ังหลาย เพราะฉะนั้น เมื่อท่านตั้งใจจะทำส่ิงใด ท่านพยายามศึกษาหนทางท่ีจะไปสู่เป้าหมาย และลงมือ ปฏบิ ัติ ไม่วา่ จะใช้เวลายาวนานแค่ไหน จะเป็นกร่ี อ้ ยก่พี นั ชาติ หรือยาวนานเปน็ อสงไขยกปั ป์ กไ็ มย่ อม ทิ้งมโนปณิธาน แม้กาลเวลาจะเปลี่ยนไปแต่เป้าหมายของท่านไม่เปลี่ยนแปลง หากจำเป็นต้องสละ เลือดเน้ือ อวัยวะหรือชีวิต เพ่ือให้ได้พระโพธิญาณอันประเสริฐ พระบรมโพธิสัตว์ก็ยินยอมพร้อม จะสละทุกสิ่งไดเ้ สมอ 49พระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาส ภิกฺขุ), การให้ทานท่ีไม่ต้องเสียเงินแล้วยังได้นิพพาน, (กรุงเทพฯ : เลยี่ งเซียง, 2551), หน้า 1. 50พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโฺ ต), พจนานุกรมพทุ ธศาสตร์ ฉบบั ประมวลธรรม, อ้างแล้ว, หนา้ 11- 12.
40 การบรจิ าคทานระหวา่ งผ้มู ีมโนปณธิ านอนั ย่ิงใหญ่ กบั ผู้ทยี่ งั มีความตระหนีเ่ พราะถูกโลภมูล จิตครอบงำน้ัน จึงมีความแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง ความคิดของผู้ที่ยังมีความตระหน่ี ย่อมไม่เข้าใจ ความคิดของผู้มีหัวใจแห่งการให้อย่างไม่มีประมาณของพระบรมโพธิสัตว์เจ้าท้ังหลาย เรามาติดตาม นยิ าย การปจุ ฉาวิสัชนา ซง่ึ เก่ยี วกับความสงสัยในการให้ทานของพระเวสสนั ดรกันต่อ พระเวสสนั ดรไดท้ รงกำชับพระชาลกี มุ ารว่า “ลกู เอ๋ย หากพระเจา้ ปู่รู้วา่ ลูกถูกพาไปเปน็ ข้าทาส ของคนอ่นื พระเจ้าปจู่ ะตอ้ งตามไปไถ่เจา้ ทง้ั สองจากพราหมณ์อยา่ งแน่นอน แตเ่ ม่ือจะทรงไถถ่ อน ลกู คืน จงให้ไถ่ตัวด้วยทองคำ 1,000 ลิ่ม และให้ไถ่กัณหาชนิ า ด้วยทาส ทาสี ชา้ ง ม้า โค ทองคำ อย่างละ ร้อย ถ้าพระเจ้าปู่จะทรงบังคับเอาเปล่า พวกเจ้าจงอย่ายินยอม แต่ให้ติดตามพราหมณ์ ไป” เมอื่ ทรงสอนเชน่ น้ีแล้ว จึงพระราชทานพระโอรสและพระธดิ าใหพ้ ราหมณช์ ูชกไป คร้ันพระเวสสันดรพระราชทานลูกท้ังสองแล้ว ได้เสด็จเข้าไปในบรรณศาลา ด้วยความรัก และห่วงหาอาทรอยา่ งสุดซึ้ง จึงทรงพระกันแสงดว้ ยความรกั ยิ่ง ดวงหทยั ได้รอ้ นขึ้น เม่อื พระนาสิกไม่ พอหายใจ ทรงปล่อยลมหายใจร้อนๆ ออกมาทางพระโอษฐ์ มีน้ำพระเนตรเจอื พระโลหิตไหลนองอาบ สองแก้ม ด้วยพระเวสสันดรทรงรักพระราชโอรสธิดาอย่างย่งิ แตไ่ ด้ทรงอดกล้ันความเศรา้ โศก เพราะ ทรงดำริว่า อยา่ ให้ทานของเราเสียไปเลย สรุปได้ว่า พระเวสสันดร ทรงมีแนวคิดท่ีแตกต่างจากคนปกติด้วยสิ้นเชงิ พระองค์ทรงเลง เห็นยังพระโพธิญาณอนั ประเสริฐ พระบรมโพธสิ ตั ว์เวสสันดรกย็ นิ ยอมพรอ้ มจะสละทุกส่ิงได้เสมอ เพือ่ ประโยชน์สุขของพทุ ธศาสนิกชนท้ังหลาย เป็นมโนปณิธานอนั ยิ่งใหญ่ของพระโพธิสัตว์เวสสันดร รวม ไปถึงการพระราชทานพระโอรสและพระธิดาให้เปน็ ทานแกพ่ ราหมณ์ชูกและการใหพ้ ระมเหสีพระนาง มัทรีเป็นทาน เพ่ือมรรค ผล นิพพาน และนำสัตว์โลกข้ามพ้นวัฏฏะสงสารพระองค์จึงมีแนวคิดและ ปณิธานอนั ยิง่ ใหญ่เช่นนี้ 2.4.1 วิเคราะห์การใหท้ านพระเวสสันดร พระเวสสันดรบำเพ็ญทานบารมีโดยบริจาคพระโอรสพระธิดา และพระชายา ให้แก่ พราหมณ์ชูชกเพ่ือนำไปเป็นทาสรับใช้ ในทางพระพุทธศาสนาถือว่าเป็นการให้ทานระดับกลางคือขั้น อปุ ทานบารมี ซึ่งพระโพธิสตั ว์ท้ังหลายนิยมกระทำและบณั ฑิตก็สรรเสริญการกระทำเช่นนี้ เพราะผล ของการกระทำอย่างนีจ้ ะเป็นปัจจัยให้ไดส้ ัมโพธิญาณซง่ึ จะเป็นประโยชน์ต่อชาวโลกอยา่ งมหาศาล แต่ ในทางสังคมของฆราวาสถือว่าเป็นสิ่งที่กระทำได้ยากอย่างยิ่ง และถูกมองว่าเป็นเร่ืองที่ไม่ถูกต้อง เพราะนำความทุกข์มาให้บุตรธิดาและพระชายาของตน และขัดกับจริยธรรมในฐานะของบิดาท่ีต้อง ดูแลบุตรธิดาและภรรยาให้มคี วามสุข พระยามิลินท์กษัตริย์แห่งโยนกได้ตั้งข้อสงสัยและถามพระนาคเสนเมื่อประมาณ 2,046 ปี มาแลว้ ข้อสงสยั ประเด็นคำถามและคำตอบของนักปราชญท์ ัง้ สองไดด้ ำเนินไปอยา่ งดุเดือดชนดิ ท่ีฝ่าย หน่งึ เอาเกียรตยิ ศและศกั ด์ิศรีของความเป็นพระราชามาเป็นเดมิ พัน และอีกฝ่ายหน่งึ ก็เอาความมั่นคง
41 ของพระพุทธศาสนาเป็นประกัน แม้ว่าเรื่องน้ีจะผ่านมาแล้วสองพันกว่าปีก็ตาม แต่ยังดูเหมือนว่า คกุ รุ่นอยตู่ ลอดเวลา เนื่องจากเป็นประเด็นเกี่ยวกับจริยธรรมซึ่งเก่ียวข้องโดยตรงกับวิถีชีวิตมนุษย์ในสังคม โดยเฉพาะการทำหน้าท่ีของบิดามารดาต่อบุตรธิดา สามีต่อภรรยาเพื่อแลกกับอุดมการณ์สูงสุดคือ สัมโพธิญาณ โดยพระยามิลินท์สวมบทบาทของสังคมผู้ครองเรือน ส่วนพระนาคเสนสวมบทบาท ตัวแทนทางศาสนาท่ีจะต้องตอบปัญหาให้กระจ่าง ไม่ทิ้งหลักพุทธธรรม และไม่สร้างปัญหาสังคม ภายหลัง เพราะถ้าพระนาคเสนตอบปัญหานี้ผิดจากแนวพุทธศาสนา น่ันก็แสดงว่าปริยัติธรรมถูกท้า ทายตอ่ การพิสูจนจ์ ากกระแสสงั คม จะส่งผลต่อการปฏบิ ตั ิศาสนา ปฏเิ วธธรรมก็จะเปล่าประโยชน์ แต่ เหตุการณ์นไี้ ด้ผ่านบทพสิ ูจน์ไปได้ด้วยดี วรี ธรรมของนักปราชญ์ทงั้ สองทไ่ี ด้ทำไวย้ ังอยู่ในความทรงจำ ของชาวพทุ ธตลอดมา พระเจ้ามิลินท์ได้ศึกษามามาก จึงมีทั้งความเลื่อมใสและความสงสัยควบคู่กันไป ท่านได้ ตรัสถามพระนาคเสนว่า “ข้าแต่พระนาคเสน การที่พระโพธสิ ัตว์ได้ให้บตุ รอันเป็นทร่ี ักของตน เพ่ือไป เป็นทาสของพราหมณ์ เป็นสิ่งท่ที ำได้ยาก ข้าพเจา้ เล่ือมใสย่งิ นัก แต่อยากรู้ว่า พระเวสสันดรผมู้ ุ่งบุญ เหตุไรจึงทำทุกขใ์ ห้แกผ่ ูอ้ ืน่ ควรท่ีพระเวสสันดรให้ตนเองเป็นทาน จะไม่ดีกว่าหรอื ” พระเถระตอบโต้ด้วยปัญญาอันเฉยี บแหลมว่า ขอถวายพระพร เพราะเหตุท่ีพระเวสสันดร ได้ทำสิ่งท่ีทำได้ยาก จึงมเี สียงสรรเสริญทั่วหมื่นโลกธาตุ พวกเทวดา อสูร ครุฑ นาค พระอินทร์ ยักษ์ ต่างพากันสรรเสรญิ แมอ้ ยใู่ นทอ่ี ยู่ของตน กลองทพิ ยก์ ็บันลือขน้ึ เอง กติ ติศพั ทน์ ั้นย่อมแสดงให้เห็นคุณ ของพระโพธสิ ตั ว์เจา้ ผ้มู ีสติปัญญาละเอยี ด ผ้รู แู้ จ้งเห็นแจง้ ทั้งโลกนแี้ ละโลกหนา้ การบรจิ าคตนเองเป็นทานน้ัน ไม่ใช่การกระทำของสตั บุรุษ คือ เมื่อเขาขอบตุ รภรรยา จะ ให้ตัวเองนั้น ย่อมไม่ถูก เม่ือเขาขอสิ่งใดกค็ วรใหส้ ่ิงนั้น เหมือนบุคคลหน่ึงมาขอน้ำ ผ้ใู ดให้ขา้ วแก่บุรุษ น้นั กไ็ ม่เรียกว่าเป็นกิจจการี คือ ผู้ทำตามหน้าที่ ดังน้ัน เม่อื พราหมณ์ขอโอรส ธิดา และอคั รมเหสี ผู้ เป็นทานบดีย่อมต้องพระราชทานพระโอรสธิดาและอัครมเหสีให้แก่พราหมณ์ แต่ถ้าพราหมณ์ขอตัว ของพระเวสสันดร พระองค์กต็ ้องบริจาค พระองคย์ อมตนไปเป็นทาสอยู่แล้ว เพราะท่ีผ่านมา ท่านได้ บรจิ าคเลือด เน้ือ และชวี ิตมานับภพนับชาติไม่ถว้ นแล้ว เพราะฉะน้ัน พระวรกายของพระเวสสันดรจึงเปรียบเหมือนของท่ัวไปที่เกิดประโยชน์แก่ คนหมู่มาก เหมือนตน้ ไม้มีผลดก เป็นของทั่วไปแก่หมู่นกต่าง ๆ พระเวสสันดรทรงเห็นวา่ เมื่อปฏิบัติ เช่นนี้ จึงจะสำเร็จพระสัมมาสัมโพธิญาณ อีกอย่างหน่ึง บุคคลผู้ไม่มีทรัพย์ เทยี่ วแสวงหาทรัพย์ ย่อม เที่ยวหาไปตามทางดง ทางเกวียน ทางน้ำ ทางบก เพื่อให้ได้ทรัพย์ ฉันใด พระเวสสันดรผู้ไม่มีทรัพย์ คือ พระสัพพัญญุตญาณ ก็ได้แสวงหาพระสัพพัญญุตญาณ ด้วยการพระราชทานทรัพย์และธัญชาติ ยานพาหนะ ทาสี ทาสา ทรัพย์สมบัติ บุตรภรรยา ตลอดถึงหนัง เลือด เนื้อ หัวใจ ชีวิตของพระองค์ ฉันนนั้
42 พระเจ้ามลิ นิ ทฟ์ ังคำวสิ ัชนาแล้ว ได้ให้สาธกุ าร และยอมรับว่า “ขา้ แตพ่ ระนาคเสน พระคุณ เจ้าได้ทำลายขา่ ยทฐิ ิ ยำ่ ยีถ้อยคำของผู้อ่ืนได้แล้ว ได้แสดงเหตุผลไว้เพียงพอแล้ว ทำให้เข้าใจปัญหาข้อ นไ้ี ด้งา่ ยแล้ว” จะเหน็ วา่ การให้ของพระบรมโพธสิ ัตว์น้นั เป็นไปเพอื่ ประโยชนใ์ หญอ่ ย่างเดียว ไม่ใชเ่ พราะ เห็นแก่ตัว หรือทำผดิ หลักการให้โดยทั่วไป ทานคร้ังนั้นเป็นทั้งอติทาน เป็นท้ังมหาทาน และเป็นหนึ่ง ในปัญจมหาบริจาคที่ทำได้โดยยาก การท่ีพระเวสสันดรทรงบริจาคลูกท้ังสอง เพื่อให้เป็นทาสของ พราหมณ์น้ัน ย่อมไม่เป็นบาป เพราะตามธรรมดาของคนทั่วไป ลูกจำเป็นต้องช่วยเหลือบิดามารดา แม้ชีวติ ของตนก็ควรสละ ผูส้ ละชวี ติ เพอื่ บดิ ามารดา ได้ช่ือว่าเป็นลกู ยอดกตญั ญู นนั่ หมายถงึ ทา่ นไดท้ ำ ดีแลว้ นอกจากไม่เปน็ บาปแล้ว ยังชื่อวา่ ไดบ้ ญุ อีกดว้ ย การบำเพ็ญทานบารมีของพระเวสสนั ดร เป็นการบำเพ็ญทานบารมีทีย่ ิ่งใหญ่มาก เกินกว่า วสิ ยั ที่มนุษย์ธรรมดาสามัญชนท่วั ไปจะพงึ ทำได้ ทงั้ น้ีก็ดว้ ยความต้งั ใจอันเด็ดเดย่ี วแนว่ แน่ของพระองค์ ทีท่ รงพระประสงค์ตอ่ พระสมั มาสมั โพธิญาณอนั จะเป็นประโยชน์เกือ้ กูลต่อมนุษยชาตใิ นกาลภายภาค หนา้ ตามประวัตกิ ล่าวว่าพระเวสสนั ดรทรงมีนำ้ พระทยั ในการบำเพ็ญทานแตย่ งั ทรงพระเยาว์ ดงั พทุ ธ ดำรัสท่ปี รากฏในเวสสันดรจรยิ าว่า “เมอ่ื เราเป็นทารก มีอายุ 8 ขวบ เราน่ังอยใู่ นปราสาท คดิ จะบริจาคทานว่าเราจะพึงให้ หัวใจ ดวงตา เลือด เน้ือและรา่ งกายหากมีใครมาขอ เราก็ยินดีจะให้ เมือ่ เราคิดถงึ การบริจาคทาน จติ ของเรากไ็ ม่หว่นั ไหว สรุปได้ว่า พระเวสสันดรผู้ม่งุ บุญ และกลบั กลายเปน็ การทำความทกุ ขใ์ ห้แก่ผูอ้ ่ืนประเด็นนี้ พระเจ้ามิลินท์ทรงเส่ือมใสในตัวพระเวสสันดรมากแต่ ถ้าหากพระเวสสันดรให้ทานรา่ งกายตัวเองไม่ ดกี ว่าเหรอจะไดไ้ ม่ให้ทกุ ข์ผู้อน่ื พระนาคเสนทรงตอบปญั หาข้อน้ีว่าถ้าให้ร่างกายตนเองเป็นทานไมถ่ ือ วา่ เป็นสัตบุรุษเลย แล้วอีกอย่างพระเวสสันดร ทรงมีแนวคิดว่าถ้าหากให้ลกู เป็นทานแล้ว พระเจา้ สัญ ชยั ทรงรบั รู้ พระองคท์ รงไถ่หลานทง้ั สองคืนแนน่ อน และพระกุมารพระกุมารที ้ังสองพระองค์ทรงเป็น ผู้บุญญาธิการสงู ไม่ลำบาก แน่นอน ถ้าหากให้ลูกทั้งสองอยู่กับพระองค์ต่อก็จะลำบากในหลายๆเร่ือง สดุ ท้ายกเ็ ป็นไปตามทพี่ ระองค์คดิ ไว้ทุกประการ เพ่ือพระสัพพัญญูตญาณ พระเวสสันดรทรงทำไดท้ ุก อย่างเพราะรกั ในพระสพั พัญญูตญาณมากกว่าส่ิงใด จึงทำใหพ้ ระองค์มีทัศนคติและแนวคิดในการให้ ทานอย่างน้ี พระเวสสันดรยังทรงพระราชทานช้างปัจจัยนาคใหก้ บั คณะพราหมณ์ชาวกาลิงครฐั 8 คน ทม่ี าทลู ขอโดยอา้ งเหตุผลว่า กาลิงครฐั น้ันฝนไม่ตกเกิดทพุ ภกิ ขภยั ข้าวยากหมากแพงประชนอดอยาก ถ้าพระองคไ์ ดพ้ ระราชทานช้างมงคลตวั ประเสรฐิ จะสามารถแก้ปัญหาเหลา่ นไี้ ด้ พระเวสสันดรก็ทรง พระราชทานช้างใหโ้ ดยจิตใจที่ไมห่ วั่นไหว 2.4.2 วิเคราะห์เชงิ สงั คมครอบครวั พระเจ้ามิลินท์ทรงเส่ือมใสพระเวสสันดรเป้นอย่างมาก ถือว่าพระองค์เป็นผู้มีบุญลาภอัน ประเสริฐ ที่ได้เกิดมาเป็นสาวกของพระพุทธองค์ ผู้มีน้ำพระทัยเป่ียมด้วยพระมหากรุณา ดังน้ัน ให้
43 หมั่นส่ังสมบุญให้เต็มท่ี ทั้งทาน ศีล ภาวนา เพราะหนทางการสร้างบารมีของพวกเรานั้น ยังอีกยาว ไกล กว่าจะไปถึงเป้าหมาย คือ ท่ีสุดแห่งธรรม จะต้องทุ่มเทสร้างบารมีท้ัง 30 ทัศ ให้เต็มเปี่ยม บริบูรณ์ โดยเฉพาะทานบารมี แม้จะเปน็ เร่ืองรอง แต่เป็นสิ่งท่ีต้องทำและขาดไม่ได้ บารมีทั้ง 30 ทัศ จะเตม็ เปีย่ มบริบรู ณ์ได้ ย่อมตอ้ งอาศัยทานบารมีเป็นเครื่องรองรบั เหมือนการสร้างบ้านให้มนั่ คง ย่อม ต้องอาศัยเสาเข็มที่ฝังลงลึก ดังนั้น ให้ทุกคนทุ่มเทในการสร้างบารมี เพื่อแข่งขันกับเวลาในชีวิตท่ี เหลอื น้อยลงไปทุกขณะกันทกุ คน ยกตัวอย่างเช่น อำมาตย์ผู้ต้องการความเจริญ ต้องการเป็นใหญ่เป็นโต ย่อมสละทรัพย์ สมบัติ ขา้ วของ เงินทองทั้งส้ินของตนแก่คนอ่ืน ๆ เพราะสมบัติเหล่าน้ี จะเป็นทางผ่านให้ได้ตำแหน่ง ใหญ่โตในอนาคต ฉันใด พระเวสสันดรทรงสละสิ่งของภายนอก ตลอดจนถงึ ชวี ติ ของพระองคแ์ ก่ผู้อ่ืน เพ่ือให้ได้มาซึง่ พระสมั มาสัมโพธิญาณอนั ประเสรฐิ ฉนั น้ัน เหตุผลอีกอย่างหนึ่ง คือ การท่ีพระเวสสันดรได้พระราชทานโอรส ธิดา อัครมเหสีให้แก่ พราหมณ์น้ัน ไม่ใช่เพราะความเกลียดชังแต่อย่างใด หรือเห็นว่ามีอยู่มาก หรือเพราะไม่อาจเลี้ยงได้ หรือเพราะรำคาญ แตไ่ ด้พระราชทานในคร้ังนเี้ พราะพระองค์ทรงมุง่ หวังพระสพั พัญญูตญาณ ทรงรัก พระสัพพัญญูตญาณมากกว่าสงิ่ ใดจงึ สละทกุ อยา่ งเพื่อเป็นการให้ทาน ด้วยเหตุที่พระเวสสันดรเป็นผู้มีปัญญา มองเห็นการณ์ไกลกว่าคนธรรมดาทั่วไป ท่านจึง พระราชทานพระลูกเจ้าทั้งสอง ให้แกพ่ ราหมณ์ชูชก เพราะเห็นว่า หากลูกเล็กทั้งสองอยู่กับพระองค์ ในกลางป่าเช่นนี้ ได้กินแต่หัวเผือกหัวมัน หากบริจาคให้พราหมณ์ พระเจ้าปู่จะได้ทรงไถ่รับไปเลี้ยง พระโอรสและธิดาทั้งสองของพระองค์ เป็นผมู้ บี ญุ มากอย่แู ลว้ ไม่มผี ู้ใดในโลกใชล้ ูกของพระองค์ใหเ้ ป็น ทาสหรอื ทาสีได้ พระเจ้าปูจ่ ะตอ้ งไถ่ลกู ท้ังสองไว้ เม่ือดำรเิ ช่นน้ี จงึ ไดพ้ ระราชทานลกู ท้งั สองไป แต่ในส่วนของเร่ืองครอบครัว พระเวสสันดร ถอื ว่าเป็นผู้ที่มีความเห็นแก่ตัวมาก เป็นผู้ทำ ให้ครอบครัวแตกแยก และเกิดความทุกข์กาย ทุกขใ์ จ ในแง้ของพระอัครมเหสี กบั พระราชโอรสพระ ราชธิดา กล็ ำบากมาก ในการให้ทานของพระองค์ในครง้ั นี้ พระเวสสนั ดรเป็นผู้มีทัศนคติและแนวคิดท่ี แตกต่างจากบุคคลทว่ั ไป พระองค์ทรงมุง่ เน้นพระโพธิญาณเป็นหลัก และทรงคิดวิเคราะห์ถึงเหตุการ หลังจากการให้ทานไว้หมดแล้ว ว่าในส่วนของพระโอรสพระธิดา ถ้าความนี้ทราบถึงพระเจ้าสัญชัย พระองค์ทรงไถ่เอาตัวหลายทั้งสองคืนแน่นอน และในส่วนของพระมเหสีก็เช่นกัน พระอินทร์ทรง แปลงกายลงมาเพ่อื ทุนขอพระมเหสี เพอ่ื ใหก้ ารบำเพ็ญทานบารมใี นครั้งนี้ของพระเวสสันดรสำเรจ็ แต่ ไมไ่ ด้คิดจะเอาพระมเหสไี ปเปน็ เมียจริง ๆ เพียงแคม่ าขอ และจะใหพ้ ระนางกลับคืนสู่ นครเทา่ นนั้ เอง สรุปได้ว่า พระเวสสันดร เป็นผู้ที่มีแนวคิดมีการวางแผนไว้ล่วงหน้า ให้กับครอบครัวของ พระองค์เปน็ ที่เรยี บร้อยแล้ว จึงได้พระราชทานให้ทานทุกอย่าง แก่ผู้ท่ีมาทุนขอ เพอ่ื ให้ทานในคร้ังน้ี สำเร็จ พระองค์จึงได้เก็บความเศร้าเสียใจไว้ข้างใน ไม่ให้ผู้ใดล่วงรู้ได้ ในเชิงครอบครัวเป็นการทำให้ ครอบครวั แตกแยก ไปคนละทิศละทาง ทำให้เกิดความทุกข์ ของท้ัง 4 พระองค์ แต่ในสิง่ ที่ทำไปเพื่อ
44 ความปรารถนาพระโพธิญาณสูงสุด ในการบริจาคมหาทานท้ังปตุ ตทาน คือการพระราชทานพระโอรส และพระธิดาให้เป็นทาน และภริยาทาน คือการพระราชทานพระชายาให้เป็นทานนั้นหากเมื่อมอง อย่างผิวเผินในยุคสมัยท่ีเปลี่ยนไป พระเวสสันดร ทรงมีแนวคิดว่าถ้าหากให้ลูกเป็นทานแล้ว พระ เจ้าสัญชัยทรงรับรู้ พระองค์ทรงไถ่หลานทงั้ สองคืนแน่นอน และพระกมุ ารพระกุมารีท้ังสองพระองค์ ทรงเป็นผู้บุญญาธิการสูงไม่ลำบาก แน่นอน ถ้าหากให้ลูกทั้งสองอยู่กับพระองค์ต่อก็จะลำบากใน หลายๆเรื่อง สุดท้ายก็เป็นไปตามท่ีพระองค์คิดไว้ทุกประการ เพ่ือพระสัพพัญญูตญาณ พระ เวสสันดรทรงทำได้ทุกอย่างเพราะรักในพระสพั พัญญูตญาณมากกวา่ ส่งิ ใด จึงทำใหพ้ ระองค์มที ัศนคติ และแนวคิดในการให้ทานอย่างน้ี พระเวสสันดรยังทรงพระราชทานช้างปัจจัยนาคให้กับคณะ พราหมณ์ชาวกาลิงครฐั 8 คนท่ีมาทูลขอโดยอา้ งเหตผุ ลวา่ กาลิงครัฐน้ันฝนไม่ตกเกิดทุพภิกขภัย ข้าว ยากหมากแพงประชนอดอยาก ถ้าพระองค์ได้พระราชทานช้างมงคลตัวประเสริฐ จะสามารถ แก้ปัญหาเหลา่ น้ไี ด้ พระเวสสันดรกท็ รงพระราชทานชา้ งให้โดยจิตใจทไ่ี ม่หวั่นไหว อาจถกู ตั้งคำถามว่า เป็นการถกู ต้องเหมาะสมชอบธรรมหรือขัดกับหลักมนษุ ยธรรมหรือจริยาศาสตร์หรอื ไม่ การให้ชวี ิตคน อื่นเพื่อเป็นบันไดมุ่งสู่การบรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณของตนเองนั้น ถือว่าเป็นล่วงละเมิดในสิทธิ มนุษยชนหรอื ไม่ คำถามเหล่าน้ีล้วนแต่แฝงความเคลอื บแคลงสงสัยให้กับผูค้ นท่ตี ่างวฒั นธรรมหรอื เกิด ใหม่ในกาลภายหลัง ดังน้ัน ผู้เขียนจึงต้องการหาคำตอบและเหตุผล เพื่อนำมาตีความและอธิบาย ขยายความเพื่อทำความเข้าใจให้กับผู้ท่ียังเคลือบแคลงสงสัยอยู่ ในกรณีการพระราชทานพระโอรส พระธิดาและพระชายาให้เปน็ ทานของพระเวสสันดรน้ันว่าถกู ตอ้ งเหมาะสมและชอบธรรมหรือไม่ อัน จะเปน็ ประโยชนต์ ่อการทำความเขา้ ใจใหถ้ กู ตอ้ งตามหลักการและเหตุผล นำมาซ่งึ สมั มาทฐิ ติ ่อไป
บทที่ 3 การบำเพญ็ ทานบารมขี องพระเวสสนั ดรในเวสสนั ดรชาดก งานวิจัยเรอ่ื ง “ศึกษาวิเคราะหก์ ารบำเพ็ญทานบารมีของพระเวสสนั ดรในเวสสนั ดรชาดก” ในบทน้ีมีรายละเอียดในประเด็นท่ีได้ศกึ ษาการบำเพ็ญทานบารมีของพระเวสสันดรในเวสสันดรชาดก ดังน้ี 1) ความหมายการบำเพ็ญทานบารมี 2) การบำเพ็ญทานบารมีตามจริยาวัตรของพระโพธิสัตว์ 3) พระเวสสนั ดรกบั การบำเพญ็ ทานบารมี 3 ระดบั ตามรายละเอยี ด ดงั น้ี 3.1 ความหมายการบำเพญ็ ทานบารมี 31.1. ความหมายของบารมี คำว่า “บารมี” หมายถึง ปฏิปทาอันยวดย่ิง คุณธรรมท่ีประพฤติปฏิบัติอย่างย่ิงยวด คือ ความดีที่บำเพ็ญอย่างพิเศษเพื่อบรรลุซึ่งจุดหมายอันสูง เช่น ความเป็นพระพุทธเจ้าและความเป็น มหาสาวกเป็นต้น บารมีในพระพุทธศาสนาเถรวาทมี 10 ประเภท คือ ทาน ศีล เนกขัมมะ ปัญญา วิริยะขันติ สัจจะ อธิษฐาน เมตตา และอุเบกขา บารมีจัดเป็น 3 ระดับ คือ ระดับบารมี ระดับอุป บารมีและระดบั ปรมตั ถบารมี “ บารมี ” ท่ีปรากฏในพระไตรปิฎกพระสูตรต่าง ๆ แต่เดิมจะหมายถึงความเป็นเลิศเป็น ของปัจเจกบุคคล ไมไ่ ดเ้ นนเฉพาะว่าตองเป็นความเปน็ เลศิ ในทางพทุ ธศาสนา ตอมามีการใชมากขนึ้ ใน พุทธศาสนา มคี วามหมายเปลย่ี นเป็นความเปน็ เลิศในการปฏบิ ัตธิ รรม และในที่สุดก็ไดเ้ จาะจงวาบารมี หมายถงึ ความเป็นเลิศที่สุดในการปฏิบัติธรรม เป็นการดับสิ้นแหงอาสวะกิเลสแต่ความหมายน้กี ็ยังไม่ แพรหลาย สวนใหญจ่ ะใชในความหมายวา ความเป็นเลศิ ในการปฏบิ ัติธรรมใน ขน้ั ตอนหนงึ่ “บารมี” สันนิษฐานวามาจากศัพทเดิมวา “ปรม” ลง ณ ปัจจัย ในราคาทิตัทธติ ไดศ้ ัพทวา ปารมีแลวลงอีอิตถีลิงคอกี ทีเปน็ ปารมี คําวา “ปรม” ท่ีเป็นตนศัพท์ของคําวา ปารมีตามแบบสัททนยะ ที่เกาท่ีสุดในเถรวาทปรากฏอยู่ในจริยาปฏกอรรกถาของพระธรรมปาละ ท่านวเิ คราะหค์ วามหมายไว คอื ผูเ้ ลศิ ยงั ใหเตม็ อย่างย่ิงและประเสรฐิ สมเด็จพระสังฆราชเจากรมหลวงวชิรญาณวงศ ได้ทรงอธิบายถึงการบําเพ็ญบารมีของ พระโพธสิ ัตวจนถึงในพระชาติท่ีสุดซ่ึงเป็นพระสิทธัตถะ “วา่ พระสัมมาสมั พุทธเจาไม่ได้เกิด ไมไ่ ด้เจ็บ ไม่ได้ตาย ตลอดถึงไม่เกิด ไม่เกิดไปตามกายแม้ในทศชาติคือ 10 ชาติที่ท่านแสดงไวว่าพระเตมีย พระชนก พระสุวรรณสาม พระเนมีพระมโหสถ เป็นตน จนถึงพระเวสสนั ดร” เม่ือตองเกดิ ในเบื้องตน กต็ องชํารุดทรุดโทรมในทามกลาง ในท่ีสุดกส็ ลาย นี้เป็นสวนรูปกาย ทานจงึ บําเพ็ญบารมีสืบเน่ืองต่อ
46 กนั มาโดยลำดับ จนถงึ ในทสี่ ุดท่ีเปน็ พระสทิ ธตั ถะ น่เี ป็นตวั อย่างท่ีผนู้ บั ถือพระพุทธศาสนาจะถงึ ระลึก ถงึ แล้วและพยายามทำตนใหดีขึ้นโดยลำดับ ตามความสามารถที่จะพึงกระทำได้พระโพธิสัตวที่เรียก กนั และรูกนั เขาใจกันนั้น ท่านมุ่งหมายถึงพระโพธิสตั วที่จะตรัสรูเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจาอย่างเดียว แต่เมอ่ื ระลึกถึงศัพทวา พระพุทธะเชนน้ีแลว ทานแจกออกไปตา่ ง ๆ กันคือ พระสัมมาสัมพุทธะ หรือ อนุพุทธะ อีกอย่างหนึ่ง เม่ือเป็นเชนนี้ก็นาจะเรียกพระโพธิสัตวเป็น 3 อย่าง ตามพระพุทธะน้ัน เป็น ตนควรจะเรียกชื่อวา สมั มาสัมพุทธโพธิสตั ว์ อย่างที่ 2 ควรจะเรียกวา ปจั เจกโพธสิ ัตว อย่างท่ี 3 ควร จะเรียกวา สาวกโพธิสัตวหรอื อนุโพธิสัตว์1 สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ สุวฑฺฒโน) ได้กล่าวไว้ในหนังสอื “ทศบารมีทศพธิ ราชธรรม” ว่าในการบําเพ็ญบารมีทั้ง 3 นั้น คอื บารมี อุปบารมี ปรมัตถบารมี โดยให้ความหมายของบารมีท้ัง 3 อย่างว่า บารมีที่เป็นปกติสามัญ บารมีที่ยิ่งใหญ่กว่าปกติสามัญและบารมีที่ถึงที่สุด บารมี 10 และ ราชธรรม ต้องปฏิบัตใิ ห้สมั พนั ธ์กันถึงจะสมบรู ณ์จะขาดส่ิงหน่งึ สงิ่ ใดไม่ได้ พระโพธิสัตว์ทำได้ ก็สง่ั สม บารมีเป็นพระพุทธเจ้าได้ พระราชาทำได้ก็จะทำให้พระราชาที่มคี วามประเสริฐที่สุดในโลก ทั้งบารมี และทศพศิ ราชธรรมทุกคนสามารถปฏิบัตไิ ด้เหมือนกนั หมด2 พระเทพมุนี (วิลาส ญาณวโร) กล่าวว่าไว้ในหนังสือ ศาสตร์ว่าด้วยการเป็นพระพุทธเจ้า “สมเดจ็ พระบรมโพธิสตั ว์เจา้ ทั้งปวง ย่อมมีใจม่นั ประกอบไปด้วยอธิษฐานธรรม มีความมนั่ คงเด็ดขาด ย่ิงนัก ด้วยว่าพระพุทธภูมิจักสำเร็จได้ ต้องอาศัยอธิษฐานธรรมเป็นสำคัญ เหตุนั้นพระโพธิสัตว์เจ้า ทั้งปวง จงึ พยายามสร้างสม อบรมพระอธิษฐานธรรมให้มากมูลเพิ่มพูน ให้ถึงความแก่กล้าย่งิ ขึ้นไปใน ทกุ ๆ ชาติทีเ่ กิด ไม่ว่าจะเกิดในชาติไหน และเสวยพระชาติเป็นอะไรก็ตามก็ย่อมพยายามสร้างความ มน่ั คงตั้งมน่ั แห่งดวงจิตเพือ่ ให้ศักดสิ์ ทิ ธส์ิ มั ฤทธผ์ิ ลตามความมุ่งมาด ถ้ายงั ขาดอยู่ไม่เต็มบริบูรณก์ ็เพยี ร เพิ่มพูนให้ภญิ โญภาพย่ิง ๆ ขึ้นไปมีใจแนว่ แน่ตั้งมั่นในส่ิงน้นั มิได้หวั่นไหวโยกคลอนเลยแม้แต่น้อยถึง ใครจะคอยขู่คาํ รามเข่นฆ่าให้อาสญั ส้ินชวี ิต กไ็ มล่ ะอธษิ ฐานจิตสมาทานในกาลไหน ๆ”3 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้ทรงพระราชวิทยานิพนธ์เรื่อง “ทศบารมีในพระพุทธศาสนาเถรวาท” เก่ยี วกบั ความหมายของคําว่าบารมีในพระไตรปิฎกอรรถกถา และปกรณ์พิเศษ ความหมายของคําว่าบารมีในคัมภีร์พุทธศาสนาในประเทศไทย และอิทธิพล ความคิดเรื่องบารมีในวัฒนธรรมไทย โดยให้ความหมายของคำว่าบารมีไว้อย่างครอบคลุมในทุก ๆ ด้าน เช่น ในเรื่อง การปกครองโดยพระมหากษัตริย์เป็นผู้นำ การจัดระเบียบแบบแผนทางสังคมให้ ไดร้ บั ความผาสกุ กันทว่ั หน้า ทัง้ นพี้ ระมหากษตั ริย์ ยงั เปน็ ศาสนปู ถัมภข์ องพระพทุ ธศาสนา เปน็ ผ้นู ำใน 1สมเดจ็ พระสังฆราชเจ้ากรมหลวงวชริ ญาณวงศ, ธรรมานุกรม, อ้างแล้ว, หนา้ 320–321. 2สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ สุวฑฒฺ โน), ทศบารมที ศพธิ ราชธรรม, อา้ งแลว้ , หน้า 253. 3พระเทพมุนี (วลิ าส ญาณวโร), ศาสตรวา่ ด้วยการเป็นพระพทุ ธเจา้ , อ้างแล้ว, หน้า 64.
47 เรอื่ งของการมีวินัย มศี ีลธรรมจรยิ ธรรม และยึดถอื เป็นข้อปฏิบตั ทิ ำให้บา้ นเมอื งเกดิ ความร่มเย็น สงบ สุข การปฏิบัติ เช่น นี้ของพระมหากษัตริย์ เรียกว่าเป็นการบําเพ็ญบารมีของพระโพธิสัตว์อย่าง แทจ้ ริง4 พระมหาจู่ล้อม ชูเล่ือน ได้ศึกษาวจิ ัยเกี่ยวกับ“ความกล้าหาญทางจริยธรรมในการบาํ เพ็ญ บารมขี องพระโพธิสัตว์ในทศชาติชาดก” ผลการวิจัยพบว่า พระโพธิสัตว์ท้ังมีความกล้าหาญมุ่งม่ันใน การบําเพ็ญบารมีของตนเป็นอย่างงย่ิง แม้ต้องเผชิญกับ ความยากลำบากอย่างท่ีสุด การท่ี พระโพธิสัตว์มีความกล้าหาญในการเผชิญกับความยากลําบากเพราะมีความต้องการท่ีจะได้เป็น พระพุทธเจ้าเปน็ แรงจูงใจแมว้ ่าการกระทำของ พระโพธิสตั ว์บางโอกาสจะเป็นสถานการณ์ขัดแย้งทาง ศลี ธรรม แต่พระโพธิสัตว์ก็สามารถดำรงตนอยู่ในการบําเพญ็ บารมีอยา่ งม่ันคง และคณุ ธรรมสำคัญท่ี พระโพธิสัตว์มคี วาม กล้าหาญในการบําเพ็ญบารมีไดอ้ ยา่ งตอ่ เนือ่ ง5 “บารมี” ตามรูปศัพท์ตามที่มีผู้แสดงความคิดเห็นทง้ั ในคัมภีร์และหนังสือทางพุทธศาสนา ต่าง ๆ ไว้มากมายแต่ผู้วิจัยมุ่งจะศึกษาถึงความหมายของ “บารมี” ตามความหมายในมัชฌิมนิกาย บุคคละบัญญัตอิ ปทาน พุทธวงศ์และในคมั ภรี ์จรยิ าปฎิ ก ดังน้ี ความหมาย ของบารมีในคัมภีร์มัชฌิมนิกายพระโพธิสัตว์ในพระพุทธศาสนาเถรวาท คือ ผู้ที่บำเพ็ญบารมีเพ่ือตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าโดยบำเพ็ญบารมีอย่างใดอย่างหน่ึงในบารมีท้ัง 10 ประเภท ต้งั แต่ข้นั ธรรมดา ขั้นกลาง คอื ขน้ั อุปบารมี และ ข้ันสูงสดุ คือ ข้ันปรมัตถบารมี ให้เตม็ เปี่ยม โดยมุ่งหวงั พระสัมมาสัมโพธิญาณเป็นหลักชัยในการบำเพ็ญบารมี พระโพธิสัตว์ท่ีบำเพ็ญขันติบารมี อยา่ งยงิ่ ยวดเชน่ พระเวสสนั ดร ทรงบำเพ็ญทานบารมี คัมภีร์มัชฌมิ นิกาย เป็นส่วนท่ีเกา่ แก่และสำคัญของพระสุตตันตปิฎก และมีหลายพระสูตร ท่ีกล่าวถึงความหมายของ บารมีในจำนวนพระสูตรเหล่าน้ันผู้วิจัยจะนํามากล่าวเฉพาะสคารวสูตร เท่าน้ันที่ใช่ คําว่า บารมีในความหมายว่า เป็นเลิศถึงท่ีสุดในพระพุทธศาสนาในสคารวสูตร หรือ สังคารวสูตร ในมัชฌิมปณฺณาสก กล่าวอธิบายว่า “ บารมีคือความเป็นเลิศ เป็นท่ีสุดแห่งอภิญญา ในทิฏฐธรรม ดังท่ีพระพุทธองค์ทรงตรัสกบั ภารทั วาชะวา ดูกรภารัทวาชะ เราย่อมกล่าวความตา่ งกัน (แยกประเภท) ของสมณพราหมณ์ทั้งหลายผู้บรรลุความเป็นเลิศ (บารมี) อันเป็นท่ีสุดแห่ง อภิญญา ในทิฎฐธรรมแล้ว 4สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี, “ทศบารมีในพระพุทธศาสนาเถรวาท”, อ้างแล้ว, หน้า 173. 5พระมหาจู่ล้อม ชูเลอ่ื น, “ความกลา้ หาญทางจริยธรรมในการบําเพ็ญบารมีของพระโพธสิ ตั ว์ ในทศชาติ ชาดก”, วิทยานิพนธป์ รญิ ญาศลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑติ วิทยาลยั : มหาวิทยาลัยมหิดล), 2546, หนา้ 3.
48 ยอ่ มปฏิญาณ คือยอมรับซ่ึงอาทิพรหมจรรย์บางพวกเป็นผู้ฟังตามวันมา เหมือนพราหมณ์ ท้ังหลายผู้ทรงไตรวิชชา สมณพราหมณ์พวกหน่ึงเป็นผู้บรรลุความเป็นเลศิ อันเป็นที่สุดแห่ง อภิญญา ในทิฏฐธรรมแล้วรู้เฉพาะซึ่งอาทิพรหมจรรย์เพราะสกั ว่าศรัทธาเหมือนพวกนกั ตรึกตรอง นักใคร่ครวญ สมณพราหมณ์ท้งั หลายพวกหนงึ่ เป็นผู้บรรลุความเปน็ เลศิ อนั เป็นที่สดุ แห่ง อภิญญา ในทฎิ ฐธรรมแล้ว ดว้ ยการรู้ย่งิ แล้วซ่ึงธรรมด้วยตนเองน่ันเทียว ในธรรมทั้งหลายอันไม่ได้ฟังกันมาก่อน ย่อมรู้เฉพาะซ่ึง อาทิพราหมณ์เราย่อมเปน็ ผู้หนึ่ง จากข้อความท่ียกมา แสดงให้เห็นว่าสมณพราหมณ์ทกุ คนล้วนบรรลุ ความเป็นเลิศตามลัทธิของตน ให้คําว่า “ทิฎฐธรฺมมาภิญญาโวสานปรามิปฺปตฺตา” ผู้ถึงแล้วซ่ึงความ เปน็ เลิศคือถึงความเป็นท่ีสดุ แห่ง อภญิ ญาในปัจจบุ ัน ในทนี่ ี้ใช้คําอธิบายว่า “บารม”ี หมายถึง “ความ เป็นที่สดุ อภิญญาในปัจจุบัน” ในพระสูตรน้ีอภญิ ญาโวสาน หมายถึงท่สี ุดแหง่ ความรู้ผลสุดท้ายผลเลิศ ท่สี ุด ตามคติของพราหมณ์แต่ละนิกาย มิได้หมายถงึ ผลสดุ ท้ายทางพุทธศาสนา เห็นไดจ้ ากการทพี่ ระ พุทธองค์ตรัสถึงสมณพราหมณ์ว่า เพราะเป็นผู้เรียนฟังกันมาตามคัมภีร์เหมือนกับผู้ที่รู้ ไตรวิชชาคือ พระเวท 3 และเพราะเป็นตรึกตรองเอาเองซ่ึงพระพุทธเจ้าไม่ทรงยกย่อมทรงให้พิจารณาด้วยตนเอง พระพุทธเจา้ ทรงยำ้ ถึงบารมีในทิฏฐธรรม คอื ทรงย้ำธรรมปฏิบตั ิในปัจจุบนั ไม่ใช่การสะสมจากรอท่ีจะ รบั ผลในอนาคต เป็นเรื่องทีจ่ าํ เป็นในปัจจบุ ัน และให้ผล ในปจั จุบนั ในปัจจุบัน ในที่นี้ใช้คำอธิบายว่า “บารมี” หมายถึง “ความเป็นท่ีสุดอภิญญาในปัจจบุ ัน” ในพระสูตรนี้อภญิ ญาโวสาน หมายถึงท่ีสดุ แห่งความรู้ผลสดุ ท้ายผลเลิศท่ีสุด ตามคติของพราหมณแ์ ต่ ละนิกาย มิได้หมายถึงผลสุดท้ายทางพุทธศาสนา เห็นได้จากการที่พระพุทธองค์ ตรัสถึง สมณพราหมณ์ว่า เพราะเป็นผู้เรียนฟังกันมาตามคัมภีร์เหมือนกับผู้ที่รู้ ไตรวิชชาคือพระเวท 3 และ เพราะเป็นตรกึ ตรองเอาเองซ่ึงพระพุทธเจ้าไมท่ รงยกย่อมทรงให้พิจารณาดว้ ยตนเองพระพุทธเจา้ ทรง ยำ้ ถงึ บารมีในทิฏฐธรรม คือทรงยำ้ ธรรมปฏิบตั ิในปัจจุบัน ไม่ใช่การสะสมจากอดีต หรือรอทีจ่ ะรบั ผล ในอนาคต เป็นเรือ่ งทจี่ ำเป็นในปัจจบุ ัน และให้ผล ในปจั จุบนั 3.1.2 การบำเพญ็ ทานบารมขี องพระเวสสันดร 1) การบำเพญ็ ทานบารมีของพระเวสสนั ดร เวสสันดรชาดก กล่าวถึง การบำเพ็ญทานบารมีของพระเวสสันดรซึ่งเป็นอดีตชาติของ พระพุทธเจ้า กล่าวคือ ก่อนที่พระองค์จะเสด็จอุบัติข้ึนในโลกและได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า น้ันทรงเสวยพระชาติเป็นพระโพธิสัตว์อยู่หลายพระธาตุและในพระชาติสุดท้ายเสวยพระชาติเป็น พระเวสสนั ดรทรงบำเพญ็ ทานบารมีอันมีการให้บุตรธิดาและภรรยาเป็นทานเป็นต้นเวสสันดรชาดกนี้ พระพุทธเจ้าทรงแสดงโปรดพระเจ้าสุโทธนะพระพุทธบิดาท่ีใกล้ฝั่งแม่น้ำโรหิณีสมัยที่พระองค์เสด็จ ดำเนินโปรดพระญาติอยุธยากรงุ กบิลพัสด์ตุ ามคำกราบทูลเชิญของพระกาฬทุ ายีเถระ6 6ขุ.เถร. 26/527/347.
49 การบำเพ็ญทานบารมีของพระเวสสันดรถือเป็นแบบฉบับในการดำเนินชีวิตของชาวพจน์ อิทธิพลของเวสสันดรชาดกได้ฝังรากลึกอยู่ในความรู้สึกจนกลายเป็นวิถีชีวิตเป็นแบบฉบับในการ บำเพ็ญตนของชาวพุทธจบจนทุกวนั นเี้ วสสนั ดรชาดกถกู แบ่งเนือ้ หาออกเป็น 13 กัณฑ์ ดูเนื้อความย่อ จากภาคผนวกการบำเพ็ญทานบารมีของพระเวสสันดรเป็นบารมีหน่ึงในบารมีทั้ง 10 ประการ ดังกล่าวมาแล้วในบทท่ี 2 น้ัน ทั้งน้ี สืบเน่ืองมาจากพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามว่าทีปังกร ได้ทรง พยากรณ์ว่าพระองค์จะได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในอนาคตอย่างแน่นอน เพราะเหตุนี้ พระองค์จึงทรงเฝ้าสร้างสร้างสมบารมีเป็นเคร่ืองบ่ม พระโพธิญาณเรื่อยมานานถึง 20 อสงชัยกับ 1 แสนมหากัป ตลอดระยะเวลาอันยาวนานน้ี พระองคต์ ้องท่องเท่ียวเวยี นว่ายตายเกดิ ในภพภูมิต่าง ๆ ทรงสู้อุตส่าห์สร้างบารมีด้วยน้ำพระทยั ที่เด็ดเด่ียวทรงมุ่งมนั่ ต่อพระโพธิญาณบารมีท่ีได้ทรงบำเพ็ญท่ี เกื้อกูลเป็นต่อพระโพธิญาณน้นั หากว่าดว้ ยพระธรรมแล้วมี 10 ประการดูบารมี 10 ท่กี ล่าวแลว้ และใน การบำเพ็ญแต่ละบารมีมีทานบารมีเป็นต้นก็ทรงบำเพ็ญไม่เท่ากันในแต่ละชาติบางชาติก็ทรงบำเพ็ญ อยา่ งธรรมดาบางชาตกิ ็ทรงบำเพ็ญอยา่ งอุกฤษฏ์ฉะนัน้ หากพจิ ารณาตามลกั ษณะที่ทรงบำเพญ็ นีบ้ ารมี จงึ มี 3 ระดบั ชนั้ 7 คอื 1 บารมที ีท่ รงบำเพ็ญแบบธรรมดาสามญั เป็นบารมปี ระเภทตำ่ เรียกวา่ บารมี 2 พระบารมีที่ทรงบำเพ็ญสูงกว่าธรรมดาสามัญเป็นบารมีประเภทมัชฌิมาคือปานกลาง เรยี กวา่ อุปบารมี 3 พระบารมีท่ีทรงบำเพ็ญอย่างสูงสุด เป็นบารมีที่ทรงบำเพ็ญขั้นอุกฤษฎ์ เรียกว่า ปรมัตถปารมี ในพระชาติจำนวนมากมายน้ันมีมีพระธาตุท่ีสำคัญย่ิงอยู่ 10 ชาติในจำนวน10 ชาตนิ ับแต่ พระเตมีย์ ถึงวิธรู บัณทติ จะเป็นการบำเพ็ญบารมีเฉพาะข้อใดข้อหน่ึงไม่ได้บำเพ็ญครบทุกบารมีแต่ใน พระชาตสิ ุดท้ายทเี่ ป็นพระเวสสันดรทรงบำเพญ็ บารมีครบท้ัง 10 ประการ 1) ปฐมทานสตู ร พระผู้มีพระภาคตรสั กะภกิ ษุท้งั หลายว่า บุคคลบางคนให้ทานเพราะ 1.เพราะประสบเข้า หมายถึง เมื่อพบว่ามาหาก็ให้ทานได้ หรอื ให้รอสกั ครู่ก็ให้ทานได้ไม่ให้ ลำบากใจ 2.เพราะความกลัว หมายถึง ว่าถ้าไม่ให้กลัวถูกเขาตำหนิติเตียน หรืออีกอย่างหนึ่งคือกลัว อบายภูมิ คือตายไปแล้วอาจไปสู่ทุคติอบายภมู ิ 3.เพราะคิดวา่ “เขาได้ให้แกเ่ ราแล้ว” หมายถึง ใหต้ อบแทนคนที่เคยใหแ้ กเ่ รามากอ่ น 4.เพราะคิดว่า “เขาจกั ให้เรา” หมายถึง ให้ทานเพราะหวังผลตอบแทน เช่นว่าวันหน้าเขา คงจะใหต้ อบเราบา้ ง 7พระมหาวิลาส ญาณวโร, ปธ.9, โลกนาถทีปนี, (กรุงเทพฯ : โรงพมิ พจ์ ำลองศลิ ป์, 2508), หน้า 184.
50 5.เพราะคิดว่า “การให้ทานเปน็ การดี” หมายถงึ ว่าเปน็ การทำดี เป็นบุญกศุ ล 6.เพราะคิดว่า “เราหุงหากินได้ ชนเหล่านี้หากินเองไม่ได้ การที่เราหุงหากินเองได้แล้ว จะไม่ให้ทานแก่ชนเหล่านี้ผู้หงุ หากนิ เองไมไ่ ด้ ไม่ควร” 7.เพราะคิดว่า “เม่ือเราให้ทานนี้ กิตติศัพท์อันงามย่อมขจรไป” หมายความว่า ให้ทาน เพราะหวงั เกยี รตคิ ณุ ช่อื เสียง เขา้ ทำนองทำบุญเอาหนา้ 8.ให้ทานเพ่ือเป็นเคร่ืองประดับจริตและปรุงแต่งจิต หมายความว่า ให้ทานเพื่อประดับ จติ ใจในการเจรญิ สมถกัมมัฏฐานและวิปัสสนากัมมัฏฐาน เพราะว่าทานย่อมทำจิตให้อ่อนโยนเหมาะ แก่การเจริญกัมมฏั ฐานทั้งสอง8 2) ทานวัตถุสูตร สืบเน่ืองจากพระสูตรก่อน พระผมู้ ีพระภาคตรสั กะภิกษุทั้งหลายถึงเหตุท่ี บุคคลบางคนให้ทานเพราะ 1.เพราะความชอบ 2.เพราะความชัง 3.เพราะความหลง 4.เพราะความ กลัว 5.เพราะคิดว่า “พ่อและปู่เคยให้ทาน เคยทำทาน เราไม่ควรให้วงศ์ตระกูลเก่าแก่เส่ือมหายไป” 6.เพราะคิดว่า “เราให้ทานนี้แล้ว หลังจากตายแล้ว จักไปเกิดในสุคติโลกสวรรค์” 7.เพราะคิดว่า “เม่ือเราใหท้ านน้ี จติ ย่อมผอ่ งใสเกิดความชื่นชมโสมนสั ” และ 8.ให้ทานเพอ่ื เปน็ เครื่องประดับจิตและ ปรงุ แต่งจิต9 ในที่นี่จะกล่าวถึงเฉพาะการบำเพ็ญทานบารมีตามท่ีปรากฏในเวสสันดรชาดก ซ่ึงเป็น พระจริยาวัตรของพระเวสสันดรเท่านั้น ตามประวัติกล่าวว่าพระเวสสันดรทรงมีน้ำพระทัยในการ บำเพ็ญทานแต่ยังทรงพระเยาว์ ดังพจน์ดาํ รัสที่ปรากฏในเวสสันดรชาดกและเวสสันดรชาดกจรยิ าว่า เมอื่ เราเป็นทารกมีอายุ 8 ขวบ เรานง่ั อยู่ในประสาทคดิ จะบริจาคทานว่าเราจะพงึ ให้หทัยหวั ใจ ดวงตา เลือดเนื้อ และร่างกาย หากมีใครมาขอเราก็ยินดีจะให้เม่ือเราคิดถึงกันบริจาคทานจิตของเราก็ไม่ หวั่นไหว10 ในอรรถกถาแห่งจริยาปิฎกกล่าวว่าเม่ือพระเวสสันดรโพธิสัตว์ประสูติจากพระครรภ์พระ มารดาทรงลืมพระเนตรประสูติ เท่าน้ันก็ทรงเหยียดพระหัตถ์ทุนขอพระราชทานจากพระมารดาเพ่ือ บำเพ็ญทานลำดับน้ันพระนางผุสดีได้พระราชทานทรัพย์มีค่า 1,000 กะหาปณะให้พระกุมารเพื่อ บำเพญ็ ทานตามพระอธั ยาศัย11 8อง.ฺ อฏฺฐก. 23/31/287, องฺ.อฏฺฐก. 3/31/253. 9อง.ฺ อฏฺฐก. 23/33/288-289. 10ขุ.ชา. 28/1667-8/309, ขุ.จรยิ า. 33/78/592. 11ข.ุ จริยา. 33/77/738.
51 กล่าวกันว่า แม้ขณะท่ีพระโพธิสัตว์เวสสันดร อยู่ในพระครรภ์ก็เป็นเหตุให้พระมารดาคือ พระนางผุสดีทรงมีน้ำพระทัยในการบริจาคทาน ดังพุทธดํารัสท่ีมาในเวสสันดรจริยาว่า “เม่อื เรายังลงสู่พระครรภ์ของพระมารดาด้วยเดชของเราน้ัน พระมารดาของเราจึงเป็นผู้มีความยินดี ในการให้ทานทรงบำเพญ็ ทานแกค่ นยากจนคนป่วยไขค้ นแกย่ าจกคนเดินทางสมณพราหมณ์”12 พระเวสสันดร ในฐานะเป็นพระโพธิสัตว์องค์หน่ึง ทรงบำเพ็ญบารมีตามอุดมคติชีวิตแบบ พระโพธิสัตว์เช่นเดียวกับพระโพธิสัตว์ท้ังหลายโดยทั่วไปจะเข้าใจกันว่าพระเวสสันดรทรงบําเพ็ญ เฉพาะทานบารมีเท่าน้ันแต่ตามความเปน็ จริงแลว้ ได้ทรงบำเพญ็ บารมีครบทัง้ 10 ประการในชาตินี้ดัง จะกล่าวต่อไปแต่บารมีที่เด่นชัดที่สุดท่ีพระเวสสันดรโพธิสัตว์ได้ทรงบำเพ็ญคือทานบารมีและ การบำเพญ็ ทานบารมีของพระเวสสันดรสรุปตามลำดบั ดงั น้ี 2) ทรงบำเพ็ญทานบารมคี ร้ังแรก ดงั กลา่ วมาแล้ว เม่ือพระเวสสันดรประสูตจิ ากพระครรภ์ของพระมารดา กท็ รงทุนขอทรัพย์ เพื่อบำเพ็ญทานพระนางผุสดีได้พระราชทานทรัพย์มีค่า 1,000 กหาปณะ ให้พระกุมารเพ่ือบำเพ็ญ ทานตามอัธยาศยั ตอ่ มาเมื่อพระกมุ ารทรงมีพระชันษาได้ 4-5 พระชันษาพระเจ้ากหาปณะเพ่อื เปน็ ราช ทานให้พระกุมารเมื่อได้รับพระราชทานเครื่องประดับนั้นแล้วก็ทรงประทานให้พระพ่ีเล้ียงแม้พระพ่ี เลีย้ งจะถวายคืนอย่างไรพระกุมารกม็ ีส่งรับคืน พระราชาทรงสดับจงึ ตรัสว่าเครื่องประดับที่พระโอรส ของเราให้เป็นอันให้ดีแล้วพระองค์ทรงให้ช่างทำเคร่ืองประดับอย่างอ่ืนอีกพระกุมารก็ส่งให้อีกขณะ ท่ีเปน็ ทารกนี้เองได้ใหท้ านเช่นนถ้ี งึ 9 ครงั้ 13 3) การพระราชทานช้างปจั จัยนาค ในเวสสันดรจริยา14 กล่าวว่า ทุกวันเพ็ญ 15 ค่ำหรือทุกข์ 1 เดือนพระเวสสันดรจะส่งช้าง ปัจจัยนาคไปยังโรงทาน เพ่ือทรงบำเพ็ญทานวันหน่ึงขณะที่พระองค์ทรงช้างไปยังโรงทานได้มีชาว กาลิงครัฐ 8 คนเขา้ มากราบทลู ขอพระราชทานช้างปัจจัยนาคโดยอ้างเหตวุ ่ากาลิงครัฐน้นั ฝนไม่ตกเกิด ทุกพิกภัยข้าวยากหมากแพงประชาชนอดอยากขอพระองค์ได้ไปโปรดพระราชทานช้างมงคลตัว ประเสริฐ15 พระเวสสันดรได้สดับคำกราบบังคมทูลของพระพราหมณ์ชาวกาลิงครัฐ ดังนั้น ก็ทรงมี พระราชศรัทธาไม่สง่ หว่นั ไหวมีพระทัยน้อมไปในการบรจิ าคทานและทรงพระราชทานช้างปัจจัยนาค ให้แก่พราหมณ์ โดยพระดำรัสว่า “เราจะให้ช้างพายซับมันตัวประเสริฐนี้ซ่ึงเป็นช้างราชพาหนะอัน 12ขุ.จริยา. 33/74-75/91. 13ขุ.จริยา. 33/77/379. 14ข.ุ จรยิ า. 33/81/592. 15ข.ุ จริยา. 33/83/592.
52 สูงสุด ตามท่ีพราหมณ์ทั้งหลายได้ทุนขอด้วยจติ อันไม่หวั่นไหว”16 หรือดังพระพุทธดำรัสที่ปรากฏใน เวสสันดรจรยิ าว่า “พราหมณ์ทั้งหลายขอส่ิงใดกับเราเราก็จะให้ส่ิงนั้นโดยด้วยจิตอันไม่หว่ันไหวและ เราไม่ซ่อนแล้นของที่เรามีอยู่เพราะใจของเรายินดีในการให้ทาน”17 แล้วพระองค์ก็เสด็จลงจากช้าง พระที่น่ังทรงจบั งวงช้างปัจจัยนาคตัวประเสริฐวางลงบนมือพราหมณ์ แล้วทรงน้ำตาหลั่งน้ำเต้าทอง ลงบนมือถือพราหมณ์ พระราชทานช้างปัจจัยนาคให้แก่พราหมณ์ชาวกาลิงครัฐ ขณะนั้นได้เกิดเหตุ อัศจรรยค์ อื เขาสเิ นรุราชและป่าหมิ พานตท์ ้งั เส้นสั่นสะเทือนไปทั่ว18 ข่าวการพระราชทานช้างปัจจัยนาค ของพระเวสสันดรได้แพร่ไปท่ัวเมืองสีพีบรรดา ชาวเมืองที่ทราบขา่ วต่างก็โกรธเคืองต่อการกระทำของพระเวสสันดรเป็นอย่างมาก เพราะถอื ว่าช้าง นั้นเปน็ สมบัติของสพี ี ประชาชนทไ่ี ม่เหน็ ดว้ ยกับการกระทำของพระองค์จึงพากนั มาชุมนมุ คัดคา้ นและ กราบทูลพระเจ้าสญั ชัยดังคอกความว่าช้าแต่พระองค์ผู้สมมติเทพ แว่นแคว้นของพระองคท์ ำลายแล้ว เพราะพระเวสสันดร ผู้เป็นพระราชโอรสของพระองค์ได้พระราชทานช้างปัจจัยนาคตวั ประเสริฐของ ชาวเราทั้งหลาย ท่ชี าวแวน่ แคล้นสักกะบูชา19 4) การให้มา้ และราชรถเป็นทาน หลังจากทที่ทรงบำเพ็ญสัตสตกมหาทานแล้ว พระเวสสันดร พระนางมัทรี พร้อมด้วย พระโอรสและพระธิดา (พระชาลี และ พระกัณหา) ได้เข้าเฝ้าฯ พระเจ้าสญชัยและพระนางผุสสดี เพ่ือทูลลาแล้วเสด็จประทับรถม้าพระท่ีน่ัง ซึง่ เทียมด้วยม้าสินธพ 4 ตัว ออกจากพระนครสีพีมุ่งหน้า สู่เขาวงกต ระหว่างทางท่ีพระองค์เสด็จสู่เขาวงกตนั้น ได้มีพราหมณ์จำนวน 5 คน เดินทางติดตาม พระองค์ไป เมื่อได้โอกาส พราหมณ์ 4 คน แรกได้ทูลขอม้าสินธพท่ีใช้เทียมราขรถ พระองค์ก็ทรง พระราชทานให้ท้ัง 4 ตัว ส่วนพราหมณ์คนท่ี 5 ได้ทูลขอราชรถอีกก็ทรงพระราชทานให้จนในที่สุด ทงั้ 4 พระองค์ จึงต้องเสด็จพระราชดำเนนิ ด้วยพระบาท20 5) การใหพ้ ระโอรสและพระธิดาเป็นทาน การบำเพญ็ ทานบารมีด้วยการใหบ้ ตุ รธิดาเปน็ ทาน ถือเปน็ พระจริยวัตรของพระโพธิสตั วท์ ้ัง ปวง พระเวสสนั ดรก็เช่นเดียวกัน พระองคท์ รงทำให้พระโอรสและพระธิดา (พระกัณกาและพระชาลี) เป็นทาน ในเวสสันดรชาดก ตรัสว่า เม่ือพระเวสสันดร พระนางมัทรี พร้อมด้วยพระโอรส พระธิดา เสดจ็ ถึงเขาวงกตแล้ว ทรงถือเพศเป้นฤาษีท้ังสีพ่ ระองค์ ประทัยอยู่ในอาศรมศาลา อันวิศณุกรรมเทพ 16ขชุ า. 22/167/310. 17ข.ุ จรยิ า. 33/84/592. 18ข.ุ จรยิ า. 33/86-87/592. 19ขชุ า. 28/1671/310. 20ขุชา. 28/1865-1868/328.
53 นิรมิตให้ตามพระบัญชาของท้าวอัมรินทรธิราช เสวยสุขตามสมควร ทรงดำเนินพระชนม์ชีพด้วย ผลาหารซึ่งพระนางมทั รเี ป็นผู้ออกป่าแสวงหา การให้ทานพระโอรสและพระธิดาเป็นทานของพระเวสสันดรนั้น บุคคลจะเว้นเสียมิได้ที่ ควรกล่าวถึงในท่ีน่ีคือ “ชูชก” เพราะเป็นผู้ไปทูลขอสองกุมาร มูลเหตุท่ีทำให้ชูชกต้องเดินทางไปขอ สองพระกมุ ารนนั้ กล่าวกันว่า ชูชกพราหมณ์ ทลู ขอได้สำเรจ็ ด้วยเป็นความคิดของนางอมิตตาทบ่ี อก อบุ ายให้ชชู กไปขอยงั สองพระกุมารกบั พระเวสสันดร ในท่ีสุด พระเวสสันดร ก็ได้ตรัสเรียกสองกุมารมาพระราชทานให้แก่พราหมณ์ชูชก ด้วยพระหฤทัยช่ืนบานใน “ปุตตกทานบารมี” คือบารมีที่เกิดจากการให้พระโอรสและพระธิดาเป็น ทาน ยังผลให้แผ่นดินหว่ันไหวและเกิดเสียงบันลือล่ันไปทั่ว เสมือนหนึ่งว่าจักร่วมรับรู้และเป็นสักขี พยานในการบริจาคทานของพระองค์21 พระเวสสันดรชาดกเป็นวรรณกรรมชาดกที่ยิ่งใหญ่โดยกล่าวถงึ พระโพธสิ ัตว์ซงึ่ เสวยพระชาติ เป็นพระเวสสันดรได้บำเพ็ญบารมีอย่างสูงสุดยากเกินกว่าจะมีผ้ใู ดทำไดค้ ือให้บุตรและภรรยาแก่ผ้ทู ่มี า ขอนอกจากนั้นยงั บำเพ็ญบารมีอันย่งิ ใหญ่ อนื่ ๆ ครบถ้วนท้ัง 10 ประการ จงึ ชอื่ วา่ “มหาชาติ” และ มหาเวสสันดรชาดกเป็นเร่ืองท่ีคนไทยเรารู้จักกันมาตั้งแต่สมัยสุโขทัยแต่ไม่มีหลักฐานที่ชัดเจน จนถึง สมัยกรุงศรีอยุธยาสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถโปรดเกล้า ใหป้ ระชมุ นกั ปราชญ์ราชบณั ฑติ แต่งขน้ึ เม่ือ ปีขาล จุลศกั ราช 44 (พ.ศ. 2025) เรยี กว่า มหาชาตมิ ีท้งั หมด 13 กัณฑ์ดังนี้ 1) กัณฑ์ที่ 1 ทศพร เป็น กัณฑ์ท่พี ระอนิ ทร์ประสาทพรแก่พระนางผสุ ดี 2) กณั ฑ์ที่ 2 หมิ พานตเ์ ป็นกณั ฑ์ทีพ่ ระเวสสันดรบรจิ าค ทานช้างปัจจัยนาค 3) กัณฑ์ท่ี 3 ทานกัณฑ์เป็นกัณฑ์ท่ีพระเวสสันดรทรงแจกมหาสัตสดกทาน 4) กัณฑ์ท่ี 4 วนประเวศน์เป็นกัณฑ์สี่กษัตริยเ์ ดินดงบ่ายพระพักตร์สู่เขาวงกต 5) กัณฑ์ท่ี 5 ชูชกเป็น กัณฑ์ที่ชูชกได้ขอบุตรท้ังสอง คือ กัณหาและชาลีของพระเวสสันดรมาเป็นทาส 6) กัณฑ์ที่ 6 จุลพน เป็นกัณฑ์ท่พี รานเจตบตุ รหลงกลชูชกแล้วช้ที างไปสู่อาศรมอจตุ ฤาษี 7) กณั ฑ์ท่ี 7 มหาพลเป็นกณั ฑป์ ่า ใหญ่ ชูชกหลอกหล่อจุตฤาษีให้บอกทางสู่อาศรมพระเวสสันดร 8) กัณฑ์ที่ 8 กัณฑ์กุมาร เป็นกัณฑ์ท คุณค่าทางจริยธรรมของพระเวสสันดรท่ีมีต่อบุคคลอ่ืน พระองค์ทรงเป็นพระโอรสท่ีดีของพระบิดา พระมารดา เป็นพระสวามีท่ีดีของพระนางมัทรี และเป็นพระบิดาท่ีดีของพระโอรส พระธิดาและยัง เป็นโพธสิ ัตว์ทดี่ ีตอ่ พุทธศาสนิกชนอีกดว้ ยพระเวสสันดรทรงไดป้ ระทานสองโอรสแกช่ ูชก 9) กณั ฑ์ที่ 9 กณั ฑ์มัทรีเป็นกัณฑท์ ี่ พระนางมัทรีทรงได้ตดั ความห่วงหาอาลัยในสายเลือดอนุโมทนาทานพระโอรส ทั้งสองแก่ชูชก 10) กัณฑ์ท่ี 10 สักกบรรพเปน็ กรรณที่พระอินทรเ์ จ้าได้จำแลงกายเปน็ พราหมณ์มาขอ พระนางมัทรี 11) กัณฑ์ที่ 11 มหาราชเป็นกัณฑ์ท่ีเหล่าเทวดาแปลงร่างลงมาปกป้องสองกุมารจน เดนิ ทางถึงกรงุ สพี ี 12) กัณฑ์ที่ 12 ฉกษัตริยเ์ ป็นกัณฑ์ท่ีทั้งหกกษัตริย์ถงึ วิสญั ญีภาพสลบลงเม่ือได้พบ 21ขชุ า. 28/2087/350-353.
54 หน้ากันทเี่ ขาวงกต และ 13) กัณฑ์ที่ 13 นครกัณฑ์เปน็ กัณฑท์ ี่หกกษตั ริยเ์ สด็จกลับพระนครและพระ เวสสันดรได้ทรงข้ึนครองราชยแ์ ทนพระราชบิดา และมคี ติความเช่ือว่า การได้ฟังเทศนม์ หาชาติให้จบ บริบูรณ์ทั้ง 13 กัณฑ์ในวันเดียว จะมีอานิสงส์ดังนี้ 1) ได้พบพระศรอี าริยเมตไตรย์ 2) ไปเกิดในสุคติ โลกสวรรค์ 3) ไม่ไปเกิดในอบายภูมิ 4) จะเกิดเป็นมนุษย์ในยุคของพระศรีอาริย์และ 5) จักได้บรรลุ มรรคผลนิพพาน22 พระเวสสันดร ถือว่าเป็นนักบริจาคทานผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลกดังปรากฏในวรรณกรรม พระเวสสันดรชาดกดังน้ีคือ พระราชทานชา้ งปัจจัยนาคเป็นทาน และได้ทำพิธีสัตตสดกมหาทาน คือ บริจาคช้าง ม้า โคนม รถม้า ทาส และทาสอี ย่างละ 700 เปน็ การบรจิ าคให้คนท่ัวไป และพระองคไ์ ด้ ทำปัญจมหาบริจาค คือการบรจิ าคทยี่ ่ิงใหญ่ 5 ประการ คือ 1) ธนบรจิ าค (การสละทรพั ย์สมบัติเป็น ทาน)2)อังคบริจาค(การสละร่างกายเป็นทาน) 3)ชีวิตบรจิ าค(การสละชีวิตให้เป็นทาน) 4) บตุ รบริจาค (การสละลูกให้เป็นทาน) 5) ภริยาบริจาค (การสละภรรยาให้เป็นทาน) และพระเวสสันดรได้บำเพ็ญ คุณธรรมของพระโพธิสตั ว์ดงั นี้ 1) ใหใ้ นสิ่งท่ีบคุ คลใหไ้ ดย้ าก 2) ทำในส่ิงท่ีบุคคลทำได้ยาก 3) ทนในส่ิง ที่บุคคลทนได้ยาก 4) ชนะในส่ิงที่บุคคลชนะได้ยากและ 5) ละในสิ่งท่ีบุคคลละได้ยากและเม่ือ วิเคราะห์จริยธรรมจากบทบาทของพระเวสสันดรพบว่า หลักทศพิธราชธรรม เป็นตัวแทนด้าน คุณธรรมของพระเวสสันดรจากบทบาทและหน้าทท่ี พี่ ระองค์ได้ทรงปฏิบตั ิ23 3.2 การบำเพ็ญทานบารมตี ามจรยิ าวตั รของพระโพธิสัตว์ เป็นเรื่องยากเกินไปและเกินความจำเปน็ สำหรับตัวเองทปี่ รารถนาเพยี งทรพั ย์สมบตั ิในชาติ น้แี ละเมื่อตายไปกป็ รารถนาสวรรค์สมบัติ ความจริง การบำเพ็ญทสบารมกี ับหลักการคือ 1) ไม่ทำช่ัว 2) ทำดี และ 3) ทำจิตใหผ้ อ่ งใส เป็นเร่ืองเดียวกัน ขอให้มีจุดเริ่มต้นของการทำดี ในรูปแบบไหนก็ได้ ความดีตามหลัก พระพทุ ธศาสนามี 5 ลำดับช้นั ดังน้ี 1) กิจกรรม-พิธีกรรมที่เป็นบุญเป็นกุศลซ่ึงเปรียบการท่ีบุคคลได้ลาภสักการะและความ สรรเสรญิ เหมอื นกบั กงิ่ และใบของตน้ ไม้ 2) ศีล ซง่ึ เปรียบการท่บี คุ คลรกั ษาศลี จนสมบรู ณ์เหมือนกบั สะเก็ดของต้นไม้ 3) สมาธิ ซึ่งเปรียบการท่บี คุ คลไดค้ วามสมบรู ณแ์ หง่ สมาธเิ หมือนกับเปลือกของตน้ ไม้ 22พระสุกรี ยโสธโร, “การศึกษาวิเคราะห์จริยธรรมของตัวละครในวรรณกรรมพระเวสสันดรชาดก”, วารสารสถาบนั วจิ ยั พมิ ลธรรม, ปีท่ี 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มถิ ุนายน 2563) : 3-5. 23เร่ืองเดยี วกนั , หน้า 8.
55 4) ปัญญา ซึ่งเปรียบการที่บุคคลเจริญวิปัสสนาจนทำให้ได้ปัญญา(ญาณทัสสนะ) เหมอื นกับกระพี้ของต้นไม้ และ 5) วิมุตติ ซึ่งเปรียบการที่บุคคลเจริญวิปัสสนาจนทำให้ได้ญาณทัสสนะมีเจโตวิมุตติ เหมือนกบั แกน่ ของตน้ ไม้ ดังน้ัน ขอให้มีจุดเริ่มต้นแห่งการทำดีด้วยกุศลเจตนาอย่างแท้จริง บุคคลก็จะได้รับการ พัฒนาไปตามลำดับ ในการบำเพ็ญทสบารมีไม่ต้องกำหนดเป็นทานบารมีศีลบารมี เนกขัมมบารมกี ็ได้ แต่ให้เป็นไปในวิถีชีวิตโดยยึดหลักไม่ทำชั่ว ทำดี และทำจิตให้ผ่องใสซ่ึงมีนัยดังกล่าวมาแล้ว เช่น ใน การให้ทาน ได้ช่ือว่าทำดี ได้ชือ่ ว่าบำเพ็ญทานบารมี ในขณะเดียวกันขณะที่ให้ทานเกิดความตระหน่ี ขนึ้ มากข็ ่มไว้ ช่อื ว่าได้บำเพ็ญขันตบิ ารมี สัจจบารมี อธษิ ฐานบารมี มีเหตแุ ทรกซ้อนขึ้นมาขณะให้ทาน ซ่งึ จะทำให้จติ เศร้าหมองกร็ กั ษาอาการนงิ่ ไว้ ชื่อวา่ ได้บำเพ็ญอธษิ ฐานบารมแี ละอเุ บกขาบารมีเป็นต้น จริยาวัตรของพระโพธิสัตว์แท้จริงแล้วก็อยู่บนหลักการ 3 ดังกล่าวแล้ว และแสดงให้ครบ กระบวนการก็คือ จากหลักการ 3 พระโพธิสัตว์ก็บำเพ็ญจริยาวัตรหรือบำเพ็ญบารมีภายใต้กรอบ แห่งวิธกี าร 6 คือ 1) ไม่กล่าวให้รา้ ย ไม่ว่ารา้ ยคำเทจ็ ไมพ่ ดู ส่อเสยี ด ไมพ่ ดู คำหยาบ ไมพ่ ูดเพอ้ เจอ้ 2) ไม่เบียดเบียนไมล่ กั ทรพั ย์ ไม่ฆา่ ไมท่ ำรา้ ย และไมป่ ระพฤตผิ ดิ ในกาม 3) สำรวมระวังรกั ษาศีลบรสิ ุทธิ์บริบูรณ์ 4) รจู้ ักประมาณในการบริโภคใชส้ อย 5) ดำเนนิ ชีวติ อยา่ งสงบรม่ เย็น 6) ปฏิบตั ิกรรมฐานอยา่ งตอ่ เน่ืองและทา้ ยท่ีสุดกน็ ำไปสูอ่ ุดมการณ์ 4 คือ 1) สงั คมอุดมด้วย ขันตธิ รรม 2) สงั คมมีความสงบรม่ เย็น 3) สังคมเกษมปลอดภัย 4) สังคมไรก้ ารเบียดเบยี นกัน 3.2.1 ความหมายของจริยาวัตร จริยาหมายถึงความประพฤติ, กิริยาท่ีควรประพฤติ จริยากถา24 กล่าวว่าความประพฤติ (จรยิ า) อธบิ ายว่าความประพฤติ 7 อย่าง ได้แก่ 1) ความประพฤตใิ นอริ ิยาบท 4 2) ความประพฤติใน อายคนภายใน-ภายนอก 3) ความประพฤติในสติปัฏฐาน 4 4) ความประพฤติในสมาธิคือฌาน 4 5) ความประพฤตใิ นญาณคอื อรยิ สัจ 4 6) ความประพฤตใิ นอริยมรรค 4 7) ความประพฤตใิ นสามญั ผล 4 8) ความประพฤตเิ พอื่ ประโยชน์แก่โลก (โลกตั ถจริยา) วัตร หมายถงึ กจิ ที่พึงกระทำหนา้ ที่ความประพฤตกิ ารปฏิบตั ิการจา้ ศีลและพรต25 24ข.ุ ป. 13/28/585. 25ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542, (กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์นานมีบุ๊คส์ พับลเิ คชัน่ ส,์ 2546), หน้า 1059.
56 สรุปได้ว่าจริยาวัตร หมายถึง หน้าท่ีที่พึงประพฤติปฏิบัติความประพฤติท่วงทีวาจาและ กรยิ ามารยาทรวมถึงความประพฤตทิ ี่กลา่ วแล้วในจรยิ กถา จริยาวัตรของพระโพธิสัตว์ หมายถึง การทำความดีด้วยกัมมสัทธาก็คือว่าผู้ตั้งประณิธาน เป็นพระโพธิสัตว์ บำเพ็ญทสบารมีได้อย่างต่อเน่ืองเป็นเวลานานก็เพราะกัมมสัทธา คือเชื่อกรรม แม้จะผ่านการเวียนว่ายตายเกิดก่อนที่จะได้รับการพยากรณ์จากพระพุทธเจ้าผู้ทรงพระชนม์อยู่ก็นับ ชาติไม่ถ้วน เมื่อได้รับการพยากรณ์แล้วก็เวียนว่ายตายเกิด 547 ชาติ บำเพ็ญทสบารมี กล่าวโดยนัย ของกรรมก็คือทำความดีกาย (กายกรรมอันเป็นกุศล) ทางวาจา (วจีกรรมอันเป็นกุศล) และทางใจ (มโนกรรมอันเป็นกุศล) กัมมสัทธาของพระโพธิสัตว์เป็นอจลสัทธา(ศรัทธาคือความเช่ือไม่หวั่นไหว) จรงิ ๆ กรรมบางอยา่ งใหผ้ ลเรว็ กรรมบางอยา่ งให้ผลช้า กรรมบางอยา่ งให้ผลในชาตนิ ี้ กรรมบางอยา่ ง ใหผ้ ลในชาติและชาตติ ่อ ๆ ไป พระโพธสิ ตั วไ์ ม่ได้นกึ ถงึ ผลของกรรมดีทจ่ี ะไดร้ ับ ไมเ่ ฝ้าหวงั ผลกรรมดีท่ี จะเกิดขึ้น แต่ตั้ง กศุ ลเจตนาบำเพ็ญทสบารมีชว่ ยเหลอื สตั ว์โลก สะสมกรรมดีอย่างตอ่ เนอ่ื ง โดยเชอื่ ม่ันอย่าง ไม่มีข้อสงสัยว่ากรรมดีท่ีได้กระทำน้ัน ย่อมให้ผลดีแน่นอนทั้งแก่ตัวเองและแก่สัตว์โลกที่เข้ามา เกี่ยวขอ้ งสัมพันธ์ดว้ ยเมื่อเทียบจริยาวัตรของพระโพธสิ ัตวก์ ับหลกั การ 3 คอื ไม่ทำช่ัว ทำดี และทำจิต ให้ผอ่ งใสตามหลัก 3.2.2 จรยิ าของพระโพธสิ ตั ว์ สำหรับท่านท่ีบำเพ็ญตนซงึ่ ปรารถนาเป็นพระโพธิสัตว์ (ปรารถนาพทุ ธภูมิ) คนท่ีปรารถนา พุทธภูมิน้ี ต้องสร้างกำลังใจให้ถูกต้องมิฉะน้ันการก้าวเข้าสู่ฐานะพุทธภูมิจะไม่มีผล สำหรับผู้ที่ ปรารถนาพุทธภูมิเป็นของดี เเต่ต้องทำความรู้สึกว่า เราปฏิบัติเพื่อประโยชน์แก่ชาวโลก เราต้องการ รื้อขนสัตว์ท่ีมีความทุกข์ให้มีความสุข “ฉะน้ันขณะใดท่ีกำลังใจปรารถนาพุทธภูมิจิตต้องคิดเสมอว่า\" ทุกขข์ องตนไม่มคี วามหมาย แต่ทุกข์ของชาวประชาท้ังหลายเปน็ ภาระของเรา” เขาทำกำลังใจกันแบบนี้ หมายความว่า เราจะทุกข์แค่ไหนมันเป็นเรื่องของเราไม่มี ความสำคัญ จิตของเราต้องคิดว่า เราจะพ้นทุกข์ได้เพราะว่าเราช่วยเหลือให้ความสุขแก่บรรดา ประชาชน ที่มีความทุกข์ ถ้าเราเปลื้องทุกข์ของเขาได้ เราก็เป็นคนหมดทุกข์เรากเ็ ป็นคนที่มีความสุข จติ ของพระโพธิสัตวต์ อ้ งมีอารมณ์แบบนี้ แตท่ ว่าเปน็ ไปตามบารมี เพราะว่าบารมีของพระโพธิสัตว์น้ัน ถึงแม้จะเป็นการเร่ิมต้นแห่งการปรารถนาพุทธภูมิ กำลังใจท่ีเต็มเป่ียมไปด้วยเมตตาปรานีก็จะมีบริษัทมาก จะมีพวกมาก มีบริวารมาก การมีพวกมาก บริวารมาก จะมีลูกน้องมากการมีบริวารมากเป็นการฝึกกำลังใจ ของนักปฏิบัติเพื่อพุทธภูมิ เพ่ือที่ จะได้ซ้อมกำลังใจของพวกเราว่า เรามีความหนักแน่นเพียงใดถ้าจิตใจของเรามีความท้อถอยนั้น หมายความว่ากำลังใจจะก้าวไปหาพุทธภูมิมีกำลังอ่อนมาก นักปรารถนาพุทธภูมิจำต้องมี ขันติ มี
57 ความอดทนต่อความยากลำบากทุกประการ เพ่ือความสุขของประชาชน และ โสรัจจะ ถึงแม้จะมีเหตุ กระทบกระท่งั ทจ่ี ำใจใหต้ นไม่สบายกายและใจเพียงใดกต็ ามก็ทำหน้าแช่มชื่นอยู่เสมอ ก้าวแรกสำหรับพุทธภูมิ ท่านผู้ปรารถนา “พระโพธิญาณ”แต่ทว่ากำลังใจอีกส่วนหน่ึง ท่ีจะละเว้นไม่ได้นั่นก็คือ พระนิพพานจงอย่าคิดว่าถ้าจิตเราเกาะพระนิพพานเเล้วความเป็นพุทธภูมิ จะหายไป ถ้ามอี ารมณ์อยา่ งน้ีต้องถือว่า เป็นผู้มีกำลงั ใจต่ำก้าวไม่ถึงความเปน็ พุทธภูมิพุทธภูมิ ต้องมี ความรู้สึกเสมอว่า เราเปน็ ผู้ตอ้ งการพระนิพพาน อารมณ์ใดทพี่ ระพิชิตมารทรงแนะนำในดา้ นวิปสั สนา ญาณต้องเกาะให้ติดและมีกำลังใจ ใช้ปัญญาพิจารณาเสมอ เพ่ือความสุขของจิต เพื่อปัญญาเลิศ นอกจากน้ันแล้วก็มีจิตตง้ั ไว้เสมอวา่ ถา้ หากจิตของเราบริสุทธ์ิผุดผ่องเม่ือไร เม่อื นั้นบารมีของเรานีไ้ ซร้ จะเข้าเต็มเปี่ยมในพุทธวิสัย ช่ือว่าการปรารถนาพระโพธิญาณของเราน้ีเข้าถึงน้ี แต่ว่าการเข้า พระนิพพานคนเดียวเราไม่เข้า มองใจเขา้ ไวว้ า่ บุคคลใดที่มีความทุกขใ์ นโลกนี้ ทีย่ งั มีความฉลาดไมพ่ อ บุคคลน้ันเราเองจะเป็นผู้อุ้ม เข้าสู่แดนเอกันตบรมสุข คือ พระนิพพานอันนี้เป็นกำลังใจของท่านที่ ปรารถนา พระโพธญิ าณ26 3.2.3 จริยา 8 บุคคลผู้น้อมใจเช่ือย่อมประพฤติด้วยศรัทธา ผู้ประคองไว้ ย่อมประพฤติด้วยความเพียร ผู้ตั้งสติมั่น ย่อมประพฤติด้วยสติ ผู้ทำความไม่ฟุ้งซ่าน ย่อมประพฤติด้วยสมาธิ ผู้รู้ชัด ย่อมประพฤติ ดว้ ยปัญญา ผู้รแู้ จ้ง ย่อมประพฤติด้วยวญิ ญาณ ผูม้ นสิการวา่ ท่านผู้ปฏบิ ัติอยา่ งน้ี ย่อมบรรลคุ ุณพิเศษ ได้ ก็ประพฤติด้วยวิเศษจริยา ผู้มนสิการว่ากุศลธรรมของท่านผู้ปฏิบัติอย่างน้ี ย่อมให้ต่อเน่ืองกันไป กป็ ระพฤติดว้ ยอายตนจริยา 8 เหลา่ น้ี ฯ จริยา 8 อีกประการหน่งึ คือ 1. การประพฤตดิ ้วยทัสนะแห่งสัมมาทิฐิ 2. การประพฤติดว้ ยความดำริแหง่ สมั มาสงั กปั ปะ 3. การประพฤติด้วยความกำหนดแหง่ สมั มาวาจา 4. การประพฤติดว้ ยสมุฏฐานแห่งสัมมากมั มันตะ 5. การประพฤตดิ ว้ ยความขาวผ่องแห่งสัมมาอาชวี ะ 6. การประพฤติด้วยความประคองไว้แห่งสัมมาวายามะ 7. การประพฤติด้วยความตง้ั สติม่ันแหง่ สมั มาสติ 8. การประพฤตดิ ว้ ยความไม่ฟุง้ ซ่านแห่งสัมมาสมาธิ 26พระราชพรหมยาน (หลวงพ่อฤาษลี ิงดำ วัดท่าซุง), อนุสติ , (กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์สปดี เพรส, 2559), หนา้ 115.
58 3.2.4 จริยากถาวา่ ด้วยความประพฤติ คำว่า ความประพฤติ อธิบายว่า ความประพฤติ 8 อย่าง ได้แก่ 1) ความประพฤติใน อิริยาบถ 2) ความประพฤติในอายตนะ 3) ความประพฤตใิ นสติ 4) ความประพฤติในสมาธิ 5) ความ ประพฤติในญาณ 6) ความประพฤตใิ นมรรค 7) ความประพฤตใิ นผล 8) ความประพฤติเพ่ือประโยชน์ แก่โลก คำว่า ความประพฤตใิ นอิริยาบถ ไดแ้ ก่ ความประพฤตใิ นอิรยิ าบถ 4 คำว่า ความประพฤติในอายตนะ ได้แก่ ความประพฤติในอายตนะภายในและอายตนะ ภายนอกอย่างละ 6 คำว่า ความประพฤตใิ นสติ ได้แก่ ความประพฤติในสติปฏั ฐาน 4 คำวา่ ความประพฤติในสมาธิ ไดแ้ ก่ ความประพฤติในฌาน 4 คำวา่ ความประพฤติในญาณ ไดแ้ ก่ ความประพฤตใิ นอรยิ สัจ 4 คำว่า ความประพฤตใิ นมรรค ไดแ้ ก่ ความประพฤติในอริยมรรค 4 คำวา่ ความประพฤตใิ นผล ไดแ้ ก่ ความประพฤตใิ นสามัญญผล 4 คำว่า ความประพฤติเพื่อประโยชน์แก่โลก ได้แก่ ความประพฤติในพระตถาคตอรหันต สมั มาสัมพทุ ธเจ้า ความประพฤตใิ นพระปจั เจกพุทธเจ้าบางส่วนความประพฤตใิ นพระสาวกบางสว่ น ความประพฤติในอิริยาบถมีแก่ผู้ตั้งตนไว้ชอบ ความประพฤติในอายตนะมีแก่ผู้สำรวม อินทรยี ์ ความประพฤติในสตมิ แี ก่ผู้ที่อยู่ดว้ ยความไม่ประมาท ความประพฤติในสมาธิมีแก่ผู้ขวนขวาย ในอธิจิต ความประพฤติในญาณมีแก่ผู้บรรลุปัญญาเครอื่ งตรัสรู้ ความประพฤติในมรรคมีแก่ผู้ปฏิบัติ ชอบ ความประพฤติในผลมีแก่ผู้ได้บรรลุ และความประพฤติเพื่อประโยชน์แก่โลกมีแก่พระตถาคต อรหันตสมั มาสมั พทุ ธเจา้ พระปัจเจกพุทธเจ้าบางส่วน พระสาวกบางส่วน27 อีกนัยหนง่ึ ความประพฤติ 8 อย่าง คือ 1. ผนู้ ้อมใจเช่อื ช่อื วา่ ย่อมประพฤตดิ ้วยศรทั ธา 2. ผู้ประคองไว้ ชือ่ ว่ายอ่ มประพฤติดว้ ยวิริยะ 3. ผูต้ งั้ จิตม่ัน ชื่อวา่ ย่อมประพฤติดว้ ยสติ 4. ผ้ไู มท่ ำความฟุ้งซา่ น ช่ือว่ายอ่ มประพฤตดิ ้วยสมาธิ 5. ผู้รชู้ ัด ชอื่ ว่าย่อมประพฤติดว้ ยปญั ญา 6. ผรู้ ูแ้ จง้ ช่ือวา่ ยอ่ มประพฤตดิ ้วยญาณ 27ขุ.ป. 31/585/357.
59 7. ผู้มนสิการว่า “กุศลธรรมย่อมดำเนินไปแก่ผู้ปฏิบัติอย่างน้ี” ช่ือว่าย่อมประพฤติด้วย ความประพฤติในอายตนะ28 8. ผู้มนสิการว่า “ผู้ปฏิบัติอย่างน้ี” ย่อมบรรลุคุณวิเศษ ชื่อว่าย่อมประพฤติในความ ประพฤตดิ ้วยคุณวิเศษอีกนยั หน่ึง ความประพฤติ 8 อยา่ ง ได้แก่ 1. ความประพฤติสมั มาทฏิ ฐิ ช่ือว่าทัสสนจริยา 2. ความประพฤตสิ ัมมาสังกัปปะ ชอ่ื ว่าอภนิ โิ รปนจริยา 3. ความประพฤตสิ ัมมาวาจา ชือ่ วา่ ปรคิ คหจรยิ า 4. ความประพฤตสิ มั มากมั มนั ตะ ชื่อวา่ สมุฏฐานจริยา 5. ความประพฤตสิ มั มาอาชีวะ ช่ือวา่ โวทานจริยา 6. ความประพฤติสมั มาวายามะ ช่อื ว่าปคั คหจรยิ า 7. ความประพฤตสิ มั มาสติ ช่ือว่าอปุ ฏั ฐานจริยา 8. ความประพฤตสิ ัมมาสมาธิ ชอ่ื ว่าอวกิ เขปจรยิ า29 3.2.5 คณุ ธรรมของพระโพธิสัตวเ์ วสสันดร คุณธรรม คือเคร่ืองหมายท่ีวัดคุณคา่ ความดีงามที่มีอยู่ในตัวมนุษย์ โดยสว่ นมากมนุษยเ์ รา นั้นปรารถนาที่อยากจะมีคุณธรรมในตัวเอง เพราะถ้าบุคคลใดมีคุณธรรมประจำใจเรา จะเป็นมนต์ เสนห์ให้กับชีวิตตนเองและคนท่ีอยู่รอบข้างพลอยได้รับความสุขไปด้วย โดยท่ัวไปแล้วมนุษย์เรามี คุณธรรมพื้นฐานอยู่ในจิตใจอย่างน้อยสามประการ ประการที่หน่ึงคือ การเอ้ือเฟื้อช่วยเหลือคน ประการท่ีสองคอื มีระเบียบวนิ ยั ประการทสี่ ามคือ มีไมตรีจติ มิตรภาพทีด่ ีต่อกัน นักปราชญ์ท่านกลา่ ว วา่ เกิดเป็นคนควรศึกษาหาดเี ถิด ดจี ะเกิดสุกก่อต่อเป็นผล ดีท่หี น่ึงเอ้ือเฟอ้ื ช่วยเหลอื คน ดีที่สองตั้งตน ตามวนิ ยั ดีที่สามไมตรีมีในจติ คิดเป็นมิตรจิตกวา้ งกระจา่ งใส ถ้าทำดีน้ีจบครบสามนยั จะก่อให้สกุ เกิด เพลิดพลิ้งพลนั แตถ่ ้าเราพดู ถึงความดีหรอื คุณธรรมของพระโพธิสัตว์แลว้ พระโพธิสตั ว์เวสสนั ดรน้ันมี คณุ ธรรมที่ยากที่มนุษย์ธรรมดาอย่างเราท่านทั้งหลายจะพ่ึงมไี ด้ คุณธรรมของพระโพธิสัตว์เวสสันดร นัน้ ดังนี้ 1. ใหใ้ นส่งิ ท่ีบคุ คลให้ได้ยาก 2. ทำในส่งิ ท่บี คุ คลทำไดย้ าก 3. ทนในสงิ่ ท่บี ุคคลทนได้ยาก 4. ชนะในสิง่ ทบ่ี คุ คลชนะไดย้ าก 28ที.ม. 10/57/12. 29ขุ.ป. 31/586/357
60 5. ละในสิง่ ท่บี คุ คลละได้ยาก30 ประการแรก ให้ในส่ิงที่บุคคลให้ได้ยากน้ัน พระโพธิสัตว์เวสสันดรเป็นเนติแบบอย่างของ ยอดนักเสียสละของโลก เปน็ นักใหท้ ี่ย่งิ ใหญ่ เพราะพระองคย์ อมสละความสขุ ทง้ั ประโยชนส์ ่วนตัวและ ส่วนรวมยากที่จะหาบุคคลใด ๆ เปรียบได้ เพราะพระเวสสันดรนั้นให้เสียสละ ช้างประจำบ้านเมือง เป็นทาน ลูกอันเป็นสุดที่รักแก่พราหมณ์ชูชก ให้ภรรยาสุดท่ีรักยิ่งของตนเป็นทาน และยอมเสียสละ อวัยวะและชวี ิตของตนเอง เพ่ือให้ไดค้ วามสขุ ที่ตนเองปรารถนา ประการท่ี 2 ทำในสิ่งท่ีบุคคลทำได้ยาก การกระทำทิ่มองเห็นประโยชน์ส่วนรวมเป็นหลัก โดยไม่ได้คำนึงถึงตนเองเป็นสำคัญน้ัน ยากท่ีจะหาผู้ใดเสมือนได้ ดังเช่นพระโพธิสัตว์เวสสันดร พระองค์ทรงทำเพ่ือหวังให้มนุษยโลกนี้ได้พบกับความสว่างทางแห่งการดำเนินชีวิตในหนทางที่ ถูกตอ้ งได้ ประการท่ี 3 ทนในสง่ิ ที่บุคคลทนได้ยาก พระโพธสิ ัตว์เวสสันดร พระองค์ทนตรากตรำ ทน เจ็บใจ ทนเจ็บแค้นท่ีถูกไล่ออกจากเมือง หนีอยู่ป่าเขาลำเนาไพร ท้ิงชีวิตที่สะดวกสบาย มุ่งหา สัจ ธรรมความจรงิ โดยทไี่ มค่ ำนงึ ถึงความยากลำบากใด ๆ ถึงแมจ้ ะฉันมันและเผอื กเปน็ อาหารกต็ าม ประการที่ 4 ชนะในสง่ิ ท่ีบุคคลชนะได้ยาก พระโพธิสัตว์เวสสันดรได้ชนะใจตนเอง เพราะ ตลอดเวลาแห่งการเสวยพระชาติเปน็ เวสสันดรนั้น ต้องมปี ัญหาอปุ สรรคนานบั ประการ แตพ่ ระองค์ไม่ คดิ หวน่ั ไหว ต่อคำนนิ ทาและคำสรรเสรญิ ดุจดงั่ หินผาทแ่ี ข็งแกร่ง ประการสุดท้าย ละส่ิงที่บุคคลละได้ยาก ละความสุขส่วนตัว ละความเห็นแก่ตัว ละความ ตระหนีท่ ่จี ะพงึ เกิดแกพ่ ระองคเ์ อง ใชช้ ีวิตแบบเรียบง่ายไม่ขวนขวายหาความสขุ ทางโลกยี วิสยั แฉกเช่น สามัญชน แตม่ ุ่งหาโลกุตตระสขุ นำผลให้พระองค์กลายเป็นมหาบุรษุ ทยี่ ิ่งใหญ่ในโลก ดังนั้น ตวั ละคร ในเวสสนั ดรชาดก มีพระนางมัทรี เป็นแบบอยา่ งภรรยาทเี่ ปน็ กลั ยาณมติ รต่อสามี คอยเอาใจใส่ หนุน สามีให้ถึงเป้าหมายชีวิตอันประเสริฐท่ีสามีตั้งไว้ พระชาลีกัณหา เป็นแบบอย่างลูกท่ีประเสริฐเช่ือฟัง พ่อแม่ พราหมณ์ชูชก เป็นตัวอย่างของคนท่ียึดติดในกาม มักมากไม่รู้จักความพอดี พรานเจตบุตร เปน็ ตัวอยา่ งของคนดีแต่ไม่มีความเฉลียวฉลาด กษัตริย์เจตราช เปน็ ตัวอยา่ งของเพื่อนแท้ พรอ้ มท่ีจะ ช่วยเหลือเพื่อนทุกยาม มีน้ำใจไม่ทอดทิ้งกัน และชาวเมืองกลิงครัฐ เป็นตัวอย่างของกระแสค่านิยม ซึ่งบางอย่างไม่ถูกต้องเสมอไป เพราะฉะน้ันถ้าหากมนุษย์เราได้ยึดเอาตัวอย่างของตัวละครใน เวสสันดรชาดกมาเป็นคติสอนเตือนใจตัวเองแล้ว ในฐานะปุถุชนธรรมดา อย่างน้อยคนในสังคมนี้มี คณุ ธรรมสกั คร่ึงหนงึ่ ของพระโพธิสัตว์เวสสนั ดร สงั คมและโลกใบเลก็ ๆ ใบนค้ี งจะเตม็ ไปดว้ ยความสุข 30พระใบฏีกาอุดร อุตฺตรเมธี, คุณธรรมของพระโพธิสัตว์เวสสันดร, 20 ตุลาคม 2563, <https:// www.mcu.ac.th, 2563> (20 October 2020)
61 เพราะคนในสังคมน้ีมีทานบารมีและขันติบารมี ซึ่งเป็นคุณธรรมอันเต็มเป่ียมในจิตใจของเราท่าน ทงั้ หลายน่นั เอง31 3.3 พระเวสสนั ดรกับการบำเพ็ญทานบารมี 3 ระดับ การบำเพ็ญทานบารมีของพระเวสสันดร เป็นการบำเพ็ญทานบารมีท่ีย่ิงใหญ่มาก เกินกว่า วิสยั ทม่ี นุษยธ์ รรมดาสามัญชนท่วั ไปจะพึงทำได้ ทั้งน้ีก็ดว้ ยความตั้งใจอนั เดด็ เด่ียวแนว่ แน่ของพระองค์ ที่ทรงพระประสงคต์ ่อพระสัมมาสัมโพธิญาณอันจะเป็นประโยชนเ์ กอ้ื กูลตอ่ มนุษยชาตใิ นกาลภายภาค หน้า ตามประวัตกิ ล่าวว่าพระเวสสนั ดรทรงมนี ้ำพระทยั ในการบำเพ็ญทานแตย่ งั ทรงพระเยาว์ ดงั พุทธ ดำรัสท่ีปรากฏในเวสสันตรจริยาว่า “เม่ือเราเป็นทารก มีอายุ 8 ขวบ เรานั่งอยู่ในปราสาทคิดจะ บรจิ าคทานว่าเราจะพงึ ให้ หวั ใจ ดวงตา เลือด เน้อื และรา่ งกายหากมีใครมาขอ เราก็ยนิ ดจี ะใหเ้ มอ่ื เรา คิดถึงการบริจาคทาน จติ ของเราก็ไมห่ วั่นไหว”32 การบำเพ็ญทานบารมีของพระเวสสนั ดร สามารถประมวลโดยสรปุ ดังนี้ 1. ขณะที่พระโพธิสัตว์อยู่ในพระครรภ์ของพระนางผุสดี พระองค์ดลพระทัยให้พระนางผุ สดีผู้เป็นพระราชมารดาสร้างโรงทานไว้ 6 แห่ง คอื ที่ประตูเมืองท้ัง 4 แหง่ ท่ีกลางเมืองอีก 1 แห่ง และ ทป่ี ระตพู ระตำหนกั อกี 1 แหง่ 33 2. ในขณะท่ีพระโพธิสัตว์ประสูตินั้น ทรงสามารถเสด็จดำเนินได้ทันทีและเสด็จดำเนินไป พร้อมกับพระราชมารดา พร้อมกับรับสั่งว่า ทรงปรารถนาจะได้ส่ิงของมาแจกจ่ายแก่คนท่ัวไป ขณะนน้ั พระราชมารดาไม่ทันจะหาอะไรมาให้พระกุมารได้จงึ มอบเงินจำนวนหนึง่ พนั กหาปณะใหพ้ ระ กุมารเพอ่ื บริจาคทานตอ่ ไป34 3. เม่ือพระกุมารมีอายุได้ 5 ชันษา พระองค์ได้พระราชทานเคร่ืองประดับมีค่ากว่า 100 กหาปณะ ให้พระพีเ่ ล้ียง แมพ้ ระพี่เล้ยี งจะถวายคืนอย่างไร กม็ ิทรงรับคืน แมใ้ นตอนหลังพระกุมารจะ ไดร้ ับเคร่อื งประดบั ดงั กล่าวอีกก็ได้ประทานตอ่ ไปอยู่ตลอดเวลา35 4. เมื่อพระองค์เจริญวัย พระเวสสนั ดรจะทรงช้างปัจจัยนาคไปยังโรงทานเพื่อบำเพ็ญทาน บารมวี ันละหกหมน่ื กหาปณะ แกบ่ รรดาผูต้ กทกุ ขย์ ากไรแ้ ละบคุ คลทัว่ ไป และเสดจ็ ตรวจเย่ียมโรงทาน 31เรือ่ งเดียวกัน. 32ข.ุ จรยิ า. 33/78/449. 33ข.ุ ชา.เอกก. 4/3/609. 34ข.ุ ชา.เอกก. 4/3/611. 35เรือ่ งเดียวกนั .
62 ท้ัง 6 แห่ง เดือนละ 6 ครัง้ เป็นประจำ36 5. ทรงพระราชทานชา้ งปัจจัยนาคให้กับคณะพราหมณ์ชาวกาลิงครัฐ 8 คนที่มาทูลขอโดย อา้ งเหตุผลวา่ กาลิงครัฐน้นั ฝนไมต่ กเกิดทพุ ภิกขภัย ขา้ วยากหมากแพงประชนอดอยาก ถา้ พระองคไ์ ด้ พระราชทานช้างมงคลตัวประเสริฐ จะสามารถแก้ปัญหาเหล่านี้ได้ พระเวสสันดรก็ทรงพระราชทาน ช้างให้โดยจิตใจท่ีไม่หวั่นไหว37 เหตุการณ์นี้ทำให้พระองค์ถูกชาวเมืองท่ีไม่เห็นด้วยฟ้องร้องและ พระองค์ได้ถูกเนรเทศออกจากพระราชวัง 6. กอ่ นท่ีพระเวสสันดรจะเสดจ็ ไปได้ทรงพระราชทานสัตตสตกทาน คือการบริจาคทาน 7 อย่าง ๆ ละ 700 คือ ช้าง 700 เชือก ม้า 700 ตัว รถม้า 700 คัน สตรี 700 คน แม่โคนม 700 ตัว ทาสชาย 700 คน ทาสหญิง 700 คน38 7. ขณะท่ีพระองค์เสด็จไปสู่เขาวงกตได้มีพราหมณ์จำนวน 5 คน มาทูลขอพระราชรถ พระองคก์ ท็ รงพระราชทานใหด้ ้วยจิตยินดแี ละไมห่ วน่ั ไหว39 8. เม่ือพระองค์บำเพญ็ พรตเป็นฤษีท่ีเขาวงกตผ่านไป 7 เดือน ได้มพี ราหมณช์ ูชกมาทลู ขอ พระโอรสและพระธิดา คือพระชาลีและพระกณั หา เพือ่ นำไปเป็นทาสรับใช้ พระองค์กพ็ ระราชทานให้ ด้วยจิตยนิ ดแี ละไม่หวนั่ ไหว40 9. ท้าวสักกะไดแ้ ปลงเป็นเพศเปน็ พราหมณ์มาขอพระนางมทั รีไปเปน็ ภรรยาพระองค์ก็ทรง พระราชทานให้ด้วยจิตยินดีและไม่หว่ันไหว ภายหลังพราหมณ์ก็ได้แปลงกายเป็นท้าวสักกะและได้ มอบพระนางมัทรคี ืนให้พระเวสสันดรตามเดมิ แลว้ ได้พระราชทานพร 8 ประการ แกพ่ ระเวสสนั ดร41 10. ภายหลงั เมอื่ พระเวสสันดรไดเ้ สดจ็ กลับพระราชวงั กไ็ ด้ทรงบำเพญ็ ทานบารมี ด้วยการ พระราชทานทรัพย์สมบตั สิ ง่ิ ของใหก้ ับผูค้ นทั่วไป42 สรุปว่า การบริจาคตลอดพระชนม์ชพี ของพระเวสสันดร จึงกลายเป็นมหาทานอันย่ิงใหญ่ ทั้งมนุษย์และเทวดาต่างก็ชื่นชมสรรเสริญ แม้แต่แผ่นดินก็ยังกึกก้องกัมปนาทเพ่ือเป็นสักขีพยานใน การบำเพ็ญทานบารมขี องพระองค์ พระองคม์ ีจติ ใจเด็ดเด่ียวสามารถให้ในส่ิงทค่ี นอนื่ ทำไมไ่ ด้ ไม่ว่าจะ เป็นการพระราชทานพระโอรสพระธดิ าและพระชายาใหเ้ ป็นทาน เป็นตน้ เป็นการบำเพญ็ ทานบารมีที่ ย่งิ ใหญ่สมบูรณ์แบบหาใดเทียมเทา่ และเป็นผลาอานสิ งส์นำส่กู ารตรัสรู้เป็นพระสมั มาสมั โพธิญาณใน 36ข.ุ จริยา. 33/83/738. 37ข.ุ จริยา. 33/83/738. 38ข.ุ ชา. 28/1796-1806/46-468. 39ขุ.ชา. 28/2117-2119/512. 40ข.ุ ชา. 28/2277/533. 41ขุ.ชา. 28/2278/535. 42ข.ุ ชา. 28/2439-2440/560.
63 ภพชาติตอ่ มาของพระองค์ พร้อมท้ังกลายเปน็ แบบอย่างในการบำเพ็ญทานบารมีของชาวพุทธในกาล ภายหลัง แมไ้ ม่อาจทำไดเ้ ทียมเทา่ พระองคก์ ็ตาม ในการบริจาคมหาทานทง้ั ปตุ ตทาน คือการพระราชทานพระโอรสและพระธดิ าให้เปน็ ทาน และภริยาทาน คือการพระราชทานพระชายาให้เป็นทานน้ันหากเม่ือมองอย่างผิวเผินในยุคสมัยท่ี เปล่ียนไป อาจถูกต้ังคำถามว่าเป็นการถกู ต้องเหมาะสมชอบธรรมหรือขดั กับหลักมนษุ ยธรรมหรือจริย ศาสตรห์ รือไม่ การให้ชวี ติ คนอื่นเพ่อื เป็นบันไดมงุ่ สู่การบรรลุพระสมั มาสัมโพธิญาณของตนเองนั้น ถือ ว่าเป็นล่วงละเมิดในสิทธิมนุษยชนหรือไม่ คำถามเหล่านี้ล้วนแต่แฝงความเคลือบแคลงสงสัยให้กับ ผู้คนท่ีต่างวัฒนธรรมหรือเกิดใหม่ในกาลภายหลัง ดังนั้นผู้เขียนจึงต้องการหาคำตอบและเหตุผล เพ่ือ นำมาตีความและอธบิ ายขยายความเพื่อทำความเข้าใจให้กับผู้ที่ยังเคลือบแคลงสงสัยอยู่ ในกรณีการ พระราชทานพระโอรสพระธิดาและพระชายาให้เป็นทานของพระเวสสันดรน้ันว่าถูกต้องเหมาะสม และชอบธรรมหรือไม่ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการทำความเข้าใจให้ถูกต้องตามหลักการและเหตุผล และนำมาซ่ึงสมั มาทฏิ ฐิตอ่ ไป การบําเพญ็ ทานบารมีของพระเวสสนั ดร มดี ังน้ี 1. ทานบารมี หมายถึง การสละออกการใหโ้ ดยมีเจตนาช่วยเหลอื ผอู้ ่ืน 2. ศีลบารมี หมายถึง การรักษาศลี ให้เป็นปกติหากเป็นฆราวาสหมายถึงการถือศีล 5 หาก เปน็ นักบวชคือการถือศีล 8 ขึน้ ไป 3. เนกขัมมะบารมี หมายถึง การออกบวชหากฆราวาสถือศีล 8 ก็นับเป็นเนกขัมบารมีได้ เช่นกนั เพราะเปน็ การกระทำเพื่อเว้นจากกามสุข 4. ปญั ญาบารมี หมายถึง การกระทำเพ่ือเพิ่มพูนปญั ญาแบ่งออกเป็น ปัญญาทางโลกและ ทางธรรม เนื่องจากพระโพธิสัตวจ์ ะตรัสรเู้ ปน็ พระพุทธเจ้าในอนาคตจึงต้องมีปัญญาความรู้มากเพอ่ื จะ ได้สั่งสอนสตั วใ์ ห้พ้นจากทกุ ข์การเรยี นของพระโพธสิ ัตว์จงึ ต้องเรยี นมากกว่าผูอ้ ่ืน 5. วิรยิ ะบารมี หมายถึง การกระทำท่ีใช้ความเพียรเป็นท่ีตั้ง การมีวริ ิยะอาจไม่ได้หมายถึง การเพียรจนกระทั่งตัวตายในคร้ังเดียวแต่หมายถึงมีความพยายามทำอยู่เรื่อย ๆ ทำไปทีละน้อยตาม กําลังจนกว่าจะสำเร็จสัมมัปปธานหรือความเพียรที่ถูกต้อง มี 4 อย่างคือ 1) สังวรปธานเพียรระวัง ไม่ให้บาปเกิดข้ึน 2) ปหานปธานเพียรละบาปที่เกิดขึ้นแล้ว 3) ภาวนาปธานเพียรทำบุญให้เกิดขึ้น 4) อนรุ ักขนาปธานเพียรรักษาการทำบุญไวต้ อ่ เนอื่ ง ในสารัตถสังคหะ ยังได้แบ่งพระโพธิสัตวต์ ามระยะเวลาการสรา้ งบารมี 3 จาํ พวกตามลำดับ ความสำคัญของหลักธรรมโดยท่ีน่ี ได้ให้ความสำคัญกับปัญญามากกว่า พระโพธิสัตว์ที่บําเพ็ญทาง ปัญญาก็จะใช้เวลาน้อยกว่า คือพระปัญญาธิกโพธิสัตว์บําเพ็ญบารมีรวมทั้งสิ้น 16 อสงไขยแสนกัป พระสัทธาธิกโพธิสัตว์บําเพ็ญพระบารมีรวมท้ังส้ิน 40 อสงไขยแสนกัปและพระวิริยาธิก โพธิสัตว์ บาํ เพ็ญพระบารมีรวมท้ังส้นิ 80 อสงไขยแสนกัป แนวคิดท่ีเปน็ อุดมการณอ์ ันยิ่งใหญข่ องพระโพธสิ ัตว์
64 ทมี่ ีการบําเพ็ญบารมเี พือ่ การตรสั ร้ธู รรมเปน็ พระพทุ ธเจา้ นั้นพระโพธิสัตว์ตอ้ งมีปณธิ านมีอดุ มการณอ์ ัน แน่วแน่เพ่อื การตรัสรู้ธรรมนน้ั พระโพธิสัตว์ต้องทำตนเองให้บรรลธุ รรมก่อนจึงทำให้คนอื่นบรรลุตาม ไดก้ ารบําเพ็ญบารมี 10 ประการ ได้แก่ 1) ทานบารมี 2) ศลี บารมี 3) เนกขัมมบารมี 4) ปญั ญาบารมี 5) วริ ิยบารมี 6) ขนั ตบิ ารมี 7) สัจจบารมี 8) อธิษฐานบารมี 9) เมตตาบารมี 10)อุเบกขาบารมี43 3.3.1 ทานบารมี ทานบารมี ได้แก่ ทานที่บำเพญ็ ด้วยการสละทรพั ย์ ในขุททกนกิ าย จริยาปฎิ ก กล่าวถึงการ บำเพ็ญทานบารมีของมหาโควินทพราหมณ์โพธิสัตว์ที่ได้บริจาคมหาทานร้อยล้านแสนโกฏิ เพื่อพระ สัพพัญญูตญาณ ระดบั การบำเพ็ญทานในฐานะเปน็ บารมี พระเวสสันดรพระราชทานช้างปัจจัยนาคให้เป็นทาน ถือว่าเป็นช้างคู่บุญบารมีของพระ เวสสนั ดร แม่ช้างได้ตกลูกช้างวันเดียวกันกับพระเวสสนั ดรประสตู ิ ถ้าพิจารณาอยา่ งละเอียดจะพบว่า การพระราชทานช้างน้ันเป็นความชอบธรรมแล้ว เพราะช้างนั้นเกิดข้ึนมาเป็นช้างคู่พระบารมีของ พระองค์เป็นสมบัติส่วนพระองค์ แต่ชาวเมืองกลับถือว่าเป็นช้างคู่บ้านคู่เมือง เราต้องยอมรับว่าช้าง ปัจจัยนาคน้ันเกิดขึ้นเพราะบารมีของพระเวสสันดร และเป็นสมบัติของพระองค์ ซึ่งพระองค์จะ พระราชทานแก่ใครก็ย่อมได้ ถ้าหากพระองค์ไม่ทรงยอมให้คงเกิดสงครามเป็นแน่แท้ ด้วยวิสัยทัศน์ ของพระเวสสันดรทรงอาจมองว่า เมืองสีพีเป็นเมืองขนาดเล็ก อีกท้ังมีกำลังพลน้อย ไม่อาจท่ีจะทำ สงครามกับเมืองใหญ่อย่างแคว้นกาลงิ คะได้ ถ้าพระองคไ์ ม่พระราชทานชา้ งสงครามต้องเกิดขึ้นอย่าง แนน่ อน เมื่อเกิดสงครามกจ็ ะต้องเสียไพร่พล ราษฎรจะตอ้ งล้มตายเปน็ จำนวนมาก และในท่ีสุดเมืองสี พีจะต้องตกเป็นเมืองข้ึน ดังน้ัน การท่ีพระองค์พระราชทานช้างไปนั้น จึงเป็นการสมควรและเกิด ประโยชน์ 2 ประการด้วยกันคือประการที่ 1 ทำให้ไม่เกิดสงครามระหว่างแคว้นท้ังสองประการที่ 2 เพ่ืออนุเคราะห์ประชาชนชาวกาลิงครัฐ ที่ได้รับความเดือดร้อนจากฟ้าฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล เม่ือ พราหมณ์ทั้ง 8 คนนำช้างมาถึงเมือง ฟ้าฝนก็ตกต้องตามฤดูกาล บา้ นเมืองกลบั มาอุดมสมบูรณ์ ต่อมา ภายหลังชาวเมืองกลิงครัฐก็ได้นำช้างปัจจัยนาคมาคืน จึงกล่าวได้ว่าการบริจาคช้างไม่ได้เสียอะไร แต่กลับได้ประโยชน์ทง้ั สองฝ่าย และยังได้มิตรประเทศอกี ด้วย ประการที่ 3 เป็นการผูกมิตรประเทศ เจริญสัมพันธไมตรี หากแต่การบำเพ็ญทานบารมีคร้ังน้ี ไม่ได้มีการทำสัญญากันว่า เม่ือบ้านเมืองกา ลิงครฐั กลับมาอุดมสมบูรณ์แลว้ ก็ให้นำชา้ งกลับมาคืน ผู้เขียนเห็นว่าหากมีการทำสญั ญากันอย่างนีค้ ง ไม่มีปัญหาความไม่เข้าใจหรือไม่พอใจกนั เกิดขึน้ 43องฺ.เอกก. 1/174/104.
65 ผเู้ วจิ ัย มองวา่ พระเวสสนั ดรท่านมั่นคงในการบริจาคทานอยู่แล้ว ณ ตอนน้ันจึงน่าจะเป็น การพระราชทานชา้ งท่ีไมห่ วงั ว่าจะไดร้ ับผลประโยชน์คืน จึงเกดิ ความไม่พอใจขน้ึ ในบรรดาชาวเมอื งท่ี ไมเ่ หน็ ดว้ ย ซึ่งเป็นชาวเมอื งทีม่ ีวสิ ยั ทศั น์คับแคบมคี วามคดิ เหน็ คนละมมุ มองกบั พระเวสสันดร 3.3.2 ทานอปุ บารมี ทานอุปบารมี ได้แก่ ทานที่บำเพ็ญด้วยการสละอวัยวะ เช่น ดวงตา และโลหิต ในการ บำเพ็ญทานอุปบารมีน้ี ในขทุ ทกนกิ ายจรยิ าปฎิ ก44 กล่าวถึงพระจริยาของพระเจ้าสีวีราชโพธิสัตว์ทใ่ี ห้ ทาน พระเนตรข้างหนึ่งแกท่ ้าวสักกะ การให้ทานครง้ั นี้ก็เพอื่ สพั พัญญูตญาณทานอุปบารมี เปน็ บารมี ขน้ั กลาง พร้อมทที่ รงฌานโลกีย์ ทา่ นพวกน้ีจะพอใจการเจริญพระกรรมฐาน และทรงฌาน แต่ยงั ไมถ่ ึง ข้ันวิปัสสนา ยังไม่พร้อมที่จะไปและไม่พร้อมท่ีจะยินดีเร่ืองพระนิพพาน พร้อมอยู่แค่ฌานสมาบัติถ้า เราทำบุญให้ทานไปแล้ว จิตของเราอิ่มเอิบเบิกบาน อยากทำทานไม่ให้ขาด เป็นผู้พยายามขวนขวาย ทำย่งิ ๆ ข้ึนไปอยอู่ ย่างน้ัน ทานเท่าไรก็ไม่อิ่มไม่พอ ก็มแี ตอ่ ยากทำอยู่อย่างนน้ั กเ็ พราะวา่ มศี รัทธาแก่ กล้า ต้ังมั่นอยู่ในการทาน อย่างเหนียวแน่นม่ันคงดีแลว้ เลยเป็นผู้ตัง้ ใจสร้างบารมีไปทางดี คือไปตาม ทางท่ีจะกา้ วหนา้ ไปสู่ความเจริญใหย้ ่งิ ๆ ขึน้ ไป45 3.3.3 ทานปรมตั ถบารมี ทานปรมัตถบารมี ได้แก่ ทานที่บำเพ็ญด้วยการสละชีวิต ในปัณฑิตจริยา กล่าวถึงการ บำเพ็ญทานปรมตั ถปารมีของบัณฑิตพระโพธสิ ตั วท์ ี่อทุ ิศรา่ งกายใหเ้ ป็นทานแกพ่ ราหมณ์46 พระเวสสันดรพระราชทานพระโอรสพระธิดาและพระชายาให้เป็นทาน ประเด็นการ พระราชทานพระโอรสพระธดิ าให้เปน็ ทานของพระเวสสันดรน้ัน เมื่อมองอย่างผิวเผินกจ็ ะดูเหมือนว่า พระเวสสันดรเป็นพระราชบิดาที่ขาดเมตตาธรรม แต่เมื่อพิจารณากันอย่างละเอียดถี่ถว้ นแลว้ จะเห็น วา่ พระองคเ์ ปน็ ผู้มีวิสัยทัศน์ยาวไกล มีพระทัยเปี่ยมล้นด้วยเมตตา จะเห็นได้วา่ จากการที่พระองคไ์ ม่ ปรารถนาที่จะให้พระโอรสและพระธิดาทั้งสองต้องตกระกาลำบากในป่าเขาลาเนาไพร และทรง คาดหวังลึก ๆ ว่าอยากให้พระโอรสพระธิดาของพระองค์เป็นสะพานทองติดต่อกับพระราชบิดาและ พระราชมารดา และไห้พระโอรสของพระองค์ได้เป็นกษัตริย์ครองเมืองสีพีต่อไป เม่ือทรงพิจารณา ใคร่ครวญดีแล้วจึงไดท้ รงมอบพระโอรสพระธิดาใหแ้ ก่ชูชกไป เพราะทรงม่ันใจว่าชชู กต้องนำไปมอบให้ พระเจ้ากรุงสีพีเป็นแน่ ดังนั้น พระองค์จึงทรงตีค่าตัวของพระโอรสและพระธิดาไว้สูงมากเกินกว่าท่ี บุคคลท่ัวไป ยกเว้นกษัตริย์หรือมหาเศรษฐีถึงจะไถ่ตัวได้ กล่าวคือพระกุมารชาลี ตีค่าตัวเป็นทองคำ 1,000 แท่ง ส่วนพระกุมารีกัณหา ทรงตีค่าตัวเป็นทาสชาย 100 คน ทาสหญิง 100 คน ช้าง 44ขุ.จริยา. 33/51-66/549-551. 45ขุ.จรยิ า. 33/8/375-376. 46ข.ุ จริยา. 33/125-143/558-560.
66 100 เชือก รถมา้ 100 คัน โค 100 ตัว และทองคา 100 แท่ง และเม่ือชชู กพราหมณไ์ ด้ยนิ ไดฟ้ ังดงั นั้น ย่อมเกิดความโลภในทรัพย์สมบัติเหล่านั้น ถึงแม้ว่าจะอ้างว่ากลัวอาญาแผ่นดินท่ีบังอาจทูลขอหน่อ เน้ือกษัตริย์ไปเป็นทาสรับใช้ก็ตาม แต่เม่ือพิจารณาให้ดีแล้ว ชูชกพราหมณ์คงจะไม่ได้รับประโยชน์ เท่าท่ีควรหากได้ทาสเป็นเพียงเด็กตัวเล็ก ๆ แต่ถ้าหากได้ทาสและทรัพย์สมบัติอย่างละ 100 ดังท่ี พระเวสสนั ดรทรงตคี า่ ตัวไวย้ ่อมจะเกิดผลประโยชน์กับตนเองมากกว่า พระเวสสนั ดรจงึ ทรงมัน่ ใจว่าชู ชกพราหมณ์จะต้องนำพระโอรสพระธิดาไปมอบถวายคืนให้เจ้ากรุงสีพีเป็นแน่แท้ และสิ่งท่ีพระองค์ คาดการณ์ไว้ก็เป็นจริงทุกประการ ดังนั้น การพระราชทานพระโอรสพระธิดาให้เป็นทานในครั้งน้ี จึงได้ประโยชน์ถึง 3 ประการ คือประการที่ 1 ทำให้พระโอรสพระธิดาได้กลับไปสู่เมืองสีพีพ้นจาก ความยากลำบาก ประการท่ี 2 ทำใหพ้ ระเจา้ กรุงสีพแี ละราษฎรเกิดความเห็นใจในความทุกขย์ ากของ พระองค์ท่ีต้องลำบากในป่าเขาลำเนาไพร ประการที่ 3 ทำให้ได้ประโยชน์อย่างยิ่งใหญ่ คือ พระโพธิญาณ อันมีคุณประโยชน์มหาศาลต่อมนุษยชาติพระเวสสันดรพระองค์ทรงรักพระโอรส พระธิดา ไม่ต้องการให้พระโอรสธิดาได้รับความยากลำบากและอยากให้พระโอรสพระธิดาของ พระองค์มอี นาคตที่ดีเสมอเหมือนกับพระราชบิดาที่รักลูกอยา่ งบุคคลทั่วไป แต่ท่ีพระองค์ทรงรักมาก ยิ่งกว่าก็คือพระสัพพัญญูตญาณ พระองค์ได้ตอบไว้อย่างชัดเจนเม่ือคราวทรงหลั่งน้ำเป็นพยานใน บารมคี ร้ังนี้ต่อหน้าชูชกพราหมณ์ว่า “พราหมณ์ เรารักลูกทั้งสองมาก แตท่ ่ีรักมากกว่าลกู ทั้งสองเป็น ร้อยเท่าพันเท่า แสนเท่า ก็คือพระสัพพัญญูตญาณ” พระเวสสันดรพระองค์จึงทรงทำหน้าท่ีอยู่ 2 ประการ คือ หน้าท่ีของพระราชบิดาท่ีจะพึงทาต่อบุตรธิดาและหน้าที่ของพระโพธิสัตว์ที่จะต้อง บำเพ็ญบารมเี พื่อช่วยเหลอื สตั ว์โลกใหพ้ ้นทุกข์ การกระทำในครง้ั นี้จึงเปรียบเสมือนการช่วยพระโอรส และพระธดิ าของพระองค์ใหไ้ ด้บรรลุมรรคผลนิพพานพ้นขาดความทกุ ขท์ ้ังมวลในภพชาติต่อมาน่นั เอง การบริจาคพระชายาก็มีนัยเช่นเดียวกันคือ พระองค์พิจารณาเห็นความทุกข์ยากของ พระชายา ประการที่สอง พระองค์ทรงพจิ ารณาแล้วว่าพราหมณ์ผู้ทม่ี าขอเปน็ คนดี ประการหน่ึง จงึ ได้ ให้ไป ด้วยคิดว่าพราหมณ์ผู้นี้จะสามารถเล้ียงดูพระชายาของพระองค์ให้มีความสุขได้ และเมื่อ พราหมณ์ผู้น้ันได้รับแล้วก็ถวายคืน เท่ากับว่าพระองค์มิได้เสียอะไร แต่กลับได้ประโยชน์ 2 ประการ คือ ได้รับความคุ้มครองสนับสนุนจากพระอินทร์ ไม่ทุกข์ยากลำบากในการบำเพ็ญเพียร ประการท่ี สองไดป้ ระโยชน์อันยิ่งใหญ่คือพระโพธิญาณ ประกอบกับในพระคัมภรี ์ยังกลา่ วว่า เมอื่ พระนางมัทรีรู้ เจตนารมณ์ของพระเวสสันดรแล้ว พระนางก็อนุโมทนาปุตตทานและสนับสนุนให้บำเพ็ญทานยิ่ง ๆ ขนึ้ ไปและพร้อมทจี่ ะสนับสนนุ พระโพธสิ ัตวใ์ หบ้ รรลุถึงฝั่งแหง่ พระโพธิญาณ พระเวสสันดรทรงกมุ พระ หัตถ์ของพระนางมัทรี ทรงจบั เตา้ น้ำ หลง่ั น้ำพระราชทานพระนางมัทรีให้เปน็ ทานแก่พราหมณ์ และ พระนางมทั รีเองมิได้มพี ระพักตร์เงา้ งอด มไิ ดท้ รงขวยเขิน และมิได้ทรงกันแสงเพง่ ดพู ระสวามใี นการ สนทนาระหว่างพระเจ้ามิลินท์และพระนาคเสน กรณีการพระราชทานพระโอรสพระธิดาและพระ
67 ชายาให้เป็นทานของพระเวสสันดร ทำให้ทราบว่า พระโอรสพระธิดาไม่พอใจเพราะไม่เข้าใจความ ประสงคข์ องพระราชบิดา แต่พระชายายอ่ มพอใจ การพระราชทานพระโอรสพระธดิ าและพระชายาให้เป็นทานน้ีได้รับการยกย่องเป็นอันมาก เพราะเป็นส่ิงที่กระทำยากย่ิง การทำส่ิงท่ีทำได้ยากยิง่ มีอยู่ 7 ประการคือ 1) ให้พระโอรสพระธดิ าแก่ พราหมณ์ เพื่อนำไปเป็นทาส 2) ได้เห็นพราหมณ์ผูกมัดพระโอรสพระธิดาของตนแล้วเฆ่ียนตีด้วยไม้ แตย่ ังนิ่งดูอย่ไู ด้ 3) ได้ส่งพระโอรสพระธดิ าท่หี ลุดจากพราหมณ์ ส่งกลบั ให้พราหมณ์อีกได้ฟงั พระโอรส พระธิดารำพันว่า พราหมณ์นนั้ เปน็ ยักษ์ 4) จะส่งลูกไปใหย้ ักษก์ ินหรือก็ทรงน่ิง 5) แมช้ าลกี ุมารทูลขอ วา่ ขอให้กณั หาอยเู่ ถิดกท็ รงน่ิง 6) แม้พระโอรสพระธดิ ารอ้ งไห้รำพนั อยา่ งไรก็ทรงนง่ิ 7) เม่อื พระโอรส พระธิดาถกู นำไปแล้ว พระทัยของพระองค์ก็ยังไม่แตกทำลาย เพราะความเสียพระทัยพระโพธิสัตว์มี องค์คุณ 10 ประการ47 คือ 1) ความไม่ติดในส่ิงอันน่าชอบใจ 2) ความไม่มีอาลัย 3) ความเสียสละ 4) ความละวาง 5) ความไมก่ ลับกลอก 6) ความละเอียด7) ความเป็นใหญ่ 8) ความรูไ้ ด้ยาก 9) ความได้ โดยยาก 10) ความไม่มใี ครเสมอ เหตุการณ์เร่ืองราวท้ังหมดเป็นไปตามบุพกรรมของทั้ง 4 พระองค์ คือพระเวสสันดร พระนางมัทรี และกัณหาชาลี ท่ีเคยทำในอดีตชาติ ดังน้ี 1) พระเวสสันดรพร้อมด้วยชายาและ พระโอรสพระธิดาได้ถูกเนรเทศออกจากราชอาณาจักรเป็นเพราะกรรมเก่าท่ีเคยจับกุมพระ ราชา จำนวนมากแล้วเนรเทศไปในป่า อย่างไรกต็ ามพระองค์ก็ได้รับอิสรภาพในกาลภายหลัง และสามารถ กลับไปสู่ราชอาณาจักรของพระองค์พร้อมด้วยครอบครัวของพระองคใ์ นตอนท้าย 2) กัณหาชาลีต้อง หวิ โหยจนกระท้ังถึงมืดค่ำเม่ืออยู่กบั ชูชก แต่ก็ได้รับการเลย้ี งดูจากเทวดาในตอนเย็นเป็นเพราะกรรม เก่าของทั้งสองพระองค์ที่เคยทรมานฝูงโคตลอดทั้งวันอันยาวนาน โดยไม่ยอมให้ฝูงโคกินหญ้าแล้ว ปล่อยโคในตอนเยน็ ซึ่งหนึ่งในโคเหล่าน้ันในกาลตอ่ มาเกิดเป็นพราหมณ์ชูชก โดยผลกรรมนั้นทั้งสอง พระกมุ ารจึงประสบพบกับความทุกข์หวิ อาหารจนกระทงั้ ถึงเย็น ที่ทั้งสองพระกุมารได้ทานอาหาร ก็ เพราะอานสิ งสข์ องการซ้ือผ้าถวายให้กับพระภกิ ษุรูปหน่งึ ผ้ซู ึง่ ทำผา้ หาย อานิสงสน์ ัน้ ทำให้ท้งั สองพระ กมุ ารเกิดในตระกูลท่ีร่ำรวยแล้วมีเทวดาเลี้ยงดู แต่ก็ต้องเป็นทาสของ ชูชก 3) พระนางมัทรตี ้องเดิน ทางไกลเข้าไปในป่าเพ่ือหาผลไม้ในวันท่ีเกิดเหตุ ซึ่งทำให้พระองค์ต้องพลัดพรากจากพระโอรส พระธิดาในกาลภายหลัง เป็นเพราะกรรมเก่าที่เคยให้พระฤษีผู้มีฌานสูงนำผลไม้มาเพื่อพระองค์จาก ระยะทางไกล ในที่สดุ พระเวสสนั ดรก็ได้ใหบ้ ุตรเป็นทานสำเร็จ โดยปราศจากการห้ามจากผ้เู ป็นมารดา 4) ในการถือกำเนดิ มาชาติภพหน่งึ ท้ังสองพระองค์ไดเ้ กิดมาเป็นคสู่ ามีภรรยา ผเู้ ป็นภรรยาไดเ้ คยซอ่ น บุตรไม่ให้สามีของนางเห็น อันเป็นการสร้างความทุกข์ความเจ็บปวดคร้ังย่ิงใหญ่ ผลกรรมจากการ 47ปัญญา สละทองตรง, มลิ นิ ทปัญหา เลม่ 2, (กรุงเทพฯ : โรงพมิ พก์ ารศาสนา, 2544), หน้า 100 -102.
68 กระทำเหล่านั้นจึงส่งผลให้พระกุมารทั้งสอง และพระนางมัทรีได้ถกู ให้เป็นทานเพ่ือนำไปสู่ความเป็น ทาสอย่างไมอ่ าจหลกี เลี่ยง48 พระเวสสนั ดรทรงตดั สนิ ใจ ท่ีจะพระราชทานพระโอรสพระธิดาและพระชายาให้เปน็ ทานก็ ด้วยเพราะปัญญาและวิสัยทัศน์อันยาวไกล ในอันท่ีจะให้บุคคลผู้เป็นท่ีรักของพระองค์พ้นจากความ ทกุ ข์ยากลำบาก หากพระองคไ์ ม่พระราชทานพระโอรสพระธิดาใหก้ ับพราหมณ์ชูชก ทั้ง 4 กษัตริยค์ ง ยังไม่มีโอกาสได้กลับพระราชวงั เดิม ดังน้ัน จึงเป็นการให้ท่ีจะต้องได้คืนในวันหนึ่งข้างหน้า แม้ว่าใน เบ้ืองต้นอาจจะไดร้ บั ความทุกขย์ ากทั้งกายและใจ แต่ผลที่พลอยไดร้ บั ในวนั หน่งึ ข้างหน้า กลับเปน็ ผลา อานิสงส์แห่งบุญกุศลที่ทำให้ทั้ง 4 กษัตริย์ได้เสด็จกลับสู่พระนคร และเรอ่ื งราวต่าง ๆ ก็ลงเอยด้วยดี ที่สำคัญเป็นการบำเพ็ญบารมีทีท่ ำได้ยากยิ่งครั้งสุดทา้ ย ที่จะนำพระองค์ไปสู่พระโพธิญาณในอนาคต ชาตติ ่อมา เป็นบุญบารมีส่งเสริมให้พระองคไ์ ด้ค้นพบแสงสว่างแห่งบรมธรรมอนั นำมาซงึ่ บรมสุขใหก้ ับ มนษุ ยชาติ ซึ่งกน็ ับวา่ คุ้มค่าเกินพรรณนา ในประเด็นทวี่ ่าการพระราชทานพระโอรสพระธิดาและพระ ชายาของพระเวสสันดรครั้งน้ี เป็นแผนการท่ีถูกวางเอาไว้หรือไม่อย่างไรผู้วิจัยมองว่า ไม่น่าจะเป็น แผนการที่ถูกวางเอาไว้ก่อน แม้ไม่อาจจะทราบได้ว่าพระเวสสันดรออกบวชเป็นฤษีแล้วบำเพ็ญฌาน สมาบัติ จนสามารถมองเหน็ อนาคตกาลข้างหนา้ หรือไม่ ผู้วิจัยเห็นว่าพระองค์ไม่น่าจะมีฌานสมาบัติที่ สามารถมองเหน็ อนาคตได้ เหตุการณ์ท่ีพระองคต์ ัดสินใจ พระราชทานพระโอรสพระธิดาให้เป็นทานแกพ่ ราหมณ์ชูชก น่าจะเกิดมาจากทรงพิจารณาอย่างม่ันใจแล้ว ว่าเป็นหนทางสุดท้ายท่ีดีท่ีสุด ท่ีจะสื่อสารกับพระราช บิดาและพระราชมารดา และราษฎรชาวกรุงสีพี อันจะมีผลทำให้พระราชบิดาพระราชมารดาและ ราษฎรชาวกรุงสีพีเหน็ ใจรวมทั้งเหน็ ถงึ ความยากลำบากในการใช้ชีวิตอยูใ่ นป่าของท้งั สก่ี ษัตริย์ และจะ มาทูลอัญเชิญให้เสด็จกลับกรุงสีพีในอนาคตกาลข้างหน้า แม้จะมีความเส่ียงอยู่มากแตพ่ ระองค์ก็ทรง วางแผนในการตั้งค่าตวั ของกณั หาและชาลไี วเ้ กินกวา่ ท่คี นธรรมดาจะไถ่ถอนได้ ยกเว้นแต่พระราชากับ มหาเศรษฐีเทา่ น้นั พระเวสสันดรทรงเลอื กชว่ งเวลาทเี่ หมาะสมทพ่ี ระนางมัทรไี มอ่ ยู่คอื ออกไปหาผลไม้ ในช่วงเช้า เพราะถ้าหากพระนางมัทรียังไม่ออกจากอาศรมพระนางก็คงไม่ยอมให้บริจาคพระโอรส และพระธิดาเป็นแนแ่ ท้ ส่วนการพระราชทานพระนางมัทรีแก่พระอนิ ทร์ซ่ึงแปลงกายมาในภาพลักษณ์ ของพราหมณ์น้ัน ด้วยจิตที่เป็นมหากุศลท่ีพระองค์ทรงประสงค์ที่บำเพ็ญมหาทานสู่ความเป็นพระ โพธิสัตว์ให้บริบูรณ์ พระองค์จึงทรงมีความยินดีท่ีจะพระราชทาน พระนางมัทรีให้เป็นทานแก่ พราหมณ์คนนั้นไป คงไมใ่ ช่เป็นการวางแผนแตอ่ ย่างไร และพระองค์ก็ไมร่ ู้ดว้ ยวา่ พราหมณ์คนนั้นเป็น พระอินทร์หรือไม่ จากเนื้อเรอ่ื งของชาดกวิเคราะห์ได้ว่า เหตุการณ์ต่าง ๆ นอกจากจะเป็นเพราะบุพ 48วรกฤต เถ่อื นช้าง, “มมุ มองทางพทุ ธจริยศาสตรต์ ่อการบรจิ าคพระโอรสพระธิดาและพระชายาของ พระเวสสนั ดร”,วารสารปรัชญาและศาสนา, ปีท่ี4 ฉบับที่1 (มกราคม-มิถุนายน 2562) : 85.
69 กรรมเก่าท้ังสี่กษัตริย์แล้ว ยังเป็นมหาทานบารมีท่ีจะทำให้พระเวสสันดรได้บรรลุพระโพธิญาณใน อนาคตกาลภายภาคหน้า น่ันก็แสดงว่าพระเวสสันดรทรงรู้วา่ หากประสงค์จะเป็นพระพุทธเจ้าจะตอ้ ง บำเพ็ญบารมอี ะไรบา้ ง อกี ประการหนึ่ง การบริจาคดงั กล่าวเป็นเร่ืองที่ถกู กระทำขึ้นจากพระเวสสนั ดร เพยี งพระองคเ์ ดียว สรุปไดว้ ่า นอกจากเปน็ เรอื่ งของบุพกรรมเก่าแลว้ พระโอรสพระธิดาและพระชายาทรงไม่ เคยลว่ งรมู้ ากอ่ นเลย เพราะถ้าทรงลว่ งรู้มาก่อนกัณหาชาลีก็คงไมป่ ฏิเสธที่จะเดนิ ทางไปกบั พราหมณ์ชู ชก และพระนางมัทรีคงไม่ว่ิงออกตามหากัณหาชาลีเป็นระยะทางแสนไกลด้วยความเศร้าโศกเสียใจ ถ้าเช่นน้ันพระเวสสันดรควรมีความชอบธรรมหรือไม่ ผู้เขียนมองว่า ด้วยความยังเป็นปุถุชนพระ เวสสันดรพระองค์ก็คงจะรู้สึกเศร้าสลดใจอยู่บ้าง แต่เมื่ออธิบายวัตถุประสงค์ความต้ังใจให้ พระนางมัทรีฟัง พระนางก็ทำใจให้แช่มชื่นได้และร่วมอนุโมทนาบุญกับผู้เป็นพระสวามี ส่วนมี ความชอบธรรมหรือไม่น้ันผู้วิจัยจะได้วิเคราะห์ในหัวข้อต่อไปอีกประเด็นหน่ึงแม้สุดท้าย เรื่องราว ทั้งหมด จะจบลงด้วยดี แตก่ ระบวนการ (Process) เปน็ ส่งิ ทช่ี อบธรรมหรือไม่อยา่ งไร การบรจิ าคทาน ในคร้ังน้ี สิ่งที่ยากย่ิงน้ีพระเวสสันดรพระองค์ก็คงจะรู้ดีว่าจะมีผลกระทบเป็นเช่นไร จะต้องมีการ ต่อต้านไม่เห็นด้วยจากผู้ที่เป็นบุตรธิดาหรือพระชายาในเบ้ืองต้นอย่างแน่นอน แต่ถ้าหากมองด้วย วิสัยทัศน์ท่ียาวไกลถึงผลลัพธ์ท่ีจะพึงตามมาท้ังปัจจุบันชาติและอนาคตชาติ ก็นับว่าคุ้มแสนคุ้ม แม้ ขณะน้ันจะทนทุกข์หรือสลดหดหู่ใจเพียงไรก็ตาม ตามเน้ือเร่ืองชาดกพระเวสสันดรก็ยังไม่ทรง ปรารถนาท่ีจะออกบวชไปจนตลอดชีวิต พระองค์ยังมีความประสงค์จะกลับมาเป็นกษัตริย์ปกครอง บ้านเมอื ง พระองค์ยงั ตอ้ งการเห็นอนาคตทด่ี ขี องพระโอรสพระธดิ าและพระชายา การกระทำดังกล่าว หากมองดูด้วยสายตาของปุถุชนอาจจะดูเลวร้ายมากยากที่จะรับได้ แต่หากจะมองดูอย่างผู้มีปัญญา แล้วนน้ั จะเหน็ ไดว้ า่ เปน็ วิสยั ทัศน์ทช่ี าญฉลาด
บทท่ี 4 วเิ คราะหค์ ณุ คา่ การบำเพญ็ ทานบารมขี องพระเวสสนั ดรในเวสสนั ดรชาดก การวิจัยเร่อื ง “ศึกษาวเิ คราะห์การบำเพ็ญทานบารมขี องพระเวสสนั ดรในเวสสนั ดรชาดก” ในบทน้ีได้ศึกษาวิเคราะห์คุณค่าการบำเพ็ญทานบารมีของพระเวสสันดรในเวสสันดรชาดก โดยวาง ขอบเขตพื้นท่ีในการศึกษาไว้ตามการวิเคราะห์คุณค่าของพระเวสสันดรในเวสสันดรชาดกและ สงั คมไทยไว้ 2 ด้าน ดงั นี้ 1) คุณค่าต่อตวั บุคคล 2) คณุ คา่ ดา้ นสังคม ตามรายละเอยี ดดังนี้ 4.1 คุณค่าตอ่ ตัวบุคคล วเิ คราะห์คุณคา่ ต่อตัวบุคคลในการบำเพ็ญทานบารมีของพระเวสสันดรในเวสสันดรชาดก เป็นการสะท้อนในเชิงอุดมคตินิยม สร้างตัวอย่างของพุทธศาสนิกชนชาวพุทธทั้งหลาย ได้เข้าใจ หลักการบำเพ็ญทานบารมี ซ่ึงมีอยู่ 3 ระดับ คือ ทานบารมี ขั้นต้น ทานอุปบารมี ขั้นกลาง ทาน ปรมัตถบารมี ขั้นสูง เช่น การสละทรัพย์สินของตนและสละสิ่งต่าง ๆ ของพระเวสสันดร เช่นการให้ ทานช้างปจั จัยนาคเป็นทาน และได้ทำพธิ ีสัตตสดกมหาทาน คือบรจิ าคช้าง ม้า โคนม รถม้า ทาส และ ทาสีอย่างละ 700 เป็นการบริจาคให้คนทั่วไป การให้ทานเป็นเพียงขั้นต้น และพระองค์ได้ทำปัญจม หาบริจาค คือการบริจาคท่ียิ่งใหญ่ 5 ประการ คือ 1) ธนบริจาค (การสละทรัพย์สมบัติเป็นทาน) 2) อังคบริจาค (การสละรา่ งกายเป็นทาน) 3) ชีวิตบริจาค (การสละชีวิตให้เป็นทาน) 4) บุตรบริจาค (การสละลูกให้เป็นทาน) 5) ภริยาบริจาค (การสละภรรยาให้เป็นทาน) และพระเวสสันดรได้บำเพ็ญ คุณธรรมของพระโพธสิ ตั ว์ดงั น้ี 1) ใหใ้ นส่งิ ท่ีบคุ คลให้ไดย้ าก 2) ทำในสิ่งที่บุคคลทำไดย้ าก 3) ทนในสิ่ง ที่บคุ คลทนได้ยาก 4) ชนะในส่ิงท่บี ุคคลชนะได้ยากแต่ขัน้ กลางและขั้นสูง เพอ่ื ให้ทานเป็นประโยชนแ์ ก่ ผู้อื่นท่ีได้รับความลำบาก เป็นคุณธรรมของพระโพธิสัตว์ที่ยากจะทำได้ และยังน่ายกย่องเชิดชูเป็น อย่างยิ่งในทางพระพุทธศาสนาการบำเพ็ญทานบารมี ได้กำหนดการให้ทาน ดงั กล่าวไว้ 3 ระดับโดย สรปุ ดังน้ี 4.1.1 ทานบารมี ทานบารมี คอื บารมขี นั้ ต้น แบง่ เปน็ 2 ลกั ษณะ คอื 1) ทานบารมี คือ การสั่งสมบารมีในชาตนิ ั้นๆ คือ บารมีท่ีเกิดจากการบำเพ็ญเพียรดว้ ยจิต อยา่ งอ่อน คือ การใหท้ าน และการรักษาศีลในแต่ละชาตินน้ั ๆ
71 2) ทานบารมี คือ การสั่งสมบารมีในทุก ๆ ชาติ คือ บารมีที่เกิดจากการบำเพ็ญเพียรด้วย จิตอย่างอ่อน คือ การให้ทาน และการรักษาศลี ในทุก ๆ ชาติเพ่ือหวังให้เกิดบารมีที่พร้อมเข้าสู่บารมี ขั้นสูงกว่า คือ อุปบารมีสำหรับฌานสมาบัติ และปรมัตถบารมี คือ ฌานข้ันสูงสุดด้วยการเข้าถึง พระนพิ พาน ทานบารมี คือการให้ หรอื การสละอย่างยง่ิ ยวด แยกตามระดับขั้นของบารมีเป็น 3 ขัน้ คือ บารมีขั้นปกติ เรียกว่า “ทานบารมี” ได้แก่ การสละให้ของนอกกาย บารมีขั้นจวนสูงสุด เรียกว่า “ทานอุปบารมี” ได้แก่ การสละให้อวัยวะในตัว เช่น บริจาคดวงตา บารมีข้ันย่ิงยวดที่สุด เรียกว่า “ทานปรมัตถบารม”ี ได้แก่ การสละชีวติ นอกจากนี่ยังแยกตามส่ิงท่ีให้เป็น 2 แบบคือ “พาหิรทาน” การให้สิ่งภายนอก และเป็นอัชฌัตติกทาน การให้สิ่งภายในได้แก่ การสละให้อวัยวะเลือดเนื้อชีวิต ตลอดจนยอมตัวเป็นทาสรับใช้เพ่ือให้เป็นประโยชน์แก่ผู้อ่ืน การบริจาควัตถุส่ิงการบริจาคทาน ของ พระโอรสพระธิดาและพระชายาของพระเวสสันดร ถือว่าเป็นการบริจาคและการเสียสละที่ย่ิงใหญ่ เปน็ การให้เพื่อหวงั ประโยชน์สูงสดุ ได้บรรลุมรรค ผล นิพพาน และเพื่อนำพามวลมนุษย์ผมู้ ีธุลีคือกเิ ลส เบาบางหลุดพ้นจากวัฏสงสารได้พบพระนิพพานในที่สุด ซ่ึงถือว่าเป็นอุดมการณ์ชีวิตท่ีสมบูรณ์ตาม ความเช่ือทางพระพุทธศาสนา และเป็นแสงสว่างทางธรรมให้กับมนุษยโลก เทวโลก และพรหมโลก ท้งั มวล ดังนั้น การบำเพ็ญทานบารมีของพระองค์จึงเป็นการชอบธรรมสมเหตุสมผล เป็นไปเพ่ือ ประโยชน์แห่งบรมสุขตอ่ มหาชนด้วยวสิ ัยทศั น์ท่ยี าวไกลไม่ใช่เป็นการลิดรอนสิทธิเสรีภาพหรือละเมิด สิทธิมนุษยชนหรือเป็นการเห็นแก่ตัวแต่ประการใด ชาวโลกจึงควรสรรเสริญในความเสียสละ ความ เด็ดเดีย่ วของพระองคห์ ากไม่มีการบำเพ็ญบารมีดงั กลา่ วนี้คงไมม่ ีแสงสว่างทางปญั ญาและจิตวิญญาณ ใหก้ ับมวลมนุษย์เป็นแน่ พวกเราชาวพุทธจงึ ควรยึดแนวปฏบิ ัติตามรอยของพระเวสสันดรแมไ้ มอ่ าจให้ ได้เท่าเทียมกับพระองค์ได้ แต่ก็ควรเอาชนะความโลภ ความโกรธ และความหลง ซ่ึงนับวันก็มีแต่จะ เพ่ิมพูนทับถมในจิตใจมนุษย์มากข้ึนทุกวัน การศึกษาทานบารมีของพระเวสสันดรในคร้ังนี้จึงควร ศกึ ษาด้วยการวางใจเป็นกลาง ไม่ควรเอามติความเห็นชอบของตนเปน็ เกณฑ์ในการตัดสนิ แต่ควรอิง อาศัยอยู่กับหลักการพระเวสสันดร ถือว่าเป็นนักบริจาคทานผู้ย่ิงใหญ่ที่สุดในโลกดังปรากฏใน วรรณกรรม พระเวสสันดรชาดก โดยพระราชทานช้างปจั จัยนาคเปน็ ทาน และได้ทำพิธีสัตตสดกมหา ทาน คือบริจาคช้าง ม้า โคนม รถม้า ทาส และทาสีอย่างละ 700 เป็นการบริจาคให้คนท่ัวไป และ พระองค์ไดท้ ำปัญจมหาบริจาค คือการบริจาคท่ียิง่ ใหญ่ 5 ประการ คือ 1) ธนบริจาค (การสละทรัพย์ สมบัติเป็นทาน) 2) อังคบริจาค (การสละร่างกายเป็นทาน) 3) ชีวิตบริจาค(การสละชีวิตให้เป็นทาน) 4) บุตรบริจาค (การสละลูกให้เป็นทาน) 5) ภริยาบริจาค (การสละภรรยาให้เป็นทาน) และ พระเวสสันดรได้บำเพ็ญคุณธรรมของพระโพธิสัตว์ดังน้ี 1) ให้ในส่ิงที่บุคคลให้ได้ยาก 2) ทำในส่ิงท่ี บุคคลทำได้ยาก 3) ทนในส่ิงที่บุคคลทนได้ยาก 4) ชนะในส่ิงที่บุคคลชนะได้ยากและ 5) ละในส่ิงที่
72 บคุ คลละได้ยากและเมอ่ื วิเคราะห์จริยธรรมจากบทบาทของพระเวสสนั ดรพบว่า หลักทศพิธราชธรรม เปน็ ตวั แทนด้านคณุ ธรรมของพระเวสสันดรจากบทบาทและหน้าทท่ี ่ีพระองคไ์ ดท้ รงปฏบิ ตั ิ1 ในฐานะท่ีเป็นพระราชโอรส พระองค์ทรงเป็นพระโอรสท่ีดีมากของผู้ที่เป็นพระบิดาและ พระมารดา มีความเคารพเช่ือฟงั มีความนอบนอ้ ม ยอมรับการตัดสินใจของพระราชบิดา ถึงแม้ตวั เอง จะได้รับความยากลำบากในการต้องไปอยู่ในป่าเขาลำเนาไพรเพียงไรก็ตามและเหตุผลและวิถีการ บำเพญ็ บารมีของพระโพธสิ ัตว์ ผูเ้ ป็นยอดมนุษยผ์ ้ปู ระเสริฐของพวกเราท้ังหลาย 4.1.2 ทานอุปบารมี อปุ บารมี คือ บารมีข้ันกลาง แบง่ เปน็ 2 ลักษณะ คอื 1) อุปบารมี จากการสั่งสมบารมีในชาติน้ัน ๆ คือ บารมที ี่เกิดจากการบำเพ็ญเพียร ด้วยจิตอย่างอ่อนในชาตินัน้ ๆ เช่น การให้ทาน (เฉพาะการให้ทานด้วยอวัยวะของตน) 2) อุปบารมีในข้ันฌาน คือ การสั่งสมอุปบารมีในทุก ๆ ชาติหรือเพียงชาติด้วยการ เข้าสู่ฌานสมาบัติ หลังจากท่ีได้สะสมบารมีข้ันต้นด้วยการให้ทาน และการรักษาศีล ก่อนท่ีจะเข้าสู่ ปรมตั ถบารมี คือ ฌานขน้ั สูงสดุ ด้วยการเขา้ ถึงพระนิพพาน พระเวสสันดรบำเพ็ญทานบารมี โดยบริจาคพระโอรสพระธิดา และพระชายา ให้แก่ พราหมณ์ชูชกเพ่ือนำไปเป็นทาสรับใช้ ในทางพระพุทธศาสนาถือว่าเป็นการให้ทานระดับกลางคือขั้น อุปทานบารมี ซ่ึงพระโพธิสัตว์ทง้ั หลายนิยมกระทำและบณั ฑิตก็สรรเสรญิ การกระทำเช่นน้ี เพราะผล ของการกระทำอย่างน้ีจะเป็นปจั จยั ให้ไดส้ ัมโพธิญาณซ่งึ จะเปน็ ประโยชนต์ ่อชาวโลกอยา่ งมหาศาล แต่ ในทางสังคมของฆราวาสถือว่าเป็นส่ิงที่กระทำได้ยากอย่างย่ิง และถูกมองว่าเป็นเร่ืองท่ีไม่ถูกต้อง เพราะนำความทุกข์มาให้บุตรธิดาและพระชายาของตน และขัดกับจริยธรรมในฐานะของบิดาที่ต้อง ดแู ลบตุ รธดิ าและภรรยาใหม้ คี วามสขุ การบริจาคอวัยวะนั้นเป็นคุณธรรมสำคัญ และเป็นบุญมากตามหลักพระพุทธศาสนา นอกจากเป็นบารมีขัน้ ทานอุปบารมี แลวยังโยงไปหาหลักสำคัญอีกอยา่ งหนึง่ ท่ีเรยี กวา “มหาบริจาค” คือการบริจาคใหญ่ ซ่ึงพระโพธิสัตวจะต้องปฏิบัติอีก 5 ประการ คือ บรจิ าคทรัพย บริจาคราชสมบัติ บริจาคอวัยวะและนัยนตา บริจาคตัวเองหรือบริจาคชีวิต และบริจาคบุตรภรรยาบริจาคบุตรและ ภรรยาน้ัน คนสมัยใหม่อาจจะมองในทางที่ไม่ค่อยดี แต่ต้องเขาใจวาการบริจาคบตุ รภรรยานไี้ ม่ใชไป มองในแงทอดท้ิงบุตรภรรยา แตม่ องในแงที่สามารถสละความหวงแหนยึดถือทางจติ ใจอยา่ งคนทั่วไป ที่เมื่อมีความยึดถือผูกพันดว้ ยความรัก ก็มักจะมีความเอนเอียงเป็นอย่างน้อย ผู้ท่ีจะเป็นพระพุทธเจ้า ได้ คือพระโพธิสัตวนั้นจิตใจจะตองตรงตอธรรม สามารถรักษาความถูกตองโดยไม่เห็นแกอะไรท้งั สิ้น จึงตองสละความยึดถอื แม้แต่ลกู เมยี ได้ แต่การจะสละบุตรภรรยาคือยอมใหเขาไปกับใครน้ัน มีขอแม้ 1พระสุกรี ยโสธโร, “การศึกษาวิเคราะห์จริยธรรมของตัวละครในวรรณกรรมพระเวสสันดรชาดก”, วารสารสถาบนั วจิ ัยพมิ ลธรรม, อ้างแล้ว, : 8.
73 ว่าต้องใหเขายินดีพอใจหรือเต็มใจด้วยถ้าเขาไม่พอใจก็ไม่บริจาค ท่านมีเงือ่ นไขไวแลวหันกลับมาเร่ือง การบริจาคอวัยวะ เป็นอันว่าพระโพธิสัตวจะเป็นพระพุทธเจาได้จำเป็นตองบําเพ็ญมหาบริจาค ซึ่งมี การบริจาคอวัยวะบริจาคนัยนตา บริจาคชีวิตรวมอยู่ด้วย เพราะฉะน้ัน จึงเป็นการแน่นอนอยูแลว วาไม่มีการห้าม นอกจากจะทำด้วยโมหะและโดยไม่มีเหตุผล สวนการทำอย่างมีเหตุผล คือ มีจิต เมตตากรุณา ตองการเสียสละใหเกิดประโยชนแก้ผู้อื่นนี้ ทา่ นสนับสนุน 4.1.3 ทานปรมัตถบารมี ปรมัตถบารมี คือ บารมีขัน้ สูงสุด แบ่งเป็น 2 ลกั ษณะ คือ 1) ปรมัตถบารมี จากการส่ังสมปรมัตถบารมีในชาตินั้น ๆ คือ บารมีที่เกิดจาก การบำเพ็ญเพียรด้วยจิตอย่างอ่อนในชาตินั้น ๆ เช่น การให้ทาน (เฉพาะการให้ทานด้วยการให้ชีวิต ของตน) 2) ปรมัตถบารมี ในข้ันวิปัสสนญาณ คือ การส่ังสมปรมัตถบารมีในทุก ๆ ชาติ หรือ เพียงชาติด้วยการเข้าสู่ปรมัตถบารมี หลังจากที่ได้สะสมปรมัตถบารมี เพื่อให้เข้าถึงซ่ึงฌานอันสูงสุด คอื พระอรหันต์ หรือพระนิพพาน การให้ทานของพระเวสสันดรดังกล่าว เป็นสิ่งท่ีควรกระทำ ไม่ว่าจะโดยใช้เกณฑ์หลักคือ เจตนาหรอื ความเป็นเหตุเปน็ ผลของสภาวธรรม และเกณฑ์รองกลา่ วคือมโนธรรม การยอมรบั ของคน ผู้เป็นบัณฑิต และผลท่ีได้อันเป็นประโยชน์แก่ส่วนรวม วิธีการและเป้าหมายในการกระทำเป็นสิ่งท่ี ถูกต้อง และเป็นวิธีการที่ดีเพราะนำไปสู่ความจริงสูงสุดหรืออันติมสัจจะกล่าวคือการเข้าถึงสัมโพธิ ญาณ เข้าถึงพระนิพพานอันเปน็ บรมสุข เป็นท่ีสดุ แห่งทกุ ข์ พระเวสสนั ดรกระทำทานก็หวังผลเช่นกัน แต่เป็นผลประโยชนแ์ ก่ประชาราษฎรของพระองค์และมิตรประเทศ หวังท่ีจะช่วยเหลอื เขาให้พ้นจาก ความเดือดร้อน และที่ต้องกระทำนั้นยังเป็นหน้าท่ีโดยตรงของผู้นำที่มีจิตประกอบด้วยเมตตาธรรม ถา้ ผู้นำขาดคุณธรรม มวลประชาราษฎร์และประเทศชาติคงไปไม่รอดอย่างแน่นอน บางคร้ังพระองค์ กระทำทานจนตัวเองได้รับความเดือดร้อน เพราะมีคนอีกจำนวนหน่ึงยอมรับไม่ได้ เหตุผลต่าง ๆ ในการบำเพ็ญทานบารมีของพระเวสสนั ดรโพธสิ ัตว์ตามที่กล่าวมาแสดงให้เห็นได้ชัดเจนว่า การมอบ ลูกและภรรยาให้แก่ผู้อื่นของพระเวสสันดร เป็นคติแห่งการบำเพ็ญบารมีของพระโพธิสัตว์ เพื่อ การตรสั รู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณอันเป็นอุดมคติสูงสุดของชีวิตและการให้ทานดังกล่าวน้ีก็มีธรรม เนยี มปฏิบัติเฉพาะของผบู้ ำเพ็ญเพียรเพ่ือเขา้ ถึงความเป็นพระพุทธเจ้า ธรรมเนยี มดงั กล่าวนี้ ถึงแม้จะ เข้าข่ายเป็นการกระทำผิดสิทธิมนุษยชนหรือเป็นการเห็นแก่ตัว แต่เมื่อพิจารณาในบริบทของพระ โพธิสัตว์ การกระทำดงั กลา่ วจัดว่าเป็นการกระทำทถ่ี ูกตอ้ ง และควรแก่การกระทำ เปา้ หมายขัน้ สูงสุด คอื ประโยชนส์ ูงสุดในทางพระพุทธศาสนา กล่าวคอื ความเป็นผู้ร้แู จ้งสภาวะของสิ่งท้ังหลายตามความ เปน็ จริง อยู่จบพรหมจรรย์ ไม่มกี จิ ที่จะตอ้ งทำอกี ตอ่ ไปแลว้ การดำเนินชวี ิตเพอ่ื เข้าถงึ จุดหมายขัน้ นี้ ก็ คือการดำเนินตามทางสายกลางทเี่ รียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา อนั เป็นทางสายกลางระหว่างความหลงมัว เมาในกามสขุ และการปฏิบตั ติ นให้ลำบากโดยเปล่าประโยชน์
74 ในฐานะเป็นพระสวามี พระองค์ปฏิบัติพระองค์กับพระนางมทั รีอยา่ งผ้ใู ห้เกียรติ ถึงแมจ้ ะมี ผู้คัดคา้ นวา่ แล้วทำไมถึงตอ้ งบรจิ าคพระนางให้เป็นทานแกพ่ ราหมณ์ ผูเ้ ขยี นมองได้ 2 ประเดน็ ยอ่ ยวา่ ในฐานะปุถชุ นคนธรรมดา พระองคไ์ มท่ รงต้องการให้พระนางตอ้ งมาตกระกำลำบากเพราะ พระองค์ในป่าเขาลำเนาไพรด้วย พระนางมทั รีต้องทำทุกอย่างทั้งเลี้ยงดูพระโอรสธิดา เดินทางในป่า ดงพงไพรเพื่อคน้ หาผลหมากรากไม้ทุกวีท่ ุกวัน พระองค์มีความรกั ในพระนางมากลน้ ไม่อยากให้พระ นางตอ้ งมาลำบากทางท่ีดอี ยา่ งหนึ่งก็คอื ใหพ้ ระนางเลอื กหนทางทจี่ ะดำเนนิ ชีวิตของตนใหมไ่ ด้ ใน ฐาน ะ ที่ พ ระ เวสสัน ดรเป็ น พ ระโพ ธิสัตว์ พ ระ อ งค์ รู้ดี ว่าก ารท่ี จะไป ให้ ถึง พระสพั พญั ญุตญาณน้นั ตอ้ งบำเพ็ญอะไรบ้าง พระองคท์ รงรักพระนางมัทรคี ทู่ กุ ขค์ ู่ยากเหนือชีวติ จิตใจ แต่พระองค์ก็ทรงรักพระสัพพัญญุตญาณมากกว่า เมื่อมีหนทางท่ีจำเป็นต้องเลือก พระองค์ก็ทรง ตัดสินใจ ท่ีจะทำเพ่ือพาสัตว์โลกท้ังมวลออกจากสังสารวัฏที่มีแต่ความทุกข์ โดยขอให้พระนางมัทรี ช่วยเปน็ สะพานทองไปให้ถงึ พระโพธญิ าณให้พระองคด์ ้วย เมอื่ ได้ทราบเจตนารมณน์ ้ันแล้วพระนางก็มี ความยินดีและเติมพระทยั ในฐานะท่ีเปน็ พระราชบิดา พระเวสสนั ดรพระองคม์ ีความรักความห่วงใยในพระโอรสและ พระธิดา อย่างล้นเหลือประมาณ เสมอเหมือนผู้เป็นบิดาจะพึงรักและห่วงใยลูกของตนอย่างบุคคล ท่ัวไป แต่แล้วทำไมพระองค์จึงทรงตัดสินใจในการยกพระโอรสพระธิดาให้เป็นทาสของบุคคลอื่น โดยเฉพาะในที่นี่ คอื พราหมณช์ ูชกผู้มีความโหดร้าย ในฐานะปุถุชนคนธรรมดา พระองค์ทรงมีวิสัยทัศน์ยาวไกลต้องการท่ีจะหาหนทางได้ กลับคืนสู่พระนครด่ังเดิม โดยให้พระโอรสพระธิดาเป็นสะพานเชื่อมโยงไปสู่พระเจ้ากรุงสัญชัยและ ชาวเมอื งสพี ี ทรงตั้งคา่ ตัวของพระโอรสพระธิดาไวส้ ูงมาก เพื่อปอ้ งกันภัยต่าง ๆ ความหวังที่จะได้หวน คืนพระนคร ได้เห็นอนาคตที่เจรญิ รุ่งเรืองของพระโอรสธิดาจึงเป็นความรักของผู้เป็นบิดาจะพึงมอบ ให้แก่บุตรธดิ า ถงึ แม้ว่าเม่ือให้แล้วจะเกดิ ความทุกขใ์ จต่อผู้เป็นบิดามารดาในเบอื้ งต้นเพียงไรก็ต้องจำ ยอม ในฐานะที่พระองค์เป็นพระโพธิสัตว์ พระองค์ทรงรู้ดีว่าการท่ีจะไปให้ถึงพระสัพพัญญุต ญาณน้ันต้องบำเพ็ญปุตตทานอันยากยิ่งด้วย แตเ่ ม่อื พระองค์ทรงรักในพระสพั พญั ญตุ ญาณมากกว่าก็ ต้องจำยอม ทรงจะต้องเอาชนะพระทัยของพระองค์เองที่มีท้ังความรักอาลัยอาวรณ์ พระโอรส พระธิดา และต้องเอาชนะความโกรธเคืองที่เห็นการกระทำของชูชกพราหมณ์เฒ่าที่เฆ่ียนตีบุตรธิดา ของพระองค์ตอ่ หน้าพระพักตร์ พระองค์ตอ้ งใช้ความอดทนอย่างสูงยิ่งและยึดมั่นในวาจาของกษัตริย์ หากพระองค์ผ่านคร้ังน้ีไปได้ ในอนาคตกาลพระโพธิญาณย่อมจะก่อเกิดประโยชน์ต่อมวลมนุษย์ รวมท้งั พระโอรสและพระธิดาของพระองค์เองในตอนน้ีด้วยพระเวสสันดรทรงมีความรกั ความห่วงใย ในฐานะผเู้ ป็นบดิ า แต่ดว้ ยวิสยั ทัศน์ท่ตี ้องการให้พระโอรสพระธิดาได้กลับคืนพระนครหมดจากความ ทุกข์ยากลำบาก และเพื่อบรรลุพระโพธิญาณในอนาคตกาลพระองค์จึงต้องจำยอม ซึ่งการตัดสินใจ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120