Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore จดหมายข่าว สป.อว. ปีที่ 14 ฉบับที่ 606 ประจำวันที่18 ตุลาคม 2564

จดหมายข่าว สป.อว. ปีที่ 14 ฉบับที่ 606 ประจำวันที่18 ตุลาคม 2564

Published by MBU SLC LIBRARY, 2021-11-01 07:59:25

Description: 606_e3e25

Search

Read the Text Version

ปีท่ี ๑๔ ฉบับท่ี ๖๐๖ ประจำ�วันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๖๔ อว. ลุยพลิกโฉมมหาวทิ ยาลัยตามความเชี่ยวชาญ หลงั “จฬุ าฯ -มหดิ ล -ขอนแก่น - เชียงใหม่ - สงขลา” ตดิ อันดับดบั โลกจากสาขาทีม่ คี วามเชย่ี วชาญ ๗ ตุลาคม ๒๕๖๔ : ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.เอนก เหล่าธรรมทศั น์ รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม  เปิดเผยว่า  ผลของการจัดอันดับมหาวิทยาลัยระดับโลกใน  THE  (Times  Higher  Education)  Impact Rankings 2021 ที่ใชว้ ดั ความสำ�เรจ็ ของมหาวทิ ยาลัยทัว่ โลกในการดำ�เนินการเพื่อบรรลเุ ป้าหมายการพฒั นาทยี่ ัง่ ยืน หรอื Sustainable Development Goals (SDGs) ของสหประชาชาติ (UN) ท่ีปรากฎวา่ มหาวิทยาลยั ไทยหลายแห่งได้รบั การจดั อนั ดบั อยใู่ นระดับโลก และถือเป็นดชั นีชี้วดั ประเทศท่ีชว่ ยใหเ้ กดิ การตัดสนิ ใจลงทนุ จากตา่ งประเทศน้ัน อว. ได้เตรยี มยทุ ธศาสตรใ์ นการพลิกโฉมหรือยกระดับ มหาวทิ ยาลยั ตามความเชยี่ วชาญ โดยมกี ารแบง่ กลุ่มตามความถนัดและศกั ยภาพ เพ่อื พัฒนามหาวทิ ยาลัยอยา่ งก้าวกระโดดและตอบโจทย์ ประเทศ  ไม่ว่าจะเปน็ เรอ่ื งเศรษฐกจิ BCG และกลมุ่ อุตสาหกรรมใหม่ เชน่ ระบบโลจสิ ติกส ์ ระบบราง ยานยนต์ไฟฟ้า หรอื เทคโนโลยี ในอนาคต เชน่ เทคโนโลยกี ารคำ�นวณเชงิ ควอนตัม หรอื เทคโนโลยอี วกาศ เปน็ ตน้ รมว.อว.  กล่าวต่อว่า  การพลิกโฉมหรือยกระดับมหาวิทยาลัย  เนื่องจากมหาวิทยาลัยของไทยจำ�นวนหน่ึงมีพื้นฐานที่ดี ในการทำ�งานที่ตอบโจทย์ของประเทศรวมท้ังความยั่งยืนที่กำ�หนดโดยสหประชาชาติ  ดังที่เห็นได้จากมีหลายมหาวิทยาลัยติดลำ�ดับ ตน้ ๆ ของโลกในหลายเป้าหมายจาก THE Impact Rankings อยา่ งไรกต็ ามในด้านความเป็นเลศิ มหาวิทยาลัยไทยจำ�เปน็ ที่จะตอ้ ง ท�ำ การบา้ นเพื่อยกระดับคุณภาพให้สงู ข้ึนอีก มหาวิทยาลัยไทยหลาย ๆ แห่งมศี ักยภาพพนื้ ฐานในหลายสาขาวชิ าซงึ่ มคี วามแตกต่างกัน ตามมหาวิทยาลัย  ยกตัวอย่างเช่น  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมีความเช่ียวชาญในสาขาวิศวกรรมศาสตร์ซ่ึงติดอันดับโลกในหลายสาขา เชน่ วิศวกรรมปิโตรเลี่ยมติดอนั ดบั ที่ ๕๑ - ๑๐๐ รวมถึงการแพทย์ หรือรัฐศาสตร์ เปน็ ตน้ ม.มหิดล มคี วามเช่ียวชาญโดยเฉพาะในสาขา ทางดา้ นการแพทย์ตดิ อนั ดับที่ ๑๑๖ ของโลก และวิทยาศาสตรส์ ขุ ภาพ เชน่ เภสชั ศาสตรแ์ ละเภสัชวิทยา กายวิภาคศาสตรแ์ ละสรรี วิทยา เปน็ ตน้ ม.เกษตรศาสตร์ มจี ดุ เน้นทางดา้ นเกษตรและอาหาร ปัจจบุ ันอยใู่ นอนั ดับท่ี ๖๓ ของโลกทางดา้ นเกษตรและปา่ ไมแ้ ละมเี ป้าหมาย ท่จี ะไปสู่อันดบั ทีต่ ่าํ กวา่ ๔๐ ของโลกในอนาคต ต่อหนา้ ๒

จากหน้า ๑ ม.เชียงใหม่  มีความเช่ียวชาญทางด้านเกษตรและป่าไม้  เภสัชศาสตร์และเภสัชวิทยา  และวัสดุศาสตร์  ม.ขอนแก่น มคี วามเชย่ี วชาญทางด้านเกษตรและป่าไม้ เภสัชศาสตรแ์ ละเภสชั วทิ ยาเช่นเดยี วกนั สว่ น ม.สงขลานครินทร์ มคี วามถนดั ทางด้าน เกษตรและป่าไม้  และการแพทย์  เป็นต้น  และมหาวิทยาลัยหรือสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าท้ัง  ๓  แห่งที่มีจุดเด่นในด้าน วิศวกรรมศาสตรห์ ลายสาขา ดร.เอนก  กล่าวอีกว่า  นอกจากนี้ยังมีอีกหลายมหาวิทยาลัยที่มีสาขาวิชาท่ีมีจุดเด่น  แต่อย่างไรก็ตามยังมีความจำ�เป็น ท่ีจะตอ้ งยกระดบั มหาวิทยาลยั เหลา่ นีใ้ ห้มคี ุณภาพสงู ข้ึน ซึ่งเป็นเปา้ หมายท่ีส�ำ คญั ของ อว. ในการพลิกโฉมมหาวิทยาลยั การพฒั นา มหาวิทยาลัยเปน็ กระบวนการท่ไี มห่ ยุดนง่ิ และตอ้ งทำ�แบบกา้ วกระโดด เพราะหากชา้ กจ็ ะกลายเปน็ ถอยหลัง เนือ่ งจากมหาวทิ ยาลยั อื่น ๆ ท่ัวโลกมีพัฒนาการท่ีรวดเรว็ การแสดง “บันทกึ เพลงสยาม ต่อยอดยดื ลมหายใจและทางรอด” ๘ ตุลาคม ๒๕๖๔ : ศ.(พิเศษ) ดร.เอนก เหล่า ธรรมทศั น์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พรอ้ มดว้ ย ศ.ดร.นพ.สริ ฤิ กษ์ ทรงศวิ ิไล ปลัดกระทรวง และคณะผู้บริหาร อว. เขา้ ชมการบันทึกเสียงและ ภาพการแสดง  “บันทึกเพลงสยาม  ต่อยอดยืดลมหายใจและทางรอด”  โดยวงไทยซิมโฟนีออเคสตร้า  (Thai  Symphony Orchestra) ภายใต้โครงการขยายผลต่อยอดนวตั กรรมเพลงพ้ืนบา้ นเพอื่ เผยแพรเ่ ป็นมรดกของชาติ โดยได้รบั เกยี รติจาก อ.สุกรี เจริญสุข อดีตคณบดแี ละผกู้ ่อตัง้ วทิ ยาลัยดรุ ยิ างคศ์ ิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ใหก้ ารตอ้ นรบั   งานดังกลา่ วจดั ขน้ึ ที ่ สตดู ิโอ  ๒๘  กรุงเทพกรีฑา กรุงเทพมหานครฯ

อว. จบั มอื บรติ ชิ เคานซิล รว่ มผลกั ดันมหาวิทยาลยั ไทย สูม่ หาวิทยาลัยช้นั น�ำ ของโลก เปดิ ตวั ๑๕ โครงการ จาก ๗ มหาวทิ ยาลยั ไทย เดินหน้าจับคู่พัฒนาร่วมกบั มหาวิทยาลัยชั้นนำ�ของ UK ดา้ น ดร.พาสทิ ธิ์ ม่ันใจมหาวิทยาลยั ไทยก้าวสู่ ๑ ใน ๑๐๐ มหาวทิ ยาลยั ของโลกใน ๑๐ ปี ๗ ตุลาคม ๒๕๖๔ : รศ.ดร.พาสิทธิ์ หล่อธีรพงศ์ รองปลัดกระทรวงการอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัย และนวัตกรรม รว่ มการแถลงข่าวความร่วมมอื ระหว่าง กระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) กับ บริตชิ เคานซิล ประเทศไทย  ผนึกกำ�ลังจับคู่มหาวิทยาลัยไทยกับสหราชอาณาจักร  เพ่ือพัฒนาและก้าวสู่การเป็นมหาวิทยาลัยช้ันนำ�ของโลก พร้อมเปดิ ตัว ๑๕ โครงการ จาก ๗ มหาวิทยาลยั ไทย พัฒนารว่ มกันกับมหาวทิ ยาลัยช้นั น�ำ ของสหราชอาณาจักร ความรว่ มมือ ในครง้ั นี้คอื จุดเร่ิมต้นของทง้ั ๒ ประเทศในดา้ นการเรยี นการสอน การท�ำ วิจัย และโครงการแลกเปลย่ี นตา่ งๆ รวมถึงแนวทาง การพัฒนาเรือ่ งอ่นื ๆ ในอนาคต ถือเปน็ โอกาสดีของมหาวทิ ยาลัย และบคุ ลากรทางการศกึ ษา รวมถงึ นกั ศกึ ษาของไทย ท่จี ะไดร้ บั ประสบการณ์ในระดับสากลจากหลากหลายศาสตร์ในมหาวิทยาลัยช้ันนำ�ของโลก  เพื่อพัฒนาและก้าวสู่การเป็น  ๑  ใน  ๑๐๐ มหาวิทยาลัยช้ันนำ�ของโลกในอนาคต  ภายในงานดังกล่าวยังได้รับเกียรติจากนายพันธุ์เพิ่มศักด์ิ  อารุณี  ผู้เช่ียวชาญเฉพาะด้าน พฒั นาทรพั ยากรบคุ คล และ นางเฮลก้า เสตลมาเกอร์ ผอู้ ำ�นวยการบรติ ิช เคานซลิ ประเทศไทย เข้ารว่ มงานพร้อมให้สัมภาษณ์ แกส่ ่อื มวลชน งานดงั กลา่ ว จัดข้นึ ที่ โรงแรมปทุมวัน ปริน๊ เซส กรุงเทพมหานคร รศ.ดร.พาสิทธ์ิ  รองปลัดกระทรวง  ให้การสัมภาษณ์แก่สื่อว่า  การอุดมศึกษาเปลี่ยนแปลงไปมากสำ�หรับโลกปัจจุบัน สาเหตุสำ�คัญประการหน่ึงคือการเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยี  ซ่ึงจุดเปล่ียนท่ีสำ�คัญคือคือการเริ่มมีอินเตอร์เน็ตท่ีทำ�ให้เกิดความ เชื่อมโยงของโลกมากขึ้นในลกั ษณะทเ่ี รียกว่า “Hyper Connected” ท�ำ ให้ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ส่งผ่านถึงกนั อย่างรวดเรว็ ภาคการศกึ ษา ภาคเอกชน  และอุตสาหกรรม  มีทั้งความร่วมมือและการแข่งขันท่ีสูงข้ึนตามมา  บทบาทของอุดมศึกษาจึงต้องปรับตนเองให้ทัน ตอ่ ความคาดหวงั ของสงั คม ภาคธุรกจิ หรือภาคบริการต่างๆ ทีต่ ้องการบุคลากรท่มี คี วามสามารถ และเร่มิ งานไดท้ นั ที ดงั นน้ั สถาบนั อุดมศึกษาจะต้องปรับเปลี่ยนตัวเอง  ต้องรู้แนวโน้มโลก  (Global  trends)  ในขณะเดียวกันก็ต้องคำ�นึงความต้องการของพ้ืนที่ ไปพร้อมๆ  กัน  การสร้างความร่วมมือเพ่ือแลกเปล่ียนเรียนรู้กับสถาบันทางการศึกษาชั้นนำ�ของโลกเพื่อพัฒนาตนเองสู่ความ เปน็ เลิศด้านต่างๆ จงึ เปน็ แนวทางหนงึ่ ทีม่ ีความเหมาะสม รศ.ดร.พาสทิ ธ์ิ รองปลัดกระทรวง กล่าวต่อวา่ กระทรวง อว. มีหน้าที่ในการก�ำ กบั ดูแล สนบั สนุน สถาบันอดุ มศึกษา ของประเทศใหม้ มี าตรฐานใหส้ งู ขึน้ ช่วยแก้ไขกฎระเบยี บทลี่ ้าสมัยและเป็นอุปสรรคตอ่ การท�ำ งานของมหาวทิ ยาลยั สง่ เสรมิ ให้เกิด การพัฒนาบุคลากร  และสนับสนุนงานวิจัยและการสร้างนวัตกรรมท่ีเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ และของโลก กระทรวง อว. ไดร้ เิ รม่ิ โครงการพลกิ โฉมมหาวทิ ยาลยั หรอื Re-inventing University ขน้ึ เพอ่ื สนบั สนนุ ใหม้ หาวทิ ยาลยั ไดพ้ ัฒนาตอ่ ยอดความถนดั และความเชีย่ วชาญของตนเพ่ือต่อยอดไปสูค่ วามเปน็ เลิศ โดยตอ้ งมกี ารปฏริ ูประบบบริหารจดั การตา่ งๆ ภายในมหาวิทยาลัยท้ังด้านการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล  ระบบธรรมาภิบาล  พร้อมกันกับการปฏิรูปการเรียนการ สอน การพัฒนาหลกั สูตร การสนับสนุนงานวิจยั และพฒั นาไปพร้อม ๆ กัน กระทรวง อว. ต้งั ใจจะพฒั นาสถาบนั อดุ มศกึ ษาไทย สู่ความเป็นเลิศในระดับสากล  ซึ่งล่าสุดก็ได้ทำ�งานร่วมกับบริติช  เคานซิล  ในโครงการความร่วมมือระดับอุดมศึกษาระหว่าง ประเทศไทย-สหราชอาณาจกั ร เพื่อเปิดโอกาสให้สถาบนั อดุ มศกึ ษาไทยได้แลกเปลี่ยนการร่วมมอื ระดับนานาชาติ สรา้ งองค์ความรู้ และพัฒนาระบบอุดมศึกษาไทยเพื่อเข้าใกล้ระดับสากลมากข้ึน  และได้ตั้งเป้าหมายไว้ว่าจะยกระดับการอุดมศึกษาของไทย ตอ่ หน้า ๔

จากหน้า ๓ ใหส้ งู ขน้ึ เรอ่ื ยๆ ในอนาคต นา่ จะสามารถท�ำ ใหม้ หาวทิ ยาลยั ไทยตดิ อยใู่ น ๑๐๐ อันดับแรกของโลกได้ ผชช.พันธุเ์ พมิ่ ศกั ด์ิ กลา่ วเพิม่ เติมวา่ การร่วมมือกนั ระหว่าง อว.  และ  บริติช  เคานซิล  ในคร้ังน้ี  มีเป้าหมายท่ีสำ�คัญคือต้องการ ยกระดับการอุดมศึกษาไทยให้สู้ระดัลสากลให้ได้  โดยกระบวนการ ดังกล่าวอยู่ภายใต้โครงการความร่วมมือระดับอุดมศึกษาระหว่าง ประเทศไทย-สหราชอาณาจักร  คัดเลือกมหาวิทยาลัยไทยท่ีมีจุดแช็ง ที่มีการยอมรับภายในประเทศ  มีทรัพยากร  และสมรรถนะในการ สรา้ งสรรค์งานวิจยั และพัฒนาในดา้ นต่างๆ ๗ มหาวิทยาลัยใน ๑๕ สาขา วชิ านำ�ร่องเขา้ รว่ มโครงการ จับคู่สร้างความร่วมมือในระดับนานาชาติกับมหาวิทยาลยั ในสหราชอาณาจกั ร สำ�หรบั มหาวทิ ยาลยั ๗ แหง่ และ ๑๕ สาขาที่เข้าร่วม ประกอบด้วย มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ ๑ สาขาได้แก่ แพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ๗ สาขา ไดแ้ ก่ สถาปตั ยกรรมศาสตร์ วศิ วกรรมเคมี วทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ แพทยศาสตร์ ๒ โครงการ ภูมศิ าสตร์ และพฒั นศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ๑ สาขา ไดแ้ ก่ สาขาวชิ าเกษตรศาสตรแ์ ละปา่ ไม้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ๑ สาขา ไดแ้ ก่ วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล ๓ สาขา วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ แพทยศาสตร์ พฒั นศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ๑ สาขา ไดแ้ ก่ สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ๑ สาขา ได้แกพ่ ฒั นศาสตร์ ตนหวังว่าความร่วมมือในครัง้ นจี้ ะเป็นโอกาสดที จี่ ะได้รบั ประสบการณ์การเรยี นการสอนระดับนานาชาติ ได้พัฒนาทักษะด้านงานวจิ ัย รวมไปถึงการสร้างเครือข่ายแบบนานาชาติ เจ้าของ กลมุ่ สอ่ื สารองค์กร (สอ.) กองกลาง (กอก.)สำ�นักงานปลดั กระทรวงการอุดมศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม (สป.อว.) ๓๒๘ ถ.ศรีอยุธยา แขวทงุ่ พญาไท เขตราชเทวี กรงุ เทพฯ ๑๐๔๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๖๑๐ ๕๒๔๑-๔ เว็บไซด์ www.ops.go.th เฟสบคุ๊ opsmhesi ทวิตเตอร์ @opsmhesi ท่ปี รึกษา ศาสตราจารย์ นายแพทยส์ ิรฤิ กษ์ ทรงศิวิไล ศาสตราจารยส์ มั พนั ธ์ ฤทธเิ ดช ศาสตราจารยศ์ ุภชยั ปทุมนากลุ รองศาสตราจารย์พาสิทธ์ิ หล่อธรี พงศ ์ นางสาวสุณยี ์ เลศิ เพยี รธรรม นางสาวนุชนภา ร่ืนอบเชย นางนงนภัส หมวดเดช กองบรรณาธกิ าร นายเจษฎา วณชิ ชากร นางสาวศิริลักษณ์ สิกขะบูรณะ นายกรภทั ร์ จิตต์จำ�นงค์ นายวชั รพล วงษ์ไทย นางสาววนี สั แกว้ ประเสริฐ นายปวณี ควรแย้ม นางปราณี ชื่นอารมณ ์ นายจรัส เลก็ เกาะทวด นางสาวอนิ ทริ า บวั ลอย ผ้พู มิ พ์ ห้างหุน้ สว่ นจำ�กัด อารต์ โปรเกรส โทรศพั ท์ ๐ ๒๒๔๗ ๒๕๖๐ e-mail: [email protected]