Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore จดหมายข่าวอุดมศึกษา ปีที่ 13 ฉบับที่ 603 วันจันทร์ ที่ 27 กันยายน 2564

จดหมายข่าวอุดมศึกษา ปีที่ 13 ฉบับที่ 603 วันจันทร์ ที่ 27 กันยายน 2564

Published by MBU SLC LIBRARY, 2021-09-28 04:03:13

Description: 603_fdde9

Search

Read the Text Version

ปีที่ ๑๓ ฉบับที่ ๖๐๓ วันจนั ทร์ท่ี ๒๗ กนั ยายน ๒๕๖๔ รมว.อว. มนั่ ใจไทยก้าวสู่ประเทศนวัตกรรม ออกจากกับดักประเทศรายไดป้ านกลาง ไปสูป่ ระเทศรายได้สูง “เอนก” มัน่ ใจไทยก้าวส่ปู ระเทศนวัตกรรม ที่ก�ำ ลงั จะดีดตัวเอง ต่อหน้า ๒ ออกจากกับดักประเทศรายได้ปานกลาง  ไปสู่ประเทศรายได้สูงด้วยงาน วิจัยและนวัตกรรม  เพราะผ่านวิกฤตต่างๆ  มาได้ระลอกแล้วระลอกเล่า ล่าสดุ สามารถพัฒนานวัตกรรมสู้โควิดได้ ท้งั ชุด PPE หน้ากาก PAPR หอ้ งไอซียูความดันลบ รวมทง้ั การผลติ วัคซนี จากฝีมอื คนไทยกว่า ๔ ชนิด ดา้ น NIA จัดงานสตารท์ อพั และอนิ โนเวชั่นไทยแลนด์ เอ็กซโ์ ป ๒๐๒๑ เน้นถ่ายทอดเทคโนโลยเี ชงิ ลึกให้ผปู้ ระกอบการ เมื่อวนั ที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๖๔ ศาสตราจารยพ์ ิเศษ ดร.เอนก เหลา่ ธรรมทศั น์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม (อว.) กลา่ วเปดิ งานสตารท์ อพั และอนิ โนเวชน่ั ไทยแลนด์ เอ็กซ์โป ๒๐๒๑ (STARTUP x INNOVATION THAILAND EXPO 2021)

จากหนา้ ๑ หรือ SITE 2021 จดั โดยสำ�นกั งานนวัตกรรมแหง่ ชาติ (NIA) ว่าปีที่ผ่านมา  ประเทศไทยได้รับการจัดอันดับความสามารถ ในดา้ นนวัตกรรม โดย The Global Innovation Index 2020 เป็นอันดับท่ี ๔๓ ของโลก และมสี ่วนรว่ มของภาคเอกชนในดา้ น นวตั กรรม เปน็ อนั ดบั ๑ ของโลก ซง่ึ การทน่ี วตั กรรมจะเดนิ หนา้ ได้จะต้องข้ึนอยู่กับความเข้มแข็งของภาคเอกชนด้วยน่ันถือเป็น ข่าวดี  และจากเหตุการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ชว่ งปเี ศษทผ่ี า่ นมาไดใ้ หส้ ญั ญาณวา่ ประเทศไทยก�ำ ลงั จะดดี ตวั เอง ออกจากกับดักประเทศรายได้ปานกลาง  ไปสู่ประเทศรายได้สูง ด้วยงานวิจัยและนวัตกรรม  เราสามารถสร้างนวัตกรรมเพ่ือช่วย สวู้ กิ ฤตโควดิ ท่ที ำ�ไดส้ �ำ เรจ็ แลว้ มากมาย เช่น ชดุ PPE หน้ากาก PAPR  และห้องไอซียูความดันลบ  ซึ่งมีราคาถูกเป็นหน่ึงในสิบ ของราคาต่างประเทศ  นอกจากนั้น  ยังมกี ารผลติ วัคซีนไฮเทคจากฝีมอื คนไทยกวา่ ๔ ชนิด ขณะน้กี ำ�ลงั อยู่ระหว่างการทดลองขนั้ สดุ ท้ายในคน ซง่ึ ม่นั ใจวา่ ในปี ๒๕๖๕ จะสามารถผลติ ออกมาใหค้ นไทยได้ใชอ้ ยา่ งแน่นอน “ผมอยากให้คนไทยเช่อื มัน่ วา่ ประเทศของเราเป็นประเทศแหง่ นวัตกรรมได้ นอกจากผลงานในปจั จุบันแล้วประเทศไทย ยังมีท่ีต้ังที่เป็นเลิศ  เป็นดินแดนท่ีมีนวัตกรรมมาช้านาน  เรารับอารยธรรมจากจีนและอินเดีย  นำ�มาผสมผสานและต่อยอดจาก ของดีแต่เดิมของเราจนกลายเป็นนวัตกรรมของไทย  รวมทั้งเรามีคนที่เป็นเลิศ  เป็นนักผสมผสาน  นักสร้างสรรค์  พร้อมรับการ เปล่ยี นแปลง นวตั กรรมของไทยในวนั นจ้ี งึ มีรากฐานความเป็นมาท่ยี าวนานมาก เราตอ้ งมน่ั ใจในตวั เอง เชอื่ ว่าเราเป็นนวัตกรรม ได้ เราเปน็ เลิศทางนวตั กรรมได้ เราสามารถผา่ นวิกฤตตา่ งๆ มาได้ดว้ ยตนเอง และเราจะกา้ วไปสู่การเป็น ๑ ใน ๓๐ ประเทศ แห่งนวตั กรรมของโลกตอ่ ไป” ดร.เอนก กล่าว ด้าน  ดร.พันธ์ุอาจ  ชัยรัตน์  ผอ.  NIA  กล่าวว่า  ในช่วงเกือบ  ๒  ปีที่ผ่านมา  ทั่วโลกต้องเผชิญกับวิกฤตและ การเปลย่ี นแปลงครงั้ ยงิ่ ใหญท่ ส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ วถิ กี ารด�ำ เนนิ ชวี ติ   สงั คม  และเศรษฐกจิ   แตใ่ นวกิ ฤตนน้ั ท�ำ ใหม้ องเหน็ ความทา้ ทาย ที่จะสร้างให้เกิดโอกาสใหม่ๆ  ให้กับประเทศไทย  “นวัตกรรมและเทคโนโลยี”  จึงเป็นเสมือนตัวช่วยที่สำ�คัญ  และอาจจะเป็น ทางรอดของหลายประเทศในเวลาน้ี  โดยเฉพาะการรับมือกับการปฏิวัติอุตสาหกรรมคล่ืนลูกท่ี  ๔  ระบบเศรษฐกิจของ โลกก�ำ ลงั ถกู ขบั เคลอ่ื นดว้ ยขอ้ มูล การจดั งาน STARTUP x INNOVATION THAILAND EXPO 2021 หรือ “SITE2021” เป็นอีกหน่ึงความต้ังใจท่ีต้องการสร้างเวทีแสดงศักยภาพของ  “นวัตกรรมไทย”  และสร้างแรงบันดาลใจใหม่ๆ  ตอบโจทย์ ความท้าทายให้กับคนไทย  และสามารถนำ�ไปต่อยอดหรือขยายผลเป็นโอกาสในมิติต่างๆ  มากข้ึน  โดยในปีนี้ได้รวมการ จดั ๒ งานยิ่งใหญร่ ะดบั ประเทศ STARTUP THAILAND และ INNOVATION THAILAND EXPO เขา้ ดว้ ยกนั ภายใต้แนวคดิ “DEEP TECH RISING …The Next Frontier of Innovation” ท่มี งุ่ เนน้ ถา่ ยทอดแนวทางการสง่ เสริม พัฒนา และสร้าง โอกาสการเติบโตใน “เทคโนโลยเี ชิงลึก” หรอื Deep Tech ซึ่ง NIA เป็นหน่วยงานหลกั ทไ่ี ดร้ เิ ร่ิมและสง่ เสริมสตาร์ทอัพ ในกลุ่มน้ีมาอย่างต่อเนื่อง  เพราะเชื่อม่ันว่าเทคโนโลยีเชิงลึกนี้  จะเป็นอาวุธสำ�คัญในการต่อยอดนวัตกรรมและเทคโนโลยีอื่น เพอ่ื ขับเคล่ือนประเทศไทยใหก้ า้ วส่โู ลกอนาคตไดอ้ ยา่ งทัดเทียมประเทศชั้นน�ำ ของโลก ทั้งน้ี SITE 2021 จัดข้นึ ในรปู แบบออนไลน์ ระหว่างวนั ท่ี วนั ที่ ๑๕ - ๑๘ กนั ยายนท่ีผา่ นมานี้ ผู้สนใจสามารถรบั ชมงาน ย้อนหลังไดท้ ีเ่ ว็บไซต์ https://site.nia.or.th

รมว.อว. ชบ้ี ทบาทของแพทยส์ �ำ คัญมากขึ้นในโลกยคุ ใหม่หลังโควดิ -19 รมว.อว. ช้ีบทบาทของแพทยส์ �ำ คัญมากขน้ึ ในโลกยุคใหม่หลงั โควิด-19 ควรตอ้ งปรบั จากหมอซ่อมสุขภาพเป็นหมอที่สร้างและเสริมสุขภาพ  รับมือโรคติดเชื้ออุบัติใหม่และอุบัติซ้ํา ทจ่ี ะเกิดข้ึนอกี เฉลีย่ ๔ ปีครั้ง เผยใหใ้ ชเ้ ทคโนโลยีและ “AI แพลตฟอร์ม”คาดการณ์ลว่ งหนา้ เพือ่ ควบคุมสถานการณ์ เม่อื วนั ท่ี ๑๓ กันยายน ๒๕๖๔ ศาสตราจารย์พเิ ศษ ดร.เอนก เหลา่ ธรรมทศั น์ รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงการอุดมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม (รมว.อว.) กลา่ ว ปาฐกถาอารี วัลยะเสวี หวั ข้อ “การแพทยแ์ ละหมอในอนาคต” ในการประชุมวิชาการนานาชาติ ของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี  มหาวิทยาลัยมหิดล  พร้อมด้วย  ศาสตราจารย์ ดร.นพ.สิรฤิ กษ์ ทรงศวิ ไิ ล ปลดั กระทรวงการอุดมศึกษาฯ ณ หอ้ งประชุมอรรถสทิ ธ์ิเวชชาชวี ะ ชนั้ ๕ อาคารศนู ย์การแพทย์สิรกิ ติ ์คิ ณะแพทยศ์ าสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ศ. (พเิ ศษ) ดร.เอนก กล่าววา่ การแพทยแ์ ละสาธารณสขุ ไทยหลังโควิด-19 มคี วาม สำ�คัญมากขึ้นอีก  โดยต้องถอดบทเรียนจากโควิด  โรคติดเช้ืออุบัติใหม่และอุบัติซ้ําจะเกิดขึ้นอีก เพราะตอนนเ้ี กิดเฉล่ีย ๔ ปคี ร้งั ดังนน้ั ประเทศไทยตอ้ งสามารถพงึ่ ตัวเองทางยาและวัคซนี ให้ ได้พร้อมท้ังเร่งมือการทำ�วิจัยที่สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างรวดเร็ว  รวมท้ังใช้เทคโนโลยีขั้นสูง เชน่ AI แพลตฟอร์มในการคาดการณ์ ให้ทราบก่อนล่วงหน้าเพื่อใชใ้ นการบรหิ ารและควบคมุ สถานการณ์ เพ่ือชว่ ยแพทย์ และทำ�ใหแ้ พทย์มเี วลากับคนไข้มากขึน้ รมว.อว.  กล่าวต่อว่า  นอกจากนี้  บทบาทของแพทย์  ต้องปรับจากหมอท่ีซ่อมสุขภาพ  มาเป็นหมอท่ีสร้างสุขภาพและ เสรมิ สขุ ภาพให้มากขึ้น รวมทง้ั เชอื่ มโยงกับบคุ ลากรอืน่ ๆ เชน่ นักโภชนาการ นกั กายภาพบ�ำ บดั และสง่ เสรมิ การออกกำ�ลงั กาย อาหาร ท่เี หมาะสม ใช้ชวี ิตอย่างมคี วามสุข ที่ส�ำ คญั ต้องใหค้ วามส�ำ คัญกบั การแพทยแ์ บบองคร์ วม โดยมี แพทยป์ ระจำ�ครอบครัว แพทย์ประจำ� ชุมชน ตลอดจนการแพทย์ทางเลอื กทีน่ ำ�ไป เชอ่ื มโยงศาสตร์กบั การแพทย์ทง้ั แพทย์กระแสหลักรวมท้งั การแพทย์แผนไทย การแพทย์ของ โลกตะวันออก เขา้ ด้วยกัน และตอ้ งมกี ารปรับจากระบบการแพทยท์ ีถ่ ือเป็นคา่ ใช้จา่ ยใหเ้ ปน็ แหลง่ รายได้ของประเทศด้วย พฒั นาและ ผลิตบคุ ลากรทางการแพทย์ พยาบาล ผู้ชว่ ยพยาบาล เทคนิคการแพทย์ และบคุ ลากรสาธารณสุข โดยผสมผสานทั้งบรกิ ารสาธารณะและ การสร้างรายได้อยา่ งเหมาะสม

กระทรวง อว. รับมอบวัตถดุ ิบพระราชทาน เจ้าของ จากพระราชปณิธานของสมเดจ็ พระกนิษฐาธริ าชเจา้ กลมุ่ สื่อสารองคก์ ร (สอ.) กองกลาง (กอก.) กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี สำ�นักงานปลดั กระทรวงการอุดมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม (สป.อว.) นายกสภาสถาบันเทคโนโลยจี ติ รลดา ๓๒๘ ถ.ศรีอยธุ ยา แขวท่งุ พญาไท เขตราชเทวี กรงุ เทพฯ ๑๐๔๐๐ เมือ่ วนั ท่ี ๑๔ กันยายน ๒๕๖๔ : สมเด็จพระกนิษฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ โทรศัพท์ ๐ ๒๖๑๐ ๕๒๔๑-๔ พระเทพรัตนราชสุดาฯ  สยามบรมราชกุมารี  ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ  ให้สถาบัน เวบ็ ไซด์ www.ops.go.th เทคโนโลยีจติ รลดา โดย รศ.ดร.คณุ หญงิ สุมณฑา พรหมบญุ อธิการบดี สถาบนั เทคโนโลยี เฟสบุ๊ค opsmhesi จติ รลดา เปน็ ผแู้ ทนมอบวตั ถดุ บิ ส�ำ หรบั ประกอบอาหารกระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ ทวติ เตอร์ @opsmhesi วิจัยและนวัตกรรม  (อว.)  เพ่ือนำ�ไปมอบให้โรงพยาบาลสนาม  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ที่ปรกึ ษา ราชมงคลธญั บุรี ซงึ่ จะนำ�ไปกระจายตอ่ ให้กบั โรงพยาบาลหลกั ในเครอื ขา่ ย ประกอบด้วย ศาสตราจารย์ นายแพทย์สริ ิฤกษ์ ทรงศวิ ิไล โรงพยาบาลธญั บุรี และโรงพยาบาลหนองเสอื จังหวดั ปทมุ ธานี โดยมีวตั ถดุ ิบคือ ไขไ่ กส่ ด ศาสตราจารย์สัมพันธ์ ฤทธิเดช พระราชทาน จ�ำ นวน ๑,๐๕๐ ฟอง ข้าวสาร จำ�นวน ๑,๕๐๐ กิโลกรัม ผกั รวมมิตรและ ศาสตราจารยศ์ ุภชยั ปทุมนากลุ แครอทแชแ่ ขง็ จ�ำ นวน ๒๐ กิโลกรมั น้ําพริกเผาตาแดง จำ�นวน ๑๔๔ กระปกุ น้าํ พรกิ เผา รองศาสตราจารย์พาสิทธิ์ หลอ่ ธรี พงศ์ กงุ้ จ�ำ นวน ๒๑๖ กระปุก น้ําพริกเผาหมู จำ�นวน ๒๑๖ กระปกุ นํ้าพรกิ นรกแมงดา จ�ำ นวน นางสาวสณุ ยี ์ เลิศเพียรธรรม ๒๑๖ กระปุก นํา้ พริกนรกหมู จำ�นวน ๒๑๖ กระปกุ นํ้าพริกปลายา่ ง จำ�นวน ๑๔๔ กระปุก นางสาวนุชนภา ร่ืนอบเชย เครอื่ งดื่ม วติ ามิน C ๒๐๐ วอเตอร์ จ�ำ นวน ๑,๒๐๐ ขวด นํา้ ดื่ม จำ�นวน ๒๔๐ ขวด และ นางนงนภสั หมวดเดช แอลกอฮอล์ลา้ งมือ จ�ำ นวน ๑๐๐ ลติ ร โดยมีนางสาวสุณยี ์ เลิศเพียรธรรม ผู้ตรวจราชการ บรรณาธกิ าร กระทรวงการอุดมศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรม เป็นผูร้ ับมอบ นางสาวปยิ าณี วิรยิ านนท์ ทั้งนี้เพื่อเป็นในการช่วยเหลือพสกนิกรชาวไทยให้มีคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ท่ีดี กองบรรณาธิการ อันเป็นต้นแบบในการทำ�ความดีช่วยเหลือผู้อื่น  สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดาจึงได้ร่วม นายเจษฎา วณิชชากร สนับสนนุ วัตถดุ บิ แกก่ ระทรวงการอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม นายวชั รพล วงษ์ไทย นางสาววีนสั แกว้ ประเสรฐิ นางปราณี ชืน่ อารมณ์ นายจรัส เลก็ เกาะทวด นางสาวอินทิรา บวั ลอย นางสาววิไลลกั ษณ์ โพธทิ์ อง ผู้พิมพ์ หา้ งห้นุ ส่วนจำ�กัด อารต์ โปรเกรส โทรศัพท์ ๐ ๒๒๔๗ ๒๕๖๐ e-mail: [email protected]