Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แบบฟอร์มแผนการสอนพลังงาน 07

แบบฟอร์มแผนการสอนพลังงาน 07

Published by จุตติ ประนมศรี, 2022-06-05 01:43:57

Description: แบบฟอร์มแผนการสอนพลังงาน 07

Search

Read the Text Version

216 แผนการจดั การเรียนรมู้ งุ่ เนน้ สมรรถนะ ชอ่ื วิชา พลังงาน ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม รหัสวชิ า 20001-1002 ทฤษฎี 2 คาบ หลักสตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวช.) -สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกจิ 1/5 -สาขาการบัญชี 1/6 -สาขาการตลาด 1/7 -สาขาการโรงแรม 1/8 -สาขาการโรงแรม 1/9 -สาขาเทคนิคคอมพวิ เตอร์ 2/5 หน่วยท่ี 7 กฎหมายและนโยบายพลงั งาน ทรพั ยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ้ ม จดั ทำโดย นายจตุ ติ ประนมศรี

217 หนว่ ยการเรียนร้แู ละสมรรถนะประจำหน่วย ชือ่ หน่วย สมรรถนะ หน่วยท่ี 1 ความรู้ ทกั ษะ คุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ ความรู้เบือ้ งตน้ เกี่ยวกับ พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติ 1.พลงั งาน 1.มที กั ษะในเรอื่ งของ 1.ขยนั และสงิ่ แวดลอ้ ม 2.ประหยัด 2.ทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน 3.ซ่อื สัตย์ 3.สิ่งแวดลอ้ ม ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ 4.มวี นิ ยั 4.ความสัมพันธร์ ะหวา่ งพลงั งาน สง่ิ แวดล้อม 5.สภุ าพ ทรัพยากรธรรมชาติและ 2.มที กั ษะในกจิ กรรม 6.สะอาด สง่ิ แวดลอ้ ม กลุ่ม 7.สามัคคี 5.ความสัมพนั ธร์ ะหว่างพลังงาน 3.สามรถนำเสนองานใน 8.มนี ้ำใจ กับระบบนเิ วศ กล่มุ ได้อยา่ งดี 6.วิกฤตการใช้พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและ 4.มอี งค์ความร้ใู นเรอ่ื งท่ี ส่ิงแวดลอ้ ม เรียน 7.ผลกระทบทเ่ี กิดจากปญั หา สิ่งแวดลอ้ ม 8.แนวทางการอนุรักษ์และพัฒนา พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อม หนว่ ยที่ 2 1. พลังงานสิน้ เปลือง 1.มีทักษะในเรื่องของ 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ แหลง่ กำเนิดพลังงาน 2. พลงั งานทดแทน พลังงานสนิ้ เปลอื งและ 2. ซื่อสตั ย์สุจรติ พลังงานทดแทน 3. มีวินัย 2.มที กั ษะในกจิ กรรมกลุ่ม 4. ใฝ่เรยี นรู้ 3.สามรถนำเสนองานใน 5. อยู่อยา่ งพอเพียง กลมุ่ ได้อยา่ งดี 6. ม่งุ มน่ั ในการทำงาน 4.มีองค์ความรใู้ นเรื่องที่ 7. รักความเป็นไทย พลังงานสนิ้ เปลืองและ 8. มีจิตสาธารณะ พลงั งานทดแทน

218 หน่วยการเรียนรู้และสมรรถนะประจำหน่วย(ตอ่ ) ช่ือหน่วย สมรรถนะ หน่วยท่ี 3 ความสัมพันธข์ องพลงั งาน ความรู้ ทกั ษะ คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ ทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดลอ้ มกับการดำรงชีวติ 1.พลงั งานแปรรูป 1.มีทกั ษะในเร่ืองของ 1.ขยนั 2.ประหยดั หน่วยที่ 4 2.บทบาทของมนุษยใ์ นระบบ พลงั งานแปรรปู 3.ซอื่ สัตย์ ผลกระทบการใช้พลงั งาน 4.มีวินยั ทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อม 2.มีทักษะในกจิ กรรมกลุ่ม 5. อย่อู ยา่ งพอเพียง ส่ิงแวดล้อม 6. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน 3.การใช้พลงั งานใน 3.สามรถนำเสนองานใน 7. รักความเปน็ ไทย 8. มีจิตสาธารณะ ชีวิตประจำวัน กล่มุ ได้อยา่ งดี 4.หน่วยวดั พลังงาน 4.มอี งค์ความรู้ในเรื่อง 5.พลังงานไฟฟา้ พลังงานที่ขาด พลังงานแปรรปู ท่ีใชใ้ น ไม่ได้ในยุคโลกาภวิ ฒั น์ ยานพาหนะและประกอบ 6.พลังงานเช้ือเพลงิ ทีใ่ ช้สำหรับ อาหาร ยานพาหนะ 5.มคี วามรเู้ รื่องมนุษย์กับ 7.พลงั งานในการประกอบอาหาร การใชป้ ระโยชนจ์ าก 8.มนษุ ย์กับการใชป้ ระโยชนจ์ าก พลังงาน พลงั งาน 1.ระดับปัญหาสง่ิ แวดล้อม 1.มีทกั ษะในเร่ืองของปัญหา 1.ขยัน 2.ผลกระทบต่อสภาพภมู ปิ ระเทศ สิ่งแวดลอ้ ม 2.ประหยัด และทรัพยากรดิน 2.มีทักษะในกจิ กรรมกลุ่ม 3.ซอ่ื สตั ย์ 3.ผลกระทบต่ออากาศและเสียง 3.สามรถนำเสนองานใน 4.มวี ินยั 4.ผลกระทบต่อทรัพยากรน้ำ กลมุ่ ได้อย่างดี 5. อย่อู ยา่ งพอเพียง 5.ผลกระทบต่อการเกิดภาวะโลก 4.มอี งค์ความรูใ้ นเร่ือง 6. มุ่งมนั่ ในการทำงาน ร้อน ผลกระทบต่ออากาศและ 7. รกั ความเป็นไทย 6.ผลกระทบต่อการลดลงของชนั้ เสียง5.มีความรเู้ รื่องมนุษย์ 8. มจี ติ สาธารณะ โอโซน (O3) ในชนั้ บรรยากาศ กับผลกระทบตอ่ การลดลง 7.ผลกระทบต่อการสูญเสยี ความ ของช้นั โอโซน (O3) ในชน้ั หลากหลายทางชวี ภาพ บรรยากาศ 8.ผลกระทบต่อการเกดิ มลทัศน์

219 หน่วยการเรยี นรแู้ ละสมรรถนะประจำหนว่ ย(ต่อ) ชื่อหน่วย สมรรถนะ หน่วยท่ี 5 หลักและวิธีการการอนรุ กั ษ์ ความรู้ ทกั ษะ คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ พลงั งาน ทรัพยากรธรรมชาติ 1.ขยัน และส่งิ แวดลอ้ ม 1. ความหมายของการอนรุ กั ษ์ 1.มีทักษะในเรื่องของการ 2.ประหยดั 3.ซอ่ื สตั ย์ หนว่ ยท่ี 6 2. สถานการณก์ ารใชพ้ ลังงาน อนุรักษ์พลังงาน 4.มีวินยั การปอ้ งกนั และการแก้ไข 5. อยอู่ ย่างพอเพียง ปัญหาพลงั งานและ 3. จิตสำนกึ ในการอนรุ กั ษ์ 2.มที กั ษะในกิจกรรมกลุ่ม 6. ม่งุ ม่ันในการทำงาน สง่ิ แวดลอ้ ม 7. รักความเปน็ ไทย พลังงาน 3.สามรถนำเสนองานใน 8. มีจติ สาธารณะ 4. วธิ ีการเบื้องต้นในการอนรุ ักษ์ กลุม่ ได้อยา่ งดี 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ 2. ซอ่ื สัตย์สุจริต พลังงาน 4.มีองค์ความรูใ้ นเร่ือง 3. มวี ินัย 4. ใฝ่เรยี นรู้ 5. การปรบั ปรุงอาคารเพื่อการ วิธกี ารเบ้ืองต้นในการ 5. อยู่อยา่ งพอเพียง 6. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน อนุรกั ษ์พลังงาน อนรุ กั ษ์พลังงาน 7. รักความเปน็ ไทย 8. มีจติ สาธารณะ 6. การอนรุ กั ษ์พลังงานด้านต่าง ๆ 5.มีความร้เู รื่องมนุษย์กับ 7. การใช้แหล่งพลงั งานอย่างมี แนวทางการจดั การ ประสทิ ธภิ าพ ส่งิ แวดล้อมแบบยัง่ ยืน 8. หลกั การการจัดการ 6.มีทักษะตามวตั ถุประสงค์ สง่ิ แวดลอ้ ม และวธิ ีการอนรุ ักษ์ 9. แนวทางการจดั การ ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอ้ มแบบยัง่ ยืน ส่ิงแวดลอ้ ม 10. ความรว่ มมอื ในการจัดการ สง่ิ แวดล้อม 11. วตั ถปุ ระสงคแ์ ละวธิ กี าร อนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ ส่งิ แวดลอ้ ม 1. ปัญหาพลังงานและ 1.มีทกั ษะในเร่ืองของการ ส่งิ แวดลอ้ ม ปัญหาพลงั งานและ 2. การวเิ คราะห์ระบบสง่ิ แวดล้อม ส่ิงแวดลอ้ ม 3. การปอ้ งกนั และวธิ แี ก้ไขปัญหา 2.มีทกั ษะในกิจกรรมกลุ่ม พลงั งานสิ่งแวดล้อม 3.สามรถนำเสนองานใน 4.การประเมนิ ผลกระทบ กลุม่ ได้อย่างดี ส่ิงแวดลอ้ ม 4.มอี งค์ความรูใ้ นเรื่องการ ปอ้ งกนั และวิธีแก้ไขปัญหา พลังงานสิง่ แวดลอ้ ม 5.มีความร้เู รื่องการ ประเมนิ ผลกระทบ สงิ่ แวดลอ้ ม

220 หนว่ ยการเรียนรแู้ ละสมรรถนะประจำหนว่ ย(ต่อ) ช่อื หน่วย สมรรถนะ หน่วยท่ี 7 ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ กฎหมายและนโยบาย พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติ 1. ท่มี าของกฎหมายอนรุ กั ษ์ 1.มที กั ษะในเรื่องของ 1.ขยนั และสิง่ แวดลอ้ ม 2.ประหยัด พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและ กฎหมายอนุรักษ์พลังงาน 3.ซ่อื สตั ย์ 4.มวี ินัย สิง่ แวดล้อม ทรพั ยากรธรรมชาติและ 5. อยอู่ ย่างพอเพียง 6. ม่งุ มัน่ ในการทำงาน 2. กฎหมายการอนรุ ักษ์พลังงาน ส่ิงแวดลอ้ ม 7. รักความเป็นไทย 8. มจี ติ สาธารณะ 3. กฎหมายสิ่งแวดล้อม 2.มีทักษะในกิจกรรมกลมุ่ 9.สุภาพ 10.สะอาด 4. กฎหมายสงวนและค้มุ ครอง 3.สามรถนำเสนองานใน 11.สามคั คี 12.มีนำ้ ใจ สตั วป์ ่า กลุ่มได้อยา่ งดี 5. กฎหมายสิ่งแวดล้อมอนื่ ๆ 4.มีองค์ความรู้ในเร่ือง 6. ผลบงั คบั ทางกฎหมายของ ปัญหาการใช้กฎหมาย พระราชบัญญตั ิ พลังงาน 7. ปญั หาการใชก้ ฎหมายพลงั งาน ทรัพยากรธรรมชาติและ ทรพั ยากรธรรมชาติและ สง่ิ แวดลอ้ ม สิ่งแวดลอ้ ม 5.มีความรูเ้ รื่องมนุษยก์ บั 8. นโยบายและแผนเกีย่ วกับ แนวทางการจัดการ พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมแบบยง่ั ยืน สง่ิ แวดลอ้ ม 6.นโยบายและแผนเกี่ยวกับ พลงั งาน ทรพั ยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดลอ้ ม

221 การสอนออนไลน์ โดยใช้ Google Classroom

222 การสอนออนไลน์ โดยใช้ Google Classroom การสอบออนไลน์ โดยใช้ Google Classroom

223 แผนการจดั การเรยี นรมู้ ่งุ เน้นสมรรถนะ หนว่ ยท่ี 7 ชื่อหนว่ ย กฎหมายและนโยบายพลงั งาน ทรัพยากรธรรมชาติ สอนคร้ังที่ 16-17 ชวั่ โมงรวม 4 และสิง่ แวดล้อม ช่อื เรือ่ ง กฎหมายและนโยบายพลังงาน จำนวนชว่ั โมง 2 1.สาระสำคญั 1. ทมี่ าของกฎหมายอนรุ ักษ์พลงั งาน ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2. กฎหมายการอนุรักษพ์ ลังงาน 3. กฎหมายส่ิงแวดล้อม 4. กฎหมายสงวนและคุ้มครองสตั วป์ า่ 5. กฎหมายสิ่งแวดลอ้ มอ่นื ๆ 6. ผลบังคบั ทางกฎหมายของพระราชบัญญตั ิ 7. ปญั หาการใชก้ ฎหมายพลงั งาน ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม 8. นโยบายและแผนเกย่ี วกับพลงั งาน ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม 2.สมรรถนะประจำหน่วย เพื่อให้ผู้เรียนศึกษากฎหมายเกี่ยวกับพลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมเพื่อนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน ชีวติ ประจำวนั 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ เมื่อเรยี นจบหนว่ ยการเรยี นนี้ ผู้เรยี นสามารถ 1. อธบิ ายทีม่ ขี องกฎหมายหรอื พระราชบัญญัติต่าง ๆ 2. ยกตัวอยา่ งพระราชบัญญตั ทิ เ่ี กย่ี วกับพลงั งาน ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม 3. แยกมาตราและหมวดของพระราชบัญญัตแิ ต่ละชนดิ ได้ถูกต้อง 4. ยกตัวอย่างบทลงโทษของแตล่ ะพระราชบญั ญัตไิ ด้ถูกตอ้ ง 5. อธบิ ายวัตถปุ ระสงคข์ องการกำหนดนโยบายและแผนของแต่ละพระราชบัญญัติได้ถกู ต้อง 6. ค้นคว้าแหล่งพระราชบญั ญตั ิอ่ืน ๆ ไดถ้ ูกต้อง 3.2 ด้านทกั ษะ 1.มที ักษะในเร่ืองของกฎหมายอนุรักษ์พลังงาน ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม 2.มที ักษะในกิจกรรมกลุ่ม 3.สามรถนำเสนองานในกลุม่ ได้อย่างดี 4.มีองคค์ วามรู้ในเรอื่ งปญั หาการใช้กฎหมายพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม 5.มีความร้เู ร่อื งมนษุ ยก์ ับแนวทางการจัดการสิง่ แวดลอ้ มแบบยงั่ ยืน 6.นโยบายและแผนเก่ียวกบั พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม

224 3.3 คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ 1.ขยัน 2.ประหยัด 3.ซ่อื สัตย์ 4.มีวินยั 5. อยู่อยา่ งพอเพียง 6. มุ่งมัน่ ในการทำงาน 7. รกั ความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ 9.สภุ าพ 10.สะอาด 11.สามคั คี 12.มีนำ้ ใจ 3.4 หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง ดา้ นสงั คม -ร้จู ักแบง่ หนา้ ท่ีรับผดิ ชอบในการทำงาน -แลกเปล่ียนเรยี นรูจ้ ากเพ่ือนครู ดา้ นส่ิงแวดล้อม -มีความรูใ้ นการเลือกใช้วสั ดอุ ุปกรณใ์ นท้องตลาดมาใชป้ ระโยชนไ์ ด้อย่างเหมาะสม -มคี วามร้เู ก่ียวกบั การรักษาธรรมชาติ และส่งิ แวดล้อม ดา้ นวฒั นธรรม -มคี วามรคู้ วามเข้าใจในภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ มาใช้ในการเรยี นรู้ และ ผลิตช้ินงาน 4.ความรูพ้ ้ืนฐานทีค่ วรมกี ่อนเรยี น -ความรู้ดา้ นพลงั งานสิน้ เปลือง -ความรดู้ ้านการทำกิจกรรมกลุ่ม -ความรูด้ ้านการนำเสนองาน 5.เนื้อหาสาระการเรียนรู้ นโยบายเป็นแนวทางการจัดการพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นงานหลักของรัฐบาล เพื่อให้ สอดคลอ้ งกับความเป็นจริงตามหลักการอนรุ ักษ์ เศรษฐกิจ และสังคมที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา สว่ นกฎหมาย ระเบียบ และกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ทางสังคม เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมพลงั งาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งต้องมี การปรับเปลี่ยนตามยุคตามสมัย ให้สอดคล้องกับการใช้พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน เพื่อ ความยั่งยืนของทรัพยากร จำเป็นที่คนในชาติต้องมีความรู้ ความเข้าใจ โดยการปฏิบัตใิ นการควบคุมทรัพยากร ในการ ทำกิจกรรมหรือโครงการที่มีผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม ต้องไม่ผิดกฎหมายทีม่ ีหรือเข้าใจวิธีการป้องกันหรือแก้ไข พร้อม ทั้งร่วมมือกับฝ่ายรัฐ โดยไม่เกิดการละเมิดกฎหมาย ในหน่วยการเรียนนี้ จะยกตัวอย่างพระราชบัญญัติบาง พระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้องเท่านั้น ได้แก่ พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่ งชาติ พ.ศ. 2535 และแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2561 พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 และแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2550 พระราชบัญญตั สิ งวนและคุม้ ครองสตั วป์ า่ พ.ศ. 2562 นโยบายและแผนเกย่ี วกบั พลงั งานและปา่ ไมเ้ ทา่ น้ัน

225 แผนการจดั การเรยี นรมู้ งุ่ เน้นสมรรถนะ หนว่ ยที่ 7 สอนครั้งที่ 16-17 ช่ือหนว่ ย กฎหมายและนโยบายพลงั งาน ทรัพยากรธรรมชาติและ ชั่วโมงรวม 4 สง่ิ แวดล้อม ชอ่ื เรอ่ื ง กฎหมายและนโยบายพลังงาน จำนวนชวั่ โมง 2 6.กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขน้ั สนใจปัญหา จูงใจผ้เู รียน (motivation) 1. ตรวจเรียกรายชื่อ การแต่งกาย 2. แจง้ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้วิชาพลงั งาน ทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม/การวัดผลและเกณฑก์ ารประเมนิ ผล/โดย เปิดโอกาสใหผ้ ูเ้ รียนซักถาม 3. บอกจดุ ประสงค์การเรียนหน่วยท่ี 1 ความรเู้ บอ้ื งต้นเกี่ยวกับพลงั งาน ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม 4. ให้ทำแบบทดสอบก่อนเรียนหนว่ ยที่ 1 (10 นาท)ี 5. สนทนา ซกั ถามจากภาพข่าวเกยี่ วกับสงิ่ แวดล้อมและเหตุการณป์ จั จุบันจากส่ือต่าง ๆ ใหผ้ เู้ รยี นแสดงความ คิดเห็น ข้นั ศกึ ษาข้อมูล (information) 1. อธิบายความหมายของทรัพยากรธรรมชาติ ส่งิ แวดล้อมและพลงั งาน ซักถามใหผ้ เู้ รียนยกตัวอย่าง ประกอบคำอธบิ าย 2. อธบิ ายความรเู้ บื้องต้นเก่ยี วกับพลงั งานและส่ิงแวดลอ้ มกบั ระบบนิเวศ และสาระการเรยี นรู้ตามหนว่ ย การเรยี น โดยใช้ Power Point ประกอบ พรอ้ มการซักถาม 3. ให้ทำกิจกรรมใบงานท่ี 1 โดยผสู้ อนจะตรวจสอบและสรปุ ในชั่วโมงถดั ไป 4. ใหผ้ ู้เรียนซักถามข้อสงสัยหรอื นำไปสู่การสรุป ขั้นนำข้อมลู มาทดลองใช้ (application) 1. ใหร้ ว่ มกันสรุปสาระสำคัญโดยการซักถาม 2. ใหท้ ำแบบทดสอบหลังเรียน ขั้นสำเร็จผล (progress) 1.สรปุ เกณฑ์การประเมนิ ผล 2.ถา้ ผเู้ รยี นไม่ผา่ นควรมีการซ่อมเสริม

226 แผนการจดั การเรียนรมู้ ุ่งเนน้ สมรรถนะ หนว่ ยที่ 7 สอนคร้ังท่ี 16-17 ชอื่ หน่วย กฎหมายและนโยบายพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ ชว่ั โมงรวม 4 สิ่งแวดลอ้ ม ช่ือเร่อื ง กฎหมายและนโยบายพลงั งาน จำนวนช่วั โมง 2 7.สือ่ การเรยี นรู้/แหลง่ การเรยี นรู้ ส่อื ส่ิงพมิ พ์ - หนงั สือเรยี นวชิ าพลงั งาน ทรพั ยากรและส่ิงแวดล้อม ของสำนักพมิ พศ์ นู ยส์ ง่ เสริมวิชาการ (2562) - ข่าวสารเก่ียวกบั ทรัพยากรธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ้ ม และพลงั งาน ทเ่ี ป็นขา่ วในสอื่ ต่าง ๆในเหตุการณ์ ปัจจุบัน สือ่ โสตทัศน์ Power Point 8.เอกสารประกอบการจดั การเรยี นรู้ (ใบความรู้ ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ) - ใบเนือ้ หาเรอ่ื ง ความรู้เบอ้ื งต้นเก่ยี วกับพลังงาน ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม 9.การบูรณาการ/ความสัมพันธก์ ับวชิ าอ่นื - บูรณาการกับวชิ าพลังงานและสิ่งแวดล้อม 10.การวดั และประเมินผล 1. การวัดผล 1.1 จากแบบทดสอบหลังเรียน 1.2 จากกจิ กรรมกลุ่มตามใบงาน 1.3 จากการสังเกตพฤติกรรม 1.4 จากการนำเสนองานกลุ่ม 1.5 จากแบบทดสอบออนไลน์ 2. เคร่อื งมือวดั และประเมนิ 2.1 ใบงาน 2.2 แบบทดสอบออนไลน์ 2.3 แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม 3. เกณฑ์การประเมนิ ผล 3.1 จากแบบประเมิน พฤตกิ รรมรายบุคคลและกลุ่ม 3.2 จากคะแนนแบบทดสอบหลงั เรยี น 3.3 แบบประเมนิ คุณธรรมและจริยธรรม

227 แผนการจัดการเรยี นรมู้ ุ่งเนน้ สมรรถนะ หน่วยท่ี 7 สอนครัง้ ที่ 16-17 ชอื่ หนว่ ย กฎหมายและนโยบายพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ ชั่วโมงรวม 4 จำนวนช่ัวโมง 2 สง่ิ แวดล้อม ชอ่ื เร่อื ง กฎหมายและนโยบายพลงั งาน 1.บันทกึ หลังการจัดการเรยี นรู้ 11.1 ผลการใชแ้ ผนการจัดการเรยี นรู้ จำนวนเนอ้ื หา มีความเหมาะสม ไม่เหมาะสมกบั จำนวนเวลา เพราะเหตใุ ด............................................................... การเรียงลำดบั เน้ือหา มีความเหมาะสม ไมเ่ หมาะสมกับความเขา้ ใจของผู้เรียน เพราะเหตุใด................................................ การนำเข้าสู่บทเรียน มคี วามเหมาะสม ไม่เหมาะสมกับเนื้อหาแต่ละหวั ขอ้ เพราะเหตุใด...................................................... วธิ ีการสอน มีความเหมาะสม ไมเ่ หมาะสมกับเน้ือหาแต่ละหวั ขอ้ เพราะเหตุใด..................................................... สื่อการสอน มีความเหมาะสม ไม่เหมาะสมกับเนอื้ หาแต่ละหัวขอ้ เพราะเหตุใด...................................................... งานที่กำหนดใหท้ ำ มคี วามเหมาะสม ไมเ่ หมาะสมกับเนอื้ หา/เวลา/วตั ถปุ ระสงค์ เพราะเหตุใด........................................... การนำเสนอ มคี วามเหมาะสม ไม่เหมาะสมกับเนอ้ื หา/เวลา/วตั ถปุ ระสงค์ เพราะเหตุใด........................................... การประเมนิ ผล มีความเหมาะสม ไมเ่ หมาะสมกับวัตถุประสงค์หนว่ ย เพราะเหตใุ ด....................................................... อ่นื ๆ ............................................................................................................................. .........................................

228 เน้อื หาหน่วยที่ 7 กฎหมายและนโยบายพลังงาน ทรพั ยากรและสงิ่ แวดล้อม กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับพลงั งานและส่ิงแวดลอ้ ม การใช้พลงั งานและทรัพยากรเพิม่ มากขึ้น ปัญหาใหญ่ทตี่ ามมาก็คือ “ปญั หาสิง่ แวดลอ้ ม” ดงั นน้ั เพ่ือ รองรบั การเจรญิ เตบิ โตของประเทศ ควรจะมีการจัดการส่งิ แวดล้อมทด่ี ีและมีประสิทธิภาพมากทสี่ ุด ดงั นัน้ เพื่อ เป็นการจัดระเบียบของส่งิ แวดลอ้ มจงึ ต้องมีกฎหมายสงิ่ แวดล้อมเพื่อเป็นตัวควบคมุ ในการจัดการสงิ่ แวดล้อมได้ อย่างมีประสิทธิภาพ กฎหมายดา้ นพลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนรุ ักษ์พลังงาน (พพ.) ไดย้ กรา่ งกฎหมายสง่ เสริมการอนรุ ักษ์ พลังงานข้ึนมาเพือ่ กำหนดมาตรการในการกำกับดแู ลส่งเสริมและช่วยเหลือเกี่ยวกับการใชพ้ ลังงาน โดยมกี าร กำหนดนโยบายอนรุ ักษ์พลงั งานเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงานการตรวจสอบและวเิ คราะหก์ ารอนุรักษ์ พลงั งานวธิ ปี ฏิบัตใิ นการอนรุ ักษ์พลงั งานการกำหนดระดับการใช้พลงั งานในเครื่องจักรและอุปกรณ์การจัดตง้ั กองทุนเพื่อสง่ เสริมการอนุรักษ์พลังงานเพ่ือให้การอุดหนนุ ชว่ ยเหลือในการอนุรักษ์พลังงานการป้องกันและ แกไ้ ขปญั หาส่ิงแวดล้อมจากการใช้พลังงานตลอดจนการคน้ ควา้ วจิ ัยเก่ียวกบั พลงั งานและกำหนดมาตรการเพื่อ ส่งเสริมให้มกี ารอนรุ ักษ์พลงั งานหรือผลติ เคร่อื งจกั รอปุ กรณ์ทมี่ ีประสิทธภิ าพสงู หรือวสั ดเุ พอื่ ใชใ้ นการอนรุ กั ษ์ พลังงานน่ันก็คือ“พระราชบัญญตั ิการส่งเสรมิ การอนรุ ักษ์พลังงาน” พระราชบัญญตั ิการสง่ เสรมิ การอนรุ ักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 ได้ผา่ นการพิจารณาจากสภานิติ บัญญตั แิ หง่ ชาตแิ ละได้มีพระบรมราชโองการฯใหป้ ระกาศในราชกิจจานเุ บกษา เม่ือวนั ท่ี 2 เมษายน พ.ศ. 2535 โดยมีผลบงั คับใช้ตงั้ แต่วันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2535 และกรมพัฒนาพลงั งานทดแทนและอนุรักษ์ พลงั งาน (พพ.) ไดม้ ีการแก้ไขเพิ่มเติม พรบ. การส่งเสริมการอนรุ กั ษ์พลงั งานพ.ศ. 2535 เพอื่ ใหเ้ หมาะสมกับ สถานการณ์พลงั งานท่เี ปล่ยี นแปลงไปในปัจจบุ นั ซ่ึงก็คอื “พระราชบัญญัติการส่งเสรมิ การอนรุ กั ษ์ พลงั งาน (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2550” โดยประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาในวันที่ 4 ธนั วาคม 2550 และมผี ลใช้ บงั คับวนั ที่ 1 มถิ ุนายน 2551 แตก่ ็ไม่ได้มีการยกเลิกเนือ้ ความในพระราชบัญญัติการสง่ เสริมการอนรุ ักษ์ พลงั งาน พ.ศ .2535 ท้ังฉบับ สรปุ การแก้ไขในครง้ั นี้มมี าตราแกไ้ ขจำนวน 14 มาตรา บัญญัตเิ พิ่ม จำนวน 8 มาตรา และยกเลิก จำนวน 8 มาตราเพื่อใหท้ นั สมยั และสอดคล้องกบั ภาวะเศรษฐกจิ ในปจั จบุ นั พระราชบญั ญัติการส่งเสริมการอนรุ กั ษ์พลังงานประกอบไปด้วยบทบัญญตั ทิ งั้ สน้ิ 9 หมวด และมีสาระสำคัญ ของพระราชบัญญัตกิ ารส่งเสริมการอนรุ ักษ์พลงั งาน สามารถสรุปไดด้ งั นี้

229 ตารางท่ี 8.2 หมวดและมาตราของพระราชบญั ญัติการสง่ เสรมิ การอนรุ ักษ์พลงั งาน หมวด มาตรา บทบัญญัตทิ ั่วไปและคำนิยามศัพท์ มาตรา 7-16 หมวด 1 การอนรุ ักษ์พลังงานในโรงงาน มาตรา 17-22 หมวด 2 การอนุรักษ์พลงั งานในอาคาร มาตรา 23 หมวด 3 การอนรุ ักษ์พลงั งานในเครอ่ื งจักรหรอื อปุ กรณ์และสง่ เสรมิ มาตรา 24-39 การใชว้ สั ดหุ รืออปุ กรณ์เพอื่ การอนรุ กั ษ์พลงั งาน มาตรา 40-41 มาตรา 42-46 หมวด 4 กองทนุ เพื่อสง่ เสริมการอนรุ ักษ์พลงั งาน มาตรา 47-49 หมวด 5 มาตรการส่งเสริมและช่วยเหลือ มาตรา 50-52 หมวด 6 ค่าธรรมเนียมพเิ ศษ มาตรา 53-61 หมวด 7 พนกั งานเจ้าหนา้ ท่ี หมวด 8 การอุทธรณ์ หมวด 9 บทกำหนดโทษ วัตถปุ ระสงค์ หลักของพระราชบญั ญตั ิการสง่ เสริมการอนุรกั ษ์พลังงาน มีอยู่ 3 ประการดังน้ี 1. เพ่อื กำกบั ดูแลส่งเสรมิ และสนับสนุนใหผ้ ู้ท่ตี ้องดำเนนิ การอนรุ กั ษ์พลงั งานตามกฎหมายมีการ อนุรักษ์พลงั งานด้วยการผลติ และใชพ้ ลงั งานอยา่ งมปี ระสิทธิภาพและประหยัด 2. เพอ่ื สง่ เสริมและสนบั สนุนให้เกิดการผลติ เครื่องจกั รและอุปกรณท์ ีม่ ีประสทิ ธิภาพสูงรวมทั้งวัสดุที่ ใช้ในการอนุรักษ์พลังงานขนึ้ ใช้ในประเทศและให้มกี ารใช้อย่างแพร่หลาย 3. เพื่อสง่ เสริมและสนบั สนนุ ใหม้ กี ารอนุรักษ์พลงั งานอย่างเป็นรปู ธรรมโดยการจัดต้งั “กองทนุ เพื่อ ส่งเสริมการอนรุ ักษ์พลงั งาน” เพ่ือใชเ้ ปน็ กลไกในการใหค้ วามช่วยเหลือทางการเงินแกผ่ ู้ท่ีต้องดำเนนิ การ อนุรกั ษ์พลังงานตามกฎหมาย หลักการของพระราชบญั ญัติ พระราชบัญญัติการส่งเสรมิ การอนุรักษ์พลงั งาน มหี ลกั การดังนี้ 1. เพือ่ ให้มกี ารผลิตและใชพ้ ลงั งานอย่างมีประสิทธภิ าพและประหยดั 2. เพอื่ ให้เกดิ การผลติ เครื่องจักรและอุปกรณ์ รวมทัง้ วสั ดุท่ใี ช้ในการอนุรักษ์พลังงานขนึ้ ในประเทศ และมีการใช้อย่างแพรห่ ลาย 3. เพอื่ กอ่ ใหเ้ กิดการอนรุ กั ษ์พลังงานอยา่ งเปน็ รูปธรรม โดยการจดั ต้ังกองทุนเพือ่ ส่งเสริมการอนุรกั ษ์ พลงั งาน 4. เพื่อให้ความช่วยเหลอื ทางการเงินแก่ผทู้ ี่ต้องดำเนินการอนุรักษ์พลังงานตามกฎหมาย กลมุ่ เปา้ หมายตามพระราชบัญญัติ กล่มุ เปา้ หมายท่ีรฐั เข้าไปกำกับดแู ลและให้การสง่ เสรมิ เพื่อให้เกดิ การดำเนนิ การอนุรักษ์พลังงานประกอบดว้ ย 1. โรงงานควบคมุ

230 2. อาคารควบคมุ 3. ผ้ผู ลิตหรือผจู้ ำหน่ายเคร่ืองจักร อุปกรณท์ ่ีมีประสิทธภิ าพสูง และวัสดทุ ่ีใชใ้ นการอนุรักษ์พลังงาน โดยกลมุ่ อาคารควบคมุ และโรงงานควบคุมจะเน้นไปท่ีอาคารและโรงงานทีม่ ีการใช้พลังงานมาก โดยได้ตราเปน็ พระราชกฤษฎีกากำหนดอาคารควบคุม และโรงงานควบคุมขนึ้ ใน ปี พ.ศ. 2538 และ 2540 ตามลำดบั ในสว่ นของผผู้ ลิตหรอื ผู้จำหน่ายเครอ่ื งจักรฯได้มีการกำหนด ประเภทและมาตรฐานของเครือ่ งจกั ร อุปกรณ์ และวสั ดทุ ่ีจะไดร้ ับสิทธิอุดหนนุ ชว่ ยเหลอื ทางการเงนิ โดยจะตรา ออกเปน็ “กฎกระทรวงว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานประสิทธิภาพของเคร่ืองจักร อุปกรณ์ และวัสดเุ พื่อการ อนรุ ักษ์พลังงาน” ซง่ึ ปจั จบุ นั ไดม้ ีการประกาศใช้แล้ว 8 ชนดิ อุปกรณ์ ไดแ้ ก่ กระติกนำ้ ร้อนไฟฟ้า หม้อหงุ ข้าว ไฟฟา้ เคร่ืองทำน้ำอ่นุ ไฟฟา้ กระจกเพ่อื การอนุรักษ์พลังงาน เคร่ืองทำน้ำเย็นสำหรับระบบปรบั อากาศ ตู้เย็น เคร่อื งปรบั อากาศ และพัดลมไฟฟา้ ชนิดตัง้ โต๊ะ ชนิดตดิ ผนงั และชนดิ ต้ังพน้ื กองทนุ เพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน วตั ถปุ ระสงค์ของกองทนุ คือ ใช้เปน็ เงินหมุนเวียนเงินชว่ ยเหลอื หรือเงนิ อุดหนุนสำหรบั การลงทุน เพอื่ อนุรักษ์พลังงานของส่วนราชการ รัฐวิสาหกจิ หรอื เอกชนในเรือ่ งตา่ ง ๆ ไดแ้ กโ่ ครงการอนรุ ักษ์พลังงานการ ศกึ ษาวจิ ยั การสาธติ การฝึกอบรม การประชุมสัมมนาและการโฆษณาประชาสัมพันธ์ทเ่ี กยี่ วกับการอนุรักษ์ พลงั งาน โดยมแี หล่งท่ีมาของเงินกองทุนดงั นี้ 1. เงินทีโ่ อนมาจากกองทนุ นำ้ มันเชือ้ เพลงิ 2. เงนิ ที่เรียกเก็บจากผู้ผลติ ผูจ้ ำหนา่ ย ผนู้ ำเขา้ นำ้ มันเชอ้ื เพลงิ 3. เงนิ คา่ ธรรมเนียมพิเศษการใชไ้ ฟฟา้ 4. เงินอดุ หนนุ จากรัฐบาลเป็นคราวๆ 5. เงนิ หรือทรพั ย์สนิ ท่ีได้มาจากภาคเอกชนท้ังภายในและภายนอกประเทศ รัฐบาล/องคก์ าร ระหว่างประเทศ 6. เงินดอกผลทีเ่ กิดจากกองทุน บทกำหนดโทษ 1. เจา้ ของโรงงาน / อาคารควบคุม หรอื ผรู้ ับผิดชอบด้านพลังงานไม่ดำเนนิ การตามกฎกระทรวง การจัดการพลังงาน กฎกระทรวงผู้รบั ผดิ ชอบดา้ นพลงั งาน ระวางโทษปรับไม่เกนิ 200,000 บาท (มาตรา 55) 2. ผู้ใดขัดขวางหรือไม่อำนวยความสะดวกแกพ่ นักงานเจา้ หนา้ ท่ีในการปฏิบัติหนา้ ท่ี ระวางโทษ ปรับไม่เกิน 5,000 บาท (มาตรา 59) การดำเนนิ การบังคับใชพ้ ระราชบัญญตั ิการสง่ เสรมิ การอนุรักษ์พลังงานพ.ศ. 2535 และ พระราชบัญญตั ิการสง่ เสริมการอนรุ กั ษ์พลงั งาน(ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2550 ไดก้ ำหนดให้มกี ารประกาศใช้กฎหมาย ลำดับรองเพื่อกำหนดหลักเกณฑ์และเงือ่ นไขการปฏบิ ัติตามกฎหมายโดยมีพระราชกฤษฎีกากฎกระทรวงและ กฎหมายท่ีเกยี่ วข้องภายใต้พระราชบญั ญัติ (มีเค้าโครงการบังคับใช้ตามพระราชบัญญตั ิ มีดงั น้ี (1) พระราชกฤษฎีกากำหนดโรงงานควบคมุ (พ.ศ. 2540) และพระราชกฤษฎีกากำหนดอาคาร ควบคุม (พ.ศ. 2538)

231 (2) กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานหลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารจัดการพลังงานในโรงงานควบคุมและอาคาร ควบคุม (3) กฎกระทรวงกำหนดคุณสมบตั หิ น้าที่และจำนวนของผ้รู บั ผดิ ชอบดา้ นพลงั งาน (4) กฎกระทรวงกำหนดประเภทหรือขนาดของอาคารและมาตรฐานหลักเกณฑ์และวิธีการในการ ออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน (5) กฎกระทรวงกำหนดคณุ สมบัติของผู้รบั ใบอนุญาตและหลักเกณฑว์ ิธีการและเง่ือนไขการขอรบั ใบอนุญาตการอนุญาตและการตอ่ อายุใบอนุญาตตรวจสอบและรับรองการจัดการพลงั งาน (6) กฎกระทรวงวา่ ดว้ ยการกำหนดมาตรฐานประสิทธภิ าพของเคร่ืองจักรอปุ กรณ์และวสั ดุเพื่อการ อนรุ กั ษ์พลังงาน กฎหมายส่ิงแวดล้อม พระราชบัญญตั ิสง่ เสริมและรกั ษาคุณภาพสิ่งแวดลอ้ มแห่งชาติ พ.ศ. 2535 หรือพระราชบญั ญตั ิ สิง่ แวดล้อมฯ ได้ประกาศใช้ในวนั ที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2535 จัดเปน็ มาตรการหนง่ึ ของนโยบายของรฐั เพื่อทำให้ สง่ิ แวดล้อมอยู่ในสภาพดี และมีการจัดการทรพั ยากรอยา่ งเหมาะสม กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกบั การจดั การ สิ่งแวดลอ้ มและทรพั ยากรมีมากมาย ฉบบั แรกที่ประกาศใช้ คือ พระราชบญั ญัติสง่ เสริมและรักษาคุณภาพ สงิ่ แวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2518 ซ่งึ จัดเป็นกฎหมายทเี่ ก่ียวกบั การจัดการส่งิ แวดลอ้ มโดยตรง และได้มีการแก้ไข จนกระท่ังมพี ระราชบัญญตั ิสง่ เสรมิ และรกั ษาคุณภาพสงิ่ แวดล้อมแหง่ ชาติ พ.ศ. 2535 ซ่ึงมีวัตถุประสงค์ ดงั น้ี 1. เพอื่ เป็นการสนับสนนุ และให้ประชาชนมีสว่ นร่วมในการส่งเสริมและรกั ษาคุณภาพส่งิ แวดล้อม หรืออนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติ 2. เพ่อื เปน็ การปอ้ งกนั แก้ไข ระงับหรอื บรรเทาเหตฉุ กุ เฉนิ หรอื เหตุภยนั ตรายจากภาวะมลพิษ 3. เพือ่ ประชาสัมพนั ธ์ เผยแพร่ ข้อมลู หรือข่าวสาร เพอื่ สรา้ งจิตสำนึกของสาธารณชนท่ีถกู ต้อง เกี่ยวกับการคมุ้ ครองสง่ิ แวดล้อมและอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติ 4. เพือ่ ชว่ ยเหลือประชาชนในพน้ื ที่ใดพ้ืนท่ีหนง่ึ รเิ ริม่ โครงการหรอื กจิ กรรมเพ่ือคมุ้ ครองสิ่งแวดล้อม และอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาตใิ นพ้นื ที่นั้น 5. เพือ่ ศึกษาวจิ ยั เก่ียวกบั การคุ้มครองสิ่งแวดล้อม และอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และเสนอแนะ ความคดิ เห็นต่อรฐั บาลหรือส่วนราชการทเี่ กย่ี วข้อง 6. เพื่อให้ความช่วยเหลอื ทางกฎหมายแกป่ ระชาชนผู้ได้รบั อนั ตรายหรือความเสียหายจากภาวะมลพิษ อันเกิดจากการรวั่ ไหล หรือแพรก่ ระจายของมลพษิ รวมทง้ั เปน็ ผู้แทนในคดีทมี่ ีการฟ้องร้องต่อศาลเพอ่ื เรียกร้อง ค่าสินไหมทดแทน หรือคา่ เสียหายใหแ้ กผ่ ู้ที่ได้รบั อนั ตรายหรอื ความเสียหายนัน้ ด้วย เนอื่ งจากปัญหาส่ิงแวดลอ้ มท่ีกลับทวีความรุนแรง ดงั นน้ั ประเทศไทยต้องมีการปรบั ให้เขา้ กับสถานการณข์ อง โลกทเ่ี ปลย่ี นแปลงไป โดยในประเด็นหลกั ของพระราชบญั ญตั ิสงิ่ แวดล้อมฯ พ.ศ. 2535 นีป้ ระกอบดว้ ยส่วน ตา่ ง ๆ ทค่ี ลา้ ยกบั กฎหมายสงิ่ แวดล้อมทัว่ ไปของต่างประเทศ คือ 1. คณะกรรมการสิง่ แวดลอ้ มแห่งชาติ 2. กองทุนส่ิงแวดล้อม

232 3. การคุ้มครองสง่ิ แวดลอ้ ม ซึง่ ประกอบไปดว้ ยมาตรฐานคุณภาพสง่ิ แวดล้อม การวางแผนจัดการ คณุ ภาพส่ิงแวดล้อม เขตอนรุ ักษแ์ ละพื้นท่ีคุ้มครองสงิ่ แวดล้อม การทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อม 4. การควบคุมมลพิษประกอบด้วยการแตง่ ตั้งคณะกรรมการควบคุมมลพิษ มาตรฐานควบคมุ มลพิษ จากแหลง่ กำเนิดมลพิษทางน้ำ มลพษิ อ่ืนและของเสยี อนั ตราย การตรวจสอบและควบคมุ ค่าบริการและ คา่ ปรับ 5. การมมี าตรการสง่ เสรมิ 6. ความรบั ผดิ ชอบทางแพง่ 7. บทกำหนดโทษและบทเฉพาะกาล รายละเอียดตา่ ง ๆ ในกฎหมายฉบบั น้ใี ห้ความสำคญั กบั การ ควบคุมรว่ มกับการให้สิง่ จงู ใจใหป้ ฏบิ ัติตาม และการกำหนดมาตรฐานของสิง่ แวดลอ้ ม การอนรุ กั ษพ์ ลังงานและสิ่งแวดลอ้ ม พลังงานถอื เป็นปัจจยั พื้นฐานที่สำคัญอยา่ งยง่ิ ต่อการพฒั นาประเทศ ทง้ั ทางด้าน เศรษฐกิจ และสงั คม เหตุผลก็เพราะต้องมกี ารใชพ้ ลังงานในทกุ ขน้ั ตอนของการดำเนินงาน ทงั้ ภาคอุตสาหกรรม คมนาคม เกษตรกรรม และอ่ืน ๆ ปจั จัยทีม่ ีผลใหป้ ริมาณการใชพ้ ลังงาน โลก คือ จำนวนประชากรเพิ่มขน้ึ หากเปน็ เช่นน้ีทรัพยากรและพลงั งานที่กำลงั ลดลง เพราะอัตราการใช้ พลงั งานในโลกได้เพิ่มขึ้นเฉล่ียรอ้ ยละ 7 ต่อปี ฉะนั้นโลกเราจะตอ้ งใชพ้ ลงั งานเพิม่ ข้นึ อีกเทา่ ตัวทกุ ๆปี หากไม่มีมาตรการอนรุ ักษ์และเพิ่มประสิทธภิ าพของการใช้พลังงานหรอื ปรับโครงสรา้ งอุตสาหกรรมและ ระบบขนส่ง พลงั งานจะต้องหมดไปในอนาคตอย่างแนน่ อน นอกจากนแ้ี ล้วการใช้พลงั งานที่เพิ่มสูงขน้ึ ยัง ส่งผลให้มกี ารปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจกมากขน้ึ ด้วย ดงั นั้นการอนุรักษ์พลงั งานจงึ เปน็ มาตรการทีส่ ำคัญที่จะ ทำให้มี การผลติ และการใช้พลังงานอย่างมปี ระสิทธิภาพ การอนรุ กั ษ์พลังงาน หมายถึง การผลิตและการใช้พลังงานอย่างมปี ระสทิ ธิภาพและประหยดั การอนุรักษ์พลังงานนอกจากจะช่วยลดปริมาณการใช้พลงั งานซึง่ เปน็ การประหยดั ค่าใชจ้ ่ายในกิจการแล้ว ยงั จะช่วยลดปัญหาสง่ิ แวดลอ้ มที่เกิดจากแหลง่ ที่ใช้และผลิตพลงั งานดว้ ย รูปท่ี 8.1 แนวโน้มความตอ้ งการพลังงานใน 20 ปี ขา้ งหนา้ ทีม่ า: ทิศทางพลงั งานไทยกรมพฒั นาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลงั งาน

233 วิธีการอนุรกั ษพ์ ลังงาน 1. ดา้ นทอ่ี ยู่อาศัย อุณหภมู เิ ปน็ ปจั จัยแวดลอ้ มที่สำคัญในการดำรงชวี ิตของมนุษย์มนุษย์ต้องการอาศัยอย่ใู นท่ี ที่มี อุณหภูมิพอเหมาะ บา้ นเรือนในประเทศแถบหนาวจงึ มกี ารปรบั อุณหภมู ใิ นบ้านใหอ้ บอุน่ ส่วนในประเทศร้อน กม็ ีการใชเ้ คร่อื งปรับอากาศ เพือ่ ใหเ้ ย็นสบายการปรบั อุณหภูมติ ามตอ้ งการนี้จำเปน็ ต้องใช้พลงั งานเช้ือเพลงิ เป็นอันมากนอกจากน้นั อปุ กรณ์เครอื่ งใชใ้ นบา้ น เชน่ ต้เู ยน็ พดั ลม วทิ ยุ โทรทัศน์ฯลฯ กอ็ าศัยพลังงาน เชือ้ เพลิงทั้งสนิ้ ดังนัน้ จงึ ต้องมีมาตรการในการอนุรักษ์พลงั งานทใี่ ช้ในท่ีอยู่อาศัยโดย สรุปได้ดงั นี้ 1.1 การออกแบบบ้าน ให้มีลกั ษณะโปรง่ มีการถา่ ยเทและระบายอากาศไดส้ ะดวก สำหรับทศิ ของ บา้ นควรหันหนา้ ไปทางทศิ เหนอื –ใต้ เพื่อเป็นการหลกี เล่ยี งไมใ่ ห้แสงแดดเขา้ สู่ช่องเปดิ ของ ตัวบา้ น วสั ดทุ ีใ่ ช้ สร้างบ้านควรเลือกใชว้ สั ดุทสี่ ามารถชว่ ยลดการสูญเสยี พลังงานเพื่อเป็นการประหยัดพลังงาน เช่นการใชฉ้ นวน กนั ความร้อนตัง้ แต่หลงั คาจนถงึ ผนังการใชว้ ัสดอุ นื่ แทนกระจก เพอื่ ลดการสญู เสียความร้อนหรือความเยน็ ลง เท่ากับลดการสญู เสยี พลงั งาน รูปท่ี 8.2 การหนั ทศิ ทางของบ้าน ทม่ี า: สาระน่าร้เู รื่องการอนรุ ักษ์พลงั งาน 1.2 การปลกู ตน้ ไม้เพิม่ ความรม่ เงาในบรเิ วณบา้ นจะชว่ ยลดอุณหภูมภิ ายในบ้านและช่วยไม่ให้ แสงแดดสอ่ งถงึ ตัวบ้านในชว่ งฤดูรอ้ น ทำให้ชว่ ยลดการทำงานของเครือ่ งปรับอากาศ 1.3 การเลอื กซื้ออุปกรณ์ไฟฟา้ ควรเลอื กซอื้ อปุ กรณไ์ ฟฟ้าที่มีฉลากเบอร์ 5 หรอื เลอื กใชอ้ ุปกรณ์ท่ีมี ขนาดเหมาะสมกับขนาดครอบครวั 1.4 การใชน้ ำ้ ในที่อย่อู าศยั ต้องใช้น้ำอย่างประหยัด ถอื วา่ เป็นการประหยัดพลงั งานดว้ ย เพราะการ ทำใหน้ ้ำสะอาดต้องผ่านกระบวนการทีต่ อ้ งใชพ้ ลงั งาน หลกั การการประหยัดน้ำ เชน่ 1.4.1 ใชห้ ัวก๊อกท่ีมตี ัวลดอัตราการไหลของนำ้ ใหน้ ้อยลง 1.4.2 ปดิ กอ๊ กน้ำในระหว่างแปรงฟนั สระผม หรือโกนหนวด

234 1.4.3 ใชไ้ ม้กวาดในการกวาดพน้ื แทนการใชน้ ้ำฉดี เพื่อทำความสะอาด 1.4.4 ลา้ งรถดว้ ยน้ำถังและฟองน้ำ แทนการใช้สายยางฉดี น้ำ 1.4.5 ใชน้ ำ้ จากการซักล้างหรือถพู ืน้ เพ่ือรดน้ำตน้ ไม้ แทนการใช้นำ้ ประปา 1.5 การใช้พลังงานในเตากา๊ ซอย่างประหยดั ทำได้ดังนี้ 1.5.1 เลือกใชถ้ ังกา๊ ซที่มีเครื่องหมายสำนักงานมาตรฐานอตุ สาหกรรม (มอก.) 1.5.2 ควรใชส้ ายยางหรือสายพลาสตกิ ชนิดยาวและมีความยาว1-1.5 เมตร 1.5.3 ต้งั เตาก๊าซให้ห่างถังก๊าซประมาณ 1-1.5 เมตร ปดิ วาลว์ ที่หัวเตาและหวั ปรบั ความดนั เมื่อ เลกิ ใช้ 1.5.4 เลอื กขนาดของหมอ้ หรือกระทะให้เหมาะสมกับปริมาณอาหารที่จะปรงุ 1.5.5 ควรเตรยี มอาหารสด เคร่ืองปรงุ และอุปกรณ์การทำอาหารให้พร้อมก่อนติดไฟไม่ควรตดิ ไฟรอนานเกินไปจะส้นิ เปลอื งกา๊ ซ 1.6 การทาสีผนังบา้ นหรอื เลือกวสั ดพุ น้ื ห้องควรเป็นสอี ่อนๆ เพื่อชว่ ยสะท้อนแสงสว่างภายในหอ้ ง ควรใช้หลอดประหยัดพลงั งานเช่น หลอดผอม (หลอดฟลอู อเรสเซนต์) 1.7 การรดี เสือ้ ผา้ ควรรีดจำนวนมากในครั้งเดยี ว รูปท่ี 8.3 การประหยดั พลงั งานจากการใช้เตารีดไฟฟา้ ท่มี า: สาระนา่ รู้เรอ่ื งการอนุรักษ์พลังงาน 2. ด้านสถานศึกษา อาคารหรอื สถานศกึ ษามกี ารใช้พลังงานหลายรูปแบบ เชน่ ระบบปรับอากาศ ระบบไฟฟ้าและ แสงสวา่ ง อุปกรณ์สำนักงาน เชน่ เคร่อื งถา่ ยเอกสาร คอมพวิ เตอร์ เปน็ ต้น หลักการอนรุ ักษ์พลงั งานที่ใช้ ในสถานศึกษาสรุปไดด้ งั นี้ 2.1 การปลูกตน้ ไม้เพ่มิ ความรม่ เงาแก่ตวั อาคารเรยี น โดยไมใ่ หอ้ าคารถูกแสงแดดโดยตรงจะชว่ ย ให้ตัวอาคารไมร่ ้อน มบี รรยากาศและสง่ิ แวดล้อมที่ดีปลกู หญ้าคลุมดนิ เพื่อลดการสะท้อนของแสงเขา้ สู่ตัว อาคารเรยี น

235 รปู ที่ 8.4 การปลกู ต้นไมบ้ ริเวณอาคารเรยี น ท่มี า: สาระนา่ รู้เรอื่ งการอนรุ ักษพ์ ลงั งาน 2.2 ผนังภายในหอ้ งเรียนควรเป็นสขี าว เพราะจะสามารถช่วยให้เรยี นมีความสว่าง 2.3 เลอื กหลอดไฟทมี่ ีวตั ต์ตำ่ พัดลมติดเพดานซึ่งจะชว่ ยทำให้เกิดการหมุนเวียนของอากาศภายใน หอ้ งเรยี น 2.4 มีการรณรงค์หรอื จัดกิจกรรมด้านการอนุรักษพ์ ลังงานในสถานศึกษา 3. ด้านสถานที่ทำงาน มีวิธกี ารประหยัดพลงั งานดังน้ี 3.1 การปอ้ งกนั ความรอ้ นเขา้ สู่อาคารโดยเลอื กใช้วสั ดทุ ่ีเป็นฉนวนกันความร้อนได้ดีหรือใช้ กระจก หน้าต่างชนิดป้องกันรังสคี วามรอ้ นการปลูกตน้ ไม้ให้รม่ เงากบั ผนัง และการทำกันสาด เป็นต้น 3.2 ใชส้ อี ่อนในการทาผนงั อาคาร 3.3 เลือกผลติ ภัณฑท์ ม่ี สี ญั ลักษณ์ช่วยรักษาสิง่ แวดลอ้ ม เช่น ปา้ ยฉลากเขยี วประหยัดไฟเบอร์ 5 3.4 ตดิ ตั้งสวติ ซ์ไฟให้สะดวกในการเปิดปิด 3.5 การลดชวั่ โมงการทำงานของอุปกรณ์ไฟฟ้า การปดิ เครอ่ื งทำน้ำเยน็ ก่อนเวลาเลกิ งาน 15-30 นาที 3.6 เคร่ืองปรับอากาศ ควรตัง้ อุณหภูมิที่ 25oC บริเวณทีท่ ำงานทวั่ ไปและพน้ื ที่ส่วนกลาง ตง้ั อณุ หภมู ทิ ี่ 24oC ในบริเวณพื้นทที่ ำงานใกล้หน้าตา่ งกระจกและต้งั อณุ หภมู ิท่ี 22oC ในห้องคอมพิวเตอร์ซ่ึงการ ปรับอณุ หภูมิเพมิ่ ทุกๆ 1oC จะชว่ ยประหยัดพลังงานร้อยละ 10 ของเครื่องปรับอากาศ 3.7 ควรใชบ้ ันไดกรณขี ึ้นลงชนั้ เดยี ว การต้งั โปรแกรมใหล้ ฟิ ท์หยดุ เฉพาะชั้นคี่ หรือชั้นคู่ เน่อื งจากลฟิ ท์ ใชพ้ ลังงานไฟฟ้ามากในขณะออกตัว 3.8 ควรบำรงุ รักษาอุปกรณ์อย่างสมำ่ เสมอโดยการตรวจสอบสภาพอุปกรณ์การทำความสะอาดและ ตรวจสอบรอยรั่วตามขอบกระจกและผนังทกุ 3-6 เดือน

236 4. ดา้ นการขนสง่ มาตรการบางประการในการอนุรักษ์พลังงานที่ใช้ในดา้ นการขนสง่ ได้แก่ 4.1 การใช้รถรว่ มกนั ในเส้นทางเดียวกัน สลับกันนำรถออกใชง้ านแลว้ โดยสารไปดว้ ยกัน 4.2 รว่ มกนั รณรงคใ์ ห้ขบั รถยนต์ส่วนตัวน้อยลงหันมาปั่นจกั รยาน การใช้รถโดยสารประจำทาง 4.3 ใช้พลงั งานทดแทน เช่น ไบโอดีเซล แก๊สโซฮอลล์ เปน็ ต้น แทนการใช้น้ำมันปโิ ตรเลียม 4.4 จดั กิจกรรมรณรงคเ์ รื่องวิธีประหยดั พลงั งานในการขนสง่ ให้กบั บริษทั หรือโรงงานอตุ สาหกรรม สนับสนนุ การวิจยั ในองค์กร ค้นคว้าผลิตภัณฑ์ท่เี ป็นมิตรกบั สง่ิ แวดลอ้ ม และมีประสิทธภิ าพในการลดการใช้ พลังงานจากเช้ือเพลิงฟอสซิล 4.5 สนับสนุนการขนส่งสนิ คา้ ของกล่มุ อุตสาหกรรมทีใ่ ชพ้ ลังงานหมุนเวยี น 4.6 ปรับปรุงระบบการขนสง่ สินคา้ ใหม้ ปี ระสิทธภิ าพยง่ิ ขึ้น จัดระบบการขนสง่ มวลชนภายในเมือง หรือระหวา่ งเมืองใหญก่ บั เมอื งบริวารอยา่ งมีประสิทธภิ าพ 4.7 ตรวจสอบอุปกรณส์ ภาพเคร่ืองยนตเ์ ปน็ ประจำเพ่ือเป็นการลดการส้นิ เปลืองนำ้ มนั การพิจารณาเลอื กใช้อุปกรณ์ไฟฟา้ ประหยดั พลังงานไฟฟ้าเราตอ้ งพิจารณา 1. อปุ กรณ์ไฟฟ้าอะไรบ้างที่เราใช้งานประจำหรือ ใช้งานบอ่ ยและนาน โดยพจิ ารณาจากพลังงาน ไฟฟ้า (Watt) เป็นสำคัญ เพราะอุปกรณ์ไฟฟา้ ท่ีใชก้ ำลังไฟฟา้ มาก เสียคา่ ใช้จ่ายมาก นอกจากเราจะพิจารณา เรอ่ื งการใช้งานอยา่ งถกู ต้องเหมาะสมแลว้ เราต้องพจิ ารณาเร่อื งประหยดั พลังงาน 2 การดแู ลบำรุงรกั ษาเพราะอุปกรณ์ไฟฟา้ ทุกชนดิ ตอ้ งการการบำรุงรกั ษาอยา่ งถูกวิธีจึงจะทำให้ เกดิ การประหยดั สูงสุด สำหรบั อุปกรณ์ไฟฟา้ ทเ่ี ราจะต้องพิจารณาในเร่ืองการประหยัดพลังงานให้พจิ ารณาจากตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 8.1 อปุ กรณ์ไฟฟ้าที่ตอ้ งใช้พลงั งาน ลำดบั อุปกรณไ์ ฟฟา้ พลังงานไฟฟา้ ทใ่ี ชโ้ ดยประมาณ (Watt/ชม.) หมายเหตุ ที่ 1 เคร่ืองทำนำ้ อนุ่ 3,000-5,500 W 2 เตารีดไฟฟ้า 750-1,000 W 3 หมอ้ หุงข้าวไฟฟ้า 4 กระติกน้ำร้อน 650 W 5 กระทะไฟฟา้ 650 W 6 เตาไมโครเวฟ 1,000W 650 W

237 7 เครอ่ื งปรับอากาศ 650-800 W 9000 BTU 1,200 – 1,400 W 13000 BTU 2,200-2,600 W 24000 BTU 3,570-4,000 W 36000 BTU 4,650 –5,000W 48000 BTU 6,000-7,000 W 57000- 60000 BTU 1100 W 8 เครื่องถา่ ยเอกสาร 100 W 120 W 9 ตู้เยน็ (ลบ.ฟุต) 150 W 4.5 110 w 5.5 50-60 W 7. 9 10 คอมพวิ เตอร์ 11 พัดลมต้งั พ้นื 16” หมายเหตุ พลังงานไฟฟ้าทีร่ ะบใุ นตารางเปลยี่ นแปลงได้ตามรุน่ /ขนาด/และย่หี อ้ ของอุปกรณ์ไฟฟา้ ชนิดน้นั ๆ จะ ไมเ่ ท่ากนั ทุกยหี่ อ้ และทุกรนุ่ แต่โดยประมาณขนาดเดียวกันการใช้พลงั งานใกลเ้ คยี งกนั จากตารางการใชพ้ ลงั งาน ไฟฟ้าแต่ละชนิด เราพอจะทราบแลว้ ว่าอปุ กรณ์ไฟฟ้าชนิดใดใช้พลงั งานไฟฟ้ามากน้อยอยา่ งไรและชนิดไหนใช้ มากใชน้ อ้ ย การอนุรกั ษส์ ิ่งแวดลอ้ ม การอนรุ กั ษ์ หมายถึง การรจู้ กั ใชท้ รัพยากรอย่างชาญฉลาดใหเ้ ป็นประโยชน์ตอ่ มหาชนมาก ท่ีสุด และใช้ได้เปน็ เวลายาวนานที่สุด ท้ังนีต้ ้องให้สญู เสียทรพั ยากรโดยเปลา่ ประโยชนน์ ้อยทีส่ ุดและจะต้อง กระจายการใชป้ ระโยชน์จากทรพั ยากรโดยทัว่ ถึงกนั ฉะนั้นการอนรุ ักษ์จงึ ไม่ไดห้ มายถึง การเกบ็ รักษา ทรัพยากรไวเ้ ฉยๆ แต่ตอ้ งนำทรัพยากรมาใชป้ ระโยชน์ใหถ้ ูกต้องตามกาลเทศะ (ประชาอินทรแ์ ก้ว, 2542) หลกั การการอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม หมายถงึ การใชท้ รัพยากรธรรมชาตแิ ละ สง่ิ แวดล้อมอย่างฉลาด โดยใช้ใหน้ อ้ ยเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสดุ โดยคำนึงถงึ ระยะเวลาในการใช้ให้ ยาวนาน และก่อให้เกิดผลเสียหายต่อสิง่ แวดลอ้ มน้อยทส่ี ุดรวมทัง้ ตอ้ งมีการกระจายการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอยา่ งท่ัวถึง อยา่ งไรก็ตามในสภาพปัจจุบันทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม มี ความเส่ือมโทรมมากขนึ้ ดังนั้นการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ มจึงมีความหมาย รวมไปถงึ

238 การพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้อมดว้ ย การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มสามารถกระทำไดห้ ลาย วิธีทง้ั ทางตรงและทางอ้อม ดังน้ี 1. การอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อมทางตรงซงึ่ ปฏิบตั ิได้ในระดับบคุ คลองค์กร และ ระดบั ประเทศทสี่ ำคัญ คือ 1.1 การใชอ้ ย่างประหยัด คือ การใชเ้ ทา่ ทมี่ ีความจำเปน็ เพ่ือใหม้ ีทรพั ยากรไวใ้ ช้ไดน้ านและ เกิดประโยชนอ์ ยา่ งคุ้มค่ามากทีส่ ุด 1.2 การนำกลับมาใชซ้ ้ำอีก สง่ิ ของบางอย่างเมื่อมีการใช้แลว้ คร้ังหนึ่งสามารถท่จี ะนำมาใช้ซำ้ ไดอ้ ีก เช่น ถุงพลาสติก กระดาษ เป็นต้น หรอื สามารถที่จะนำมาใชไ้ ด้ใหมโ่ ดยผ่านกระบวนการต่าง ๆ เช่น การนำกระดาษท่ีใชแ้ ลว้ ไปผ่านกระบวนการต่าง ๆ เพื่อทำเป็นกระดาษแข็ง เปน็ ตน้ 1.3 การบูรณะซ่อมแซมสง่ิ ของบางอย่างเม่ือใช้เป็นเวลานานอาจเกดิ การชำรดุ ได้ เพราะฉะนั้น ถา้ มีการบรู ณะซ่อมแซม ทำใหส้ ามารถยืดอายุการใช้งานต่อไปได้อีก 1.4 การบำบดั และการฟนื้ ฟู เป็นวิธกี ารท่จี ะชว่ ยลดความเส่ือมโทรมของทรัพยากร ด้วย การบำบัดก่อน เชน่ การบำบดั น้ำเสยี จากบ้านเรอื นหรือโรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น กอ่ นทจ่ี ะปลอ่ ย ลงสู่แหล่งนำ้ สาธารณะ ส่วนการฟนื้ ฟูเป็นการร้ือฟ้ืนธรรมชาติให้กลบั สูส่ ภาพเดิม เชน่ การปลูกป่าชายเลน เพอ่ื ฟื้นฟูความสมดุลของป่าชายเลนให้กลบั มาอุดมสมบรู ณ์ เปน็ ตน้ 1.5 การใชส้ ่ิงอน่ื ทดแทน เป็นวิธีการที่จะช่วยใหม้ ีการใช้ทรัพยากรธรรมชาตินอ้ ยลงและ ไม่ ทำลายสิง่ แวดลอ้ ม เช่น การใช้ถุงผา้ แทนถุงพลาสติก การใชใ้ บตองแทนโฟมการใชพ้ ลงั งานแสงแดดแทน แร่เชอ้ื เพลิง การใช้ปยุ๋ ชีวภาพแทนปุย๋ เคมี เปน็ ตน้ รปู ท่ี 8.8 การรณรงค์ใชถ้ ุงผา้ แทนถุงพลาสตกิ ที่มา: http://s-school.egco.com/index.php/school-project1/ 1.6 การเฝา้ ระวงั ดูแลและป้องกนั เป็นวธิ ีการท่จี ะไม่ใหท้ รัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมถูก ทำลาย เชน่ การเฝา้ ระวงั การทิง้ ขยะ สิง่ ปฏิกูลลงแมน่ ้ำ คูคลอง การจัดทำแนวปอ้ งกนั ไฟป่า เป็นตน้ 2. การอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมทางออ้ มสามารถทำได้หลายวธิ ีดงั น้ี

239 2.1 การพัฒนาคุณภาพประชาชน โดยสนับสนุนการศกึ ษาดา้ นการอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดล้อมท่ีถูกต้องตามหลักวิชา ท้งั ในระบบโรงเรียนและสถาบันการศึกษาตา่ ง ๆ และนอกระบบ โรงเรียนผา่ นสอ่ื สารมวลชนตา่ ง ๆ เพ่อื ให้ประชาชนเกิดความตระหนักถึงความสำคญั และความจำเป็นในการ อนรุ กั ษ์ เกิดความรักความหวงแหน และให้ความร่วมมืออย่างจริงจัง 2.2 การใช้มาตรการทางสงั คมและกฎหมายการจดั ตั้งกลุ่ม ชมุ ชน ชมรม สมาคม เพ่ือการ อนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อมต่าง ๆ ตลอดจนการให้ความรว่ มมือทง้ั ทางด้านพลงั กาย พลงั ใจ พลงั ความคดิ ดว้ ยจิตสำนกึ ในความมีคุณค่าของสิง่ แวดล้อมและทรัพยากรที่มตี ่อตวั เรา เชน่ กลุม่ ชมรม อนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมของนักเรียน นักศกึ ษาในโรงเรียนและสถาบันการศกึ ษาต่าง ๆ มลู นธิ ิคมุ้ ครองสัตว์ปา่ และพรรณพืชแห่งประเทศไทย มลู นิธสิ ืบนาคะเสถียร มูลนิธโิ ลกสีเขยี ว เป็นต้น 2.3 ส่งเสริมใหป้ ระชาชนในท้องถิ่นได้มีสว่ นรว่ มในการอนุรักษช์ ว่ ยกนั ดูแลรกั ษาให้คงสภาพ เดมิ ไม่ใหเ้ กิดความเส่อื มโทรม เพ่ือประโยชน์ในการดำรงชีวติ ในทอ้ งถิ่นของตน การประสานงานเพ่ือสร้าง ความรคู้ วามเข้าใจ และความตระหนักระหว่างหนว่ ยงานของรฐั องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ินกับประชาชน ให้ มีบทบาทหน้าท่ีในการปกป้อง ค้มุ ครอง ฟ้ืนฟกู ารใช้ทรัพยากรอย่างคมุ้ ค่าและเกดิ ประโยชน์สงู สุด 2.4 สง่ เสริมการศึกษาวิจัย ค้นหาวธิ ีการและพฒั นาเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการกบั ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ มให้เกิดประโยชนส์ ูงสดุ เช่น การใช้ความรู้ทางเทคโนโลยสี ารสนเทศมา จัดการวางแผนพัฒนา การพัฒนาอุปกรณเ์ ครื่องมือเครื่องใชใ้ หม้ ีการประหยดั พลงั งานมากข้นึ การ ค้นควา้ วจิ ัยวิธีการจัดการ การปรบั ปรุง พฒั นาสิง่ แวดลอ้ มให้มีประสิทธิภาพและย่ังยืน เปน็ ต้น 2.5 การกำหนดนโยบายและวางแนวทางของรฐั บาลในการอนรุ ักษ์และพัฒนาสิ่งแวดลอ้ มทัง้ ใน ระยะส้ันและระยะยาว เพ่ือเป็นหลกั การใหห้ นว่ ยงานและเจ้าหนา้ ที่ของรฐั ทเ่ี กี่ยวข้องยึดถือและนำไปปฏบิ ตั ิ รวมทั้งการเผยแพรข่ า่ วสารด้านการอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมทางตรงและทางอ้อม กิจกรรมการอนรุ ักษ์พลงั งานและสิ่งแวดลอ้ ม กิจกรรมโครงการสนับสนนุ การอนุรกั ษ์พลังงานและสงิ่ แวดลอ้ ม เพอ่ื เปน็ การกระต้นุ จติ สำนึก การสรา้ งสำนกึ ในการประหยดั พลงั งาน

240 การสอนออนไลน์ การสอบออนไลน์ โดยใช้ Google Classroom

241 สอ่ื การสอนประจำหนว่ ย

242 สื่อการสอน

243 สือ่ การสอน ดคู ลปิ วดี โี อ

244 สื่อการสอน

245 แบบทดสอบประจำหนว่ ย

246 แบบทดสอบกฎหมายการอนุรักษพ์ ลังงาน 1.กฎหมายสง่ เสรมิ การอนรุ ักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 เน้นการส่งเสรมิ การอนุรักษ์พลงั งานในขอ้ ใด ก.ภาครัฐบาล ข.3ภาคประชาชน ค.ภาคเอกชน ง.ทุกหนว่ ยงาน 2.ข้อใดไมใ่ ช่หลกั การของกฎหมายอนุรกั ษ์พลงั งาน ก.กำกับ ดูแล ส่งเสริมให้มีการอนุรกั ษ์พลงั งานในบ้านเรือนที่อยู่อาศยั ข.สง่ เสรมิ และสนบั สนุนให้มีการผลิตเครอ่ื งจักร อุปกรณ์ที่มปี ระสิทธิภาพ ค.กำกับ ดูแล สง่ เสรมิ ให้มีการอนรุ ักษ์พลงั งานในอาคารควบคมุ ง.จดั ตง้ั กองทุนเพื่อส่งเสรมิ การอนุรักษ์พลงั งาน 3.ข้อใดไมใ่ ช่กลุ่มเป้าหมายท่รี ัฐจะเข้าไปกำกับ ดแู ล ตามกฎหมายการอนรุ กั ษ์พลงั งาน ก.โรงงานควบคมุ ข.อาคารควบคมุ ค.ผูผ้ ลิตเครอ่ื งจกั รทชี่ ่วยอนรุ ักษ์พลงั งาน ง.ผู้จำหน่ายเครื่องใชไ้ ฟฟ้า 4.กิจกรรมใดเป็นการอนุรกั ษ์พลังงานในโรงงานตามมาตรา 7 ก.การใช้พลังงานทดแทน ข.การป้องกนั การสญู เสยี พลงั งาน ค.การลดการใช้พลังงาน ง.การอนรุ ักษ์พลงั งาน 5.กิจกรรมใดไมใ่ ช่การอนุรักษ์พลังงานในอาคารตามมาตรา 17 ก.การลดความร้อนจากแสงอาทิตยท์ เี่ ข้ามาในอาคาร ข.การใช้แสงสวา่ งในอาคารอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ค.การใช้เครื่องใชไ้ ฟฟ้าเบอร์ 5 ง.การติดตั้งเคร่ืองจักรที่ช่วยอนรุ ักษพ์ ลงั งาน 6.ข้อใดไมเ่ กี่ยวข้องกบั คำว่า “การอนรุ ักษ์พลงั งาน” ก.การพัฒนาแหลง่ พลงั งานใหมๆ่ ข.การใชพ้ ลงั งานโดยคำนงึ ถึงผลกระทบต่อส่งิ แวดลอ้ ม ค.การเก็บนำ้ มันไว้ใช้เม่ือเวลาท่จี ำเป็น ง.การปอ้ งกนั การสญู เสยี พลังงาน 7.ขอ้ ใดไม่ใช่แนวทางในการอนรุ กั ษ์พลังงาน ก.นำพลงั งานท่ีใชแ้ ลว้ กลบั มาใช้ใหม่ ข.สง่ เสรมิ การใช้ชวี ติ ตามธรรมชาติงดการใช้พลงั งาน

247 ค.ใชพ้ ลังงานใหเ้ กดิ ผลเสยี ตอ่ สิ่งแวดล้อมนอ้ ยทสี่ ุด ง.ลดการสญู เสียพลังงานในกระบวนการผลติ 8.ผูใ้ ดไม่สง่ เงินเข้ากองทนุ หรือส่งเงินเข้ากองทุนไม่ครบตามจำนวนท่ีตอ้ งสง่ ตามมาตรา 35 มาตรา 36 หรือมาตรา 37 ตอ้ งระวางโทษจำคกุ ตัง้ แต่สามเดอื นถึงสองปี หรือปรบั ต้ังแตห่ น่ึงแสนบาทถงึ สบิ ล้านบาท หรอื ทง้ั จำท้ังปรับ เป็นไปตามมาตราใด ก.มาตรา 58 ข.มาตรา 59 ค.มาตรา 60 ง.มาตรา 61 9.ผูใ้ ดขัดขวางหรือไม่อำนวยความสะดวกแกพ่ นักงานเจา้ หนา้ ทซี่ งึ่ ปฏิบตั หิ นา้ ทต่ี ามมาตรา 47 (2) ต้องระวางโทษ ปรับไม่เกินห้าพนั บาท เปน็ ไปตามมาตราใด ก.มาตรา 58 ข.มาตรา 59 ค.มาตรา 60 ง.มาตรา 61 10.กฎหมายการอนุรักษ์พลังงานกำหนดข้ึนเม่อื ใด ก.พ.ศ. 2530 ข.พ.ศ. 2533 ค.พ.ศ. 2535 ง.พ.ศ. 2537 11.นกั เรยี นจะมีสว่ นรว่ มในการอนุรักษ์พลงั งานได้อย่างไร ก.ใช้พลงั งานไฟฟา้ ในชวี ิตประจำวนั อย่างประหยัด ข.นำพลงั งานหมุนเวยี นมาใช้ ค.หลีกเลี่ยงการใช้พลงั งานทุกประเภท ง.ทดลองนำสารตา่ ง ๆ มาผสมในน้ำมนั ดีเซล 12.ขอ้ ใดไม่ใช่อาคารที่ได้รับการยกเวน้ ไม่เปน็ อาคารควบคุม ก.พระราชวัง ข.วัด ค.ทีท่ ำการสถานทูต ง.โรงเรยี น 13.กฎหมายอนุรักษ์พลังงานประกอบด้วยก่หี มวด กี่มาตรา ก.9 หมวด 60 มาตรา ข.9 หมวด 61 มาตรา ค.9 หมวด 62 มาตรา ‘.9 หมวด 63 มาตรา

248 14.พระราชกฤษฎีกากำหนดอาคารควบคุม พ.ศ. 2538 มีผลบงั คบั ใชต้ ั้งแตเ่ มื่อใด ก.วันที่ 12 มีนาคม พ.ศ.2538 ข.วันท่ี 12 เมษายน พ.ศ.2538 ค.วนั ท่ี 12 ตลุ าคม พ.ศ.2538 ง.วนั ที่ 12 ธนั วาคม พ.ศ.2538 15.“โครงการประชารว่ มใจใช้หลอดผอม” ช่วยอนุรักษ์พลังงานได้อยา่ งไร ก.หลอดผอมราคาถูก ข.หลอดผอมมีอายุการใช้งานนาน ค.หลอดผอมชว่ ยประหยดั ค่าไฟฟ้า ง.หลอดผอมลดการสูญเสียพลังงาน 16.บทกำหนดโทษสำหรบั ผ้ฝู ่าฝนื กฎหมายอนุรักษ์พลังงานอย่ใู นหมวดใด มาตราทเ่ี ท่าไหร่ ก.หมวด 6 มาตราท่ี 53-61 ข.หมวด 7 มาตราท่ี 53-61 ค.หมวด 8 มาตราท่ี 53-61 ง.หมวด 9 มาตราท่ี 53-61 17.ข้อใดไม่ใช่สาเหตทุ ท่ี ำให้แนวโนม้ การใชพ้ ลังงานในประเทศไทยเพิ่มข้ึน ก.การเจรญิ ก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ข.การขยายตวั ทางเศรษฐกจิ ค.การใชพ้ ลงั งานอยา่ งฟมุ่ เฟือย ง.การขาดแคลนแหล่งพลงั งาน 18.กรมพฒั นาพลังงานทดแทนและอนรุ ักษ์พลังงาน ใชต้ ัวย่ออะไร ก.กผ. ข.พพ. ค.พผ. ง.กฝพ. 19.กฎหมายอนุรักษ์พลังงานมชี ือ่ เตม็ ว่าอยา่ งไร ก.พระราชบญั ญัตกิ ารสง่ เสรมและอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 ข.แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ค.กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนรุ ักษ์พลงั งาน ง.พระราชบญั ญตั ิสง่ เสรมิ และรักษาคุณภาพสิง่ แวดล้อมแห่งชาติ 20.ข้อใดเป็นแนวทางแก้ไขปัญหาการใชพ้ ลังงานฟุ่มเฟือยทเี่ หมาะสมทส่ี ุด ก.รณรงค์ให้สร้างบา้ นที่ประหยัดพลงั งาน ข.เพ่ิมค่าไฟฟา้ เพ่ือประชาชนใช้ไฟฟ้าอยา่ งประหยดั ค.สร้างเขื่อนเพอื่ เพม่ิ การผลิตกระแสไฟฟ้า ง.ทุกคนต้องรว่ มมือกันแก้ไขปัญหา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook