Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บีม

บีม

Published by cirwrrn033, 2020-12-16 06:51:39

Description: บีม

Search

Read the Text Version

ยาเสพตดิ ยาเสพติดให้โทษ หมายความว่า สารเคมี หรือวตั ถุชนดิ ใดๆ ซึงเมอื เสพ เข้าสู่ร่างกายไม่ว่าจะโดยรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยประการใดๆ แล้ว ทาํ ให้เกดิ ผลต่อร่างกายและจติ ใจในลกั ษณะสําคญั เช่น ต้องเพมิ ขนาดการ เสพเรือยๆ มอี าการถอนยาเมอื ขาดยา มคี วามต้องการเสพทงั ทางร่างกาย และจติ อย่างรุนแรงอยู่ตลอดเวลา และสุขภาพโดยทวั ไปจะทรุดโทรมลง รวมถงึ พชื หรือ ส่วนของพชื ทเี ป็ น หรือให้ผลผลติ เป็ นยาเสพตดิ ให้โทษ หรืออาจใช้ผลติ เป็ นยาเสพตดิ ให้โทษและสารเคมี ทใี ช้ในการผลติ ยาเสพตดิ ให้โทษดงั กล่าวด้วย แต่ไม่หมายความถึง ยาสําคญั ประจาํ บ้านบางตาํ รับ ตามทกี ฎหมายว่าด้วยยาทมี ยี าเสพตดิ ให้โทษผสมอยู่

ประเภทของยาเสพตดิ จําแนกตามการออกฤทธิต่อระบบประสาท แบ่งเป็ น ๔ ประเภท ๑. ประเภทกดประสาท ได้แก่ ฝิ น มอร์ฟี น เฮโรอนี ยา นอนหลบั ยาระงบั ประสาท ยากล่อมประสาทเครืองดมื มึน เมา ทุกชนิด รวมทัง สารระเหย เช่น ทินเนอร์ แลก็ เกอร์ นํามนั เบนซิน กาว เป็ นต้น มกั พบว่าผู้เสพตดิ มี ร่างกายซูบ ซีด ผอมเหลอื ง อ่อนเพลยี ฟ้ งุ ซ่าน อารมณ์ เปลยี นแปลง ง่าย

๒. ประเภทกระตุ้นประสาท ได้แก่ ยาบ้า ยา อี กระท่อม โคเคน มกั พบว่าผู้เสพตดิ จะมี อาการ หงุดหงดิ กระวนกระวาย จติ สับสน หวาดระแวง บางครังมอี าการคลุ้มคลงั หรือทาํ ในสิงทีคนปกติ ไม่กล้าทํา เช่น ทําร้ายตนเอง หรือฆ่าผู้อนื เป็ นต้น

๓. ประเภทหลอนประสาท ได้แก่ แอลเอสดี และ เห็ดขคี วาย เป็ นต้น ผู้เสพตดิ จะมอี าการ ประสาทหลอน ฝันเฟื องเห็นแสงสีวจิ ติ รพสิ ดาร หูแว่ว ได้ยนิ เสียง ประหลาดหรือเห็นภาพหลอน ทนี ่าเกลยี ดน่ากลวั ควบคุมตนเองไม่ได้ ในทสี ุด มกั ป่ วยเป็ นโรคจติ

๔. ประเภทออกฤทธิผสมผสาน คอื ทงั กระตุ้นกดและหลอนประสาทร่วมกนั ได้แก่ ผู้เสพตดิ มักมี อาการ หวาดระแวง ความคดิ สับสนเห็นภาพ ลวงตา หูแว่ว ควบคุมตนเองไม่ได้และ ป่ วยเป็ นโรคจติ ได้

แบง ตามแหลงทีม่ า หรือ ตามแหลง ทเี่ กดิ ซ่งึ จะแบงออกเปน ๒ ประเภท คอื ๑. ยาเสพติดธรรมชาติ (Natural Drugs) คือ ยา เสพตดิ ท่ีผลติ มาจากพืช เชน ฝน มอรฟน กระทอ ม กญั ชา เปนตน ๒. ยาเสพติดสงั เคราะห (Synthetic Drugs) คอื ยาเสพติดท่ผี ลติ ขึ้นดว ยกรรมวิธีทางเคมี เชน เฮโรอีน แอมเฟตามนี ยาอี เอ็คตาซี เปน ตน

แบ่งตามกฎหมาย ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ ซึงจะแบ่งออกเป็ น ๕ ประเภท คอื ยาเสพตดิ ให้โทษ ประเภทที ๑ ได้แก่ เฮโรอนี แอลเอสดี แอมเฟตามีน หรือ ยาบ้า ยาอี หรือ ยาเลฟิ ยาเสพตดิ ให้โทษ ประเภทที ๒ ยาเสพตดิ ประเภทนีสามารถ นํามาใช้เพอื ประโยชน์ทางการแพทย์ได้ แต่ต้องใช้ภายใต้การ ควบคุมของแพทย์ และใช้เฉพาะกรณที ีจาํ เป็ นเท่านัน ได้แก่ ฝิ น มอร์ฟี น โคเคน หรือ โคคาอนี โคเคอนี และเมทาโดน

ยาเสพตดิ ให้โทษ ประเภทที ๓ ยาเสพตดิ ประเภท นี เป็ นยาเสพตดิ ให้โทษทมี ยี าเสพติดประเภทที ๒ ผสมอยู่ด้วย มปี ระโยชน์ทางการแพทย์ การนําไปใช้ เพอื จุดประสงค์อนื หรือเพอื เสพติด จะมบี ทลงโทษ กาํ กบั ไว้ ยาเสพติดประเภทนี ได้แก่ ยาแก้ไอ ทมี ตี ัวยา โคเคอนี ยาแก้ท้องเสีย ทมี ฝี ิ นผสมอยู่ด้วย ยาฉีดระงบั ปวดต่าง ๆ เช่น มอร์ฟี น เพทดิ นี ซึงสกดั มาจากฝิ น

ยาเสพตดิ ให้โทษ ประเภทที ๔ คอื สารเคมที ใี ช้ในการ ผลติ ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที ๑ หรือประเภทที ๒ ยาเสพตดิ ประเภทนีไม่มกี ารนํามาใช้ประโยชน์ในการ บาํ บดั โรคแต่อย่างใด และมบี ทลงโทษกาํ กบั ไว้ด้วย ได้แก่นํายาอะเซตคิ แอนไฮไดรย์ และ อะเซตลิ คลอไรด์ ซึงใช้ในการเปลยี นมอร์ฟี นเป็ นเฮโรอนี สารคลอซูได อเี ฟครีน สามารถใช้ในการผลติ ยาบ้า ได้ และวตั ถุออก ฤทธิต่อจิตประสาทอกี ๑๒ ชนิด ทสี ามารถนํามาผลติ

ยาเสพตดิ ให้โทษ ประเภทที ๕ เป็ นยาเสพ ตดิ ให้โทษทมี ไิ ด้เข้าข่ายอยู่ในยาเสพตดิ ประเภทที ๑ ถงึ ๔ ได้แก่ ทุกส่วนของพชื กญั ชา ทุกส่วนของพชื กระท่อม เห็ด ขคี วาย เป็ นต้น

จําแนกตามการออกฤทธต์ิ อระบบประสาท แบงเปน ๔ ประเภท ๑. สาเหตุที่เกิดจากความรเู ทาไมถ ึงการณ ๑. อยากทดลอง เกิดจากความอยากรอู ยากเห็นซึ่งเปนนิสัยของ คนโดยทว่ั ไป และโดยทีไ่ มคดิ วา ตนจะติดส่ิงเสพยตดิ นี้ได จงึ ไปทําการ ทดลองใชสง่ิ เสพยต ดิ นั้น ในการทดลองใชคร้ังแรกๆ อาจมี ความรูสึกดหี รอื ไมดกี ต็ าม ถา ยงั ไมตดิ สิง่ เสพยติดนน้ั กอ็ าจ ประมาท ไปทดลองใชส ิง่ เสพยต ิดนน้ั อีก จนใจทีส่ ุดกต็ ดิ ส่ิงเสพย ติดน้นั หรือ ถาไปทดลองใชส่ิงเสพยต ิดบางชนดิ เชน เฮโรอนี แมจ ะเสพเพียงครัง้ เดียว ก็อาจทําใหติดได

๒. ความคกึ คะนอง คนบางคนมีความคกึ คะนอง ชอบ พูดอวดเก่งเป็ นนิสัย โดยเฉพาะวยั รุ่นมักจะมีนิสัยดงั กล่าว คนพวกนีอาจแสดงความเก่งกล้าของตนในกล่มุ เพอื นโดยการ แสดงการใช้สิงเสพย์ตดิ ชนิต่าง ๆ เพราะเห็นแก่ความ สนุกสนาน ตนื เต้น และให้เพอื นฝูงยอมรับว่าตนเก่ง โดยมไิ ด้ คาํ นึง ถงึ ผลเสียหาย หรือ อนั ตรายทีจะเกดิ ขนึ ในภายหลงั แต่ อย่างไร ในทสี ุดจนเองกก็ ลายเป็ นคนตดิ สิงเสพย์ตดิ นัน

๓. การชกั ชวนของคนอืน อาจเกิดจากการเชือตามคาํ ชกั ชวน โฆษณา ของผขู้ ายสินคา้ ที เป็นสิงเสพยต์ ิดบางชนิด เช่น ยา กระตุน้ ประสาทต่างๆ ยาขยนั ยามา้ ยาบา้ เป็นตน้ โดยผขู้ าย โฆษณาสรรพคุณของสิงเสพยต์ ิดนนั วา่ มีคุณภาพดีสารพดั อยา่ งเช่น ทาํ ใหม้ ีกาํ ลงั วงั ชา ทาํ ใหม้ ีจิตใจแจ่มใส ทาํ ใหม้ ีสุขภาพดี ทาํ ใหม้ ี สติปัญญาดี สามารถรักษาโรคไดบ้ างชนิด เป็นตน้ ผทู้ ีเชือคาํ ชกั ชวนโฆษณาดงั กลา่ วจึงไปซือตามคาํ ชกั ชวนของเพอื นฝงู ซึง โดยมากเป็นพวกทีติดสิงเสพยต์ ิดนนั อยแู่ ลว้ ดว้ ยความเกรงใจ เพือน หรือ เชือเพือน หรือตอ้ งการแสดงวา่ ตวั เป็นพวกเดียวกบั เพือน จึงใชส้ ิงเสพยต์ ิดนนั

๒. สาเหตุทีเกดิ จากการถูกหลอกลวง ปจจุบนั นม้ี ีผูขายสนิ คา ประเภทอาหาร ขนม หรอื เครอื่ งดื่มบาง รายใชส งิ่ เสพยต ิดผสมลงในสนิ คา ทขี่ าย เพ่ือใหผซู อ้ื สนิ คาน้นั ไป รับประทานเกดิ การติด อยากมาซือ้ ไปรบั ประทานอีก ซึง่ ในกรณนี ี้ ผู ซอ้ื อาหารน้ันมารบั ประทาน จะไมรสู ึกวาตนเองเกิดการตดิ สง่ิ เสพย ติดข้นึ แลว รูแตเ พียงวา อยากรบั ประทานอาหาร ขนม หรือ เคร่ืองดืม่ ท่ซี อื้ จากรา นนนั้ ๆ กวาจะทราบกต็ อเม่ือตนเองรูสึกผดิ สงั เกตตอ ความตอ งการ จะซื้ออาหารจากรานน้นั มารบั ประทาน หรอื ตอเมอื่ มีอาการเสพยต ดิ รุนแรง และมสี ุขภาพเส่ือมลง

๓. สาเหตุที่เกดิ จากความเจ็บปวย ๑. คนทม่ี ีอาการเจ็บปว ยทางกายเกิดขน้ึ เพราะสาเหตุตา ง ๆ เชน ไดร บั บาดเจบ็ รนุ แรง เปน แผลเร้ือรงั มคี วามเจ็บปวดอยเู ปนประจํา เปน โรคประจําตัวบางอยาง เปนตน ทาํ ใหไ ดร ับทกุ ขทรมานมาก หรือ เปน ประจาํ จึงพยายามแสวงหาวิธีท่จี ะชวยเหลือตนเองใหพน จากความทุกข ทรมานนน้ั ซง่ึ วธิ ีหนง่ึ ทที่ ําไดงายคือ การรับประทานยาท่ีมีฤทธริ์ ะงบั อาการ เจบ็ ปวดน้ันได ซ่ึงไมใชเ ปนการรกั ษาทีเ่ ปนตน เหตขุ องความเจบ็ ปว ย เพียงแตระงับอาการเจบ็ ปวดใหห มดไปหรือลดนอยลงไดช ั่วขณะ เมอื่ ฤทธ์ิ ยาหมดไปกจ็ ะกลับเจบ็ ปวดใหม ผูปว ยก็จะใชยานนั้ อีก เมื่อทาํ เชน น้ีไป นานๆ เกิดอาการติดยาน้นั ข้ึน

๒. ผทู ่ีมจี ติ ใจไมเ ปน ปกติ เชน มคี วามวติ ก กังวล เครยี ด มคี วามผิดหวงั ในชีวิต มีความเศรา สลดเสียใจ เปน ตน ทําใหสภาวะจติ ใจไมเ ปนปกติจนเกดิ การปว ยทาง จติ ขน้ึ จึงพยายามหายาหรอื สง่ิ เสพยต ิดทีม่ ฤี ทธิส์ ามารถ คลายความเครยี ดจากทางจิตไดช ัว่ ขณะหนง่ึ มารบั ประทาน แตไ มไ ดร กั ษาท่ตี น เหตเุ ม่ือยาหมดฤทธ์ิ จิตใจกจ็ ะกลบั เครียดอกี และ ผปู ว ยก็จะเสพสงิ่ เสพยต ิด ถา ทําเชน นี้ ไปเรือ่ ยๆ ก็จะทําใหผนู ้นั ติดยาเสพยติดในท่ีสดุ

๓. การไปซือยามารับประทานเองโดยไม่ ทราบสรรพคุณยาทีแทจ้ ริงขนาดยาทีควร รับประทาน การรับประทานยาเกินจาํ นวนกวา่ ทีแพทยไ์ ดส้ ังไว้ การรับประทานยาบางชนิด มากเกินขนาด หรือรับประทานติดต่อกนั นานๆ บางครังอาจมีอาการถึงตายได้ หรือ บางครังทาํ ใหเ้ กิดการเสพติดยานนั ได้

๔.สาเหตุอืนๆ การอยูใกลแหลง ขายหรือใกลแ หลง ผลติ หรือ เปน ผขู ายหรอื ผผู ลติ เอง จงึ ทาํ ใหม โี อกาสติดสิง่ เสพยติด ใหโทษน้ันมากกวา คนทัว่ ไปเม่อื มเี พ่อื นสนทิ หรือพ่ี นอ งท่ีติดส่ิงเสพยต ดิ อยู ผูน ั้นยอมไดเห็นวธิ ีการเสพ ของผูทอ่ี ยูใกลชดิ รวท้งั ใจเหน็ พฤติกรรมตา งๆ ของ เขาดวย และยงั อาจไดรบั คําแนะนําหรือชกั ชวนจากผู เสพดว ย จึงมโี อกาสตดิ ได

คนบางคนอยู่ในสภาพทมี ปี ัญหา เช่น ว่างงาน ยากจน ค่าใช้จ่ายเพมิ โดยมรี ายได้ลดลง หรือคงที มหี นีสินมาก ฯลฯ เมอื แก้ปัญหา ต่าง ๆ เหล่านีไม่ได้กห็ ันไปใช้สิงเสพย์ตดิ ช่วยผ่อนคลายความรู้สึก ใน ความทกุ ข์ยากต่างเหล่านี แม้จะรู้ว่าเป็ นชัวครู่ชัวยามกต็ าม เช่น กล้มุ ใจ ทเี ป็ นหนีคนอนื กไ็ ปกนิ เหล้า หรือ สูบกญั ชาให้เมาเพอื ทจี ะได้ลมื เรือง หนีสิน บางคนต้องการรายได้เพมิ ขนึ โดยพยายามทาํ งานให้ หนัก และ มากขนึ ทงั ๆ ทรี ่างกายอ่อนเพลยี มากจึงรับประทานยากระตุ้น ประสาทเพอื ให้สามารถทาํ งานต่อไปได้ เป็ นต้น ถ้าทาํ อยู่เป็ นประจําทาํ ให้ตดิ สิงเสพย์ติดนันได้

การเลียนแบบ การที่ไปเห็นผูท ่ีตนสนทิ สนมรักใคร เหรือเพอื่ น จึงเห็นวาเปน ส่งิ นาลอง เปน ส่ิงโกเก เปน สิ่งแสดงความเปนพวกเดยี วกัน จึงไปทดลองใชส่งิ เสพยติดน้ันจนติด คนบางคนมคี วามผดิ หวงั ในชีวติ ตนเอง ผดิ หวงั ในชีวติ ครอบครัว หรือผดิ หวงั ในชีวติ สังคม เพอื เป็ นการประชด ตนเองหรือคนอนื จึงไปใช้สิงเสพย์ตดิ จนตดิ ทังๆ ทที ราบ ว่าเป็ นสิงไม่ดี กต็ ามลกั ษณะการตดิ ยาเสพตดิ

ÑÂÒàʾµÔ´ºÒ§ª¹Ô´¡Í‹ ãˌà¡Ô´¡ÒõԴ䴌·§é ·Ò§Ãҋ §¡ÒÂáÅШµÔ 㨠áµÂ‹ Òàʾµ´Ô ºÒ§ª¹Ô´ ¡ç ¡Í‹ ãËàŒ ¡´Ô ¡Òõ´Ô ·Ò§´ŒÒ¹¨µÔ 㨠à¾Õ§Í‹ҧà´ÂÕ Ç ลกั ษณะทวั ไป ๑. ตาโรยขาดความกระปร้กี ระเปรา น้ํามูกไหล น้ําตาไหล รมิ ฝป ากเขยี ว คลา้ํ แหง แตก (เสพโดยการสูบ) ๒. เหงอ่ื ออกมาก กล่ินตัวแรง พดู จาไมสมั พันธกับความจรงิ ๓. บรเิ วณแขนตามแนวเสนโลหติ มีรอ งรอยการเสพยาโดยการฉดี ใหเ หน็ ๔. ทท่ี อ งแขนมีรอยแผลเปนโดยกรีดดวยของมคี มตามขวาง (ตดิ เหลา แหง ยา กลอ มประสาท ยาระงบั ประสาท) ๕. ใสแ วน ตากรองแสงเขมเปนประจาํ เพราะมานตาขยายและเพ่ือปด นยั นตาสแี ดงกํ่า

๖. มกั สวมเสอ้ื แขนยาวปกปดรอยฉีดยา โปรดหลกี ใหพ นจากบคุ คลท่มี ี ลักษณะดงั กลา ว ชีวิตจะสุขสนั ตต ลอดกาล ๗. มีความตองการอยางแรงกลาที่จะเสพยาน้ันตอไปอีกเร่ือยๆ ๘. มคี วามโนม เอียงทจ่ี ะเพ่ิมปรมิ าณของสิง่ เสพยต ิดใหมากขนึ้ ทกุ ขณะ ๙. ถาถงึ เวลาทีเ่ กิดความตองการแลว ไมไดเสพจะเกิดอาการขาดยาหรอื อยากยาโดยแสดงออกมา ในลักษณะอาการตา งๆ เชน หาว อาเจียน นาํ้ มกู นํ้าตาไหล ทรุ นทรุ าย คลมุ คลั่ง ขาดสติ โมโห ฉุนเฉยี ว ฯลฯ ๑๐.ส่งิ เสพยติดน้นั หากเสพอยเู สมอๆ และเปน เวลานานจะทําลาย สขุ ภาพของผเู สพทัง้ ทางรา งกายและจิตใจ ๑๑. ทําใหร า งกายซบู ผอมมีโรคแทรกซอ น และทําใหเ กิดอาการทางโรค ประสาทและจิตไมปกติ

 การติดยาทางกาย เป็ นการตดิ ยาเสพติดทผี ู้เสพมคี วามต้องการเสพ อย่างรุนแรง ทงั ทางร่างกายและจิตใจ เมอื ถึงเวลาอยาก เสพแล้วไม่ได้เสพ จะเกดิ อาการผดิ ปกตอิ ย่างมาก ทงั ทางร่างกายและจติ ใจ ซึงเรียกว่า \"อาการขาดยา\" เช่น การตดิ ฝิ น มอร์ฟี น เฮโรอนี เมอื ขาดยาจะมอี าการ คลนื ไส้ อาเจยี น หาว นํามูกนําตาไหล นอนไม่หลบั เจบ็ ปวดทวั ร่างกาย เป็ นต้น

 การติดยาทางใจ เปน การติดยาเสพตดิ เพราะจติ ใจเกิด ความตอ งการ หรือ เกดิ การติดเปน นิสยั หาก ไมไดเสพรางกายกจ็ ะไมเ กิดอาการผิดปกติ หรอื ทรุ นทรุ ายแตอ ยางใด จะมีบางก็เพียงเกิด อาการหงดุ หงิดหรือกระวนกระวายใจเทานน้ั

• วธิ สี ังเกตุอาการผูตดิ ยาเสพตดิ จะสังเกตว่าผู้ใดใช้หรือเสพยาเสพตดิ ให้สังเกตจากอาการและการเปลยี นแปลง ทงั ทางร่างกาย และจิตใจดงั ต่อไปนี ๑ การเปลยี่ นแปลงทางรางกาย จะสังเกตไดจ าก - สขุ ภาพรา งกายทรุดโทรม ซบู ผอม ไมม ีแรง ออนเพลีย - ริมฝป ากเขียวคลาํ้ แหง และแตก - รา งกายสกปรก เหง่อื ออกมาก กล่ินตวั แรงเพราะไมชอบอาบนา้ํ - ผวิ หนงั หยาบกรา น เปน แผลพพุ อง อาจมหี นองหรอื น้าํ เหลอื ง คลายโรคผิวหนัง - มรี อยกรีดดวยของมีคม เปน รอยแผลเปน ปรากฏทบี่ รเิ วณแขน และ/หรอื ทอ งแขน - ชอบใสเสอ้ื แขนยาว กางเกงขายาว และสวมแวน ตาดําเพอ่ื ปดบงั มา นตาที่ ขยาย

๒ การเปลยี นแปลงทางจติ ใจ ความประพฤตแิ ละบุคลกิ ภาพ สังเกตุได้จาก - เป็ นคนเจ้าอารมย์ หงดุ หงดิ ง่าย เอาแต่ใจตนเอง ขาดเหตุผล - ขาดความรับผดิ ชอบต่อหน้าที - ขาดความเชือมันในตนเอง - พูดจากร้าวร้าว แม้แต่บดิ ามารดา ครู อาจารย์ ของตนเอง - ชอบแยกตวั อยู่คนเดยี ว ไม่เข้าหน้าผู้อนื ทําตัวลกึ ลบั - ชอบเข้าห้องนาํ นาน ๆ - ใช้เงนิ เปลอื งผดิ ปกติ ทรัพย์สินในบ้านสูญหายบ่อย - พบอุปกรณ์เกยี วกบั ยาเสพตดิ เช่น หลอดฉีดยา เขม็ ฉีดยา กระดาษตะกัว - มัวสุมกบั คนทมี พี ฤติกรรมเกยี วกบั ยาเสพตดิ - ไม่สนใจความเป็ นอยู่ของตนเอง แต่งกายสกปรก ไม่เรียบร้อย ไม่ค่อยอาบนํา - ชอบออกนอกบ้านเสมอ ๆ และกลบั บ้านผดิ เวลา - ไม่ชอบทาํ งาน เกยี จคร้าน ชอบนอนตืนสาย - มอี าการวติ กกงั วล เศร้าซึม สีหน้าหมองคลาํ

๓ การสังเกตุอาการขาดยา ดงั ต่อไปนี - นํามูก นําตาไหล หาวบ่อย - กระสับกระส่าย กระวนกระวาย หายใจถี ปวดท้อง คลืนไส้ อาเจียน เบอื อาหาร นําหนักลด อาจมอี จุ าระเป็ นเลือด - ขนลุก เหงือออกมากผดิ ปกติ - ปวดเมอื ยตามร่างกาย ปวดเสียวในกระดูก - ม่านตาขยายโตขึน ตาพร่าไม่สู้แดด - มีอาการสัน ชัก เกร็ง ไข้ขนึ สูง ความดนั โลหิตสูง - เป็ นตะคริว - นอนไม่หลบั - เพ้อ คล้มุ คลัง อาละวาด ควบคุมตนเองไม่ได้

 อิทธิพลของเพื่อน เพอ่ื นเปน คนสาํ คญั ของเราก็จรงิ อยู แตถา เพือ่ นมี อิทธิพลตอเราในทางทไ่ี มดี พาไปเสยี ผูเ สียคน ในฐานะท่ี เราเปน เพือ่ นก็ตองใหส ติดว ยการตักเตือน และปฏเิ สธ ไมท ําตามและชกั จูงใหเขาไดใชช วี ติ ท่ีถูกตองและดีงาม แตถ า หากเปนเรอ่ื งท่ยี งุ ยาก เหลอื บา กวาแรงก็คงตอ ง โบกมือลาเลิกคบเสียดีกวา ถือคตทิ ีว่ า “มเี พอื่ นดีเพียง หนึง่ ดกี วา มเี พ่ือนเปน รอยและเลว”

 ความอยากรู อยากทดลอง ความคกึ คะนองของเยาวชน -ความ ตอ งการใหเปนทย่ี อมรับของกลุม เพอื่ นหรือเขา กับเพ่ือนไดไ ด  ความไมรูหรือรเู ทาไมถงึ การณของเยาวชนใชย าในทางท่ีผดิ หรือ หลงเชื่อคาํ โฆษณา  จติ ใจของเยาวชนเอง จติ ใจออนแแอ ใจคอไมหนกั แนน เม่ือมี ปญ หา ไมสมหวัง ไมไตรต รองหาเหตุผลเพ่ือแกป ญ หา กใ็ ชย าหรือยา เสพตดิ เปนเคร่อื งชว ยระงบั ความรสู ึกทกุ ขข องตน ใชบ อ ยๆ ทําให เกดิ การเสพติด ฉะนั้น การปองกนั และแกไขตนเองของเยาวชนให ปลอดภยั จากปญ หายาเสพติด สามารถกระทําไดโดย

๑. ศึกษาหาความรเู กี่ยวกบั โทษและพษิ ภยั ของยาเสพติด และระมดั ระวังในการใชยา ๒. รู้จกั เลอื กคบเพอื นทดี ี ส่งเสริมให้คดิ และกระทาํ สิงดมี ปี ระโยชน์กล้าพดู ปฏิเสธเพอื นทชี ักจูงไปในทาง ทไี ม่ดี เช่นการพูดปฏิเสธเพอื นทชี วนให้ลองเสพยาเสพ ตดิ

๓. ใชเ้ วลาวา่ ง และความอยากรู้ อยากลอง ไป ในทางทีเป็นประโยชนพ์ งึ ระลึกเสมอวา่ ตนเอง นนั มีคุณค่าทงั ต่อตนเอง ครอบครัว และสงั คม ๔. มีความภาคภมู ิใจและนบั ถือตนเอง ดว้ ยการ ไม่พงึ พาหรือเกียวขอ้ งอบายมุ ขและสิงเสพติด ใดๆ ซึงจะนาํ ความเสือม ไปสู่ชีวติ ของตนเอง

๕. รูจักแกไ ขปญ หาชีวิตของตนเองดวยเหตุ และผล ๖. รูจักบทบาทหนาทีข่ องตนเอง ดว ยการตั้งใจ ศกึ ษาเลาเรยี น เช่อื ฟงคาํ ส่งั สอนของ พอ แมแ ละ ประพฤตแิ ตใ นสิ่งท่ีดีงาม จะชว ยใหเ ยาวชนประสบ กับความสําเรจ็ ในชวี ิต

๗. ทาํ จิตใจใหร้ ่าเริงแจ่มใส เขา้ ใจวธิ ีการดาํ เนินชีวติ และยอมรับความเป็นจริง ทีตนเองเป็นอยู่ โดยนาํ หลกั ศาสนามาเป็นแนวทางในการดาํ เนินชีวติ จะช่วยให้ เยาวชนเกิดความมนั คงทางดา้ นจิตใจมากขึน ๘. เม่อื มปี ญ หา รูจักปรึกษาผใู หญ พอ แม หรือ ผูทีไ่ วว างใจ หรือ หนวยงานตา งๆ ทรี่ ับใหค าํ ปรึกษา ในฐานะทเี่ ยาวชนเปน สมาชกิ คนหนึ่งของครอบครัว จงึ ควรมสี วนชวย พอแม ผูปกครอง

 การปอ งกันปญ หายาเสพตดิ แกครอบครวั ของตนเอง ๑. ชว ย พอ แม สอดสองดูแลนอ งๆ หรอื สมาชกิ คนอืน่ ๆ ภายในครอบครัวมิใหก ระทําส่ิงทีผ่ ิด เชน การคบเพือ่ นท่ีไมดี การม่ัว สุมในอบายมุขและสง่ิ เสพติด เยาวชนควรทาํ ตัวเปนแบบอยางท่ดี ีแก  สมาชิกคนอนื่ ๆภายในครอบครัวดวย เชน การใชเวลาวางใหเ ปน ประโยชน ความมีระเบยี บวนิ ยั ความขยนั หม่นั เพียร ๒. ชวยสรางความสัมพนั ธอันดีตอกนั ระหวางสมาชกิ ใน ครอบครัว มคี วามรกั ใครกลมเกลียวและมคี วามเขาใจกัน ชว ยเหลือ ซ่ึงกันและกนั เมื่อมีปญหา

๓. เมือมีโอกาสควรบอกกล่าวหรือตกั เตือนสมาชิก คนอืนๆภายในครอบครัว โดยเฉพาะนอ้ งๆใหร้ ู้เกียวกบั โทษพิษภยั ของยาเสพติดวธิ ีการใชย้ าอยา่ งปลอดภยั ๔. ชวยทาํ ให พอ แม เกิดความสบายใจและ ภาคภมู ิใจดว ยการประพฤตดิ ี ตั้งใจศกึ ษาเลา เรียน แบงเบาภาระหนาทก่ี ารงาน ของพอ แม ภายในบา น

 การปองกนั การตดิ ยาเสพตดิ ๑. ปอ งกันตนเอง ไมใชย าโดยมไิ ดร บั คําแนะนําจากแพทย และจงอยา ทดลองเสพยาเสพติดทุกชนิดโดย เดด็ ขาด เพราะติดงา ยหายยาก

ป้ องกนั ตนเอง ทําได้โดย.. • ศึกษาหาความรู้ เพอื ให้รู้เท่าทนั โทษพษิ ภยั ของยาเสพติด • ไม่ทดลองใช้ยาเสพติดทุกชนิดและปฏเิ สธเมอื ถูกชักชวน • ระมดั ระวงั เรืองการใช้ยา เพราะยาบางชนิดอาจทาํ ให้เสพตดิ ได้ • ใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์ • เลอื กคบเพอื นดี ทชี ักชวนกนั ไปในทางสร้างสรรค์ • เมอื มปี ัญหาชีวติ ควรหาหนทางแก้ไขทไี ม่ข้องเกยี วกบั ยาเสพติดหากแก้ไขไม่ได้ควรปรึกษาผู้ใหญ่

 การปองกนั การตดิ ยาเสพตดิ ๒. ปองกนั ครอบครัว ควรสอดสองดูแลเดก็ และบุคคลในครอบครวั หรือที่อยู รวมกัน อยา ใหเกย่ี วขอ งกับยาเสพติด ตองคอยอบรมสั่ง สอนใหร ถู งึ โทษและภัยของยา-เสพตดิ หากมผี เู สพยาเสพ ตดิ ในครอบครวั จงจดั การใหเ ขา รักษาตัวที่โรงพยาบาลใหหาย เดด็ ขาด การรักษาแตแรกเร่ิมติดยาเสพตดิ มีโอกาสหายไดเร็ว กวาที่ปลอ ยไวน านๆ

ปองกนั ครอบครัว ทําไดโ ดย • สรา งความรกั ความอบอนุ และความสัมพนั ธ อนั ดรี ะหวา งสมาชกิ ในครอบครวั • รแู ละปฏบิ ัติตามบทบาทหนา ท่ีของตนเอง • ดแู ลสมาชกิ ในครอบครัว ไมใหข อ งเกย่ี วกับยา เสพติด • ใหก าํ ลงั ใจและหาทางแกไข หากพบวา สมาชกิ ใน ครอบครวั ติดยาเสพติด

๓. ปอ งกันเพอ่ื นบาน โดยชวยชี้แจงใหเ พอื่ นบานเขา ใจถึงโทษและ ภยั ของยาเสพติด โดยมิใหเ พ่ือนบา นรเู ทา ไมถึงการณ ตอ งถูกหลอกลวง และ หากพบวา เพ่อื นบา นตดิ ยาเสพติด จงชวยแนะนําใหไปรกั ษาตวั ทโ่ี รงพยาบาล ๔. ปอ งกันโดยใหค วามรวมมือกับทางราชการ เมื่อทราบวาบา น ใดตําบลใด มียาเสพติดแพรระบาดขอใหแ จง เจาหนาทตี่ าํ รวจทกุ แหง ทกุ ทอ งทีท่ ราบ หรอื ทศ่ี นู ยปราบปรามยาเสพตดิ ใหโทษ กรมตาํ รวจ (ศปส.ตร.) โทร. 2527962 , 0-252-5932 และ ทส่ี าํ นกั งาน คณะกรรมการปอ งกันและปราบปรามยาเสพตดิ (สํานักงาน ป.ป.ส.) สํานกั นายกรัฐมนตรโี ทร. 2459350-9

๕. ปอ งกนั ชมุ ชน ทาํ ไดโ ดย • ชว ยชมุ ชนในการตอตา นยาเสพติด • เมือ่ ทราบแหลง เสพ แหลงคา หรือผลิตยาเสพติด ควรแจงใหเ จาหนาท่ที ราบทนั ที ท่ี... • สาํ นกั งาน ป.ป.ส. โทร. 02-2459414 หรือ 02- 2470901-19 ตอ 258 โทรสาร 02-2468526 • ศนู ยรบั แจง ขาวยาเสพตดิ สาํ นักงานตาํ รวจ แหงชาติ โทร. 1688

 ขอคดิ สําหรบั ผกู ระทาํ ผดิ เกีย่ วกบั ยาเสพตดิ “ ไมว า จะไดรับทรัพยส นิ เงินทองมากเทา ใดจากการ ผลติ การคายาเสพตดิ ไมวาจะเปล่ยี นแปลงสภาพ ทรัพยสิน หรือโอนไปอยใู นชอ่ื ของใครกต็ าม เชน ลูก เมยี ญาตพิ น่ี อ ง หรือคนใกลชดิ หากไมส ามารถ พสิ จู นไ ดว า ทรพั ยสินเหลานน้ั ไดมาอยา งบริสทุ ธิ์ ศาลจะสัง่ รบิ ทรัพยสินนั้นใหต กเปนของ “กองทนุ ปองกันและปราบปรามยาเสพตดิ ” ตอไป และยงั ตอ งทนทุกขทรมานอยใู นคุกอกี ดว ย “


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook