Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เศรษฐศาสตร์ ม.2 การจัดสรรทรัพยากร

เศรษฐศาสตร์ ม.2 การจัดสรรทรัพยากร

Published by orawichada.k, 2021-08-20 09:32:26

Description: การจัดสรรทรัพยากร

Search

Read the Text Version

การจัดสรรทรัพยากร เศรษฐศาสต ์ร ม.2 ชื่อ-นามสกลุ ……………………………………………………… ชน้ั ………………… เลขท…ี่ ……………… นางสาวอรวชิ ดา กาวลิ นักศึกษาปฏิบตั ิงานวชิ าชพี ครู

SOC KRU AM สวัสดีคะ เพือ่ นๆ ไป เรยี นรูวชิ า การจดั สรรทรพั ยากร เศรษฐศาสตรกัน! ช่อื -นามสกุล...................................................... ปจ จัยการผลิต ช้ัน............ เลขที.่ ........... 1.การผลติ สนิ คา้ และบริการ 1.1 ความหมายและความสาํ คัญของการผลติ สนิ คา และบรกิ าร กระบวนการผลติ การผลิต คอื การรวบรวมปจ จยั การผลิต (ที่ดิน แรงงาน ทนุ และการประกอบการ) มาผานกระบวนการ ผลติ เปนสนิ คาหรอื บริการ ในการผลิตสินคา และบริการ ผูผ ลติ ยอมตองการผล ตอบแทนจากการผลิต (ตองการกําไรอยูแลวเดอ เพราะ ฉะน้ันจะมาขายฟรๆี ไมไ ด) สนิ คาและบรกิ าร เงิน นบั เปน ทุนในทาง เศรษฐศาสตรหรอื ไม? ประเภทของสินคา้ สนิ คา ไรร าคา: หรือ ทรัพยเ สรี เปน สนิ คาที่ สนิ คา หมายถงึ สงิ่ ท่ีผลติ ขน้ึ มาเพอื่ ตอบสนองความ ไดม าเปลาๆ มีอยูต ามธรรมชาติ แตมี ตองการของมนุษย แบง ออกเปน 2 ประเภท คอื สินคา ประโยชนต อ มนษุ ย เชน อากาศ สายลม นาํ้ ไรราคาและสินคา ทางเศรษฐศาสตร ในแมน้าํ สนิ คาทางเศรษฐศาสตร: หรือ เศรษฐทรัพย เปน สนิ คาทม่ี ตี น ทุน มรี าคา มีปริมาณท่จี าํ กดั เม่ือ เทยี บกับความตองการ เชน อาหาร ยา เสอ้ื ผา SOC BY KRU AM

ลาํ ดบั ขน้ั ของการผลติ การผลติ ขนั้ ปฐมภมู ิ (Primary Production): กรรมวธิ ีการใน ผลิตไมซ ับซอน ผลผลิตท่ีไดจะนําไปเปน วตั ถดุ ิบในการผลิตขั้น ตอไป เชน การทําเกษตร เลี้ยงสัตว การประมง การผลติ ขนั้ ทตุ ิยภมู ิ (Secondary Production): การนํา ผลผลิตขน้ั ปฐมภูมิไปผลิตเปนสนิ คาใหมห รือผลผลิตใหม เชน การนาํ มาลําไยมาอบแหง การทําผลไมก ระปอง การผลติ ข้ันตติยภูมิ (Tertiary Production): การนํา ผลผลิตข้ันปฐมภูมแิ ละทุติยภูมิไปสงใหถึงมอื ผูบรโิ ภคดว ย วิธีการตางๆ และการอํานวยความสะดวกในดานตางๆ เชน การประกันภัย การคา ปลกี การธนาคาร โดยในประเทศที่ พัฒนาแลวจะมขี ั้นการผลิตแบบตตยิ ภูมมิ ากกวาขั้นอ่นื ๆ นอกจากการผลติ สินคา ยงั มี การบรกิ าร (ผลติ สินคา จับตอ งได บรกิ าร จบั ตอ งไมไ ด) เกดิ จากการก ระทําท่เี กี่ยวกับแรงงานของบคุ คล ความรู ความชาํ นาญ และการใหค าํ ปรึกษาหรือการจัดการ เชน การกีฬา การพักผอ น การรกั ษาพยาบาล การประกนั ภัย การธนาคาร เปนตน รหู มือไร? เศรษฐกิจ ตางกับเศรษฐศาสตรอ ยา งไร? เศรษฐกิจ พดู ถงึ กจิ กรรมท่เี กยี่ วกับการผลติ การบรโิ ภค การซือ้ ขายแลกเปลีย่ น การกระจายสนิ คา และบรกิ ารตางๆ ของคนที่อยูร วมกันในสังคม สวนเศรษฐศาสตรจ ะศึกษา เกี่ยวกบั พฤติกรรมของบุคคลและสงั คมในการดาํ เนินกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ดังกลา ว NOTE ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………

1.2 หลักการผลติ สนิ ค้าและบริการอยา่ งมีประสิทธิภาพ การผลิตสินคา และบรกิ ารตอ ง ทรัพยากร < ความตองการ ดังน้นั ผผู ลิตท่ดี ีควรคาํ นงึ การใชทรัพยากรอยางมีประสิทธภิ าพ (เกดิ ผล คํานงึ ถึงอะไร สาํ เรจ็ เพมิ่ ขึ้นโดยใชท รพั ยากรและตน ทุนเทา เดิม/ ประสบผลสําเรจ็ เทาเดิมแตใชทรัพยากรและตนทุนลด บางคะเพอ่ื นๆ ลง) คุมคา และเกิดประโยชนส งู สุด • การจัดสรรการใชท รัพยากรของประเทศ: ดูวา การผลติ สินคาและบริการตอบสนองความตอ งการของ ประชาชนมากแคไ หน การใชท้ รพั ยากรให้มีประสิทธิภาพ ดา้ นบุคลากร ใชห ลักการแบงงาน: แบง ตามความถนดั หรือความสามารถของบคุ คล ด้านการจดั การ มีการวางแผนและควบคมุ การผลิตใหบ รรลุ เปาหมาย คดั เลอื กส่งิ ทีจ่ ะนาํ มาผลติ สนิ คาหรอื บรกิ าร เพราะปจ จัยในการผลติ มีผลตอ ตนทุน ดา้ นปจั จยั การผลติ การผลติ เพราะฉะนน้ั การคดั เลือกไมดี กจ็ ะไดสินคา ท่ไี มม ีคณุ ภาพ หรอื ปจจัยการ ผลิตมรี าคาสงู เกินไป ตนทุนการผลิตก็จะสูงตามไปดว ย 2. ปจั จัยการผลิต 2.1 ความหมายและประเภทของปจ จัย การผลติ สินคาและบริการ

2.2 ปจ จยั ท่ีมอี ิทธพิ ลตอ การผลิตสนิ คาและบริการ ผลตอบแทนทางดานทนุ ปจ จัยดา นราคาของ ปจ จยั ทางดานคณุ ธรรม ความคมุ คาของปจจยั การผลติ สนิ คาและบรกิ าร ควรผลิตสนิ คา และบรกิ าร ในการผลติ สนิ คา และ ใชท รัพยากรในปริมาณทีน่ อยแตคมุ โดยพิจารณาถงึ ผล มผี ลตอการตดั สินใจซอื้ ของ บริการควรตระหนักถึง คา โดยในการใชป จ จยั การผลิตหรือ ตอบแทนทค่ี าดวาไดร ับนัน้ ผบู รโิ ภคและการผลติ สนิ คา ผลกระทบทอ่ี าจเกิดกับสงิ่ ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร การ จะคุม คากับการลงทนุ หรอื และบริการของผูผ ลิต ควร แวดลอ มและระบบนเิ วศ ใชปจ จัยการผลิตใหนอ ย พอเหมาะ ไม กําหนดราคาสนิ คาและ เชน การหลกี เล่ียงการใช ทาํ ใหเสียตน ทุนตํา่ บริการใหเหมาะสมกบั สารเคมีที่เปนอันตราย กําลงั ซอ้ื ของผบู ริโภค และยอ ยสลายยาก ตนทนุ การผลิต และราคา ของรานคแู ขง 2.3 เทคโนโลยกี ารผลิตสินค้าและบริการ 2.3.1 ความหมายของเทคโนโลยี เทคโนโลยี คือ การนาํ ความรูทางวทิ ยาศาสตรมาใชใหเ กิดประโยชนในทางปฏิบัติ ทางอตุ สาหกรรม เชน การเพาะเลี้ยงเนอ้ื เย่อื เพ่อื ขยายพนั ธุ กลว ยไม การลดปรมิ าณคอเลสเตอรอลในไขแดง การใชเ ครอ่ื งจกั รกลในการผลติ สนิ คา การทําธุรกรรมทางการเงนิ การทําธรุ กรรมทางการเงินผาน คอมพวิ เตอรห รือโทรศพั ทเ คลือ่ นที่ 2.3.2 การนําเทคโนโลยีมาใชในการผลติ สนิ คาและบรกิ าร • ความรูความชาํ นาญหรือวิธกี ารในการใชท รัพยากรเพื่อการผลิต การบรโิ ภค และ การกระจายผลผลิต อาจเกดิ จากการสบื ทอดความร/ู ภูมปิ ญ ญาเดมิ - การปลูกพืชไมใ ชดนิ การผสมพนั ธขุ าวสายพันธุใ หมๆ • เทคโนโลยกี ารผลิตชว ยเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพของปจจยั การผลิตและประสิทธภิ าพการ ผลติ (ชว ยเพิ่มผลผลติ ลดตนทุนการผลิต) เทคโนโลยี Emergency Alert ระบบเตอื นภยั ฉกุ เฉิน การพัฒนาปญญาประดิษฐ หรอื artificial intelligence (AI) สาํ หรบั อุตสาหกรรม scan เ ื่พอ ูด emergency การผลติ เปน อีกหนึ่งเทคโนโลยสี ําคัญทถี่ กู alert ของแ ตละประเทศ กลา วถึงในยุคของการพฒั นาอุตสาหกรรม 4.0 NOTE ………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………

2.3.3 ผลของการใชเ ทคโนโลยีในการผลติ สนิ คา และบรกิ าร เทคโนโลยีการผลติ มีขอดี-ขอ เสีย ผลที่มตี อ ผูผลติ อยา งไรบาง • ชวยประหยดั ตน ทนุ การผลติ • เพม่ิ ขดี ความสามารถในการแขง ขนั • เทคโนโลยที ด่ี ีจะชวยสรา งผลผลติ ในปริมาณและคุณภาพเทาเดิม แตใชทรัพยากรหรอื ปจจัยการผลิต นอยลง/ ปจจัยการผลติ เทา เดิม แตผลผลิตเพ่มิ ข้นึ แตต น ทนุ หรือคา ใชจ ายนอยลง ผลทีม่ ีตอผบู ริโภค • เมื่อผลผลิตเพ่มิ ข้ึน ราคาสนิ คา และบริการลดลง ผูบ รโิ ภคเขา ถงึ สนิ คา และบริการไดงา ยขึ้น (เพราะ สนิ คา และบรกิ ารมรี าคาถูกลง/มเี งนิ เทา เดิมแตบริโภคไดมากขึ้น) ผลทมี่ ตี อ ส่ิงแวดลอม • มที ง้ั ผลดแี ละผลเสยี • ผลด:ี เชน ชวยติดตามและตรวจสอบมลพษิ ทางนํ้าและทางอากาศ ชวยกําจดั สารมลพิษจาก กระบวนการผลิต • ผลเสีย: เชน เทคโนโลยีบางอยา งเปน ตัวเรงใหท รัพยากรและสง่ิ แวดลอมถูกทําลายอยางรวดเรว็ เชน การใชเลอ่ื ยไฟฟา ตดั ทาํ ลายตน ไม เทคโนโลยีทําใหเ กิดการขยายตวั ของโรงงานอุตสาหกรรม นํามาซ่ึง ปญหามลภาวะ NOTE ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………

2.4 การผลิตสนิ ค้าและบริการ 2.4.1 โครงสรางการผลติ ของไทย ภาคเกษตรกรรม ภาคบริการ • การผลติ ในภาคบริการรวมถงึ การ ลักษณะภมู ปิ ระเทศ ลกั ษณะภมู ิ คา การธนาคาร คมนาคมขนสง การ อากาศ และทรัพยากรธรรมชาติ เหมาะ กอสรา ง การทอ งเท่ียว ฯลฯ แกก บั การเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว การใช • มีความสาํ คญั ตอ เศรษฐกจิ ของ ที่ดนิ สว นใหญข องประเทศจึงเปน ไปเพ่อื ประเทศ การเกษตรกรรม scan เพ่อื อา นการ • มกี ารเพาะปลกู เพอ่ื การคา ทําให ปรบั ตวั ของ ภาคการเกษตรมีความสําคัญตอ เศรษฐกจิ ของประเทศไทย อุตสาหกรรมการ ทองเทีย่ วทวั่ โลก • สินคาสาํ คัญ: ขาว ยางพารา ภายใตก ารระบาด ของ Covid-19 ภาคอุตสาหกรรม • ราคาของสนิ คาอุตสาหกรรมคอ น ขาวมีเสถียรภาพ รฐั บาลจงึ เนน ใหม กี าร ผลิตสินคาอุตสาหกรรมใหมๆ เพือ่ ทดแทนการนาํ เขา และสงออก • ควบคุมผลผลติ ได • สินคา สําคญั : เครอื่ งคอมพวิ เตอร 2.4.2 ปญหาการผลิต ภาคบรกิ าร ภาคเกษตรกรรม • สาเหต:ุ คุณภาพดินเสอ่ื ม การใชท ่ีดนิ ไมเ หมาะสม การจดั การนํ้าทีไ่ มเ ปนระบบ ความผันผวนของสภาพ ภมู อิ ากาศ ความเสีย่ งของราคาสนิ คา ความลา ชาใน การปรบั ปรงุ เทคโนโลยกี ารผลิตและการบริหาร จดั การ สินคา เกษตรไมไ ดมาตรฐานความปลอดภัย ภาคอตุ สาหกรรม • สาเหต:ุ ขีดความสามารถในการแขงขันตํา่ การ • สาเหต:ุ ความผันผวนในระบบเศรษฐกิจและ ลงทนุ จากภายนอกเคลื่อนยา ยฐานการลงทุน การเงนิ โลก การเปดเสรที างการคา ทําใหเกดิ การ แรงงานขาดทักษะ เพิ่มขน้ึ ของการแขงขันทางการคา อตั ราดอกเบีย้ เงินฝากลดลง (=ปรมิ าณเงินฝากโดยรวมลดลง) แต อตั ราดอกเบย้ี เงินกกู ลับเพ่มิ ข้นึ

3. การคมุ้ ครองผ้บู ริโภค • ผูบรโิ ภค: คือ ผซู ื้อหรือผใู ชสินคา และไดร บั บริการจากผูประกอบธุรกจิ หรอื ไดร ับการชกั ชวนจากผูประกอบธรุ กิจ เพอื่ ใหซื้อสนิ คาหรือรบั บรกิ าร 3.1 การรกั ษาและคมุ ครองสิทธิประโยชนข องผูบรโิ ภค • (รฐั ธรรมนูญ 2560) “สิทธขิ องผบู ริโภคยอ มไดรบั ความคมุ ครอง บุคคลมีสทิ ธริ วมกนั จัดตงั้ เปนองคก รทม่ี ีความเปน อสิ ระเพื่อใหเ กิด พลงั ในการคุมครองและพทิ กั ษสิทธิของผบู ริโภคโดยไดรบั การสนับสนุนจากรัฐ ท้ังน้ี หลักเกณฑและวิธกี ารจัดตัง้ อาํ นาจในการเปน ตัวแทนของผูบริโภค และการสนบั สนนุ ดานการเงนิ จากรฐั ใหเ ปนไปตามทก่ี ฎหมายบญั ญตั ิ 3.2 กฎหมายคมุ ครองสทิ ธผิ ูบรโิ ภค

3.2 กฎหมายคมุ ครองสทิ ธิผบู รโิ ภค 3.3 หนว ยงานคมุ ครองสทิ ธผิ ูบ รโิ ภค 1. สํานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) 2. สํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค (สคบ.) • ปกปอ งคมุ ครองสุขภาพของประชาชนจากการ • สง เสรมิ และสนบั สนุนการใหความรูเก่ยี วกบั การคุม ครอง บริโภคผลิตภัณฑสุขภาพ ผูบ ริโภคในทุกระดบั การศกึ ษา • สง เสริมพฤติกรรมการบรโิ ภคที่ถูกตอ งดว ย • สนบั สนนุ ทาํ การศกึ ษาและวจิ ยั ปญหาเก่ียวกบั การ ขอ มลู ทางวิชาการ 2. สํานักงานคณะกรรมการคุมครองผบู รโิ ภค (สคบ.) คุมครองผูบ รโิ ภครวมกบั สถาบนั การศกึ ษาและหนวยงานอื่น • รับเรื่องจากผูบรโิ ภคทไี่ ดรับความเดอื ดรอ นหรือ • เผยแพรความรทู างวิชาการแกผ บู รโิ ภค • ประสานงานกับหนว ยงานของรัฐ หนว ยงานราชการ ท่มี ี เสียหายจากการกระทําของผูป ระกอบธุรกิจ อาํ นาจควบคุม สง เสริมและกาํ หนดมาตรฐานของสนิ คา และ • ตดิ ตามสอดสองพฤตกิ รรมของผปู ระกอบธรุ กจิ บริการ ทม่ี ีลกั ษณะละเมิดลขิ สิทธขิ์ องผบู รโิ ภค

3.2 หนวยงานคุมครองสทิ ธผิ ูบริโภค เพ่ือนๆ ตอง ตระหนกั ในสิทธขิ อง 3. สาํ นกั งานมาตรฐานผลติ ภัณฑอ ตุ สาหกรรม (สมอ.) ตนเองกันนะคะ เปน หนว ยงานสังกัดกระทรวงอตุ สาหกรรม ทาํ หนาทก่ี าํ กบั ควบคมุ คุณภาพและมาตรฐานผลิตภณั ฑ สินคาอตุ สาหกรรมและรับผิดชอบในการคุมครองผบู รโิ ภค เครอ่ื งหมาย มาตรฐานบังคบั กาํ หนดเพอื่ ปองกันความเสีย หายและเพอ่ื ความปลอดภัย เคร่อื งหมาย มาตรฐานทว่ั ไป รบั รองคณุ ภาพผลิตภณั ฑทว่ั ไป 4. กรมการคา ภายใน 5. ศนู ยค ุมครองผใู ชบรกิ ารทางการเงิน (ศคง.) เปนหนว ยงานสังกัด กระทรวงพาณิชย • ภายใตก ารกาํ กับของ ธนาคารแหง ประเทศไทย • พฒั นาและสง เสรมิ ระบบตลาดและการตลาดใหเ กิด • คมุ ครองผูใชบ รกิ ารทางการเงนิ ประสทิ ธิภาพ • คุมครองสทิ ธิ สง เสริมความรูทางการเงนิ แกผ ูใชบ ริการ • ดแู ลราคาสนิ คาเกษตรใหม เี สถียรภาพและสรางความม่งั คัง่ ทางรายไดแ กเกษตรกร 6. กองบัญชาการตํารวจทองเทยี่ ว • ดูแลราคาและปรมิ าณสินคาและบริการ ดูแลภาระคา ครอง ชพี ใหเ ปน เหมาะสมและเปนธรรม • ชว ยเหลอื อาํ นวยความสะดวก ใหค วามปลอดภัยแก • เสริมสรางมาตรฐาน ชั่ง ตวง วดั ใหท นั ตอ การเปลีย่ นแปลง นักทองเที่ยว • ดแู ลการประกอบธรุ กิจใหมกี ารแขงขันอยางเสรี เปนธรรม • รับเรอื่ งรอ งเรยี นจากนักทอ งเทย่ี วทถ่ี กู หลอกลวง และมีจริยธรรม 7. มลู นธิ เิ พื่อผบู ริโภค • สง เสริมการศึกษาวิจัยและเผยแพรความรเู กย่ี วกบั การคุมครอง ผูบริโภค • เปน องคกรเอกชนสาธารณะประโยชน • รบั เรือ่ งรอ งทกุ ขและแกปญ หาการละเมดิ สิทธิผูบรโิ ภค • เพอื่ สง เสรมิ ใหผูบ รโิ ภคไดร บั การคุม ครองตามสทิ ธิอันพงึ มี พงึ ได • สนับสนุน สง เสริม ใหผ บู ริโภคและองคก รผบู รโิ ภคตางๆ ไดม สี ว นในการคุมครองผบู ริโภค

3.4 แนวทางการปกปอ งสิทธขิ องผูบริโภค 3.4.1 แนวทางปฏิบัติสําหรับผูบริโภคในการซ้ือสนิ คาและบรกิ าร 1) ตรวจดฉู ลากสนิ คาเพือ่ 2) สอบถามขอ เทจ็ จรงิ เกีย่ วกบั 3) ศึกษาเง่อื นไขหรือขอ จาํ กดั ของสินคา เชน วนั เปรียบเทียบขอมลู สนิ คา คุณภาพและปริมาณของสินคา เดือนปท ผ่ี ลิตหรอื หมดอายุ วิธกี ารใช วิธกี ารเก็บ แตละยี่หอกอ นซอ้ื จากผขู ายหรอื จากผูทเี่ คยใช รกั ษา คาํ เตือนหรอื ขอ ควรระวังของสินคา สินคา นน้ั แลว 5) ผูบ รโิ ภคอยา ดว นหลงเชือ่ คําโฆษณาของสนิ คา และบรกิ าร ควรศกึ ษาเง่ือนไข 4) รอ งขอใหหนวยงานทเี่ กย่ี วของตรวจ รายละเอียดอน่ื ๆ สอบคุณภาพและปรมิ าณของสนิ คา 3.4.2 แนวทางปฏบิ ตั ิหลงั จากซ้ือสนิ คาหรอื บรกิ าร • ผบู ริโภคมสี ิทธเิ ก็บรักษาพยานหลักฐานตางๆ ที่แสงดถงึ การละเมิดสทิ ธิของผบู รโิ ภค • เมอ่ื เกดิ การละเมิดสทิ ธิของผูบรโิ ภคขน้ึ ผบู ริโภคมสี ิทธิรองเรียนตามหนว ยงานท่เี กย่ี วของ เพือ่ นๆ อยาลมื เก็บเอกสารการโฆษณาหรือ ใบเสร็จรบั เงินหลงั ซ้ือสนิ คา ดว ยนะครบั

3.4.3 การเตรยี มตวั เพอื่ รอ งทกุ ขสาํ หรบั ผูบ ริโภค กรณีร้องเรียนเร่ืองบา้ น ทีด่ นิ จดั สรร และอาคารชุด เตรยี มเอกสารหรอื หลกั ฐานของผรู้ อ้ งเรียน การยืน่ เร่ืองร้องเรยี น • เอกสารทต่ี อ งเตรยี ม: บตั รประจําตวั ประชาชน บัตรประจําตวั ขาราชการ ทะเบียนบา นผูร องเรียน รอ้ งเรยี นด้วยตนเอง หนงั สอื จอง สัญญาจอง สญั ญาซอื้ ขาย ใบเสรจ็ รบั • กรอกรายละเอียดในแบบฟอรมบันทกึ คํารองเรยี น เงนิ เอกสารรับเงนิ เรยี งลาํ ดบั การชําระคางวด แนบเอกสาร มอบใหเ จา หนาท่ี หน่วยงานรบั เรอ่ื งรอ้ งเรียน มอบอํานาจให้ สคบ. • ผูรอ งเรยี นกรอกรายละเอยี ดในแบบฟอรมหนงั สอื • สาํ นกั งานคณะกรรมการคุมครองผบู ริโภค มอบอาํ นาจ พรอ มตดิ อากรณแสตมป • สาํ นักงานคณะอนกุ รรมการคุมครองผูบริโภคประจาํ จงั หวดั มอบอํานาจให้ผู้อนื่ • ผรู อ งเรียนจะตองมหี นงั สอื รบั รองมอบอํานาจจากผู บริโภค พรอ มติดอากรแสตมป นาํ มาย่นื ตอเจา หนาที่ NOTE …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook