Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พระไตรปิฏกและพุทธศาสนสุภาษิต ม.2

พระไตรปิฏกและพุทธศาสนสุภาษิต ม.2

Published by orawichada.k, 2021-09-15 08:49:25

Description: พระไตรปิฏกและพุทธศาสนสุภาษิต

Search

Read the Text Version

SOC KRU AM พระไตรปิฎก และพุทธศาสนสุภาษิต ชื่อ-นามสกุล................................................................................................ ชั้น............... เลขที่..............

พระไตรปิฎก หมายถึง คัมภีร์ ตะกร้าที่รวบรวมคำสอน 3 หมวดหมู่ หรือคัมภีร์ 3 ของพระพุทธเจ้าไม่ให้กระจัดกระจาย ประกอบ ด้วย พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก และพระอภิธรรมปิฎก เดิมพระไตรปิฎกถ่ายทอดด้วยการท่องจำกันมาด้วยปากเปล่า (มุขปาฐะ) จน ได้รับการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรในราวพุทธศตวรรษที่ 5 ส่วนพระไตรปิฎก ฉบับไทยได้รับการตีพิมพ์ครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ 5 พระวินัยปิฎก เป็นสิกขาบท ของพระภิกษุ - สุตตวิภังค์: ศีลสำคัญของภิกษุ ภิกษุณี - ขันธกะ: สังฆกรรม หรือพิธีกรรมของสงฆ์ วัตรปฏิบัติ มารยาทของพระ - ปริวาร: คู่มือพระธรรมวินัย อธิบายแบบถามตอบเพื่อความเข้าใจ พระสุตตันตปิฎก พระธรรมเทศนาของพระพุทธเจ้า ทีฆนิกาย มัชฌิมนิกาย สังยุตตนิกาย อังคุตรนิกาย ขุททกนิกาย - หมวดที่รวบรวม - หมวดที่รวบรวม - ประมวลเรื่อง - จัดลำดับธรรมะไว้ - รวบรวมข้อธรรมที่ พระสูตรขนาดยาวไว้ พระสูตรขนาดกลาง ประเภทเดียวกันไว้ เป็นหมวด ๆ ตาม ไม่จัดเข้าใน ๔ หมวด ส่วนหนึ่งไม่ปนกับ ไม่สั้นเกินไป ไม่ยาว เป็นหมวดหมู่ เช่น ลำดับตัวเลข ข้างต้นมารวมไว้ใน พระสูตรประเภทอื่น เกินไปไว้ส่วนหนึ่ง เรื่องพระมหากัสสป - 9,557 สูตร หมวดนี้ทั้งหมด - 34 สูตร - 152 สูตร เรียกกัสสปสังยุต - 7,762 สูตร พระอภิธรรมปิฎก ใจความสำคัญของหลักธรรมทั้งมวล ……………………N…O……T…E……………………… ธัมมสังคณี คัมภีร์ที่รวบรวมเป็นหมวดต่างๆ แล้วอธิบายแยกออกเป็นประเภท ……………………………………………………… วีภังค์ แยกข้อธรรมะในธัมมสังคณีแล้วอธิบายรายละเอียด ……………………………………………………… ธาตุกถา จัดข้อธรรมะในขันธ์ ธาตุ อายตนะ ว่าเข้ากันได้หรือไม่ อย่างไร ……………………………………………………… ปุคคลบัญญัติ คัมภีร์ที่บัญญัติเรียกบุคคลต่างๆ เฉพาะตามคุณธรรมที่มี ……………………………………………………… ……………………………………………………… กถาวัตถุ อธิบายความเห็นข้อขัดแย้งกัน โดยเน้นที่ความคิดของพระเถรวาทที่ถูกต้อง ยมก ยกธรรมขึ้นเป็นคู่แล้วอธิบาย เช่น กุศลกรรมบถ อกุศลกรรมบถ ปัฏฐาน ปัจจัยหรือเงื่อนไขทางธรรม 24 ประการ ว่าธรรมข้อใดเข้าเงื่อนไขข้อใด

การสังคายนาและการเผยแพร่ สมัยแรกสืบทอดด้วยการท่องจำ อาจเกิดความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนในพระธรรมคำสอน จึงมีการสังคายนาครั้งแรกโดยมีพระ มหากัสสป เป็นประธาน พระอานนท์เป็นองค์วิสัชนา ด้านพระธรรม พระอุบาลี เป็นองค์วิสัชชนาด้านพระวินัย มีพระเจ้าอชาต ศัตรูเป็นองค์อุปถัมภ์ สถานที่สังคายนา • ครั้งที่ 1: ถ้ำสัตบรรณคูหา เมืองราชคฤห์ แคว้น ใครคือเจ้าของพุทธศาสนา?: ถอดรื้อความคิด มคธ เรื่องการสังคายนาเพื่อแก้ปัญหาภิกษุณีไทย • ครั้งที่ 2: พ.ศ. 100 ที่วาลิการาม เมืองเวสาลี แคว้น วัชชี ประเทศอินเดีย การเผยแพร่พระไตรปิฏก • ครั้งที่ 3: พ.ศ. 234 ที่อโศการาม กรุงปาฏลีบุตร การศึกษาบาลี เพื่ออ่าน และแปลคำสอนในพระไตรปิฏกได้ แคว้นมคธ ประเทศอินเดีย จารึก ตีพิมพ์ โดยการคัดลอกและจัดส่งไปยังสถานที่ต่างๆ เพื่อให้ • ครั้งที่ 4: ชาลันธร ในรัชสมัยของพระเจ้ากนิษกะ ประชาชนได้ศึกษา เป็นการสังคายนาของนิกายมหายาน ปฏิบัติตามคำสอน • ครั้งที่ 5: อาโลกเลณสถาน มตเลชนบท ประเทศศรี สั่งสอนหรือบอกต่อกันจากการปฏิบัติตามพระไตรปิฏก ลังกา มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรก • ครั้งที่ 6: วัดมหาวิหาร ประเทศศรีลังกา • ครั้งที่ 7: ประเทศศรีลังกา • ครั้งที่ 8: วัดโพธาราม เชียงใหม่ ประเทศไทย • ครั้งที่ 9: วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย • ครั้งที่ 10: พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย คุณค่าของพระไตรปิฏก รวบรวมพุทธวจนะ หรือคำสอนที่พระพุทธเจ้าทรงเทศนาสั่งสอนสาวก เป็นที่สถิตของพระบรมศาสดา เป็นแหล่งข้อมูลทางพระพุทธศาสนาและบันทึกทางประวัติศาสตร์ เป็นมาตรฐานตรวจสอบคำตอบ ข้อสงสัย หรือข้อขัดแย้งทางพระพุทธ ศาสนา รวมถึงแหล่งความรู้ทางด้านการปกครอง กฎหมาย จิตวิทยา หลักฐานอ้างอิงความถูกต้องทางพระพุทธศาสนา เป็นมาตรฐานตรวจสอบการปฏิบัติ หรือหลักการปฏิบัติในกิจวัตรตามคำ สอน หรือคัมภีร์

พุทธศาสนสุภาษิต กมฺมุนา วตฺตตี โลโก : สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ความหมาย กรรม คือ การกระทำ หมายถึง การกระทำที่ประกอบด้วยเจตนา คือ ทำด้วยความจงใจหรือจงใจทำดีก็ตาม ชั่วก็ตาม กรรมจึงเป็นตัวกำหนดความเป็นไปของชีวิตคนเรา กลฺยาณการี กลฺยาณํ ปาปการี จ ปาปกํ : ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว ความหมาย เมื่อทำดี ก็จะได้รับสิ่งดีดีเป็นการตอบแทน เมื่อทำความชั่ว ชีวิตก็จะไม่มีความสุข ความเจริญ ปูชโก ลภเต ปูชํ วนฺทโก ปฏิวนฺทนํ : ผู้บูชาย่อมได้รับการบูชาตอบ ผู้ไหว้ย่อมได้รับการไหว้ตอบ ความหมาย บูชา หมายถึง การให้ความนับถือ หรือการแสดงความเคารพเทิดทูน มี 2 ลักษณะ คือ อามิสบูชา ด้วยอามิส คือ สิ่งของและปฏิบัติบูชา การบูชาด้วยกาปฏิบัติตามจากหนังสือคติธรรมจากพุทธศาสนสุภาษิต เมื่อให้การเคารพแก่ผู้อื่น ก็จะได้รับการ เคารพตอบ สุโข ปุญฺญสฺส อุจฺจโย : การสั่งสมบุญนำสุขมาให้ บุญ คือ ความดีงาม หรือการสั่งสมความดีด้วยการทำบุญ 10 วิธี เรียกว่า บุญกิริยาวัตถุ 10


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook