Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 3

หน่วยที่ 3

Published by thongpool284, 2020-05-28 04:50:34

Description: หน่วยที่ 3

Search

Read the Text Version

หน่วยท่ี 3 หลกั การทางานของหม้อแปลงไฟฟา้ หม้อแปลงไฟฟ้าหรือท่ีเรียกว่า ทรานซ์ฟอร์เมอร์ ( Tarnsformer ) เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ถ่ายทอด พลังงานวงจรไฟฟ้าจากวงจรไฟฟา้ กระแสสลบั วงจรหนง่ึ ไฟสู่อกี วงจรหน่ึง โดยไมม่ ีการเปลี่ยนแปลงความถี่ แต่ เป็นการเปลี่ยนแปลงของแรงดันไฟฟ้า ถ้าหม้อแปลงไฟฟ้ารับพลังงานไฟฟ้าจากวงจรท่ีมีแรงดันไฟฟ้าขนาด ขนาดหนึ่งแลว้ ถ่ายทอดไปอกี วงจรหน่ึงทม่ี ีแรงดันไฟฟ้าสงู กวา่ หมอ้ แปลงไฟฟา้ แบบนี้เรียกวา่ หมอ้ แปลงไฟฟ้า สูง ( Step – up Tarnsformer ) แตถ่ ้าหมอ้ แปลงไฟฟา้ รบั พลงั งานไฟฟา้ จากวงจรทมี่ แี รงดนั ไฟฟ้าขนาดหนึ่ง แล้วถา่ ยทอดไปอีกวงจรหนึ่งท่ีมแี รงดันตา่ กว่า เรยี กว่า หม้อแปลงไฟฟา้ ต่า ( Step – down Tarnsformer ) หม้อแปลงไฟฟ้ารับพลังงานไฟฟ้าจากวงจรท่ีมีแรงดันไฟฟ้าขนาดหน่ึงแล้วถ่ายทอดไปอีกวงจรหนึ่งที่มี แรงดันไฟฟ้าเท่าเดิม เรียกหม้อแปลงไฟฟ้าแบบนี้ว่าหม้อแปลงหน่ึงต่อหน่ึง ( One to One Tarnsformer ) หม้อแปลงไฟฟ้าจะมีส่วนหน่ึงส่วนใดเคลอ่ื นท่ี ดงั น้ันจึงไมต่ อ้ งมกี ารบา่ รงุ รักษามากนัก และราคาต่อกโิ ลวัตต์ก็ ถูกกว่าเคร่ืองใช้ไฟฟ้าแบบอื่น แต่มีประสิทธิภาพสงู กว่า เนื่องจากไม่มีสล๊อตและสว่ นที่เคลือ่ นที่ได้ขดลวดจึง สามารถทีจ่ ะจุ่มอย่ใู นน้่ามนั ได้ และการหุม้ ฉนวนส่าหรับหมอ้ แปลงไฟฟ้าแรงสงู กไ็ มล่ า่ บาก หลักการทางานเบ้อื งต้น ความมุ่งหมายในการสร้างหมอ้ แปลงไฟฟ้า ก็เพื่อที่จะใช้จ่ายในการถ่ายทอดพลงั งานไฟฟ้าจากวงจร หนึ่งไปสู่อีกวงจรหน่ึงโดยการเหนี่ยวน่า ซ่ึงอาศัยการเปลี่ยนแปลงเส้นแรงแม่เหล็ก โดยการจัดให้คอยล์สอง คอยล์ของหม้อแปลงไฟฟ้าอยูใ่ นวงจรแม่เหลก็ เดียวกนั ส่าหรับเคร่ืองก่าเนิดไฟฟ้าเส้นแรงแม่เหล็กจากข้ัวแม่เหล็ก จะมีค่าคงท่ีตลอดเวลาแต่ให้ขดลวดอาร์ เมเจอรเ์ คลื่อนทต่ี ัดเสน้ แรงแม่เหลก็ ส่วนหม้อแปลงไฟฟ้าขดลวดหรือคอยล์และแกนเหลก็ จะอยู่กบั ทเี่ สน้ แรง ไฟฟ้าถูกเหนี่ยวน่าใหเ้ กดิ ข้นึ โดยการเปลีย่ นแปลงของเสน้ แรงแม่เหลก็ ต่อหน่วยเวลาดงั ไดก้ ลา่ วมาแลว้ และได้ แสดงไว้ดังรปู ท่ี 4.7 แกนเหล็ก ( Core ) ดังรูปท่ี 4.7 จะถูกสร้างให้มีลักษณะเป็นรูปส่เี หลี่ยมผนื ผ้า ประปอบข้ึนด้วย แผน่ เหล็กบางๆ หลายแผน่ แลว้ อดั ตดิ กัน ขดลวดปฐมภูมิ ( Primary ) จะพันอยู่ท่ีแกนด้านหนึ่ง ส่วนขดลวดทุติยภูมิ ( Secondary ) จะพัน อยู่ทีแ่ กนอีกดา้ นหนง่ึ ซ่งึ ขดลวดทัง้ สองอาจจะมจี า่ นวนรอบเทา่ กนั หรอื ไมเ่ ท่ากนั ก็ได้ และขดลวดท้งั สองจะพนั อยทู่ ่ดี ้านตรงข้ามของแกนเหล็ก

รปู ท่ี 14.1 ลกั ษณะของหม้อแปลงไฟฟา้ อย่างงา่ ย เม่ือเคร่ืองก่าเนิดไฟฟ้ากระแสสลับป้อนกระแสให้กับขดปฐมภูมิ ( P ) จะเกิดเส้นแรงแม่เหล็กไฟฟ้า กระแสสลับขึ้นในแกนแม่เหล็ก เส้นแรงแม่เหล็กไฟฟ้ากระแสสลับน้ีจะเคล่ือนที่ไปตามแกนเหล็กและตัดกับ ขดลวดทุติยภูมิ ( S ) จะท่าให้เกิดแรงเคลอ่ื นไฟฟ้าเหนยี่ วน่าท่ีเกิดขึ้นที่ขดลวดทุติยภูมิน้ีเอง จึงท่าให้ขดลวด ทุติยภูมิสามารถจ่ายกระแสไฟฟ้าและพลงั งานไฟฟ้าได้ ซึ่งพลังงานไฟฟ้านี้ถ่ายทอดจากขดลวดปบมภูมิไปยงั ขดลวดทตุ ยิ ภูมไิ ด้ดว้ ยเส้นแรงแม่เหล็ก จากรูปที่ 4.7 ในช่ัวขณะหนึ่งปลายขดลวดปฐมภูมิด้านบนจะเป็นบวก และอีกปลายหน่ึงจะเปน็ ลบ ซ่ึงจะท่าให้เส้นแรงแม่เหล็กที่เกิดขึ้นเคลื่อนท่ีไปตามแกนเหล็กในทิศทางการเคลื่อนที่ของเข็มนาฬิกาจนครบ วงจร ขดลวดใดก็ตามไม่ว่าจะเป็นขดลวดปฐมภูมิหรือขดลวดทุติยภูมิ เรียกขดลวดท่ีรับพลังงานไฟฟ้าจาก เคร่ืองก่าเนิดไฟฟ้า ขดลวดปฐมภูมิ ( Primary ) และเรียกขดลวดที่ได้รับพลังงานไฟฟ้าจากขดลวดปฐมภูมิ หรอื สง่ พลงั งานตอ่ ไปให้กับโหลดวา่ ขดลวดทุติยภูมิ ( Secondary ) 14.2 หมอ้ แปลงไฟฟา้ ในอดุ มคติ หมอ้ แปลงไฟฟา้ ท่ีใชก้ บั งานจรงิ มปี ระสทิ ธิภาพสงู ถงึ 95% - 99% แต่ยงั คงมีความสญู เสียอยู่ การ อธบิ ายหลกั การทา่ งานข้นั พน้ื ฐานของหมอ้ แปลงจึงเปน็ ไปไดย้ าก เพราะต้องกล่าวถงึ ความสญู เสียทเ่ี กดิ ข้นึ ใน หม้อแปลงไฟฟ้าด้วย ดังน้ันจงึ สมมตุ ิหม้อแปลงไฟฟา้ ชนิดหน่งึ ทไี่ มม่ ีความสญู เสยี เลย หม้อแปลงไฟฟ้าชนดิ น้ี เรียกวา่ หม้อแปลงไฟฟา้ ในอุดมคติ ( ldeal Tarnsformer ) รปู ท่ี 14.2 หลักการทา่ งานของหม้อแปลงไฟฟา้ ในอดุ มคติ

เม่ือจ่ายแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ ( Vl ) ให้ขดลวดปฐมภูมิของหม้อแปลงไฟฟ้าในอุดมคติ จะเกิด กระแสไฟฟ้า ( Il ) ซง่ึ จะท่าให้แรงดนั ไฟฟา้ เหนยี่ วนา่ ( El ) และแรงดนั แม่เหลก็ ( MMF ) ข้นึ ท่ีขดลวดปฐม ภมู ิ แรงดนั แม่เหลก็ นีจ้ ะสรา้ งฟลกั ซแ์ มเ่ หลก็ ร่วม ( m ) เคลือ่ นตวั ตัดขดลวดทุติยภมู ทิ ่าให้เกิดการเหนย่ี วนา่ เกิดแรงดันไฟฟา้ V2 และกระแสไฟฟ้า I2 ขน้ึ ที่ขดลวดทุตยิ ภมู ิ ความสัมพันธ์ที่เกดิ ขึน้ ระหว่างแรงดันไฟฟา้ ท่จี า่ ยใหห้ มอ้ แปลงไฟฟา้ ในอุดมคตกิ บั ค่าสงู สดุ ของ ( m ) สามารถเขยี นเปน็ สมการได้ดงั นี้ ระบบอังกฤษ E1 = 4.44 f N1 m 10−8 ; เมื่อ m มหี น่วยเป็นเส้น ระบบ SI E1 = 4.44 f N1 m ; เมอื่ m มหี นว่ ยเปน็ เวเบอร์ เมื่อ El คอื แรงดนั ไฟฟ้าที่จ่ายให้ขดลวดปฐมภมู ิ F คือ ความถ่ขี องแรงดันไฟฟ้า Nl คือ จา่ นวนรอบของขดลวดปฐมภูมิ m คอื ฟลกั ซแ์ ม่เหลก็ รว่ ม ( Mutual Flux ) หมอ้ แปลงไฟฟ้าในอดุ มคติไมม่ ีความสูญเสยี ใดๆ ดังนัน้ แรงดนั ไฟฟ้าท่ีจา่ ยให้ขดลวดปฐมภูมิ(Vl ) จงึ มคี า่ เทา่ กับแรงดันไฟฟา้ ท่เกิดขน้ึ จากการเหนย่ี วนา่ ของขดลวดปฐมภูมิ ( El ) หรือ V1 = 4.44 f N1ɸm สว่ นแรงดนั ไฟฟ้าที่จากการเหน่ยี วน่าของขดลวดทุติยภูมิ ( E2 ) เขยี นเปน็ สมการไดด้ งั น้ี V2 = 4.44 f N1ɸm เม่ือ ( Nl ) คือ จ่านวนรอบของขดลวดปฐมภูมิ ( N2 ) คอื จา่ นวนรอบของขดลวดทตุ ิยภูมิ จากสมการ ( 4 – 3 ) และ ( 4 – 4 ) จะไดส้ มการ Mutual Flux ɸm = Vl / ( 4.44 f N1) หรือ ɸm = V2 / ( 4.44 f N2) น่าสมการ ( 4 – 3 ) หารสมากร ( 4 – 4 ) ทา่ ให้เราไดส้ มการใหมด่ งั นี้ Vl / V2 = N1 / N2

จากสมการ 4 – 7 อตั ราส่วนระหว่าง Nl / N2 หรืออตั ราสว่ นระหวา่ ง จ่านวนของขดลวดปฐมภูมติ ่อ จา่ นวนรอบของขดลวดทุติยภูมิ เราเรยี กวา่ อัตราส่วนของจา่ นวนรอบ ( Turns Ratio ) Turns Ratio = a = N1 / N2 14.3 หมอ้ แปลงไฟฟ้าใช้งานจริงขณะไมม่ โี หลด ( Tarnsformer on No Load ) เพอ่ื ใหเ้ กิดความเขา้ ใจเก่ียวกบั หลกั การท่างานเบ้ืองต้นของหมอ้ แปลงไฟฟ้าขณะไมม่ โี หลด ( รปู ที่ 4.9 ) จงึ แยกการอธิบายเปน็ 2 กรณี รูปท่ี 14.3 หมอ้ แปลงไฟฟา้ ใชง้ านจรงิ ขณะไมม่ โี หลด 1. กรณีเป็นหม้อแปลงไฟฟ้าในอุดมคติ จากคณุ สมบัตขิ องหมอ้ แปลงไฟฟ้าในอุดมคตทิ ี่ได้กล่าวไปแล้ว ท่าให้ทราบวา่ หม้อแปลงไฟฟา้ ในอุดม คตไิ มม่ ีการสญู เสีย ถ้าจ่ายแดงดันไฟฟา้ ( EI ) ใหข้ ดลวดปฐมภมู ิหม้อแปลงไฟฟ้าจะกลายเป็นอินดกั เตอร์ ( L ) ตัวหนึ่ง ดังน้ันกระแสไฟฟ้าที่จ่ายให้หม้อแปลงไฟฟ้าขณะไม่จ่ายโหลด ( IO ) ซ่ึงเป็นตัวเดียวกับ กระแสไฟฟ้าที่สร้างสนามแม่เหล็ก ( Mrgnetizing Current; IM ) จะล้าหลังแรงดันไฟฟ้า El เป็นมุม 90 องศา นอกจากนี้แรงดันไฟฟ้าเหนีย่ วน่า ( VI ) ซึ่งมีขนาดเท่ากับแรงดันไฟฟ้า( El ) ยังท่าใหเ้ กดิ แรงดันไฟฟา้ เหนี่ยวน่า ( VI ) ซึ่งมีขนาดเทา่ กับแรงดันไฟฟา้ El แต่มีมุมเฟสต่างกัน 180 องศาเขียนเป็นเวกเตอรด์ ังรูปท่ี 4.10 รูปที่ 14.4 รูปท่ี 14.5

2. กรณีเป็นหมอ้ แปลงไฟฟา้ ใชง้ านจรงิ เม่ือจา่ ยแรงดันไฟฟ้าใหห้ มอ้ แปลงไฟฟ้าทีใ่ ช้งานจริงยอ่ มมคี วามสูญเสยี แม้วา่ ไม่มีโหลดต่ออยกู่ ็ ตาม ความสญู เสยี น้ีแบง่ ออกเป็น 2 ประเภทคือ 2.1 ความสญู เสยี ในขดลวดทองแดง ( Copper Loss ; PCu ) 2.2 ความสูญเสยี ในแกนตวั น่าแมเ่ หลก็ ( Copper Loss ; PCu ) เม่ือจ่ายแรงดันไฟฟ้าที่พิกัดให้หม้อแปลงไฟฟา้ ทไ่ี ม่มีโหลดต่ออยู่ กระแสไฟฟา้ ท่ีจะเกดิ ข้ึนมคี ่านอ้ ย มาก ความสูญเสียในขดลวดทองแดง ( I2R ) ย่อมมีค่าน้อยเช่นกัน ดังน้ันจึงไม่คิดความสูญเสียในขวด ลวดทองแดงขณะหมอ้ แปลงไฟฟ้าไมม่ โี หลด สรุปได้ว่า หม้อแปลงไฟฟ้าขณะไม่มีโหลดคิดค่าความสูญเสียเพยี งสว่ นเดียวคือความสูญเสียในแกน ตวั นา่ แมเ่ หล็ก จากท่ีไดก้ ล่าวไวว้ า่ แกนน่าตัวแม่เหล็กมสี นามแมเ่ หลก็ ตกค้าง ดังน้ันจึงการสญู เสยี แบบ Eddy Current และ Hysteresis ข้นึ ความสญู เสียน้เี ราเรียกวา่ ความสูญเสียในตวั นา่ แมเ่ หลก็ เน่ืองจาก กระแสไฟฟา้ ทีท่ ่าให้เกดิ การสูญเสียในแกนตัวน่าแมเ่ หลก็ ( IC ) เกิดข้ึนพรอ้ มแรงดนั ไฟฟา้ VI ดงั น้ัน VI กับ IC จึง Inphase กนั ดังรปู ที่ 4.11 เมอื่ ความสญู เสยี ในแกนเหลก็ ปรากฏขนึ้ ทห่ี มอ้ แปลงไฟฟ้า ท่าให้กระแสไฟฟา้ ในขดลวดปฐมภูมิขณะ ไม่มีโหลดไม่เท่ากับกระแสไฟฟา้ ทส่ี ร้างสนามแมเ่ หลก็ (IO  IM ) แต่ IO จะมีค่าเท่ากับผลรวมของ IM และ IC ตามที่รปู 4.11 เมื่อเราน่าหลักการทางตรโี กณมิตมิ าพจิ ารณารูปท่ี 4.11 จะได้สมการต่อไปน้ี I M = I0 sin 0 I C = I 0 cos 0 I0 = IM 2 + IC2 0 = tan −1 (I M / IC ) เมอ่ื IO คือ กระแสไฟฟ้าขณะไม่มีโหลด IM คอื กระแสไฟฟ้าทสี่ รา้ งสนามแมเ่ หลก็ IC คอื กระแสไฟฟา้ ทเ่ี กิดทา่ ใหส้ ญู เสียในแกนตวั นา่ แมเ่ หล็ก ɸ0 คอื มมุ ต่างเฟสระหว่าง IO กบั El

14.4 หม้อแปลงไฟฟา้ ทใ่ี ชง้ านจรงิ ขณะมโี หลด (Tarnsformer Under Load ) กระแสไฟฟ้าทีข่ ดลวดปฐมภูมิ ( II ) ของหมอ้ แปลงไฟฟา้ ขณะจา่ ยโหลด ( IO ) กบั กระแสไฟฟา้ ทขี่ ดลวดปฐมภูมิ ทเี่ กิดขน้ึ จากการสรา้ งฟลักซ์แมเ่ หล็กของขดลวดทตุ ยิ ภูมิ ( ɸ2 ) ซึง่ เราก่าหนดใหเ้ ป็น ( II ) รูปท่ี 14.6 หม้อแปลงไฟฟ้าใช้งานจรงิ ขณะมโี หลด ขณะทหี่ ม้อแปลงไฟฟา้ ท่ีไม่มีโหลด ( รูปท่ี 4.12 ) แรงดนั ไฟฟ้าของขดลวดทตุ ิยภมู ิ (V2) จะข้ึนอยู่กับ Mutual Flux ɸm เพียงอย่างเดียว เมื่อมีค่า ɸm คงที่ ท่าให้แรงดันไฟฟ้าที่ขดลวดปฐมภูมิ (E1) และทตุ ิยภมู ิ (E2 ) คงท่ดี ้วย รูปที่ 14.7 หมอ้ แปลงไฟฟา้ จา่ ยโหลด ในกรณีหมอ้ แปลงไฟฟา้ จา่ ยโหลด ( รปู ที่ 4.13 ) มีรายละเอียดของค่าตา่ งๆ ดังต่อไปนี้ VI คือ แรงดนั ไฟฟา้ ทจ่ี ่ายใหข้ ดลวดปฐมภูมิ E1 คือ แรงดันไฟฟา้ ที่จา่ ยให้เกิดการเหนี่ยวน่าของขดลวดปฐมภมู ิ ( หรือแรงดนั ไฟฟา้ ทข่ี ดลวดปฐมภมู ิ ) II คือ กระแสไฟฟ้าทขี่ ดลวดปฐมภูมิ N1 คือ จ่านวนรอบของขดลวดท่พี นั อยู่บนแกนตัวนา่ แม่เหลก็ ด้านปฐมภมู ิ ɸm คือ Mutual Flux N2 คอื จา่ นวนรอบของขดลวดท่ีพนั อยูบ่ นแกนตวั นา่ แม่เหลก็ ด้านทตุ ิยภูมิ E2 คือ แรงดนั ไฟฟา้ ทีจ่ ่ายให้เกิดการเหนี่ยวน่าของขดลวดทตุ ิยภมู ิ ( หรือแรงดันไฟฟ้าทขี่ ดลวดทตุ ิยภูมิ )

I2 คือ กระแสไฟฟา้ ท่ขี ดลวดทุติยภมู ิ V2 คอื แรงดันไฟฟ้าทจ่ี ่ายใหโ้ หลด เม่ือนา่ โหลดตอ่ เขา้ กับขดลวดทุติยภมู ิ กระแสไฟฟ้า IO สร้างแรงดนั แมเ่ หลก็ ( MMF1 ; ใน เทอม IO N1 ) ขึ้นในขดลวดปฐมภมู ิ MMF1 น้ี ทา่ ให้เกิดฟลกั ซ์แม่เหลก็ ɸm เคลอื่ นตัวตดั ขดลวดทตุ ยิ ภูมิ จงึ เกดิ แรงดนั ไฟฟ้าเหน่ยี วน่าทข่ี ดลวดทุติยภมู ิ (E2) แรงดนั ไฟฟ้า E2จะสร้างกระแสไฟฟ้า I2 ทม่ี ีขดลวดทุติยภูมิ ซงึ่ ท่าให้เกดิ แรงดันแมเ่ หลก็ (MMF2 ;ใน เทอมของ I2 N2 ) และฟลักซแ์ ม่เหล็ก ɸ2 มที ศิ ทางตรงขา้ มกับ ɸm จงึ เกิดการหักลา้ งกนั ดงั นั้นแรงดันไฟฟา้ E1 จึงลดลงช่วั ขณะหนึ่ง แตเ่ มอื่ ɸ2 เคลอื่ นตัวตัดขดลวดปฐมภมู ทิ า่ ใหเ้ กิดกระแสไฟฟา้ I′I ท่ขี ดลวดปฐมภูมิ (I′I มขี นาดเทา่ กบั I2 / a และทิศทางตรงข้ามกับ I2 ) กระแสไฟฟา้ I′I ท่าใหเ้ กิดการเหนีย่ วนา่ และแรงดันแม่เหล็ก ( MMF1 ) ( ในเทอมของI′I N1 ) ซึง่ เป็น ตวั การสร้างฟลักซ์แม่เหล็ก ɸ1 ที่มีขนาดเท่ากบั ɸ2 แต่มีทิศทางตรงกนั ขา้ ม ɸ1 และ ɸ 2 จงึ หกั ลา้ งกนั ไปหมด แรงดันไฟฟ้า E1 กลับเข้าสู่สภาวะปกติอีกครั้งหน่ึงจึงสรูปได้ว่า กระแสไฟฟ้าที่ขดลวดปฐมภูมิ ( II ) ประกอบด้วยกระแสไฟฟา้ IO กบั I′I นนั่ เอง ขณะแรงดันไฟฟา้ ทีข่ ดลวดปฐมภูมิ E2 กลับเข้าสสู่ ภาวะปกตนิ เ้ี ราอาจกล่าวได้ว่า N1 II = N2 I2 (4 – 13 ) I′I = (N1 / N2) I2 ( 4 – 14 ) หรือ I′I = I2 / a ( 4 – 15 ) สรปุ ได้ว่าองค์ประกอบของกระแสไฟฟา้ ที่ขดลวดของดา้ นปฐมภูมิขณะจา่ ยโหลด (II ) มดี งั นี้คอื ถ้าสมมุติให้แรงดันไฟฟ้า E2 กับ V2 มีขนาดเท่ากัน และ Inphase กัน ( ปกติ E2  V2 ) จะเขียน เวกเตอร์แสดงความสมั พนั ธ์ระหว่างแรงดันไฟฟ้ากับกระแสไฟฟ้าที่ขดลวดปฐมภูมิ และขดลวดทุติยภูมขิ อง หมอ้ แปลงไฟฟ้าขณะจา่ ยโหลด ดังรูปท่ี 4.14 I1 I/1 = I2 / a I0 Ic Im

รปู ที่ 14.8 เวกเตอรแ์ รงดนั ไฟฟา้ ขดลวดปฐมภูมิ เมอ่ื นา่ หลกั การทางตรีโกณมติ มิ ารว่ มพจิ ารณาเวกเตอร์ จะไดด้ ังตอ่ ไปนี้ I1 = I’2 + I0 I1 = I 02 + (I 2 )2 + 2I 0 I 2 cos นอกจากน้ี I1COS 1 = I’2COS 2 + I0COS 0 I0 COS 0 = I1 COS 1 + I‘2 COS 2 I1sin 1 = I‘2 sin 2 - I1sin 1 I0sin 0 = I1sin 1 - I‘2 sin 2 จากสมการ tan o = IO sin o / cos o o = tan-1 (IO sin o / IO cos o ) โดย o คอื มุมเฟสต่างระหวา่ ง IO กับ VI 1 คอื มุมเฟสต่างระหวา่ ง II กับ VI 2 คอื มุมเฟสต่างระหว่าง I2 กับ V2   คือ มุมเฟสตา่ งระหว่าง o กบั 2


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook