Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชา การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น

วิชา การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น

Published by Suchads Th, 2022-03-28 09:24:02

Description: ผังงาน

Search

Read the Text Version

Flowchart. รูปภาพ (Image) หรือ สัญลกั ษณ์ (Symbol) ท่ีใช้เขียนแทนขนั้ ตอน คาอธิบาย ข้อความหรือ คาพูด ท่ีใชใ้ นอัลกอริทมึ (Algorithm) เพราะการนาเสนอขนั้ ตอนของงานใหเ้ ขา้ ใจตรงกนั ระหว่างผู้เกีย่ วข้อง ด้วยคาพูด หรือ ข้อความ ทาได้ ยากกว่าเม่อื ใชร้ ูปภาพ หรือสัญลักษณ์

ประโยชน์ต่อการเขยี นโปรแกรม. 1. ลาดับขัน้ ตอนการทางานของโปรแกรม และ สามารถนาไปเขยี นโปรแกรมไดโ้ ดยไมส่ ับสน 2. ตรวจสอบความถูกต้อง และแก้ไขโปรแกรม ได้งา่ ยเมอ่ื เกิดขอ้ ผิดพลาด 3. การปรับปรุง เปล่ยี นแปลง แกไ้ ข ทาไดอ้ ย่าง สะดวกและรวดเร็ว 4. ทาให้ผู้อ่ืนสามารถศึกษาการทางานของ โปรแกรมได้อยา่ งงา่ ย และรวดเรว็ มากข้ึน

ประเภทของผังงาน แบ่งออกเป็น 2 ประเภท

ผังงานระบบ (System Flowchart) ผังงานที่แสดงการทางานของระบบซึง่ แสดงภาพรวมของ ระบบ โดยมีการนาข้อมูลเข้า ประมวลผล และข้อมูลออก โดย แ ส ด ง ถึ ง สื่ อ น า ข้ อ มู ล เ ข้ า - อ อ ก แ ต่ ไ ม่ ไ ด้ แ ส ด ง วิ ธี ก า ร ประมวลผล การนาข้อมูลเข้า วิธีการประมวลผล และการ แสดงผลลัพธ์ (Input – Process - Output)

ผงั งานโปรแกรม (Program Flowchart) ผงั งานท่ีแสดงการทางานย่อยหรือลาดับในโปรแกรม ซึ่ง แส ดง ร าย ละเอี ย ด ขั้น ต อ น การ ท าง าน แ ละ ป ร ะ ม ว ล ผ ล โปรแกรมนัน้ ๆ ทาให้รู้วิธีการคานวณรับข้อมูลจากส่ือใด และ ประมวลผลอย่างไร รวมถึงการแสดงผลลัพธ์ด้วยสื่อหรือวิธี ใด

สัญลกั ษณ์ (Symbol) ในการเขียนผังงานจะต้องใช้รูปภาพ หรือสัญลักษณ์ มา ใช้แทนขัน้ ตอนการทางานของโปรแกรม ลักษณะของรูปภาพ หรือสั ญลักษณ์จะ มี ความหมายในตัว ของมัน เอง ซ่ึง มี หน่วยงานที่ช่ือ American National Standard Institute (ANSI) และ International Standard Organization (ISO) ได้รวบรวมและกาหนดให้เป็นสัญลักษณ์มาตรฐานที่จะ ใช้ในการเขียนผังงาน และผังงานระบบ เพื่อให้เข้าใจตรงกัน ดงั ต่อไปนี้

Terminal Manual Input Symbol Input/Output Display Symbol

หลักเกณฑ์การเขียนผังงาน 1. การกาหนดคา่ เริม่ แรก (Initialization) เปน็ การกาหนดค่าเริม่ ต้นให้ตัวแปรบางตวั เช่น ตวั แปรที่ใช้เป็นตวั แปรนบั ตัวแปรทม่ี ีคา่ เปน็ ผล การคานวณสะสม 2. การรับข้อมูล (Input)เปน็ การรับค่าของตัวแปร ท่ี ร ะ บุ ไ ว้ ใ น ขั้ น ต อ น ก า ร น า ข้ อ มู ล เ ข้ า ข อ ง ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ง า น ซ่ึ ง ก า ร รั บ ข้ อ มู ล จ ะ ต้ อ ง ท า ก่อนที่จะนาเอาข้อมูลไปใช้ สัญลักษณ์ท่ีใช้จะมี ความหมายตามแตล่ ะประเภทของสื่อขอ้ มลู เช่น เทป บัตรเจาะ เปน็ ต้น

หลักเกณฑ์การเขียนผงั งาน (ตอ่ ) 3. การประมวลผล (Process) เป็นการแสดง วิธีการประมวลผลหรอื การคานวณ วงิ่ จะต้อง กระทาทลี ะขนั้ ตอนตามลาดบั ถ้าผลการคานวณ ต้องนามาใชใ้ นขันตอนถัดไปจะต้องแยกรปู ให้ ชดั เจน 4. การแสดงคา่ ของข้อมูลหรือผลลพั ธ์ (Output) เปน็ การแสดงผลลัพธ์ หรอื คา่ ของตวั แปรที่ระบุ ไว้ในหวั ข้อผลลพั ธท์ ต่ี ้องแสดง การแสดงของ ข้อมูลหรือผลลัพธ์ ต้องกระทาหลงั การ ประมวลผล หรือภายหลงั รบั ขอ้ มูลไวใ้ น หนว่ ยความจาแล้ว

หลกั เกณฑก์ ารเขยี นผังงาน (ต่อ) 5. การทดสอบ (Testing) เป็นการทดสอบตัวแปร กบั ค่าใดค่าหน่ึง เช่น LC = 0 หรอื ไม่ ?

ลกั ษณะโครงสร้างในการเขียนผังงาน สามารถแยกเป็นลกั ษณะโครงสรา้ งผงั งานได้ 3 ลกั ษณะ ดังน้ี

การเขยี นผงั งานแบบเรียงลาดับการทางาน (Sequential Structure) เป็นโครงสร้างของโปรแกรมที่ทางานเป็นลาดับ ขั้นตอนเรียงกันไป โดยไม่มีการข้ามขั้นตอน หรือ ย้อนกลบั

การเขยี นผงั งานแบบมีทางเลอื กการทางาน (Decision Structure) เ ป็ น ก า ร เ ขี ย น ผั ง ง า น ที่ มี ลั ก ษ ณ ะ ก า ร ทางานแบบมีเงื่อนไขทางตรรกะ โดยใช้ ป ร ะ โ ย ช น์ จ า ก พี ช ค ณิ ต บู ล ลี น เ พ่ื อ ใ ห้ เครื่องประมวลผลลักษณะตัดสินใจ เลือกทิศ ทางการทางานตามคาสัง่ ที่กาหนดไว้

การเขียนผงั งานแบบมกี ารทางานวนซ้า (Iteration Structure) โปรแกรมส่วนใหญ่จะมีคาสัง่ สาหรับการ ทางานซ้าหรอื เรียกว่า ลปู (Loop) โดยการ ทาซ้าของโปรแกรมจะอยู่ภายใตเ้ งื่อนไข จริง หรอื เทจ็ ตามที่ผูเ้ ขยี นโปรแกรมได้ออกแบบไว้ รปู แบบของการวนซ้ามีดังนี้




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook