Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 230664 คู่มือหลักสูตรการพัฒนาฯรอง ผอ.รร.63 (1)

230664 คู่มือหลักสูตรการพัฒนาฯรอง ผอ.รร.63 (1)

Published by nilampoon, 2021-07-01 13:41:33

Description: 230664 คู่มือหลักสูตรการพัฒนาฯรอง ผอ.รร.63 (1)

Search

Read the Text Version

ค่มู ือหลกั สตู รการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตงั้ ใหด้ ารงตาแหน่ง รองผูอ้ านวยการสถานศึกษา ข

คู่มือหลักสตู รการพัฒนาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษากอ่ นแตง่ ตั้งใหด้ ารงตาแหนง่ กข รองผอู้ านวยการสถานศึกษา คำนำ ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ มาตรา ๑๙ (๔) และ มาตรา ๘๐ บัญญัติให้มีการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่ง บางตาแหน่งและบางวิทยฐานะ เพื่อเพ่ิมพูนความรู้ ทักษะ เจตคติที่ดี คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ วิชาชีพที่เหมาะสม ในอันที่จะทาให้การปฏิบัติหน้าท่ีราชการเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลและ ความก้าวหน้าแก่ราชการ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ.กาหนด ประกอบกับ ก.ค.ศ. ได้กาหนดมาตรฐาน ตาแหน่งรองผู้อานวยการสถานศึกษาไวว้ ่าต้องผ่านการพฒั นาตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ.กาหนด สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐานได้จัดทารายละเอียดหลักสูตรการพัฒนา ตามหนงั สือสานักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.7/ว 8 ลงวันที่ 29 เมษายน 2563 เพ่อื ให้บรรลุผลตามหลักการ และวัตถุประสงค์ของการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อน แต่งต้ังให้ดารงตาแหน่ง รองผอู้ านวยการสถานศกึ ษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานหวังว่า คู่มือหลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งรองผู้อานวยการสถานศึกษาจะใช้เป็นแนวทางดาเนินการ พัฒนาให้บรรลุวัตถปุ ระสงค์ในการพัฒนาความรู้ ทักษะเจตคติที่ดี คณุ ธรรมจริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ที่เหมาะสม สามารถดาเนินการและพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการจัดการศึกษา แปลงนโยบายเป้าหมาย สู่การปฏิบัติ เป็นนักบริหารจัดการที่ยึดหลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพและเกิด ประสทิ ธิผล และขอขอบคณุ คณะกรรมการดาเนินการจัดทาและผเู้ กีย่ วข้องทุกฝ่ายในการจดั ทาคู่มือการพัฒนา จนสาเรจ็ เรียบร้อยไว้ ณ โอกาสนีด้ ว้ ย สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขน้ั พืน้ ฐำน

คมู่ อื หลักสตู รการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาก่อนแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่ง รองผอู้ านวยการสถานศึกษา ข สำรบญั บทท่ี ๑ ความเปน็ มา....................................................................................................................... ๑ วัตถุประสงค.์ ..................................................................................................................... 3 กรอบการพัฒนาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตง้ั ใหด้ ารงตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน..................... 4 โครงสรา้ งหลักสตู รการพฒั นาก่อนแต่งตง้ั ใหด้ ารงตาแหน่งรองผู้อานวยการสถานศกึ ษา สงั กัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน........................................................... 6 วธิ กี ารพัฒนา...................................................................................................................... ๗ วทิ ยากร...................................................................................................................... ....... ๗ สอ่ื และนวตั กรรมการพัฒนา............................................................................................... ๗ การประเมินผลการพัฒนา.................................................................................................. 8 บทบาทของบคุ ลากรที่มสี ่วนเกย่ี วข้องกับการดาเนินการพฒั นา......................................... 8 กระบวนการพัฒนา............................................................................................................ 10 แนวปฏิบัตกิ ารพฒั นา......................................................................................................... 10 ๑1 บทที่ ๒ กระบวนการพัฒนา.............................................................................................................. 11 สว่ นที่ ๑ การเสริมสรา้ งสมรรถนะของรองผู้อานวยการสถานศกึ ษา ..................................... 38 สว่ นที่ ๒ การเรียนรูใ้ นสภาพจริง...................................................................................... 41 สว่ นท่ี ๓ การจัดทาและนาเสนอแผนกลยทุ ธ์พัฒนาการศึกษาในสถานศึกษา.................. 43 บทที่ ๓ การวดั และประเมนิ ผล.........................................................................................................

คมู่ อื หลักสตู รการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษากอ่ นแต่งต้ังใหด้ ารงตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศกึ ษา 1 บทท่ี ๑ บทนำ ควำมเปน็ มำ เพื่อให้ผู้ท่ีจะได้รับการแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้มีความรู้ ทักษะ เจตคติท่ีดี คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพท่ีเหมาะสม ในอันท่ีจะทาให้การปฏิบัติหน้าท่ีราชการเกิดประสิทธิภาพ ประสิทธผิ ล และความกา้ วหน้าแก่ราชการ อาศัยอานาจตามความในมาตรา 19 (4) และมาตรา 80 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและ บคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ 2547 ก.ค.ศ. จงึ กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการ ศกึ ษาก่อนแต่งตง้ั ใหด้ ารงตาแหน่งผ้บู รหิ ารสถานศึกษา ดังนี้ หลักเกณฑ์ 1. การพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา เป็นการพัฒนาผู้ท่ีได้รับการคัดเลือกเพ่ือบรรจุและแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งรองผู้อานวยการสถานศึกษา หรือตาแหน่ง ผู้อานวยการสถานศึกษา 2. ขอบขา่ ยการพฒั นา 2.1 การนาความรู้ หลกั การบรหิ ารการศึกษา การกฎหมาย ระเบยี บ หลกั เกณฑ์ วธิ กี ารบรหิ ารงานไปใช้ ในการบริหารจดั การศึกษาในสถานศึกษา 2.2 การเป็นผู้บริหารสถานศึกษาที่มีเจตคติที่ดี มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ การประพฤติตน และการดารงชวี ติ ทเ่ี หมาะสมกบั การดารงตาแหน่ง 2.3 การปฏิบัติงานตามหน้าที่ทางวิชาการ การบรหิ ารจัดการ การบงั คับบัญชา การเปน็ ผู้ใตบ้ ังคับบัญชา การนิเทศการศึกษาและการประสานงาน 2.4 การบริหารจัดการตามภารกิจของสถานศึกษา ได้แก่ การบริหารงานวิชาการ การบริหารงานบุคคล การบริหารงบประมาณ การบรหิ ารงานทว่ั ไป ใหม้ ีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 2.5 การใชภ้ าษาไทย ภาษาอังกฤษ ดิจิทลั และเทคโนโลยีในการบริหารจัดการในสถานศึกษา 2.6 เรอื่ งทตี่ ้องปฏบิ ตั ิตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ 3. กาหนดระยะเวลาการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่ง ผู้อานวยการสถานศึกษาจานวนไม่น้อยกว่า 150 ชั่วโมง และรองผู้อานวยการสถานศึกษาจานวนไม่น้อยกว่า 120 ชัว่ โมง ท้งั นี้ ให้ส่วนราชการกาหนดจานวนชวั่ โมงของเน้ือหาสาระตามขอบข่ายการพัฒนาได้ตามความเหมาะสม วิธกี ำร ใหส้ ่วนราชการตน้ สังกดั ดาเนินการดังนี้ 1. จัดทารายละเอียดการพัฒนาตามท่ีหลักเกณฑ์กาหนดให้เหมาะสมกับตาแหน่งรองผู้อานวยการ สถานศึกษาหรือตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา แลว้ แต่กรณี และดาเนินการพัฒนา

คมู่ อื หลักสูตรการพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษากอ่ นแต่งต้งั ใหด้ ารงตาแหนง่ รองผอู้ านวยการสถานศกึ ษา ๒ 2. กาหนดองคป์ ระกอบ ตัวชีว้ ัด และรายละเอยี ดการประเมนิ ผล 3. ดาเนินการพัฒนาโดยใช้วิธีการพัฒนาท่ีหลากหลาย เช่น การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้จาก ผู้มีประสบการณ์ การเรียนรู้จากสถานที่จริง การใช้กรณีศึกษา การศึกษาดูงานสถานศึกษาต้นแบบ การฝึกปฏิบัติงาน การนาเสนอผลการศึกษา/เรียนรู้ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4. เกณฑ์การตัดสิน ผู้เข้ารับการพัฒนาจะต้องมีระยะเวลาเข้ารับการพัฒนาไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของ ระยะเวลาการพัฒนาท้ังหมด และต้องผ่านการประเมินผลเมื่อส้ินสุดการพัฒนาไม่ต่ากว่าร้อยละ 80 จึงจะถือว่าผ่าน การพฒั นา ผไู้ ม่ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ผลการพัฒนาไมส่ ามารถบรรจุและแตง่ ต้งั ให้ดารงตาแหน่งได้ มำตรฐำนกำรพัฒนำ ให้สว่ นราชการต้นสงั กดั ดาเนนิ การตามมาตรฐานการพฒั นา ดังต่อไปนี้ 1. การบริหารจัดการ จัดทารายละเอียดหลักสูตรและคู่มือการพัฒนา จัดทาแผนพัฒนา คัดเลือกวิทยากรและวิทยากรพ่ีเล้ียง จัดทาข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับวิทยากร จัดวิทยากรเป็นคณะหรือทีมจัดการเรียนรู้สร้างความเข้าใจในเร่ืองหลักสูตร และการประเมินผลการพัฒนากบั วิทยากร และดาเนนิ การพัฒนาให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวธิ ีการที่ ก.ค.ศ. กาหนด จัดสรรงบประมาณสนับสนุนให้เพียงพอ จัดระบบควบคุมคุณภาพการพัฒนา รวมท้ังกากับ ติดตาม ประเมินและ รายงานผลการพัฒนาให้ ก.ค.ศ. ทราบ 2. วิทยากรและวิทยากรพี่เล้ียง วิทยากรและวิทยากรพี่เล้ียงต้องเป็นผู้ท่ีมีบุคลิกภาพเหมาะสม มีความ รอบรู้ มีความสามารถ มีประสบการณ์ ประสบความสาเร็จเป็นท่ียอมรับในทางวิชาการ ทางการบริหารการศึกษาและ เรื่องที่เก่ียวข้อง มีความรับผิดชอบการพัฒนา และสามารถสร้างบรรยากาศท่ีดีในการพัฒนา รวมท้ังสามารถ จดั กิจกรรมการพัฒนาโดยเนน้ ผ้เู ข้ารับการพัฒนาเปน็ สาคัญ 3. ส่อื และนวัตกรรมการพัฒนา จัดให้มีคู่มือ สื่อและนวัตกรรมประกอบการพัฒนา ส่งให้ผู้เข้ารับการพัฒนาศึกษาล่วงหน้า จัดเอกสาร สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และโสตทัศนูปกรณ์ท่ีมีเนื้อหาความรู้ทางวิชาการทันสมัย เข้าถึงได้สะดวก มีคุณภาพดี มีปริมาณ เพียงพอ ชว่ ยใหผ้ ู้เขา้ รับการพฒั นามีความสนใจ กระตอื รือร้น และมสี ว่ นร่วมในการเรยี นรู้ 4. สถานทท่ี ใ่ี ช้ในการพฒั นา สถานท่ีท่ีใช้ในการพัฒนาต้องเหมาะสม และมีบรรยากาศที่ดี มีอุปกรณ์และสิ่งอานวยความสะดวก เอ้ือต่อการพฒั นา รวมทง้ั มแี หลง่ ศึกษาค้นควา้ อย่างเพยี งพอสาหรับการพัฒนา 5. การประเมินผลการพฒั นา การประเมินผลการพัฒนาต้องประเมินผลก่อนการพัฒนา ระหว่างการพัฒนาและเมื่อสิ้นสุดการพัฒนา โดยมุ่งเนน้ การประเมินผลตามสภาพจริงอย่างเปน็ ระบบ และไดม้ าตรฐานตามที่ ก.ค.ศ. กาหนด สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐานหวังวา่ หลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครแู ละบุคลากร ทางการศกึ ษาก่อนแตง่ ตั้งให้ดารงตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศึกษาจะใชเ้ ป็นแนวทางดาเนินการพัฒนาให้บรรลุ วัตถปุ ระสงค์ในการพฒั นาความรู้ ทักษะเจตคตทิ ีด่ ี คุณธรรมจริยธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชีพที่เหมาะสม สามารถดาเนินการและพฒั นาคุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษา แปลงนโยบายเป้าหมายสู่การปฏิบัติ

ค่มู ือหลกั สตู รการพัฒนาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาก่อนแตง่ ตง้ั ใหด้ ารงตาแหนง่ รองผูอ้ านวยการสถานศึกษา 3 เป็นนักบริหารจัดการท่ียึดหลักธรรมาภิบาลในการบริหารจดั การอย่างมีประสิทธิภาพและเกดิ ประสทิ ธผิ ลและ ขอขอบคุณคณะทางาน ประกอบด้วย ผอู้ านวยการสานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษา รองผ้อู านวยการสานกั งาน เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา ผู้อานวยการสถานศึกษา รองผอู้ านวยการสถานศกึ ษา ศึกษานิเทศก์ ตลอดจนเจ้าหน้าท่ี ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายในการจัดทาคู่มือการพัฒนาจนสาเร็จไว้ ณ โอกาสนด้ี ้วย วตั ถปุ ระสงค์ เพื่อเป็นแนวทางการดาเนินการให้ผู้เข้ารับการพัฒนาได้เพิ่มพูนความรู้ ทักษะ เจตคติที่ดี คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพที่เหมาะสม ในอันที่จะทาให้การปฏิบัติหน้าที่ราชการเกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและความก้าวหน้าแก่ราชการ โดยสามารถช่วยเหลือผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ในการแปลงนโยบายสู่การปฏิบัติ กาหนดยุทธศาสตร์และจุดเน้นในการปฏิรูปและการพัฒนาการศึกษาในเขต พ้ืนที่การศึกษา เป็นผู้นาทางวิชาการ และนักบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ โดยยึดหลักธรรมาภิบาลในการบริหาร จัดการ หลักสูตรกำรพฒั นำขำ้ รำชกำรครูและบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำ กอ่ นแต่งตั้งใหด้ ำรงตำแหนง่ รองผู้อำนวยกำรสถำนศกึ ษำ หลักสูตรพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่ง รองผู้อานวยการ สถานศกึ ษา ประกอบด้วย ๓ ระยะ ใช้เวลาในการพัฒนาไม่น้อยกว่า ๑๕ วัน โดยมีโครงสร้างหลักสูตร ดงั นี้ ระยะท่ี ๑ กำรเสรมิ สร้ำงสมรรถนะของรองผ้อู ำนวยกำรสถำนศึกษำ ไมน่ อ้ ยกวำ่ ๗ วัน หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๑ คณุ ลักษณะรองผู้อานวยการสถานศึกษาที่พึงประสงค์ (๑๒ ชัว่ โมง) หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๒ ภาวะผู้นาทางวชิ าการ (๒๑ ชว่ั โมง) หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๓ การบรหิ ารและการจัดการในสถานศึกษา (๓๐ ช่ัวโมง) ระยะท่ี ๒ กำรเรยี นรูใ้ นสภำพจรงิ ไมน่ ้อยกวำ่ ๕ วนั ผู้เข้ารับการพัฒนาเรียนรู้ตามสภาพจริงการบริหารจัดการในสถานศึกษา ภาครัฐและเอกชน องค์กร เอกชน แหลง่ เรยี นรู้ทเี่ ป็นเลิศในการบริหารจัดการ ทม่ี ีนวตั กรรมหรือมีการปฏบิ ตั ิงานท่ีเป็นเลิศด้านการบรหิ าร โดยมี ผูท้ รงคณุ วุฒทิ มี่ ีความรอบรู้ มปี ระสบการณ์ ให้คาแนะนา มกี ารกากบั ติดตามและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ในสภาพจริง ระยะท่ี ๓ กำรจดั ทำและนำเสนอแผนกลยทุ ธ์พัฒนำกำรศึกษำในสถำนศกึ ษำ ไมน่ อ้ ยกว่ำ ๓ วัน ผู้เข้ารับการพัฒนาจัดทาแผนกลยุทธ์เพื่อพัฒนาการศึกษาในสถานศึกษา โดยการศึกษาวิเคราะห์และ สังเคราะห์ผลการเรียนรู้ที่ได้จากการเสริมสร้างสมรรถนะและการเรียนรู้ในสภาพจริงแล้วนาเสนอเพ่ือแลกเปลี่ยน เรยี นรู้ ระยะเวลำในกำรพัฒนำ ใชเ้ วลาในการพฒั นา จานวนไมน่ อ้ ยกว่า ๑๕ วนั ไม่นอ้ ยกวา่ ๑๒๐ ชัว่ โมง

ค่มู ือหลกั สูตรการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษากอ่ นแตง่ ต้งั ใหด้ ารงตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศกึ ษา 4

คู่มือหลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งใหด้ ารงตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศึกษา 5 กรอบหลักสตู รกำรพฒั นำข้ำรำชกำรครแู ละบุคลำกรทำงกำรศึกษำกอ่ นแตง่ ต้ัง ใหด้ ำรงตำแหนง่ รองผู้อำนวยกำรสถำนศึกษำ ระยะท่ี ๑ จำนวน ๖๓ ชวั่ โมง หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๑ คณุ ลกั ษณะรองผอู้ ำนวยกำรสถำนศกึ ษำทพ่ี งึ ประสงค์ (๑๒ ชัว่ โมง) รายวชิ าที่ ๑.๑ การพฒั นาอุดมการณ์และกระบวนทัศน์ของการเปน็ รองผู้อานวยการสถานศึกษา เวลา ๓ ชวั่ โมง รายวชิ าท่ี ๑.๒ การพัฒนาบุคลกิ ภาพและสุนทรยี ภาพเหมาะสมกบั รองผู้อานวยการสถานศึกษา เวลา ๓ ชวั่ โมง รายวชิ าท่ี ๑.๓ การพฒั นาทักษะการพดู ที่ถูกต้องและเหมาะสมกับตาแหนง่ เวลา ๓ ชว่ั โมง รายวชิ าที่ ๑.๔ การพัฒนาวนิ ยั ในตนเอง มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพและ เวลา ๓ ชวั่ โมง ธรรมาภิบาล ในการบรหิ ารของสถานศึกษา หนว่ ยกำรเรียนรูท้ ่ี ๒ ภำวะผู้นำทำงวชิ ำกำร (๒๑ ช่ัวโมง) รายวิชาที่ ๒.๑ วสิ ัยทัศนแ์ ละภาวะผู้นาการเปลย่ี นแปลงทางวชิ าการสู่ความสาเรจ็ เวลา ๓ ชว่ั โมง รายวิชาที่ ๒.๒ ผ้นู าในการบรหิ ารจัดการหลกั สตู ร เวลา ๓ ชว่ั โมง รายวิชาท่ี ๒.๓ ผู้นาการเปลีย่ นแปลงกระบวนการจัดการเรียนรทู้ เ่ี นน้ ผเู้ รียนเป็นสาคัญและ เวลา ๓ ชวั่ โมง การวดั และประเมนิ ผลตามหลักสตู ร รายวิชาท่ี ๒.๔ ผู้นาแหง่ ศรัทธาและทักษะการตัดสินใจ เวลา ๓ ชว่ั โมง รายวชิ าที่ ๒.๕ ผ้นู าในการนิเทศภายในพฒั นานวตั กรรม เทคโนโลยสี ารสนเทศและงานวจิ ัย เวลา ๓ ชวั่ โมง มาใช้พฒั นาคุณภาพการศึกษา รายวชิ าที่ ๒.๖ การพัฒนาทักษะความเข้าใจและใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ัล (Digital Literacy) เวลา ๓ ชว่ั โมง รายวชิ าท่ี ๒.๗ การพฒั นาทักษะความรู้ภาษาอังกฤษ (English Literacy) เวลา ๓ ชัว่ โมง หนว่ ยกำรเรยี นรู้ที่ ๓ กำรบริหำรและกำรจดั กำรในสถำนศึกษำ (๓๐ ช่ัวโมง) รายวชิ าท่ี ๓.๑ การขับเคล่อื นนโยบายในสถานศกึ ษา เวลา ๓ ชวั่ โมง รายวิชาท่ี ๓.๒ การบรหิ ารจัดการสถานศึกษาเชิงกลยทุ ธ์ เวลา ๓ ชว่ั โมง รายวิชาที่ ๓.๓ การบริหารงานวิชาการ เวลา ๓ ชว่ั โมง รายวิชาที่ ๓.๔ การบริหารงบประมาณ เวลา ๓ ชวั่ โมง รายวชิ าท่ี ๓.๕ การบรหิ ารงานทั่วไป เวลา ๓ ชว่ั โมง รายวชิ าท่ี ๓.๖ การบริหารงานบุคคล เวลา ๓ ชวั่ โมง รายวิชาท่ี ๓.๗ การบริหารจดั การสถานศึกษาโดยใชด้ ิจทิ ัลและเทคโนโลยี เวลา ๓ ชวั่ โมง รายวิชาท่ี ๓.๘ ชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี (PLC) เวลา ๓ ชว่ั โมง รายวชิ าที่ ๓.๙ การบรหิ ารจัดการสถานศึกษาสู่ความเปน็ เลศิ เวลา ๓ ชวั่ โมง รายวิชาที่ ๓.๑๐ พระบรมราโชบายในหลวงราชการที่ ๑๐ เวลา ๓ ชว่ั โมง

คมู่ ือหลักสตู รการพัฒนาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแตง่ ตงั้ ใหด้ ารงตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศึกษา 6 โครงสรำ้ งหลกั สตู รกำรพัฒนำกอ่ นแตง่ ต้ังใหด้ ำรงตำแหน่งรองผู้อำนวยกำรสถำนศกึ ษำ สังกดั สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้นั พนื้ ฐำน หน่วยกำร รำยละเอยี ดหลักสูตร เวลำ เรียนรทู้ ่ี (ช.ม.) ประเมนิ ก่อนพฒั นา (แบบทดสอบจานวน ๓๐ ข้อ) ๓๐ นาที ๑ คณุ ลักษณะรองผอู้ ำนวยกำรสถำนศึกษำท่พี ึงประสงค์ (๑๒ ช่ัวโมง) ๓ รายวิชาท่ี ๑.๑ การพัฒนาอุดมการณ์และกระบวนทศั น์ของการเป็นรองผู้อานวยการ ๓ สถานศึกษา รายวชิ าที่ ๑.๒ การพัฒนาบุคลิกภาพและสนุ ทรยี ภาพเหมาะสมกบั รองผู้อานวยการ ๓ สถานศกึ ษา ๓ รายวชิ าที่ ๑.๓ การพัฒนาทักษะการพูดทถี่ ูกต้องและเหมาะสมกับตาแหนง่ ๓ รายวชิ าท่ี ๑.๔ การพัฒนาวนิ ัยในตนเอง มีคณุ ธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวชิ าชพี และ ๓ ธรรมาภิบาล ในการบรหิ ารของสถานศึกษา ๓ ภำวะผนู้ ำทำงวิชำกำร (๒๑ ช่ัวโมง) รายวชิ าที่ ๒.๑ วิสัยทศั น์และภาวะผูน้ าการเปล่ียนแปลงทางวชิ าการสคู่ วามสาเร็จ รายวชิ าท่ี ๒.๒ ผู้นาในการบริหารจัดการหลักสูตร รายวิชาที่ ๒.๓ ผู้นาการเปลี่ยนแปลงกระบวนการจดั การเรยี นรทู้ เี่ น้นผู้เรยี นเป็นสาคญั และการวดั และประเมนิ ผลตามหลักสตู ร ๒ รายวิชาที่ ๒.๔ ผนู้ าแหง่ ศรทั ธาและทักษะการตดั สนิ ใจ ๓ รายวชิ าที่ ๒.๕ ผนู้ าในการนเิ ทศภายในพัฒนานวตั กรรม เทคโนโลยสี ารสนเทศและ งานวิจยั มาใช้พฒั นาคุณภาพการศกึ ษา รายวชิ าที่ ๒.๖ การพัฒนาทักษะความเข้าใจและใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ลั (Digital Literacy) ๓ รายวิชาท่ี ๒.๗ การพฒั นาทักษะความร้ภู าษาอังกฤษ (English Literacy) ๓ ๓ กำรบรหิ ำรและกำรจัดกำรในสถำนศกึ ษำ (๓๐ ชว่ั โมง) รายวิชาท่ี ๓.๑ การขบั เคลื่อนนโยบายในสถานศึกษา ๓ รายวิชาท่ี ๓.๒ การบริหารจัดการสถานศึกษาเชงิ กลยทุ ธ์ ๓ รายวชิ าท่ี ๓.๓ การบรหิ ารงานวชิ าการ ๓ รายวชิ าที่ ๓.๔ การบรหิ ารงบประมาณ ๓ รายวชิ าที่ ๓.๕ การบรหิ ารงานท่วั ไป ๓

7 คูม่ อื หลกั สตู รการพฒั นาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษากอ่ นแต่งต้งั ใหด้ ารงตาแหนง่ รองผ้อู านวยการสถานศึกษา หนว่ ยกำร รำยละเอยี ดหลักสตู ร เวลำ เรยี นรู้ท่ี (ช.ม.) รายวิชาท่ี ๓.๖ การบรหิ ารงานบุคคล รายวิชาท่ี ๓.๗ การบรหิ ารจดั การสถานศึกษาโดยใชด้ จิ ิทัลและเทคโนโลยี ๓ รายวชิ าที่ ๓.๘ ชมุ ชนแห่งการเรียนร้ทู างวชิ าชีพ (PLC) ๓ รายวิชาท่ี ๓.๙ การบริหารจดั การสถานศึกษาสู่ความเป็นเลศิ ๓ รายวิชาท่ี ๓.๑๐ พระบรมราโชบายในหลวงราชการท่ี ๑๐ ๓ ๓ ประเมินหลังพัฒนา (แบบทดสอบจานวน ๓๐ ข้อ) ๓๐ นาที วิธีกำรพัฒนำ ๑. การศกึ ษาดว้ ยตนเองจากเอกสารและแหล่งเรียนรู้ ๒. การศกึ ษาจากวทิ ยากรและผ้ทู รงคุณวฒุ ิ ๓. การแลกเปล่ียนเรยี นรู้โดยกระบวนการกลมุ่ ๔. การฝึกประสบการณ์ในสภาพจรงิ ๕. การสังเคราะหค์ วามรจู้ ากกิจกรรมการเสริมสร้างสมรรถนะและการฝึกประสบการณ์ ๖. การนาเสนอและแลกเปล่ียนเรียนรู้ วิทยำกร สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน คัดเลือกวิทยากรและวิทยากรพี่เลี้ยงท่ีมี ความรอบรู้ มีความสามารถ มีประสบการณ์และประสบความสาเร็จ เป็นที่ยอมรับในเชิงวิชาการและการบริหารงานในเรื่อง ท่ีรับผดิ ชอบ มีความสามารถในการสรา้ งบรรยากาศท่ีดใี นการพฒั นา และใหถ้ อื ว่าผู้เขา้ รบั การพฒั นา มคี วามสาคัญ ทส่ี ดุ สอ่ื และนวัตกรรมกำรพฒั นำ ๑. คู่มอื และเอกสารประกอบการพัฒนา ๒. แบบฝกึ ปฏบิ ตั ิ ใบงาน ใบความรู้ ๓. สื่อเทคโนโลยี ๔. เว็บไซต์ท่เี ก่ียวข้อง ๕. ชดุ การเรียนรู้ ๖. สถานที่และแหลง่ เรยี นรู้

คมู่ อื หลกั สตู รการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษากอ่ นแตง่ ตั้งใหด้ ารงตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศกึ ษา 8 กำรประเมินผลกำรพัฒนำ การประเมินผลการพัฒนาเป็นกระบวนการเพื่อปรับปรุง พัฒนา โดยกาหนดให้มีการประเมิน ก่อนพัฒนา ระหว่างการพัฒนา และเมื่อส้ินสุดการพัฒนา มุ่งเน้นการประเมินตามสภาพจรงิ ด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย โดยยึด วัตถุประสงค์ท่ี ก.ค.ศ.กาหนด ดังนี้ 1. ผเู้ ขา้ รับการพัฒนาศึกษาเอกสารและค้นคว้า จดั ทาเอกสารสรุปรายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ส่งพรอ้ มวันรายงานตวั 2. ผู้เข้ารับการพัฒนาต้องเขา้ รบั การประเมินความรู้ก่อนและหลงั การพฒั นาดว้ ยการทดสอบความรู้ ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั การเสรมิ สร้างสมรรถนะสาหรบั ตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศกึ ษา จานวน ๓๐ ขอ้ ๓. การประเมนิ ระหว่างการพัฒนา (๕๐๐ คะแนน) ส่วนท่ี ๑ การเสริมสรา้ งสมรรถนะของรองผู้อานวยการสถานศกึ ษา (Competency) (๑๕๐ คะแนน) ส่วนที่ ๒ การเรยี นรู้ในสภาพจริง (๒๐๐ คะแนน) ส่วนที่ ๓ การจดั ทาและนาเสนอแผนกลยุทธ์พัฒนาการศึกษาในสถานศึกษา (๑๕๐ คะแนน) ๔. เกณฑ์การผา่ นการพฒั นากอ่ นแต่งตง้ั ใหด้ ารงตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศึกษา ผ้เู ขา้ รับการพฒั นาต้องมี คะแนนการประเมินตามเกณฑ์ ทกี่ าหนด ดงั นี้ ๔.๑ มีระยะเวลาในการเข้ารับการพัฒนา ไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๙๐ ของระยะเวลาการพฒั นาทัง้ หมด ๔.๒ ไดค้ ะแนนการประเมินผล ระหว่างการพฒั นาไมต่ ่ากว่ารอ้ ยละ ๘๐ ๔.๓ ผ่านการประเมินความรู้หลงั การพฒั นาด้วยการทดสอบความรู้เม่ือส้นิ สดุ การพฒั นา ไมต่ า่ กว่า รอ้ ยละ ๘๐ บทบำทของบคุ ลำกรที่มีสว่ นเก่ียวขอ้ งกบั กำรดำเนินกำรพัฒนำ ๑. บทบำทผู้บริหำรโครงกำร ๑.๑ ประสานกับส่วนราชการและบุคลากรท่ีเก่ียวข้องเพื่อเตรียมดาเนินการพัฒนา เช่น รายช่ือ ผูเ้ ขา้ รบั การพัฒนา กาหนดระยะเวลา งบประมาณ อาคารสถานท่ี ฯลฯ ๑.๒ ศกึ ษาและทาความเข้าใจเกี่ยวกับหลกั สตู ร คู่มือ หลกั เกณฑ์ และวิธีการดาเนินการพัฒนา ๑.๓ ดาเนินการพัฒนาตามกระบวนการและขั้นตอนอย่างเป็นระบบให้บรรลุจุดประสงค์ของ หลักสตู รท่ีกาหนด ๑.๔ อานวยความสะดวกแก่วิทยากร ผเู้ ขา้ รับการพัฒนาและผู้เกีย่ วขอ้ งตลอดโครงการ ๑.๕ ให้คาปรึกษาแนะนาและแกป้ ญั หาทเี่ กดิ ข้นึ ในการดาเนนิ การพฒั นา ๑.๖ กากบั และควบคุมเวลาการเข้ารับการพัฒนาของผเู้ ข้ารบั การพัฒนา ๑.๗ รายงานผลการดาเนนิ การพัฒนาให้ผ้อู านวยการหน่วยดาเนินการพฒั นาเพือ่ ดาเนนิ การตอ่ ไป ๒. บทบำทคณะกรรมกำรวชิ ำกำร ๒.๑ ศึกษาและทาความเข้าใจเก่ียวกบั หลกั สูตร คมู่ ือ หลักเกณฑ์ และวธิ ีการดาเนินการพฒั นา ๒.๒ พจิ ารณาคัดเลอื กวทิ ยากรตามคุณสมบตั ิทกี่ าหนดไว้ในค่มู ือ ๒.๓ ให้คาปรกึ ษาแนะนาเชิงวิชาการให้แกว่ ทิ ยากรและผทู้ เ่ี กีย่ วข้อง

คู่มอื หลักสตู รการพัฒนาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษากอ่ นแต่งตัง้ ใหด้ ารงตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศึกษา 9 ๓. บทบำทคณะกรรมกำรวดั และประเมนิ ผล ๓.๑ ศึกษารายละเอียดการวัดและประเมินผลตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดไว้ในหลักสูตร และแบบ ประเมนิ ต่าง ๆ ท่กี าหนดไว้ในค่มู อื ๓.๒ จัดเตรียมเอกสารแบบประเมินต่าง ๆ ท่ีกาหนดไว้ในคู่มือให้แก่ผู้บริหารโครงการ วิทยากรหรือ วิทยากรพเ่ี ลี้ยง และผ้ทู ีเ่ ก่ียวข้อง ๓.๓ ช้ีแจงและทาความเข้าใจรายละเอียดการวัดและประเมินผลตามหลักเกณฑ์ ที่กาหนดไว้ใน หลักสูตรและแบบประเมินต่าง ๆ ที่กาหนดไว้ในคู่มือแก่ผู้บริหารโครงการ วิทยากร หรือวิทยากรพ่ีเล้ียง และ ผูเ้ ก่ียวข้อง ๓.๔ รวบรวมแบบประเมินต่าง ๆ จากผู้บริหารโครงการ วิทยากรหรือวิทยากรพี่เลี้ยง และผู้ท่ี เก่ยี วขอ้ งเพ่อื ประมวลผล ๓.๕ วิเคราะหแ์ ละสรปุ ผลการประเมินวทิ ยากรรายบุคคล ๓.๖ วิเคราะหแ์ ละสรุปผลการประเมินโครงการ ๓.๗ สรุปผลการประเมินผู้เข้ารับการพัฒนาตามแบบกรอกคะแนนและแบบสรุปผล การพัฒนาตามแบบประเมนิ ท่กี าหนดไว้ในคมู่ ือ ท้ังนี้ ผลู้ งนามในแบบประเมิน ประกอบดว้ ย ประธานหนว่ ยพฒั นา คณะกรรมการวิชาการ คณะกรรมการวัดและประเมินผล ผู้บริหารโครงการและผู้ประสานงานของสานักพัฒนา ระบบบริหารงานบคุ คลและนติ กิ าร รวม ๕ คน ๔. บทบำทวทิ ยำกร ๔.๑ ศึกษาหลกั สูตรและทาความเข้าใจสาระของหน่วยการเรียนรู้ทีร่ บั ผิดชอบให้ชัดเจน ๔.๒ ดาเนินการจัดกิจกรรมตามขอบข่ายสาระและแนวทางการจัดกิจกรรมของหน่วยการเรียนรู้ ตามที่หลักสูตรกาหนด ๔.๓ วางแผนการจดั กจิ กรรมรว่ มกนั ในหน่วยการเรียนรู้ในกรณที ี่มวี ิทยากรเป็นทมี ๔.๔ ให้คาปรึกษา แนะนาเชิงวิชาการ แก่ผู้เข้ารับการพัฒนาในสาระของหน่วยการเรียนรู้ ที่รบั ผิดชอบ ๔.๕ ส่งเสริมการมสี ่วนร่วมและให้ขวัญกาลังใจในการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรแู้ กผ่ ู้เข้ารบั การพัฒนา ๕. บทบำทวิทยำกรพี่เลยี้ ง วทิ ยากรพเี่ ลี้ยง หมายถึง ผู้ท่ีทาหน้าทช่ี ว่ ยวิทยากรในการจัดกจิ กรรมการพฒั นา อานวยความสะดวก ให้แกผ่ ู้เข้ารบั การพฒั นา โดยมีบทบาท ดงั น้ี ๕.๑ ศกึ ษาหลักสูตรและทาความเขา้ ใจสาระของหน่วยการเรียนรทู้ ีร่ ับผิดชอบใหช้ ัดเจน ๕.๒ ร่วมวางแผนการจดั กิจกรรมการพัฒนาและอานวยความสะดวกใหแ้ กว่ ทิ ยากร ๕.๓ เสริมประสบการณ์การบริหารจัดการเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ให้คาปรึกษาแนะนาแก่ผู้เข้ารับ การพัฒนา ๕.๔ สง่ เสริมการมสี ว่ นร่วมและให้ขวัญกาลังใจในการปฏิบตั ิกจิ กรรมการเรียนรู้แก่ผู้เขา้ รับการพัฒนา ๕.๕ ประเมินผ้เู ข้ารบั การพฒั นาตามแบบประเมนิ ทก่ี าหนด

ค่มู อื หลกั สูตรการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาก่อนแต่งตัง้ ใหด้ ารงตาแหนง่ รองผอู้ านวยการสถานศึกษา 10 กระบวนกำรพัฒนำ ๑. ก่อนกำรพัฒนำ ผู้เข้ารับการพัฒนา ศึกษา ค้นคว้า ด้วยตนเองจาก เอกสาร ตารา บทความ งานวิจัย สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และ แหล่งเรยี นรทู้ ่หี ลากหลาย ประกอบไปด้วย หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๑ คุณลกั ษณะรองผู้อานวยการสถานศกึ ษาที่พึงประสงค์ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๒ ภาวะผู้นาทางวชิ าการ หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี ๓ การบริหารและการจัดการในสถานศกึ ษา การพัฒนาตามแนวนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ประกอบไปดว้ ย ๑. การพฒั นาทักษะความเขา้ ใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy) ๒. การพฒั นาทกั ษะความรู้ภาษาอังกฤษ (English Literacy) ๓. การพฒั นาความเป็นผู้นาทางการบริหาร (Leadership) ๒. ระหวำ่ งกำรพฒั นำ ผู้เข้ารับการพัฒนา รับฟัง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ท้ังระหว่างผู้เข้ารับการพัฒนากับวิทยากร และระหว่าง ผูเ้ ขา้ รับการพัฒนาด้วยกนั ใช้กระบวนการกลุ่มในการดาเนนิ กิจกรรม ฝึกปฏิบัตกิ จิ กรรมตามใบงาน และกจิ กรรม นาเสนอผลการดาเนนิ กิจกรรม ๓. หลังกำรพัฒนำ ผู้ผ่านการพัฒนาเป็นผู้มีความรู้เหมาะสมกับบทบาทหน้าท่ี สามารถนาผลการเรียนรู้ไปปฏิบัติจริง โดยมีกระบวนการติดตามและประเมินผลจากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน แนวปฏบิ ัตสิ ำหรับผ้เู ขำ้ รบั กำรพัฒนำ ๑. ศกึ ษาเอกสารหลักสตู รและแนวทางการพัฒนาอยา่ งชดั เจน ๒. เตรียมเอกสารประกอบการศกึ ษาในแตล่ ะรายวชิ าหรอื ในแตล่ ะหน่วยการเรยี นรู้ ๓. ตรงตอ่ เวลา ใหค้ วามสนใจและตง้ั ใจเข้ารว่ มกิจกรรมตามหลกั สตู รทกุ กิจกรรม ๔. ดาเนินการตามกิจกรรมท่ีวทิ ยากรและวทิ ยากรพ่ีเล้ียงไดแ้ นะนาและสงั เกต ๕. ทบทวนบทเรียนทุกวันในแต่ละรายวชิ า สรุปเปน็ องคค์ วามรู้ ๖. ปฏิบตั ิตนตามระเบียบของหนว่ ยดาเนินการพัฒนา ๗. ในกรณีท่ีจาเป็นต้องลากิจ ลาป่วย ให้ยื่นใบลาต่อประธานหน่วยพัฒนา โดยผ่านผู้บริหารโครงการหรือ วิทยากรพ่เี ลย้ี ง ๘. แต่งกายสภุ าพเรียบรอ้ ย ใช้วาจาที่สุภาพ ปฏบิ ัติตนเหมาะสม ให้เกียรตซิ ่ึงกันและกัน ๙. ละเวน้ อบายมขุ ทกุ ชนดิ ตลอดระยะเวลาการเขา้ รับการพฒั นา ๑๐. ปฏิบัตกิ จิ กรรมอ่ืน ๆ ตามทไี่ ด้รบั มอบหมาย

ค่มู ือหลกั สูตรการพัฒนาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาก่อนแต่งต้ังใหด้ ารงตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศกึ ษา ๑1 บทท่ี ๒ กระบวนกำรพฒั นำ ส่วนท่ี ๑ กำรเสรมิ สรำ้ งสมรรถนะของรองผู้อำนวยกำรสถำนศึกษำ ไม่น้อยกวำ่ ๗ วัน หนว่ ยกำรเรียนรูท้ ี่ ๑ คุณลกั ษณะรองผอู้ ำนวยกำรสถำนศึกษำทีพ่ ึงประสงค์ ระยะเวลำ ๑๒ ชั่วโมง คำอธบิ ำยหนว่ ยกำรเรียนรู้ การพัฒนาบุคลิกภาพของรองผู้อานวยการสถานศึกษา ทักษะการพูด อุดมการณ์ และกระบวนทัศน์ การสร้างอุดมการณ์และปรับกระบวนทัศน์ในการเป็นรองผู้อานวยการสถานศึกษา วินัยในตนเอง คุณธรรม จริยธรรมจรรยาบรรณวิชาชีพ ธรรมาภิบาลในการบริหาร โดยใช้วิธีการเรียนรู้ ท่ีเน้นการ ปฏิบัติและการ ประเมินผลท่หี ลากหลาย เพอ่ื ใหร้ องผอู้ านวยการสถานศึกษามคี ุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ วตั ถปุ ระสงค์ ๑. เพอื่ ใหผ้ เู้ ข้ารบั การพฒั นามีอดุ มการณแ์ ละกระบวนทัศน์ของการเปน็ รองผู้อานวยการสถานศกึ ษา ๒. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีบุคลิกภาพและสุนทรียภาพเหมาะสมกับตาแหน่งรองผู้อานวยการ สถานศึกษา ๓. เพือ่ ใหผ้ ูเ้ ขา้ รบั การพฒั นามีทกั ษะการพูดทถี่ ูกต้องและเหมาะสมกบั ตาแหน่ง ๔. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีวินัยในตนเอง มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพและธรรมาภิบาล ในการบริหารของสถานศึกษา ควำมคิดรวบยอด รองผู้อานวยการสถานศึกษายุคใหม่ มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ บุ คลิกภาพดี มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ มีความมุ่งม่ัน ด้วยอุดมการณ์ และกระบวนทัศน์ สามารถบริหารสถานศึกษาได้อย่างมี คุณภาพ เป็นแบบอย่างที่ดี ให้แก่เพ่ือนร่วมงานและหน่วยงานทางการศึกษา ส่งผลสัมฤทธิ์ต่อผู้เรียนสู่การพัฒนา การศกึ ษาของชาติ หน่วยกำรเรยี นรู้ที่ ๑ คุณลักษณะรองผูอ้ ำนวยกำรสถำนศึกษำทพี่ ึงประสงค์ (๑๒ ชัว่ โมง) รายวิชาที่ ๑.๑ การพฒั นาอุดมการณ์และกระบวนทัศน์ของการเปน็ รองผู้อานวยการสถานศึกษา เวลา ๓ ชว่ั โมง รายวชิ าที่ ๑.๒ การพัฒนาบุคลกิ ภาพและสุนทรยี ภาพเหมาะสมกบั รองผู้อานวยการสถานศกึ ษา เวลา ๓ ชวั่ โมง รายวิชาท่ี ๑.๓ การพัฒนาทักษะการพดู ท่ีถูกต้องและเหมาะสมกบั ตาแหน่ง เวลา ๓ ชวั่ โมง รายวชิ าท่ี ๑.๔ การพัฒนาวินยั ในตนเอง มีคณุ ธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวชิ าชพี และ เวลา ๓ ชว่ั โมง ธรรมาภบิ าล ในการบรหิ ารของสถานศึกษา

คมู่ อื หลักสูตรการพฒั นาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตัง้ ให้ดารงตาแหนง่ รองผ้อู านวยการสถานศกึ ษา ๑2 รายวิชาที่ ๑.๑ การพฒั นาอุดมการณ์และกระบวนทัศน์ของการเปน็ รองผู้อานวยการสถานศกึ ษา เวลา ๓ ชวั่ โมง วัตถุประสงค์ ๑. เพ่อื ให้ผู้เข้ารบั การพฒั นา มอี ุดมการณ์ กระบวนทศั น์ ของการเปน็ รองผอู้ านวยการสถานศึกษา ๒. เพื่อใหผ้ เู้ ขา้ รบั การพัฒนา นาอดุ มการณ์และกระบวนทัศนไ์ ปใช้ในการปฏบิ ัตงิ านอย่างมปี ระสิทธภิ าพ เนอื้ หำ ๑. หลกั และวิธกี ารในการสรา้ งอุดมการณแ์ ละเกียรติภูมิในวิชาชพี ๒. คการทางานเป็นทีม การเป็นผู้นาและผูต้ ามที่ดี ๓. การคดิ วเิ คราะห์ คิดสงั เคราะห์ คิดแก้ปัญหา และคดิ สร้างสรรค์ ๔. การสื่อสาร โน้มน้าวและจูงใจ การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น การประสานงาน การสร้าง เครือขา่ ยและการมีมนษุ ยสัมพันที่ดี ๕. การวางแผนการทางานอยา่ งสร้างสรรค์ ๖. การสรา้ งวฒั นธรรมคุณภาพ และวัฒนธรรมประชาธิปไตยในการปฏิบัติงานโดยกระบวนการมีสว่ นร่วม ในสถานศึกษา กำรวัดและประเมินผล ๑. การตรวจชิน้ งาน ๒. สังเกตพฤติกรรมการมีสว่ นรว่ ม วทิ ยำกร วทิ ยากรท่ีมบี คุ ลิกภาพทีเ่ หมาะสม มีความรอบรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ เทคนคิ วธิ กี าร ถ่ายทอดท่ีดี เข้าใจงา่ ย และประสบความสาเร็จเปน็ ทีย่ อมรับในทางวิชาการ ทางการบรหิ ารการศึกษา สามารถสรา้ งบรรยากาศ ที่ดีในการพัฒนาและจัดกิจกรรมการพัฒนาโดยเน้นการสร้างอุดมการณ์ กระบวนทัศน์ ของการเป็น รองผูอ้ านวยการสถานศึกษาและสามารถบูรณาการกิจกรรมการเรยี นรรู้ ่วมกบั รายวชิ าอื่น ๆ ทเี่ กี่ยวขอ้ งได้

คูม่ ือหลกั สตู รการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาก่อนแตง่ ต้งั ให้ดารงตาแหนง่ รองผอู้ านวยการสถานศกึ ษา ๑3 รายวชิ าท่ี ๑.๒ การพฒั นาบุคลกิ ภาพและสุนทรยี ภาพเหมาะสมกับรองผู้อานวยการสถานศกึ ษา เวลา ๓ ชัว่ โมง วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อใหผ้ ้บู รหิ ารมีความรคู้ วามเขา้ ใจ มที กั ษะ การพฒั นาบคุ ลกิ ภาพและสนุ ทรยี ภาพ ๒. เพอ่ื ให้ผ้เู ข้ารบั การพฒั นาวเิ คราะห์บุคลิกภาพตนเองและหาวิธกี ารแนวทางการปรบั ปรงุ ฝกึ ฝนตนเองได้ ๓. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนาปฏิบัติตนให้เป็นผู้ที่มีบุคลิกภาพเหมาะสมกับตาแหน่งรองผู้อานวยการ สถานศกึ ษา เนอ้ื หา ๑. การพัฒนาบุคลิกภาพ การวิเคราะห์ตัวเอง (self-analysis) การปรับปรุงและฝึกฝนตนเอง (Self-improvement and Training) การแสดงออก (Behavior) การประเมินผล (Evaluation) ๒. การพฒั นาบุคลิกภาพดา้ นตา่ ง ๆ ๒.๑ การพัฒนาบุคลิกภาพทางกาย การแต่งกายในโอกาสต่าง ๆ การวางตัวอย่างสง่างาม การ พดู การยนื การเดนิ การวางทา่ ทีท่าทาง การสือ่ สาร เปน็ ต้น ๒.๒ การพัฒนาบุคลิกภาพทางสังคม การพูด มารยาทในการรับประทานอาหาร การทักทาย ความไม่เห็นแก่ตวั ความซอ่ื สตั ย์ ความบริสุทธใ์ิ จ การรจู้ ักใจเขาใจเรา ความเปน็ คนตรงต่อเวลา ๒.๓ การพัฒนาบุคลิกภาพทางอารมณ์ การควบคุมอารมณ์ในสถานการณ์ต่าง ๆ การกล้า แสดงออกอยา่ งเหมาะสมตามสถานการณ์ การแสดงออกความรัก ความไม่พอใจ ในระดับพอดี ๒.๔ การพัฒนาบุคลิกภาพทางสติปัญญา การพัฒนาตนเองให้มีภูมิรู้ ความรู้สึกนึกคิดเจตคติ และความสนใจ การวดั และประเมนิ ๑. สังเกตพฤติกรรมและบุคลิกภาพผ้เู ขา้ รบั การพฒั นา ๒. ตรวจผลงานจากการฝึกปฏบิ ตั ิ วิทยากร คัดเลือกวิทยากรที่มีบุคลิกภาพที่ดี มีความเชี่ยวชาญในการพัฒนาบุคลิกภาพ มีประสบการณ์ เทคนิค วิธีการ ถ่ายทอดที่ดี เข้าใจง่าย สามารถสร้างบรรยากาศที่ดีในการพัฒนาและจัดกิจกรรมพัฒนาโดยเน้นการ เสริมสรา้ งบคุ ลิกภาพแก่ผูเ้ ขา้ รับการพัฒนา

คมู่ อื หลักสูตรการพฒั นาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาก่อนแต่งตั้งให้ดารงตาแหนง่ รองผูอ้ านวยการสถานศึกษา ๑4 รายวิชาท่ี ๑.๓ การพฒั นาทักษะการพูดทถ่ี ูกต้องและเหมาะสมกบั ตาแหน่ง เวลา ๓ ชว่ั โมง วัตถุประสงค์ ๑. เพ่อื ใหผ้ ้เู ข้ารับการพฒั นามีทักษะการพดู ที่ถูกต้องและเหมาะสมกับตาแหนง่ รองผู้อานวยการ สถานศกึ ษา ๒. เพือ่ ใหผ้ ้รู ับการพัฒนาความมัน่ ใจในการพดู ในโอกาสต่างๆ เนือ้ หำ ๑. เทคนิควธิ ีการพูดในโอกาสต่าง ๆ เปน็ เชงิ บวกอย่างสรา้ งสรรค์ ๒. ทกั ษะการพดู แบบฉบั พลนั ๓. บุคลกิ ภาพในการพดู ในโอกาสต่างๆ กำรวัดและประเมินผล ๑. การประเมนิ ทักษะการพูด ๒. สงั เกตพฤติกรรมการมีสว่ นร่วม วทิ ยำกร คัดเลือกวิทยากรท่ีมีบุคลิกภาพท่ีเหมาะสม มีความเชี่ยวชาญในการพัฒนาทักษะการพูด มีประสบการณ์ เทคนิค วธิ ีการถา่ ยทอดทด่ี ี เขา้ ใจง่าย สามารถสร้างบรรยากาศทดี่ ีในการพัฒนาและจัดกิจกรรมการพฒั นาโดยเน้น ให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถฝึกปฏิบัติเพ่ือบรรลุวัตถุประสงค์ คือ พูดให้ได้ใจคน พูดให้ได้งาน พูดให้ผ่านปัญหา นาพาสูค่ วามสาเร็จอยา่ งสร้างสรรค์ และสามารถบูรณาการกิจกรรมการเรียนร้รู ่วมกบั รายวิชาอน่ื ๆ ท่ีเกย่ี วข้องได้

คมู่ ือหลกั สูตรการพฒั นาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาก่อนแต่งตง้ั ใหด้ ารงตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศกึ ษา ๑5 รายวชิ าท่ี ๑.๔ การพัฒนาวนิ ยั ในตนเอง มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวชิ าชีพและ เวลา ๓ ชวั่ โมง ธรรมาภิบาลในการบริหารของสถานศกึ ษา วตั ถปุ ระสงค์ ๑. เพอ่ื ให้ผู้เขา้ รบั การพัฒนารแู้ นวทางในการรจู้ กั ตวั เอง มีความเปน็ ครู และความเป็นผ้บู รหิ าร ๒. เพอื่ ใหผ้ ้เู ขา้ รบั การพฒั นารู้แนวทางในการเปน็ คนดี มีอดุ มการณ์ มีจติ วิญญาณ มวี ินยั ในตนเอง มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมและมีจรรยาบรรณ ๓. เพ่อื ให้ผู้เข้ารับการพฒั นารู้แนวทางการปฏิบตั ติ ามหลกั จรรยาบรรณวชิ าชพี และหลักธรรมาภบิ าล ในการบรหิ ารสถานศกึ ษา ๔. เพอ่ื ให้ผู้เขา้ รับการพัฒนารู้แนวทางในการสรา้ งความสุข ด้วยการดารงชวี ิตตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง เน้อื หำ ๑. ความเปน็ ครู และผบู้ ริหาร ๒. คนเก่ง คนดี และการปฏิบตั ิงาน ๓. คนดี มีอุดมการณ์ มจี ิตวิญญาณความเป็นครู ๔. การมวี ินยั ในตนเองของผู้บรหิ าร ๕. คุณธรรม จรยิ ธรรม สาหรบั ผู้บริหาร ๖. จรรยาบรรณวชิ าชพี และธรรมมาภบิ าลในสถานศกึ ษา ๗. การดารงชีวิตตามหลกั ของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กำรวัดและประเมินผล ๑. การตรวจช้นิ งาน ๒. สงั เกตพฤติกรรมการมีส่วนรว่ ม วิทยำกร วิทยากรที่มีบุคลิกภาพท่ีเหมาะสม มีความรอบรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ มีเทคนิค วิธีการ ถ่ายทอด ที่ดีเข้าใจง่าย และประสบความสาเร็จเป็นท่ียอมรับในทางวิชาการ ทางการบริหารการศึกษา สามารถสร้าง บรรยากาศท่ีดีในการพัฒนาและจัดกิจกรรมการพัฒนา โดยเน้นการสร้างอุดมการณ์ มีจิตวิญญาณความเป็นครู เป็นคนดกี ารมวี นิ ยั ในตนเอง มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ และสามารถบูรณาการกจิ กรรมการเรียนรู้ ร่วมกบั รายวชิ าอื่น ๆ ที่เกี่ยวขอ้ งได้

คู่มอื หลกั สตู รการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งใหด้ ารงตาแหนง่ รองผ้อู านวยการสถานศึกษา ๑6 หนว่ ยกำรเรยี นรทู้ ่ี ๒ ภำวะผนู้ ำทำงวิชำกำร ระยะเวลำ ๒๑ ชั่วโมง คำอธบิ ำยหน่วยกำรเรยี นรู้ ภาวะผู้นาทางวิชาการมุ่งพัฒนาเพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ นโยบาย ภารกิจ จุดเน้น การบริหาร จัดการหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญการนิเทศภายในส่งเสริมให้มีการวิจัยเพ่ือพัฒนา คุณภาพการศึกษา ตลอดจนกระบวนการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพ ฝึกปฏิบัติ ประเมิน วิเคราะห์และวางแผน เก่ียวกับ การบริหารการเปลี่ยนแปลง ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างมี ประสิทธิภาพ มียทุ ธศาสตรก์ ารบริหารสู่ความสาเร็จ เป็นผนู้ าทางวิชาการ เพ่อื ส่งเสริมให้ครูและบุคลากรทางการ ศกึ ษา มภี าวะผนู้ าทางวชิ าการ สอดคล้องกบั ปรัชญาการศึกษาของชาติ วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีภาวะผู้นาทางวิชาการและสามารถบริหารการเปลี่ยนแปลงได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ ๒. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถจัดทาหลักสูตร พัฒนาหลักสูตร ให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง และตามความตอ้ งการของสถานศึกษา มกี ารนาหลกั สตู รไปใช้ และประเมินผลการใช้หลักสูตรได้อยา่ งเปน็ ระบบ ๓. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถเป็นผู้นาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญและวัดผล ประเมนิ ผลตามหลกั สตู รการสอนได้ ๔. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถดาเนินการนิเทศภายในได้อย่างหลากหลายสอดคล้องกับบริบทของ สถานศึกษา ๕. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพฒั นาสามารถจัดทานวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ วจิ ัยในช้ันเรยี นและนาผล การวจิ ัยมาใชใ้ นการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาได้ ๖. เพื่อให้ผเู้ ข้ารับการพฒั นามที กั ษะความเข้าใจและใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ัล (Digital Literacy) ๗. เพื่อใหผ้ ู้เขา้ รบั การพฒั นามีทกั ษะความรูภ้ าษาอังกฤษ (English Literacy) ควำมคิดรวบยอด ภาวะผู้นาทางวิชาการเป็นทักษะสาคัญสาหรับรองผู้อานวยการสถานศึกษา ซ่ึงส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน และต่อการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของชาติ โดยเฉพาะในยุคของการเปลี่ยนแปลง ที่ต้องนาทักษะความ เข้าใจและการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy) ทักษะความรู้ภาษาอังกฤษ (English Literacy) มาปรับปรุง พฒั นาหลกั สตู ร นวัตกรรม ส่ือการเรียนการสอน และการนเิ ทศตดิ ตามรปู แบบใหม่ๆ

คมู่ อื หลักสูตรการพัฒนาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาก่อนแตง่ ต้งั ให้ดารงตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศกึ ษา ๑7 หนว่ ยกำรเรยี นรู้ที่ ๒ ภำวะผู้นำทำงวชิ ำกำร (๒๑ ชว่ั โมง) เวลา ๓ ชวั่ โมง เวลา ๓ ชวั่ โมง รายวชิ าที่ ๒.๑ วิสยั ทศั นแ์ ละภาวะผนู้ าการเปลีย่ นแปลงทางวิชาการสคู่ วามสาเรจ็ เวลา ๓ ชวั่ โมง รายวชิ าท่ี ๒.๒ ผูน้ าในการบรหิ ารจดั การหลกั สูตร รายวิชาที่ ๒.๓ ผูน้ าการเปลี่ยนแปลงกระบวนการจดั การเรียนรทู้ ่เี นน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญและ เวลา ๓ ชวั่ โมง เวลา ๓ ชวั่ โมง การวดั และประเมินผลตามหลักสตู ร รายวิชาท่ี ๒.๔ ผู้นาแหง่ ศรัทธาและทักษะการตัดสนิ ใจ เวลา ๓ ชวั่ โมง รายวิชาท่ี ๒.๕ ผ้นู าในการนเิ ทศภายในพฒั นานวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศและงานวจิ ัย เวลา ๓ ชว่ั โมง มาใช้พฒั นาคุณภาพการศึกษา รายวชิ าท่ี ๒.๖ การพัฒนาทักษะความเข้าใจและใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ลั (Digital Literacy) รายวิชาที่ ๒.๗ การพฒั นาทักษะความรภู้ าษาองั กฤษ (English Literacy) \\

ค่มู ือหลักสูตรการพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษากอ่ นแตง่ ตัง้ ใหด้ ารงตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศึกษา ๑8 รำยวชิ ำที่ ๒.๑ วสิ ัยทัศนแ์ ละภำวะผนู้ ำกำรเปลีย่ นแปลงทำงวชิ ำกำรสคู่ วำมสำเร็จ เวลำ ๓ ช่ัวโมง วัตถุประสงค์ ๑. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถกาหนดวิสัยทัศน์ทางด้านวิชาการโดยกระบวนการวิเคราะห์สภาพ ปจั จบุ นั ปัญหา นโยบายและตามความตอ้ งการพัฒนาคุณภาพวชิ าการ ๒. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถบริหารการเปลี่ยนแปลงและเป็นผู้นาการเปล่ียนแปลงมีภาวะผู้นา ทางวิชาการ เนอ้ื หำ ๑. การกาหนดวสิ ยั ทัศน์ทางด้านวิชาการโดยกระบวนการวเิ คราะห์สภาพปจั จบุ นั ปัญหา นโยบายและ ตามความต้องการพฒั นาคุณภาพวิชาการ ๒. ภาวะผนู้ าทางวิชาการ ๓. การบรหิ ารการเปลยี่ นแปลง ๓.๑ กระบวนการบรหิ ารการเปลยี่ นแปลง ๓.๒ นโยบายกระทรวง นโยบายรัฐมนตรี นโยบายเรง่ ด่วนและนโยบายทีเ่ กี่ยวข้อง ๓.๓ การนานโยบายไปสกู่ ารปฏบิ ัติ กำรวดั และประเมินผล ๑. การตรวจช้ินงาน ๒. สงั เกตพฤติกรรมการมีส่วนรว่ ม วทิ ยำกร คัดเลือกวิทยากรที่มีบุคลิกภาพท่ีเหมาะสม มีความรอบรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ เทคนิค วิธีการ ถ่ายทอดที่ดี เข้าใจง่าย และประสบความสาเร็จเป็นท่ียอมรับในทางวิชาการ ทางการบริหารการศึกษา สามารถ สร้างบรรยากาศที่ดีในการพัฒนาและจัดกิจกรรมการพัฒนา โดยทาให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีภาวะผู้นาทางวิชาการ มีวิสัยทัศน์และภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงทางวิชาการสู่ความสาเร็จ และสามารถบูรณาการกิจกรรมการเรียนรู้ ร่วมกบั รายวิชาอืน่ ๆ ท่เี กย่ี วขอ้ งได้

คู่มือหลักสูตรการพัฒนาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษากอ่ นแต่งตัง้ ใหด้ ารงตาแหนง่ รองผอู้ านวยการสถานศกึ ษา ๑9 รายวิชาที่ ๒.๒ ผ้นู าในการบริหารจดั การหลกั สตู ร เวลา ๓ ชวั่ โมง วตั ถปุ ระสงค์ ๑. เพื่อให้ผูเ้ ขา้ รบั การพฒั นามีความรู้ความเขา้ ใจในแนวทางการบริหารจดั การพฒั นาหลักสตู ร ๒. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีความรคู้ วามเขา้ ใจในแนวทางการพฒั นาหลักสูตรการจัดการศกึ ษา ข้นั พน้ื ฐานในสถานศึกษา ๓. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีความรู้ความเข้าใจในแนวทางการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นในการจัด การศกึ ษาในสถานศึกษา เนือ้ หำ ๑. การบริหารจัดการหลักสตู ร ๒. หลกั สูตรการจัดการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ๓. หลกั สูตรทอ้ งถ่ิน กำรวัดและประเมินผล ๑. การตรวจชิ้นงาน ๒. สงั เกตพฤติกรรมการมสี ว่ นรว่ ม วิทยำกร คัดเลือกวิทยากรที่มีบุคลิกภาพที่เหมาะสม มีความรอบรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ เทคนิค วิธีการ ถ่ายทอดท่ีดี เข้าใจง่าย และประสบความสาเร็จเป็นที่ยอมรับในทางวิชาการ ทางการบริหาร สามารถสร้าง บรรยากาศท่ีดีในการพัฒนาและจัดกิจกรรมการพัฒนา โดยภาวะผู้นาในการบริหารจัดการหลักสตู รในสถานศึกษา และสามารถบรู ณาการกิจกรรมการเรียนรรู้ ว่ มกบั รายวิชาอ่ืน ๆ ท่เี กยี่ วขอ้ งได้

คู่มือหลกั สูตรการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาก่อนแตง่ ต้งั ใหด้ ารงตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศึกษา 20 รายวชิ าที่ ๒.๓ ผนู้ าการเปลี่ยนแปลงกระบวนการจัดการเรยี นรู้ทีเ่ น้นผ้เู รยี นเป็นสาคัญและ เวลา ๓ ชว่ั โมง การวดั และประเมินผลตามหลักสตู ร วัตถุประสงค์ ๑. เพ่อื ให้ผู้เข้ารับการพฒั นาเป็นผนู้ าการเปลีย่ นแปลงกระบวนการจัดการเรยี นรู้ทเ่ี น้นผเู้ รียนเป็นสาคัญ ๒. เพือ่ ให้ผ้เู ขา้ รับการพฒั นาสามารถบริหารการวัดและประเมนิ ผลตามหลกั สตู ร เนื้อหำ ๑. กระบวนการจัดการเรียนรูท้ ่ีเน้นผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ ๒. การบริหารการเปลีย่ นแปลง ๒.๑ กระบวนการบรหิ ารการเปลีย่ นแปลง ๒.๒ นโยบายกระทรวง นโยบายรัฐมนตรี นโยบายเรง่ ด่วน และนโยบายทีเ่ กยี่ วข้อง ๒.๓ การนานโยบายไปสู่การปฏบิ ัติ ๓. การวัดและประเมนิ ผลตามหลักสตู ร ๔. ความเปล่ียนแปลงในศตวรรษท่ี ๒๑ กำรวดั และประเมินผล ๑. การตรวจช้นิ งาน ๒. สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนรว่ ม วทิ ยำกร คัดเลือกวิทยากรที่มีบุคลิกภาพที่เหมาะสม มีความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ เทคนิควิธีการถ่ายทอด ทด่ี เี ขา้ ใจง่าย และประสบความสาเร็จเป็นทีย่ อมรบั ทางวชิ าการ ทางการบริหารการศึกษา สามารถสร้างบรรยากาศ ท่ีดีในการพัฒนา โดยเน้นการฝึกปฏิบัติให้ผู้เข้ารับการพัฒนาเป็นผู้นาการเปล่ียนแปลงกระบวนการจัดการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และการวัดและประเมินผลตามหลักสูตร และสามารถบูรณาการกิจกรรมการเรียนรู้ ร่วมกับรายวชิ า อื่น ๆ ทเ่ี กยี่ วข้องได้

ค่มู อื หลักสูตรการพฒั นาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาก่อนแต่งต้ังใหด้ ารงตาแหนง่ รองผอู้ านวยการสถานศึกษา ๒1 รายวิชาที่ ๒.๔ ผ้นู าแหง่ ศรทั ธาและทักษะการตดั สนิ ใจ เวลา ๓ ชวั่ โมง วตั ถปุ ระสงค์ ๑. เพอื่ ให้ผรู้ บั การพัฒนารูแ้ นวทางในการเปน็ ผู้นาแหง่ ศรัทธา ๒. เพอื่ ใหผ้ ู้เข้ารับการพฒั นารู้แนวทางและเกิดทักษะการตดั สินใจทดี่ ี เนอ้ื หำ ๑. ภาวะผู้นาแหง่ ศรทั ธา ๒. เทคนคิ วธิ ีการบรหิ ารดว้ ยภาวะผ้นู าแห่งศรทั ธา ๓. ทักษะการตัดสินใจทดี่ ี กำรวดั และประเมินผล ๑. การตรวจชน้ิ งาน ๒. การสงั เกตพฤติกรรมการมสี ่วนรว่ ม วิทยำกร คัดเลือกวิทยากรท่ีมีความสามารถในการพูด/บรรยายท่ีสามารถปลุกเร้า กระตุ้นความคิดจนนาไปสู่สานึก ทดี่ ี และสามารถให้ผ้รู บั การพฒั นาร่วมถกแถลง แสดงความคดิ เห็นในวงเสวนา กากับ ควบคุมใหอ้ ยู่ในประเด็น การ แสดงความคิดเห็น เพ่ือเห็นภาพของการเป็นภาวะผู้นาแห่งศรทั ธาและทักษะการตัดสินใจ อีกทั้งสามารถสร้างแรง บันดาลใจให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีจิตมุ่งมั่น ตั้งใจจริง และแรงบันดาลใจในการประพฤติปฏิบัติตน เป็นบุคคล ทนี่ า่ เคารพ/ศรทั ธา และมคี วามเปน็ ผนู้ าทางวิชาการและมีทกั ษะการตัดสินใจทีด่ ี

คมู่ อื หลกั สูตรการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษากอ่ นแตง่ ตง้ั ให้ดารงตาแหนง่ รองผอู้ านวยการสถานศึกษา ๒2 รายวชิ าที่ ๒.๕ ผู้นาในการนเิ ทศภายใน พัฒนานวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศและงานวิจัย เวลา ๓ ชวั่ โมง มาใช้พฒั นาคุณภาพการศึกษา วัตถุประสงค์ ๑. เพือ่ ใหผ้ ู้เข้ารับการพฒั นาสามารถนาความรเู้ ก่ยี วกับผนู้ าในการนิเทศภายในไปใชใ้ นการบริหารจดั การ ในสถานศกึ ษา ๒. เพื่อให้ผู้เขา้ รับการพฒั นาสามารถนาความรูเ้ กย่ี วกบั พัฒนานวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศและ งานวิจัยมาใชพ้ ัฒนาคุณภาพการศกึ ษา เนื้อหำ ๑. ผนู้ าในการนเิ ทศภายในสถานศึกษา ๒. การนเิ ทศ ๓. การพฒั นานวตั กรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ ๔. งานวิจัยพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา กำรวดั และประเมินผล ๑. การตรวจช้นิ งาน ๒. การสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วม วิทยำกร คัดเลือกวิทยากรท่ีมีบุคลิกภาพท่ีเหมาะสม มีความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ เทคนิควิธีการถ่ายทอด ท่ีดีเขา้ ใจง่าย และประสบความสาเรจ็ เป็นท่ียอมรบั ทางวชิ าการ ทางการบรหิ ารการศึกษา สามารถสรา้ งบรรยากาศ ที่ดีในการพัฒนา โดยเน้นการฝึกปฏิบัติให้ผู้เข้ารับการพัฒนาเป็นผู้นาในการนิเทศภายใน พัฒนานวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศและงานวิจัยมาใช้พัฒนาคุณภาพการศึกษา และสามารถบูรณาการกิจกรรมการเรียนรู้ รว่ มกบั รายวชิ า อ่ืน ๆ ที่เกย่ี วข้องได้

คูม่ ือหลักสตู รการพัฒนาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษากอ่ นแต่งตั้งใหด้ ารงตาแหนง่ รองผอู้ านวยการสถานศึกษา ๒3 รายวชิ าที่ ๒.๖ การพัฒนาทักษะความเข้าใจและใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ัล (Digital Literacy) เวลา ๓ ชั่วโมง วตั ถุประสงค์ ๑. เพ่ือเสริมสร้างสมรรถนะของกลมุ่ รองผู้อานวยการสถานศึกษาใหม้ ีความร้แู ละทักษะในดา้ นเทคโนโลยี ดจิ ทิ ัล ๒. เพ่อื ให้รองผ้อู านวยการสถานศึกษาไดร้ บั การประเมนิ สมรรถนะดา้ นเทคโนโลยีดิจิทลั ทเ่ี ป็นมาตรฐาน และไดร้ ับการรบั รองสมรรถนะจากหน่วยงานที่น่าเช่อื ถือเพ่ือนาไปสู่ความก้าวหนา้ ในวทิ ยะฐานะต่อไป ๓. เพ่ือบง่ ชีส้ มรรถนะและความสามารถดา้ นเทคโนโลยดี จิ ิทัลของกล่มุ รองผู้อานวยการสถานศกึ ษา ใหเ้ ป็น ค่าตวั เลขทางสถิติ เพ่ือหนว่ ยงานจะสามารถใช้เปน็ เกณฑ์ในการพฒั นากาลังคนไดต้ ามเป้าหมาย เนื้อหำ ๑. กำรเรยี นรดู้ ้ำนดจิ ิทัลแบบออนไลน์ : เป็นการเรียนรู้จากเวบ็ ไซต์ของ Microsoft โดยใช้ Digital Literacy Learning Platform : หลักสูตร Digital Literacy เป็นหลักสตู รเวอร์ชนั ภาษาองั กฤษ สาหรบั ผูท้ ี่ ตอ้ งการเรยี นรู้พ้ืนฐานการใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ลั ๑.๑ ผู้เรยี นทจ่ี บหลกั สตู รจะเขา้ ใจแนวคดิ และทกั ษะการใช้คอมพวิ เตอร์ขั้นพนื้ ฐาน ไดแ้ ก่ • เรยี นรเู้ รือ่ งฮารด์ แวรแ์ ละอปุ กรณ์ (Interacting with hardware and devices) • เน้ือหาดิจทิ ลั ออนไลน์ (Consuming digital content online) • การสื่อสารออนไลน์ (Communicating online) • ความปลอดภัยการใช้คอมพวิ เตอร์ (Computer privacy, safety and security) • ความสุภาพและการมมี ารยาทในการใช้สือ่ ออนไลน์ (Online etiquette and civility) • การเขา้ ถงึ และแก้ไขเน้ือหาดิจทิ ัล (Accessing and modifying digital content) • ความร่วมมือบนออนไลน์ (Online collaboration) ๑.๒ เนอื้ หาหลกั สตู รประกอบดว้ ย ๖ เร่อื ง คือ ๑.๒.๑ การทางานของระบบคอมพิวเตอร์ ๑.๒.๒ การสือ่ สารออนไลน์ ๑.๒.๓ การสรา้ งเนอ้ื หาดิจิทัล ๑.๒.๔ การเขา้ ถงึ ข้อมูลออนไลน์ ๑.๒.๕ หนา้ ทีแ่ ละความรับผดิ ชอบในการใช้งานระบบออนไลนอ์ ย่างปลอดภัย ๑.๒.๖ การจัดการเนือ้ หาดจิ ทิ ลั และการทางานร่วมกนั บนระบบออนไลน์

ค่มู อื หลกั สูตรการพัฒนาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาก่อนแต่งต้งั ใหด้ ารงตาแหนง่ รองผอู้ านวยการสถานศึกษา ๒4 กำรวัดและประเมินผล ๑. การตรวจช้ินงาน กำรวัดและประเมินทักษะดำ้ นดจิ ิทลั Digital Literacy เพื่อดำรงตำแหน่ง รองผู้อานวยการสถานศึกษา ประกอบดว้ ย ๒ ดำ้ น คือ ๑.๑ ดำ้ นควำมรคู้ วำมเขำ้ ใจดจิ ทิ ัล ๑) เข้าสู่ระบบการประเมินโดยใชเ้ มล์ทท่ี าไว้ให้ ([email protected]) ๒) เขา้ สู่ Application : Teams ๓) เข้าสู่ Application : Forms ๑.๒ ด้ำนทกั ษะกำรใชง้ ำนคอมพวิ เตอร์ (ผลงำน) : ใช้ Flipgrid Apps. ๒. การสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนรว่ ม วทิ ยำกร คัดเลือกวิทยากรที่มีความรู้ ความสามารถด้านทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy) และมีความสามารถในบรรยายสร้างความเข้าใจ ส่ือสารถ่ายทอดความรู้ได้ดี เพ่ือสร้างแรงบันดาลใจ ให้ ผู้เข้ารับการพัฒนามีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และแรงบันดาลใจในการพัฒนาตนเอง ให้เกิดทักษะเพื่อนามาใช้ในการ บรหิ ารจดั การสถานศกึ ษา

คมู่ อื หลักสูตรการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาก่อนแต่งตัง้ ใหด้ ารงตาแหนง่ รองผูอ้ านวยการสถานศึกษา ๒5 รายวชิ าที่ ๒.๗ การพัฒนาทักษะความรูภ้ าษาอังกฤษ (English Literacy) เวลา ๓ ชว่ั โมง วตั ถปุ ระสงค์ ๑. เพ่ือเสริมสร้างสมรรถนะของกลุ่มรองผู้อานวยการสถานศึกษา ให้มีความรู้และทักษะในด้านการ ใชภ้ าษาองั กฤษเพื่อการส่อื สารใน ๔ ทกั ษะ คือ ฟงั พดู อา่ น และเขยี น ๒. เพอื่ ให้รองผู้อานวยการสถานศึกษา ไดร้ บั การประเมินสมรรถนะดา้ นภาษาอังกฤษดว้ ยชุดข้อสอบ ที่เป็นมาตรฐานในระดับนานาชาติ และได้รับการรับรองสมรรถนะจากหน่วยงานท่ีน่าเช่ือถือเพ่ือนาไปสู่ ความก้าวหน้าในวิทยฐานะต่อไป ๓. เพ่ือบ่งช้ีสมรรถนะและความสามารถด้านภาษาอังกฤษของกลุ่มรองผู้อานวยการสถานศึกษา ให้เป็นค่าตัวเลขทางสถติ ิ เพ่อื หนว่ ยงานจะสามารถใช้เป็นเกณฑใ์ นการพฒั นากาลังคนไดต้ ามเป้าหมาย เนอ้ื หำ รองผู้อานวยการสถานศึกษาต้องผ่านการวัดความรู้พ้ืนฐานตามลาดับ CEFR - Exam ใน ๔ ทักษะ คือ ฟงั พูด อ่าน และเขียน มเี ป้าหมายวดั ระดับ A๑ , A๒ , B๑ , B๒ มีกระบวนการโดยการเข้ารับการทดสอบด้วย แบบทดสอบมาตรฐาน เพ่ือวัดระดับความรู้พ้ืนฐาน และเข้ารับการพัฒนาด้วยตนเองให้มีทักษะที่สูงขึ้นอีกไม่น้อย กวา่ ๑ ระดบั ตามเปา้ หมายทสี่ านักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐานกาหนด กระบวนกำรดำเนนิ งำน ๑. กำรลงทะเบียน ๑.๑ ผูเ้ ขา้ สอบ เข้าไปลงทะเบยี นในระบบจากเวป็ ไซดข์ องสถาบันภาษาอังกฤษ https://www.englishinstitute.obec.go.th ๑.๒ ผ้เู ขา้ สอบกรอกขอ้ มลู ให้ครบถว้ น ๑.๓ เขา้ ระบบการสอบ ๒. กำรทดสอบครัง้ ท่ี ๑ ๒.๑ สอบจากศูนย์สอบแตล่ ะภมู ิภาค ๒.๒ แบ่งรอบสอบตามมาตรฐานศูนยส์ อบ ๒.๓ ผเู้ ข้าสอบทาการทดสอบออนไลน์ ๓. กำรรำยงำนผลกำรสอบ ๓.๑ ผูเ้ ขา้ สอบสามารถทราบผลการสอบของตนเองทนั ทีหลงั จากสอบเสรจ็ ๓.๒ ใบรายงานผลการสอบจะยงั คงอยูใ่ นระบบ ๓.๓ ผู้เข้าสอบสามารถเข้าไปดูผลการสอบของตนเองจากระบบเว็บไซด์ของสถาบัน ภาษาองั กฤษ https://www.englishinstitute.obec.go.th

คมู่ อื หลักสตู รการพัฒนาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาก่อนแตง่ ตัง้ ใหด้ ารงตาแหนง่ รองผอู้ านวยการสถานศกึ ษา ๒6 ๔. การพัฒนาตนเอง ๔.๑ ผเู้ ขา้ สอบเลือกพฒั นาตนเองดว้ ยวธิ กี ารต่างๆ เชน่ การลงเรยี นออนไลน์ การอบรมด้วย หลกั สตู รต่างๆตามความตอ้ งการ ๔.๒ ผูเ้ ขา้ สอบขอคาปรึกษาแนะนาจากศูนย์พัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรทางการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน (OBEC Human Resources Development Centre) ๕. การทดสอบ คร้ังท่ี ๒ หลงั การพัฒนา ๕.๑ ดาเนินการสอบจากศูนย์พัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรทางการศึกษา สานักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (OBEC Human Resources Development Centre) ที่อยู่ในพื้นท่ี ปฎบิ ัตงิ าน ๕.๒ สถาบนั ภาษาองั กฤษรายงานผลการทดสอบครั้งที่ 2 กบั ผทู้ ม่ี สี ่วนเกีย่ วขอ้ งต่อไป การวัดและประเมนิ ผล ๑. การทดสอบ ๒. การสงั เกตพฤติกรรม วทิ ยากร คัดเลือกวิทยากรที่มีความรู้ ความสามารถด้านการพัฒนาทักษะความรู้ภาษาอังกฤษ (English Literacy) และมีความสามารถในบรรยายสร้างความเข้าใจ สื่อสารถ่ายทอดความรู้ได้ดี เพ่ือสร้างแรงบันดาลใจ ให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีความมุ่งมั่น ต้ังใจ และแรงบันดาลใจในการพัฒนาตนเองให้เกิดทักษะความรู้ภาษาอังกฤษ ทั้ง ๔ ดา้ น

คมู่ ือหลักสตู รการพฒั นาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษากอ่ นแตง่ ตั้งให้ดารงตาแหนง่ รองผ้อู านวยการสถานศกึ ษา ๒7 หน่วยกำรเรยี นรทู้ ี่ ๓ กำรบริหำรและกำรจัดกำรในสถำนศึกษำ ระยะเวลำ ๓๐ ช่วั โมง คำอธิบำยหนว่ ยกำรเรยี นรู้ การวิเคราะห์ สังเคราะห์ นโยบาย ภารกิจของสถานศึกษา บทบาทหน้าท่ีความรับผิดชอบของ รองผู้อานวยการสถานศึกษา สามารถวางแผนกลยุทธ์ การตัดสินใจบนพ้ืนฐานของข้อมูลสารสนเทศและหลักการ ที่เหมาะสม สามารถประยุกต์ใช้หลักธรรมาภบิ าลในการบริหารจดั การสถานศึกษา ทรพั ยากรทางการศึกษา ระบบ ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และการนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินและรายงานผลโดยใช้วิธีการศึกษา เอกสารการแลกเปล่ียนเรียนรู้ การอภิปราย และการฝึกปฏิบัติจริง เพ่ือให้สามารถจัดการบริหารสถานศึกษา ได้อยา่ งมีคุณภาพ วตั ถุประสงค์ ๑. เพ่อื ใหผ้ ้เู ขา้ รับการพัฒนาสามารถวเิ คราะห์ สังเคราะห์ นโยบาย ภารกจิ ของสถานศึกษาบทบาท หนา้ ท่ี ความรับผิดชอบของรองผู้อานวยการสถานศึกษา ๒. เพอ่ื ใหผ้ เู้ ขา้ รบั การพฒั นาสามารถวางแผนกลยทุ ธใ์ ห้สอดคลองกบั บริบทของสถานศกึ ษา ๓. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนา มีความรู้ ความสามารถในการบริหารและการจัดการในสถานศึกษา โดยประยุกต์ใช้หลักธรรมาภิบาลกบั การบรหิ ารจดั การได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ ๔. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถบริหารจัดการระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และ การนเิ ทศ กากับ ตดิ ตามประเมินและรายงานผล ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ควำมคิดรวบยอด รองผู้อานวยการสถานศึกษาสามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ นโยบาย ภารกิจ บทบาทหน้าท่ี ความ รับผิดชอบ การวางแผนกลยุทธ์ การตัดสินใจ บนพื้นฐานของข้อมูลสารสนเทศและหลักการที่เหมาะสม โดยยึด หลักธรรมาภิบาล ในการบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษาได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ หนว่ ยกำรเรยี นรู้ท่ี ๓ กำรบริหำรและกำรจัดกำรในสถำนศกึ ษำ (๓๐ ชวั่ โมง) เวลา ๓ ชวั่ โมง รายวชิ าที่ ๓.๑ การขบั เคลอ่ื นนโยบายในสถานศึกษา เวลา ๓ ชว่ั โมง รายวชิ าท่ี ๓.๒ การบรหิ ารจัดการสถานศึกษาเชงิ กลยุทธ์ เวลา ๓ ชวั่ โมง รายวชิ าท่ี ๓.๓ การบริหารงานวชิ าการ เวลา ๓ ชวั่ โมง รายวชิ าที่ ๓.๔ การบริหารงบประมาณ เวลา ๓ ชว่ั โมง รายวิชาท่ี ๓.๕ การบรหิ ารงานทว่ั ไป เวลา ๓ ชว่ั โมง รายวชิ าท่ี ๓.๖ การบรหิ ารงานบุคคล เวลา ๓ ชว่ั โมง รายวชิ าท่ี ๓.๗ การบริหารจัดการสถานศึกษาโดยใช้ดิจิทัลและเทคโนโลยี เวลา ๓ ชว่ั โมง รายวิชาที่ ๓.๘ ชุมชนแหง่ การเรียนรทู้ างวิชาชพี (PLC) เวลา ๓ ชวั่ โมง รายวิชาที่ ๓.๙ การบรหิ ารจดั การสถานศึกษาสู่ความเป็นเลศิ เวลา ๓ ชว่ั โมง รายวิชาท่ี ๓.๑๐ พระบรมราโชบายในหลวงราชการท่ี ๑๐

คู่มือหลกั สตู รการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษากอ่ นแต่งตงั้ ใหด้ ารงตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศึกษา ๒8 รำยวชิ ำที่ ๓.๑ กำรขับเคล่ือนนโยบำยในสถำนศกึ ษำ เวลำ ๓ ชั่วโมง วัตถปุ ระสงค์ ๑. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีความรู้ความเข้าใจในแนวทางการขับเคลื่อนนโยบายของกระทรวง ศกึ ษาธกิ าร และสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐานในสถานศึกษา ๒. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนากาหนดแนวทางการขับเคลื่อนนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการและ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐานในสถานศึกษา เน้อื หำ ๑. นโยบายของกระทรวงศกึ ษาธิการและสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐานทเ่ี กีย่ วข้องกับ สถานศึกษา เช่น ๑.๑ นโยบายแนวทางการจัดการเรยี นการสอน ของโรงเรยี นสงั กัดสานกั งานคณะกรรมการการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ๑.๒ นโยบายการพฒั นาทกั ษะความเข้าใจและใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ิทัล (Digital Literacy) ๑.๓ นโยบายการพัฒนาทกั ษะความรู้ภาษาองั กฤษ (English Literacy) ๑.๔ นโยบายการพัฒนาความเปน็ ผ้นู าทางการบรหิ าร (Leadership) ๑.๕ การพฒั นาโรงเรยี นขนาดเลก็ ดว้ ย NEW DLTV/DLIT เป็นตน้ ๒. หลกั การขบั เคล่ือนนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารและสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ในสถานศึกษา กำรวัดและประเมนิ ผล ๑. การตรวจช้ินงาน ๒. สงั เกตพฤติกรรมการมสี ว่ นรว่ ม วิทยำกร คัดเลือกวิทยากรท่ีมีบุคลิกภาพท่ีเหมาะสม มีความรอบรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ เทคนิค วิธีการ ถ่ายทอดที่ดี เข้าใจง่าย และประสบความสาเร็จเป็นท่ียอมรับในทางวิชาการ ทางการบริหาร สามารถสร้าง บรรยากาศท่ีดีในการพัฒนาและจัดกิจกรรมการพัฒนาโดยเน้นการฝึกปฏิบัติให้ ผู้พัฒนาสามารถการขับเคล่ือน นโยบายส่กู ารปฏิบัติในสถานศกึ ษา และสามารถบรู ณาการกจิ กรรมการเรียนรรู้ ว่ มกับรายวิชาอน่ื ๆ ท่ีเก่ยี วข้องได้

ค่มู ือหลักสตู รการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษากอ่ นแต่งต้ังให้ดารงตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศกึ ษา ๒9 รายวชิ าท่ี ๓.๒ การบริหารจัดการสถานศึกษาเชิงกลยุทธ์ เวลา ๓ ชว่ั โมง วัตถปุ ระสงค์ ๑. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนาได้รับการเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ สามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์ นโยบาย ภารกิจของสถานศึกษาและบทบาทหนา้ ท่คี วามรบั ผิดชอบของรองผู้อานวยการสถานศกึ ษาได้ ๒. เพอื่ ให้ผูเ้ ขา้ รบั การพัฒนามีความรคู้ วามเข้าใจในการวางแผนการบรหิ ารการจัดการศึกษาเชงิ กลยุทธ์ ๓. เพ่ือใหผ้ ู้เขา้ รับการพฒั นาสามารถจดั ทาแผนกลยุทธ์ของสถานศกึ ษาได้ เนอื้ หำ ๑. การจดั ทาแผนกลยุทธ์ของสถานศกึ ษา ๒. การวางแผนและการบริหารจัดการสถานศกึ ษาเชิงกลยุทธ์ ๓. การพัฒนากลยุทธก์ ารบรหิ ารจดั การสถานศึกษา กำรวัดและประเมนิ ผล ๑. ตรวจชิ้นงาน ๒. ตรวจการสรปุ องคค์ วามรู้ ๓. สงั เกตพฤติกรรมการมสี ว่ นร่วม วทิ ยำกร คัดเลือกวิทยากรท่ีมบี ุคลกิ ภาพที่เหมาะสม มีความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ เทคนิควิธีการ ถ่ายทอด ท่ีดี เข้าใจง่าย และประสบความสาเร็จเป็นท่ียอมรับทางการบริหารการศึกษา มีความเช่ียวชาญในการบริหาร งบประมาณเป็นอย่างดี สามารถสร้างบรรยากาศท่ีดีในการพัฒนาและจัดกิจกรรมการพัฒนา โดยเน้นการบริหาร จัดการสถานศึกษาเชงิ กลยุทธ์ และสามารถบูรณาการกิจกรรมการเรยี นร้รู ่วมกับรายวชิ าอืน่ ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งได้

ค่มู อื หลักสูตรการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาก่อนแตง่ ตั้งใหด้ ารงตาแหนง่ รองผอู้ านวยการสถานศึกษา 30 รายวชิ าที่ ๓.๓ การบรหิ ารงานวิชาการ เวลา ๓ ชวั่ โมง วัตถปุ ระสงค์ เพือ่ ให้ผูเ้ ขา้ รบั การพัฒนามีความรู้ ความเขา้ ใจการบริหารงานวชิ าการและสามารถนาความรู้ความเข้าใจ และสามารถนาความรู้ไปใช้ในการบรหิ ารสถานศึกษา เนื้อหำ ๑. ขอบขา่ ยและภาระงานการบริหารงานวิชาการ ๑.๑ การพัฒนาหลักสตู รสถานศกึ ษา ๑.๒ การพฒั นากระบวนการเรียนรู้ ๑.๓ การวดั ผล ประเมินผล และดาเนินการเทยี บโอนผลการเรยี น ๑.๔ การวิจัยเพ่ือพฒั นาคุณภาพการศึกษา ๑.๕ การพฒั นาส่อื นวตั กรรม และเทคโนโลยีทางการศกึ ษา ๑.๖ การพัฒนาแหล่งเรยี นรู้ ๑.๗ การนเิ ทศการศึกษา ๑.๘ การแนะแนวการศึกษา ๑.๙ การพัฒนาระบบประกนั ภายในสถานศกึ ษา ๑.๑๐ การสง่ เสริมความร้วู ิชาการแก่ชมุ ชน ๑.๑๑ การประสานความรว่ มมือพัฒนางานวชิ าการกับสถานศึกษาอน่ื ๑.๑๒ การสง่ เสริมและสนบั สนุนงานวชิ าการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กรหน่วยงาน สถานศกึ ษา สถานประกอบการและสถาบันอ่ืนทจ่ี ดั การศกึ ษา ๒. แนวทางการบริหารงานวชิ าการเพ่ือพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียน กำรวดั และประเมินผล ๑. การตรวจชิน้ งาน ๒. สังเกตพฤติกรรมการมสี ว่ นรว่ ม วทิ ยำกร คัดเลอื กวทิ ยากรที่มีบุคลิกภาพท่ีเหมาะสม มคี วามรู้ความสามารถ ประสบการณ์ เทคนิควิธีการ ถ่ายทอด ที่ดี เข้าใจง่าย และประสบความสาเร็จเป็นท่ียอมรับทางการบริหารการศึกษา มีความเชี่ยวชาญในการบริหารงาน วิชาการเป็นอย่างดี สามารถสร้างบรรยากาศที่ดีในการพัฒนาและจัดกิจกรรมการพัฒนา โดยเน้นการฝึกปฏิบัติ ทางด้านการบรหิ ารงานวิชาการ และสามารถบูรณาการกิจกรรมการเรยี นรู้ร่วมกบั รายวิชาอ่ืน ๆ ทีเ่ ก่ยี วข้องได้

คู่มอื หลกั สูตรการพัฒนาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาก่อนแตง่ ตง้ั ให้ดารงตาแหนง่ รองผ้อู านวยการสถานศกึ ษา ๓1 รายวิชาที่ ๓.๔ การบริหารงบประมาณ เวลา ๓ ชว่ั โมง วัตถุประสงค์ เพ่อื ใหผ้ ้เู ขา้ รับการพฒั นา มีความรู้ ความเขา้ ใจ การบรหิ ารงบประมาณและสนิ ทรัพย์ในสถานศึกษา และสามารถนาความรู้ความเข้าใจไปใชก้ ารบริหารสถานศึกษา เน้อื หา ๑. การวางแผนและการบรหิ ารงบประมาณสถานศึกษา ๑.๑ การจัดทาและแนวทางของบประมาณ ๑.๒ การจัดสรรงบประมาณ ๑.๓ การตรวจสอบ ตดิ ตาม และประเมนิ ผล และรายงานผลการใช้เงนิ และผลการดาเนินงาน ๑.๔ การระดมทรพั ยากรและระดมทุนเพื่อการศึกษา ๒. งานการเงนิ และบัญชี ๓. พระราชบัญญัตกิ ารจดั ซอื้ จดั จ้างและการบรหิ ารพัสดภุ าครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ ๔ ระเบยี บการคลงั ว่าด้วยการจดั ซื้อจดั จา้ งและบริหารงานพัสดภุ าครฐั พ.ศ. ๒๕๖๐ การวัดและประเมนิ ผล ๑. การตรวจช้ินงาน ๒. สงั เกตพฤตกิ รรมการมีส่วนรว่ ม วิทยากร คัดเลือกวิทยากรที่มีบุคลิกภาพท่ีเหมาะสม มีความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ เทคนิควิธีการ ถ่ายทอด ท่ีดี เข้าใจง่าย และประสบความสาเร็จเป็นที่ยอมรับทางการบริหารการศึกษา มีความเชี่ยวชาญในการบริหาร งบประมาณเปน็ อยา่ งดี สามารถสรา้ งบรรยากาศทด่ี ีในการพฒั นาและจดั กิจกรรมการพัฒนา โดยเนน้ การฝึกปฏิบัติ ทางดา้ นการบริหารงบประมาณ และสามารถบรู ณาการกิจกรรมการเรยี นรู้รว่ มกับรายวชิ าอนื่ ๆ ท่ีเกีย่ วขอ้ งได้

ค่มู ือหลกั สตู รการพัฒนาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งใหด้ ารงตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศึกษา ๓2 รายวิชาที่ ๓.๕ การบรหิ ารงานท่ัวไป เวลา ๓ ชว่ั โมง วัตถปุ ระสงค์ เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีความรู้ ความเข้าใจการบริหารงานท่ัวไปและสามารถนาความรู้ความเข้าใจ ไปใช้การบริหารสถานศกึ ษา และเสรมิ สร้าง ความเขา้ ใจ เกี่ยวกับการบรหิ ารจัดการสถานศึกษาสคู่ ุณภาพ เนื้อหำ ๑. ขอบขา่ ยและภาระงานการบรหิ ารงานทว่ั ไป ๑.๑ การดาเนินงานธุรการ ๑.๒ งานเลขานกุ ารคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ๑.๓ การพัฒนาระบบเครอื ข่ายข้อมูลสารสนเทศ ๑.๔ การประสานงานและพัฒนาเครอื ข่ายการศกึ ษา ๑.๕ การจดั ระบบการบรหิ ารและพัฒนาองคก์ ร ๑.๖ งานเทคโนโลยีเพ่อื การศึกษา ๑.๗ การส่งเสรมิ สนับสนุนด้านวชิ าการ งบประมาณ บุคลากรและบริหารท่ัวไป ๑.๘ การจัดการอาคารสถานทแี่ ละสภาพแวดล้อม ๑.๙ การจดั ทาสามะโนผ้เู รียน ๑.๑๐ การรับนักเรยี น ๑.๑๑ การส่งเสรมิ และประสานงานการจดั การศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ๑.๑๒ การสง่ เสรมิ กจิ การนกั เรียน ๑.๑๓ . การประชาสัมพันธ์ ๑.๑๔ การสง่ เสริมสนับสนนุ และประสานจดั การศึกษาของบุคคลชมุ ชนองคก์ รและหน่วยงานอ่นื ๑.๑๕ การจัดระบบควบคุมภายในหนว่ ยงาน ๑.๑๖ งานบรกิ ารสาธารณะ ๑.๑๗ งานท่ีไม่ไดร้ ะบไุ วใ้ นงานอืน่ ๒. แนวทางการบรหิ ารจัดการสถานศึกษาสู่คณุ ภาพและภาพความสาเรจ็ กำรวดั ผลประเมินผล ๑. การตรวจผลงาน ๒. สังเกตพฤติกรรมการมีสว่ นรว่ ม วทิ ยำกร คัดเลือกวิทยากรที่มบี ุคลกิ ภาพท่ีเหมาะสม มีความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ เทคนิควิธีการ ถ่ายทอด ท่ีดี เข้าใจง่าย และประสบความสาเร็จเป็นที่ยอมรับทางการบริหารการศึกษา มีความเช่ียวชาญในการบริหารงาน ท่ัวไปเป็นอย่างดี สามารถสร้างบรรยากาศที่ดีในการพัฒนาและ จัดกิจกรรมการพัฒนา โดยเน้นการฝึกปฏิบัติ ทางด้านการบริหารงานทั่วไป และบริหารจัดการสถานศึกษาสู่คุณภาพและสามารถบูรณาการกิจกรรมการเรียนรู้ รว่ มกับรายวิชาอนื่ ๆ ทเี่ กี่ยวขอ้ งได้

คมู่ อื หลกั สูตรการพัฒนาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาก่อนแต่งตง้ั ใหด้ ารงตาแหนง่ รองผ้อู านวยการสถานศกึ ษา ๓3 รายวิชาที่ ๓.๖ การบรหิ ารงานบคุ คล เวลา ๓ ชว่ั โมง วัตถุประสงค์ เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีความรู้ ความเข้าใจ การบริหารงานบุคคลและสามารถนาความรู้ความเข้าใจ และสามารถนาความรู้ไปใชใ้ นการบริหารสถานศกึ ษา เนอ้ื หำ ๑. ขอบขา่ ยและภาระงานการบริหารงานบุคคล ๑.๑ การวางแผนอตั รากาลงั และกาหนดตาแหน่ง ๑.๒ การสรรหาและการบรรจุแต่งตั้ง ๑.๓ การเสรมิ สร้างประสิทธิภาพในการปฏิบตั ิราชการ ๑.๔ วนิ ัยและการรักษาวินยั ๑.๕ การออกจากราชการ ๒. ระเบยี บ กฎหมาย ทเ่ี ก่ียวขอ้ งการบรหิ ารงานบุคคล และหลักธรรมาภบิ าล ๓. การจดั ทาภาระงานของขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา กำรวดั และประเมินผล ๑. การตรวจชนิ้ งาน ๒. สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนรว่ ม วทิ ยำกร คัดเลือกวิทยากรท่ีมีบุคลกิ ภาพท่ีเหมาะสม มีความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ เทคนิควิธีการ ถ่ายทอด ที่ดี เข้าใจง่าย และประสบความสาเร็จเป็นที่ยอมรับทางการบริหารการศึกษา มีความเชี่ยวชาญในการบริหาร งบประมาณเปน็ อย่างดี สามารถสร้างบรรยากาศท่ดี ีในการพัฒนาและจดั กจิ กรรมการพฒั นา โดยเนน้ การฝกึ ปฏิบัติ ทางดา้ นการบรหิ ารงานบุคคล และสามารถบูรณาการกจิ กรรมการเรียนรู้ร่วมกับรายวชิ าอ่ืน ๆ ท่ีเกย่ี วขอ้ งได้

คมู่ อื หลกั สูตรการพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตัง้ ใหด้ ารงตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศึกษา ๓4 รายวิชาท่ี ๓.๗ การบริหารจดั การสถานศึกษาโดยใช้ดจิ ทิ ัลและเทคโนโลยี เวลา ๓ ชว่ั โมง วัตถปุ ระสงค์ ๑. เพ่อื ให้ผูเ้ ข้ารบั การพฒั นามคี วามรู้เก่ยี วกับการบรหิ ารจัดการสถานศึกษาโดยใชด้ จิ ิทลั และเทคโนโลยี ๒. เพื่อใหผ้ ู้เข้ารบั การพฒั นาสามารถนาดิจิทลั และเทคโนโลยมี าใช้บริหารจัดการสถานศึกษา ๓. เพ่อื ให้ผ้เู ข้ารับการพัฒนาเหน็ ประโยชน์และตระหนักเก่ียวกับการบริหารจดั การสถานศึกษาโดยใช้ ดจิ ทิ ลั และเทคโนโลยี เนอ้ื หำ ๑. ความหมาย หลกั การ แนวคิด และขอบข่ายดจิ ทิ ลั และเทคโนโลยี ๒. การบริหารจดั การสถานศึกษาโดยใช้ดจิ ิทลั และเทคโนโลยี กำรวดั และประเมินผล ๑. การตรวจชน้ิ งาน ๒. การสังเกตพฤตกิ รรมการมีส่วนร่วม วทิ ยำกร คัดเลือกวิทยากรท่ีมีความรู้ ความสามารถเก่ียวกับการบริหารจัดการสถานศึกษาโดยใช้ดิจิทัลและ เทคโนโลยี มีบคุ ลกิ ภาพทเี่ หมาะสม มคี วามรอบรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ เทคนคิ วิธกี าร ถา่ ยทอดที่ดี เข้าใจ ง่าย และประสบความสาเร็จเป็นที่ยอมรับในทางวิชาการ ทางการบริหารการศึกษา สามารถสร้างบรรยากาศที่ดี ในการพฒั นาและสามารถบรู ณาการกจิ กรรมการเรยี นรู้ร่วมกบั รายวชิ าอนื่ ๆ ท่เี กยี่ วขอ้ งได้

คมู่ อื หลักสตู รการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาก่อนแตง่ ต้งั ให้ดารงตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศกึ ษา ๓5 รายวิชาท่ี ๓.๘ ชุมชนแหง่ การเรียนรทู้ างวชิ าชพี (PLC) เวลา ๓ ช่วั โมง วัตถปุ ระสงค์ ๑. เพ่ือให้ผูเ้ ขา้ รบั การพฒั นามีความรู้เก่ียวกับชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ ๒. เพอ่ื ใหผ้ ูเ้ ขา้ รับการพฒั นาสามารถสรา้ ง/จดั ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชีพในโรงเรยี นของตนเอง ๓. เพ่อื ให้ผเู้ ขา้ รบั การพัฒนาเห็นประโยชน์และตระหนกั เก่ียวกบั ชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชีพ เน้ือหำ ๑. ความหมาย หลกั การ แนวคิด และขอบข่ายชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี (PLC) ๒. การสร้างชมุ ชนการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (PLC) กำรวดั และประเมินผล ๑. การตรวจช้นิ งาน ๒. การสงั เกตพฤติกรรมการมสี ว่ นร่วม วทิ ยำกร คัดเลือกวิทยากรท่ีมีความรู้ ความสามารถเก่ียวกับชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) มีบุคลิกภาพ ที่เหมาะสม มีความรอบรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ เทคนิค วิธีการ ถ่ายทอดท่ีดี เข้าใจง่าย และประสบ ความสาเร็จเป็นท่ียอมรับในทางวิชาการ ทางการบริหารการศึกษา สามารถสร้างบรรยากาศท่ีดีในการพัฒนาและ สามารถบูรณาการกจิ กรรมการเรียนรรู้ ว่ มกับรายวชิ าอ่นื ๆ ท่ีเก่ียวข้องได้

คู่มอื หลักสตู รการพฒั นาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากอ่ นแตง่ ตงั้ ใหด้ ารงตาแหนง่ รองผ้อู านวยการสถานศกึ ษา ๓6 รายวชิ าท่ี ๓.๙ การบริหารจัดการสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศ เวลา ๓ ชวั่ โมง วตั ถปุ ระสงค์ ๑. เพ่ือให้ผ้เู ขา้ รบั การพฒั นามคี วามรเู้ กี่ยวกบั ลักษณะพิเศษของ Education ๔.๐ และคณุ ลกั ษณะของ เดก็ ไทยในอนาคต ๒. เพอ่ื ใหผ้ ู้เขา้ รบั การพฒั นามคี วามรูค้ วามเขา้ ใจเกี่ยวกบั การบริหารจัดการสถานศึกษาในยคุ ๔.๐ ๓. เพอื่ ให้ผเู้ ขา้ รับการพฒั นาสามารถกาหนดแนวทางการบริหารจัดการสถานศึกษาในยุค ๔.๐ สู่การปฏิบตั ิ ใหเ้ กิดเป็นรูปธรรมได้ เนือ้ หำ ๑. ลกั ษณะพเิ ศษของ Education ๔.๐ ๒. คุณลกั ษณะของเด็กไทยในอนาคต ๓. การศึกษากบั การขับเคลื่อนประเทศไทย ๔.๐ ๔. ดิจิทลั เทคโนโลยีกบั การบริหารสถานศึกษายุค ๔.๐ ๕. Internet of Thing (IoT) กับการบริหารสถานศึกษา ๖. คุณลักษณะผู้บริหารยุค Digital ๗. ผบู้ ริหารสถานศกึ ษาในยุค ๔.๐ กำรวดั และประเมินผล ๑. ตรวจช้ินงาน ๒. ตรวจการสรุปองคค์ วามรู้ ๓. สังเกตพฤติกรรมการมีสว่ นรว่ ม วิทยำกร คัดเลือกวิทยากรท่ีมีบุคลิกภาพที่เหมาะสม มีความรอบรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ เทคนิค วิธีการ ถ่ายทอดท่ีดี เข้าใจง่าย และประสบความสาเร็จเป็นท่ียอมรับในทางการบริหาร สามารถถ่ายทอดความรู้ทางการ บริหารจัดการสถานศึกษายุค ๔.๐ ในประเด็น ลักษณะพิเศษของ Education ๔.๐ คุณลักษณะของเด็กไทยใน อนาคต การศกึ ษากับการขับเคล่อื นประเทศไทย ๔.๐ ดิจทิ ลั เทคโนโลยีกบั การบริหารสถานศกึ ษายคุ ๔.๐ Internet of Thing (IoT) กับการบริหารสถานศึกษา คุณลักษณะผู้บริหารยุค Digital ผู้บริหารสถานศึกษาในยุค ๔.๐ และ ความรอู้ นื่ ๆ ท่ีเกีย่ วข้อง

คมู่ อื หลกั สตู รการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตัง้ ใหด้ ารงตาแหนง่ รองผอู้ านวยการสถานศกึ ษา ๓7 รายวิชาท่ี ๓.๑๐ ศาสตร์พระราชาสู่การพฒั นาท่ยี ัง่ ยืนและพระบรมราโชบาย ร.๑๐ เวลา ๓ ชว่ั โมง วตั ถปุ ระสงค์ ๑. เพื่อให้ผเู้ ข้ารบั การอบรมมคี วามรู้ ความเข้าใจพระบรมราโชบายในหลวงรชั กาลที่ ๑๐ ๒. เพือ่ ให้ผเู้ ข้ารบั การอบรมมีความรู้ ความเข้าใจศาสตร์พระราชาสกู่ ารพฒั นาอย่างย่ังยนื ๓. เพ่อื ใหผ้ ้เู ข้ารบั การอบรมสามารถขับเคล่ือนปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาได้ เนื้อหำ ๑. พระบรมราโชบายในหลวงรัชกาลท่ี ๑๐ ดา้ นการศกึ ษา ๔ ดา้ น ได้แก่ ๑) มที ศั นคตทิ ีถ่ ูกต้อง ตอ่ บ้านเมอื ง ๒) มพี ้นื ฐานชีวิตท่ีม่นั คง-มคี ุณธรรม ๓) มีงานทา-อาชพี ๔) เป็นพลเมืองท่ดี ี ๒. ศาสตรพ์ ระราชา “ศาสตร์ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร” - ความหมาย - ความเป็นมา - ลักษณะที่ทรงดาเนินการ ๓. ศาสตรพ์ ระราชา โครงการต่าง ๆ ๔. หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๓ หว่ ง ๒ เงอื่ น ๔ มิติ ๕. การขบั เคลอื่ นหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา กำรวดั ผลประเมินผล ๑. การตรวจผลงาน ๒. สังเกตพฤติกรรมการมสี ว่ นร่วม วิทยำกร คดั เลือกวิทยากร ผ้บู ริหารสถานศึกษาทผี่ า่ นการประเมิน ศูนย์การเรยี นร้เู ศรษฐกจิ พอเพียง หรอื ผ่าน การประเมินผลการปฏิบัติท่ีเป็นเลิศด้านเศรษฐกิจพอเพียง จากมูลนิธิยุวสถิรคุณ หรือผู้บริหารท่ีมีความรู้ ความเข้าใจใน พระบรมราโชบายในหลวงรัชกาลที่ ๑๐ ด้านการศึกษา ๔ ด้าน และ“ศาสตร์พระราชาสูก่ ารพัฒนา ทีย่ ่ังยืน” และมผี ลงานเปน็ ทีป่ ระจักษ์ และมีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ไดด้ ี

คมู่ ือหลักสูตรการพฒั นาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษากอ่ นแต่งต้งั ใหด้ ารงตาแหนง่ รองผ้อู านวยการสถานศึกษา ๓8 สว่ นท่ี ๒ การเรียนรู้ในสภาพจริง ไมน่ ้อยกว่า ๕ วัน คาอธบิ าย ผูเ้ ขา้ รบั การพฒั นาไดเ้ รียนรู้การบรหิ ารจดั การตามสภาพจริงในสถานศึกษา ทมี่ ีนวตั กรรมหรอื มีการปฏิบัติ ท่ีเป็นเลิศ องค์กร หน่วยงาน ชุมชน แหล่งเรียนรู้ต่างๆ มีผู้ทรงคุณวุฒิหรือผู้เช่ียวชาญเฉพาะด้านให้ความรู้ แนะนา โดยการเรยี นร้แู ละประเมินผลจากสภาพจริง วตั ถปุ ระสงค์ ๑. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนาได้เรียนรู้การบริหารจัดการจากสถานศึกษาท่ีประสบผลสาเร็จและผลการ ปฏบิ ัตงิ านทเ่ี ป็นเลศิ ๒. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนาได้เรียนรู้การบริหารจัดการแนวใหม่ท่ีประสบความสาเร็จจากองค์กร หนว่ ยงาน ชุมชน แหล่งเรียนร้ตู า่ งๆ ๓. เพ่ือใหผ้ ้เู ขา้ รับการพัฒนาสามารถวเิ คราะห์ สงั เคราะหก์ ารเรยี นรู้ตามสภาพจริงมาประยุกต์ใช้ในการ พัฒนาการบริหารและจัดการศกึ ษาในสถานศกึ ษา กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๑. เรียนรู้ตามสภาพจริงในสถานศึกษา ที่มีนวัตกรรมการบริหาร และหรือมีการจัดการศึกษาประสบ ผลสาเร็จและผลการปฏิบัติงานท่เี ปน็ เลศิ ระยะเวลา ๓ วนั ๒. เรยี นรใู้ นองค์กร หน่วยงาน ชมุ ชน แหล่งเรยี นรตู้ า่ งๆ ระยะเวลา ๑ วัน ๓. สรุปและแลกเปลี่ยนเรยี นรู้สถานศึกษา องคก์ ร หนว่ ยงาน ชมุ ชน และแหล่งเรยี นรู้ต่างๆ ท่มี ีนวตั กรรม หรอื มกี ารปฏบิ ตั ทิ ่เี ป็นเลิศ ระยะเวลา ๑ วัน แนวทางการจัดกจิ กรรม ๑. เรียนรูแ้ ละฝึกประสบการณใ์ นสถานศึกษา องค์กร หนว่ ยงาน ชุมชน และแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ทีม่ ี นวัตกรรมหรือมกี ารปฏบิ ตั ทิ เี่ ปน็ เลิศ โดยจดั กล่มุ ผูเ้ ข้ารับการพฒั นาเป็นกล่มุ ย่อย กลมุ่ ละไม่เกนิ ๑๐ คน เป็นระยะเวลา ๕ วัน ๑.๑ หลกั เกณฑ์การคัดเลือกสถานศกึ ษา องคก์ ร หน่วยงาน ชมุ ชน และแหลง่ เรยี นรตู้ ่างๆ ทม่ี ี นวัตกรรมหรือมกี ารปฏบิ ัติทเี่ ป็นเลิศ ๑.๑.๑ คดั เลอื กสถานศกึ ษาที่มผี ลสมั ฤทธทิ์ างการทดสอบ O-NET / NT ทม่ี คี า่ เฉลีย่ สูงกวา่ ระดับชาติอย่างต่อเนื่อง หรือท่ีได้รับรางวัลต่าง ๆ หรือสถานศึกษาที่มีนวัตกรรมดีเด่น และแนวปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ ตามขนาดของสถานศึกษา ประกอบด้วย ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก กาหนดเป็นสถานที่ ฝึกประสบการณ์ ๑.๑.๒ คัดเลือกองค์กร หน่วยงาน ชุมชน และแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ท่ีมีนวัตกรรมดีเด่น และแนว ปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ มีผู้ทรงคุณวุฒิท่ีมีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการ มีวิสัยทัศน์องค์การ กระบวนการ บริหารจัดการ รูปแบบการพัฒนาองค์การ ปัจจัยความสาเร็จด้านการประสานงาน ความร่วมมือ การส่งเสริม สนบั สนุนงบประมาณ กาหนดเปน็ สถานท่ฝี กึ ประสบการณ์

คมู่ อื หลกั สูตรการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาก่อนแตง่ ต้ังใหด้ ารงตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศกึ ษา ๓9 ๑.๒ กิจกรรมศกึ ษาดงู านสถานศกึ ษา ทม่ี ีนวัตกรรมดีเด่น และแนวปฏิบัตทิ ่เี ป็นเลิศ โดยแบ่งกลุม่ กลุม่ ละ ๑๐ คน โดยมกี จิ กรรมดงั นี้ วันที่ กจิ กรรม หมายเหตุ ๑-๓ ๑.๑ ฟงั บรรยายสรุปสภาพปัจจุบันของสถานศกึ ษา ๑.๒ ศึกษางานของกล่มุ ต่าง ๆ ในสถานศกึ าโดยศกึ ษาแบบเจาะลกึ ใน กระบวนการทางาน นวัตกรรม หรอื แนวปฏิบัตทิ เี่ ป็นเลศิ และการศกึ ษา รายกรณี (Case Study) ๔ ศึกษาดูงานองค์กร หน่วยงาน ชมุ ชน และแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ที่กาหนด ๕ สรุปผลการศึกษาดูงานและจดั ทารายงานผลการศกึ ษาดูงานและนาเสนอ แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ ๑.๓ ชิน้ งาน/คะแนน งาน/ช้ินงาน รายละเอียด คะแนน ผูป้ ระเมนิ พฤติกรรมการเรียนรู้และการเข้ารว่ มกิจกรรม ๔๐ ผอ.ตน้ แบบ/ การเขา้ รว่ มกจิ กรรม กลุ่ม เช่น การตรงต่อเวลา ความเปน็ ผูน้ า ผตู้ าม วทิ ยากรพี่เลี้ยง และการให้ความรว่ มมือ ต่อกจิ กรรม งานกลุม่ รายงานผลการศกึ ษาดงู านประกอบด้วยภาพรวม ๔๐ วทิ ยากรพเ่ี ลย้ี ง ของสถานศึกษา บทเรยี นทไ่ี ด้รบั จากการศึกษา นวตั กรรม การปฎิบัติท่เี ป็นเลิศ จานวน ๒๐ - ๓๐ หน้า รายบุคคล รายงานการศึกษารายกรณี (Case Study) ๒๐ วิทยากรพเ่ี ลี้ยง ประกอบดว้ ย สภาพปญั หา และวิธีการแก้ปัญหา ของสถานศึกษา การวเิ คราะห์ และข้อเสนอแนะ ของผู้ศึกษาดงู าน จานวน ๕ - ๑๐ หนา้ งานกลมุ่ รายงานผลการศกึ ษาดงู านประกอบดว้ ยภาพรวม ๔๐ วทิ ยากรพ่เี ลยี้ ง ขององค์กร หน่วยงาน ชมุ ชน และแหลง่ เรยี นรู้ ตา่ งๆ บทเรยี นท่ีได้รบั จากการศึกษา นวัตกรรม การปฎิบตั ทิ ี่เป็นเลศิ ฯ จานวน ๒๐ - ๓๐ หนา้ รายบุคคล สรุปองคค์ วามร/ู้ การนาไปใช้ ทไี่ ดจ้ ากการศึกษา ๒๐ วทิ ยากรพเ่ี ลย้ี ง ดงู าน องค์กร หน่วยงาน ชมุ ชน และแหล่ง เรยี นรูต้ า่ งๆ จานวน ๕ - ๑๐ หน้า การเสนอผล นาเสนอผลการฝึกประสบการณ์และการศึกษาดู ๔๐ ผอ.ต้นแบบ/ การศกึ ษาดูงาน งาน ด้วย power point หรอื วธิ กี ารอนื่ ๆ วทิ ยากรพี่เลี้ยง

คู่มอื หลักสตู รการพฒั นาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาก่อนแต่งต้งั ใหด้ ารงตาแหนง่ รองผอู้ านวยการสถานศกึ ษา 40 ๑.๔ ผู้อานวยการสถานศึกษา องค์กร หน่วยงาน ชุมชน และแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ซ่ึงเป็นสถานท่ี ฝึกประสบการณ์บรรยายสรุป ถ่ายทอดประสบการณ์ อานวยความสะดวก กาหนดสถานท่ีศึกษาดูงาน และ ประเมนิ ผลผูเ้ ข้ารับการพัฒนา สื่อและแหลง่ เรียนรู้ ๑. สถานศกึ ษา ทม่ี นี วตั กรรม และการปฎบิ ัติที่เปน็ เลศิ ๒. องคก์ ร หน่วยงาน ชุมชน และแหลง่ เรยี นรู้ตา่ งๆ ท่ีมนี วัตกรรม และการบริหารท่ีเปน็ เลศิ การวดั และประเมินผล ๑. การมีสว่ นร่วมในกจิ กรรม ๒. สังเกตพฤตกิ รรม ๓. งานกลมุ่ ๔. งานรายบุคคล ๕. การนาเสนอผลงาน/นิทรรศการ

ค่มู ือหลกั สตู รการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตัง้ ให้ดารงตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศึกษา ๔1 ส่วนท่ี ๓ การจัดทาและนาเสนอแผนกลยุทธพ์ ัฒนาการศึกษาในสถานศึกษา ไมน่ ้อยกวา่ ๓ วนั คาอธิบาย ผู้เขา้ รบั การพัฒนาจดั ทาแผนกลยทุ ธ์การพฒั นาการศกึ ษาในสถานศึกษา โดยศึกษาวิเคราะห์ สังเคราะห์ ผลการเรียนรทู้ ไ่ี ด้จากการเสริมสรา้ งสมรรถนะและการเรยี นร้ใู นสภาพจริง แลว้ นาเสนอเพ่ือแลกเปลย่ี นเรียนรู้ โดยใชก้ ระบวนการการจัดการความรู้ วัตถุประสงค์ ๑. เพอ่ื ใหผ้ ู้เข้ารบั การพฒั นามีความสามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ การจดั ทาแผนกลยุทธพ์ ัฒนาการศึกษา ในสถานศกึ ษา ๒. เพื่อให้ผเู้ ขา้ รบั การพฒั นานาผลการเรียนรใู้ นการเสรมิ สร้างสมรรถนะและเรยี นร้สู ภาพจรงิ มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการจัดทาแผนกลยุทธ์พัฒนาการศึกษาในสถานศกึ ษา ๓. เพอ่ื ให้ผูเ้ ข้ารับการพฒั นามีทักษะการนาเสนอผลงาน และการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ ๑. วิเคราะห์ และสังเคราะห์ผลการเรียนรู้ที่ได้จากการเสริมสร้างสมรรถนะในส่วนท่ี ๑ และการเรียนรู้ ในสภาพจริงในสว่ นที่ ๒ ๒. การแลกเปล่ียนเรียนรู้จากการฝึกประสบการณ์และศึกษาดูงาน โดยใช้กระบวนการจัดการความรู้ ในเร่ือง ประสิทธิภาพการบริหารจัดการในสถานศึกษา องค์กร หน่วยงาน ชุมชน และแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ที่มี นวตั กรรม และการบรหิ ารทเี่ ปน็ เลิศ ๓. จดั ทาและนาเสนอแผนกลยุทธ์การพัฒนาการศกึ ษาของสถานศึกษา แนวทางการจดั กิจกรรม ผู้เข้ารับการพัฒนานาความรู้จากการเสริมสร้างสมรรถนะและการเรียนรู้จากสภาพจริงมาแลกเปล่ียน เรยี นรู้ และจดั ทากิจกรรมดังน้ี วนั ที่ กิจกรรม หมายเหตุ ๑ ๑. นาเสนอภาพรวมท่ีไปศึกษาดูงานท่สี ถานศึกษา โดยจัดนทิ รรศการและนาเสนอ ด้วย Power Point กล่มุ ละประมาณ ๑๐ – ๑๕ นาที ๒. จัดกล่มุ ผู้เขา้ รับการพัฒนาใหม่ โดยการแลกเปล่ียนเรียนร้โู ดยใช้กระบวนการ จัดการความรู้ วเิ คราะห์ สังเคราะห์ เจาะลกึ กรอบงานในสถานศกึ ษา จากทุกกลมุ่ นวัตกรรม ผลสาเร็จ จดุ เดน่ จุดด้อย การปฏบิ ตั ิที่เป็นเลิศ และการศกึ ษารายกรณี ๒ ๑. วเิ คราะห์ สังเคราะห์ความรูท้ ี่มาบูรณาการเพื่อจัดเรียงลาดับความสาคัญของปัญหา แลว้ เลือกปัญหาที่สาคัญที่สุดมาจดั ทาแผนกลยุทธ์หรือแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ๒. จัดทาแผนกลยุทธจ์ ากปัญหาทส่ี าคัญทีส่ ุดเพ่ือแกป้ ัญหา หรอื การพัฒนาคุณภาพ การศึกษา จัดทาบอร์ดแสดงกระบวนการการจัดทาแผนกลยุทธ์หรือแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา ๓ นาเสนอแผนกลยทุ ธ์หรอื แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา กลุ่มละประมาณ ๑๕ นาที

คูม่ ือหลกั สตู รการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตัง้ ใหด้ ารงตาแหนง่ รองผอู้ านวยการสถานศกึ ษา ๔2 ช้นิ งาน/คะแนน งาน/ชิน้ งาน รายละเอียด คะแนน ผู้ประเมิน ๕๐ วิทยากรพีเ่ ลี้ยง การนาเสนอและการทางานเปน็ ทมี (งานกลุ่ม) ๕๐ วิทยากรพ่เี ลย้ี ง การนาเสนอกระบวนการจดั ทา - กระบวนการกลุ่ม แผนกลยุทธ์ - ขนั้ ตอนการจัดทาแผนกลยุทธโ์ ดยใช้ กระบวนการจัดการความรู้ (KM) การนาเสนอและ - นทิ รรศการ การจดั นทิ รรศการ - การนาเสนอ การจัดทาแผนพัฒนาการศึกษาเพื่อความเปน็ เลิศ (รายบคุ คล) ๕๐ วทิ ยากรพี่เล้ยี ง แผนพัฒนาการศึกษาเพื่อความ - จดั ทาแผนพฒั นาการศึกษาเพอื่ ความเป็นเลศิ เปน็ เลิศ สอ่ื และแหล่งเรียนรู้ในการพัฒนา ๑. เอกสาร/ใบงาน ๒. ส่อื เทคโนโลยี ๓. นทิ รรศการ/บอร์ด การวดั และประเมนิ ผล ๑. สงั เกตพฤตกิ รรม ๒. การมีส่วนร่วมในกจิ กรรม ๓. งานรายบุคคล/กลุ่ม ๔. นาเสนอผลงาน

คู่มอื หลกั สตู รการพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษากอ่ นแตง่ ตัง้ ให้ดารงตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศกึ ษา ๔3 บทท่ี ๓ การวดั และประเมนิ ผล การประเมินผล การประเมินผลการพัฒนาเป็นกระบวนการเพ่ือปรับปรุง พัฒนา โดยกาหนดให้มีการประเมินก่อนพัฒนา ระหว่างการพัฒนา และเม่ือส้ินสุดการพัฒนา มุ่งเน้นการประเมินตามสภาพจริงด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย โดยยึด วตั ถุประสงคท์ ่ี ก.ค.ศ. กาหนด ดังนี้ ๑. กำรประเมนิ ก่อนกำรพัฒนำ ผู้เข้ารับการพัฒนาต้องเข้ารับการประเมินความรูก้ ่อนรับการพัฒนาด้วยการทดสอบความรทู้ ี่เก่ียวข้อง กับการเสรมิ สร้างสมรรถนะสาหรับตาแหน่งท่เี ขา้ รบั การพัฒนา ๒. กำรประเมนิ ระหวำ่ งกำรพัฒนำ (๕๐๐ คะแนน) สว่ นที่ ๑ กำรเสริมสร้ำงสมรรถนะของรองผู้อำนวยกำรสถำนศึกษำ (๑๕๐ คะแนน) ส่วนท่ี ๒ กำรเรยี นรใู้ นสภำพจรงิ (๒๐๐ คะแนน) การเรยี นรู้ในสานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาและสถานศึกษาภาครฐั และเอกชน โดยสงั เกตพฤติกรรมการ เรียนรู้ และการสรปุ องค์ความรหู้ รอื ช้ินงานที่กาหนด ส่วนท่ี ๓ กำรจัดทำและนำเสนอแผนกลยุทธ์พัฒนำกำรศึกษำในสถำนศกึ ษำ ประเมินจากคุณภาพ ช้นิ งาน การนาเสนอ และการทางานเป็นทมี ประกอบด้วย (๑๕๐ คะแนน) ๓. เกณฑ์การผ่านการพัฒนาก่อนแต่งตงั้ ใหด้ ารงตาแหน่งรองผูอ้ านวยการสถานศึกษา ผเู้ ข้ารับการพัฒนาต้องมี คะแนนการประเมนิ ตามเกณฑ์ ท่ีกาหนด ดงั น้ี ๓.๑ มรี ะยะเวลาในการเขา้ รบั การพฒั นา ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ ๙๐ ของระยะเวลาการพฒั นาท้งั หมด ๓.๒ ได้คะแนนการประเมนิ ผล ระหวา่ งการพัฒนาไมต่ า่ กว่าร้อยละ ๘๐ ๓.๓ ผ่านการประเมินความรู้หลงั การพฒั นาดว้ ยการทดสอบความรู้เม่ือสิ้นสดุ การพัฒนา ไมต่ า่ กวา่ รอ้ ยละ ๘๐ กรอบการประเมิน ๑. ดา้ นระยะเวลา ๑.๑ มรี ะยะเวลาในการเข้ารับการพฒั นาไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ ๙๐ ของระยะเวลาการพัฒนาทัง้ หมด ๑.๒ ผเู้ ขา้ รบั การพัฒนาจะต้องมรี ะยะเวลาการเข้ารว่ มกจิ กรรมและผ่านการพัฒนาท้ัง ๓ ส่วน ดังนี้ สว่ นที่ ๑ การเสริมสรา้ งสมรรถนะของรองผูอ้ านวยการสถานศึกษา ไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ ๙๐ ส่วนที่ ๒ การเรียนรู้ในสภาพจริง ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ ๙๐ ส่วนที่ ๓ การจดั ทาและนาเสนอแผนกลยุทธ์พัฒนาการศึกษาในสถานศกึ ษาไมน่ ้อยกว่า รอ้ ยละ ๙๐

ค่มู อื หลักสตู รการพฒั นาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาก่อนแตง่ ตง้ั ให้ดารงตาแหนง่ รองผูอ้ านวยการสถานศึกษา ๔4 ๒. ดำ้ นกำรประเมนิ ผลระหว่ำงกำรพฒั นำและเม่ือสิ้นสดุ กำรพฒั นำ รายละเอยี ด ดังน้ี ๒.๑ การประเมินระหว่างการพัฒนา (๕๐๐ คะแนน) สว่ นท่ี ๑ การเสริมสรา้ งสมรรถนะของรองผ้อู านวยการสถานศึกษา (Competency) (๑๕๐ คะแนน) การเสรมิ สรา้ งสมรรถนะของรองผู้อานวยการสถานศึกษา ประเมินจากการสงั เคราะหอ์ งคค์ วามรู้ การนาไปประยกุ ตใ์ ช้ หรือชิน้ งานทกี่ าหนด ๓ หน่วยการเรียนรแู้ ละการมีสว่ นร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ ประเมินจาก ๒.๑.๑ สรุปองคค์ วามรู้จากการศึกษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง (Strategy Formulation) (๒๐ คะแนน) ๒.๑.๒ สรปุ องค์ ความรู้ จากการอบรมพัฒนา (๑๐๐ คะแนน) ๒.๑.๓ ประเมินพฤติกรรมการมสี ่วนร่วม (๓๐ คะแนน) สว่ นที่ ๒ การเรียนรู้ในสภาพจรงิ (๒๐๐ คะแนน) การเรียนรู้และฝึกประสบการณ์ตามสภาพจริงการบริหารจัดการสถานศึกษา องค์กร หน่วยงาน ท่ีมีนวัตกรรม โดยสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ และการสรุปองค์ความรู้หรือชิ้นงานท่ีกาหนด (๒๐๐ คะแนน) ประเมนิ จาก ๒.๒.๑ พฤตกิ รรมการเรียนรู้และการเขา้ ร่วมกิจกรรม ๔๐ คะแนน ๒.๑.๒ การนาเสนอผลการศึกษาสถานศึกษาตามสภาพจรงิ และ ๔๐ คะแนน การศึกษาดูงานองค์กร/หน่วยงาน/ชมุ ชน/แหลง่ เรยี นรู้ ทม่ี ีนวัตกรรมหรือมกี ารปฏบิ ตั ิงานที่เป็นเลศิ ดา้ นการบริหาร (งานกลมุ่ ) ๒.๑.๓ การสรุปองคค์ วามรจู้ ากการศึกษาสถานศึกษาตามสภาพจรงิ ๔๐ คะแนน (งานกลมุ่ ) ๒.๑.๕ การสรปุ องคค์ วามรูจ้ ากการศึกษาสถานศึกษาตามสภาพจรงิ ๒๐ คะแนน (รายบุคคล) ๒.๑.๔ การสรปุ องค์ความรจู้ ากการศึกษาดงู านองคก์ ร/หนว่ ยงาน ๔๐ คะแนน /ชุมชน/แหลง่ เรยี นรู้ที่มนี วัตกรรมหรอื มกี ารปฏบิ ัตงิ าน ทเ่ี ปน็ เลศิ ด้านการบรหิ าร (งานกล่มุ ) ๒.๑.๖ การสรุปองคค์ วามรู้จากการศึกษาดงู านองคก์ ร/หน่วยงาน ๒๐ คะแนน /ชมุ ชน/แหลง่ เรียนร้ทู ่ีมนี วัตกรรมหรือมีการปฏิบตั งิ าน ทเ่ี ป็นเลศิ ด้านการบรหิ าร (รายบุคคล)

คู่มือหลกั สูตรการพัฒนาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาก่อนแตง่ ต้ังใหด้ ารงตาแหนง่ รองผ้อู านวยการสถานศึกษา ๔5 สว่ นที่ ๓ การจัดทาและนาเสนอแผนกลยุทธพ์ ัฒนาการศึกษาในสถานศกึ ษา (๑๕๐ คะแนน) ๓.๑ การนาเสนอและการทางานเปน็ ทีม (๑๐๐ คะแนน) ประเมนิ จาก ๓.๑.๑ การนาเสนอกระบวนการการจัดทาแผนกลยทุ ธ์ ๕๐ คะแนน ๓.๑.๒ การนาเสนอและการจดั นิทรรศการ ๕๐ คะแนน ๓.๒ ประเมนิ จากแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาเพื่อความเปน็ เลิศรายบคุ คล (๕๐ คะแนน) ๒.๒ คะแนนประเมินระหว่างการพัฒนาในแต่ละส่วน ไม่ต่ากว่ารอ้ ยละ ๘๐ ๓. การประเมินเม่ือสิน้ สุดการพฒั นา (๓๐ คะแนน) ผลการประเมินจะต้องผ่านเกณฑ์การประเมนิ เมื่อสิน้ สุดการพฒั นาโดยทาแบบทดสอบหลังเรียน จานวน ๓๐ ข้อ มผี ลการประเมินไมต่ ่ากวา่ ร้อยละ ๘๐ สรุป เม่ือสิ้นสุดการพฒั นาผู้เขา้ รับการพัฒนาต้องมผี ลการประเมนิ โดยใชผ้ ลจากกระบวนการ พฒั นาทง้ั ๓ สว่ น และประเมินความสามารถในการประมวลผลองค์ความรู้ไปสู่การพฒั นา โดยกาหนดเกณฑ์ การผ่านการพฒั นาก่อนแตง่ ต้ังใหด้ ารงตาแหนง่ รองผอู้ านวยการสถานศึกษา ดงั น้ี ๑. มรี ะยะเวลาในการเข้ารบั การพัฒนา ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ ๙๐ ของระยะเวลาการพฒั นาทง้ั หมด ๒. ได้คะแนนประเมินระหว่างการพัฒนาในแต่ละส่วน ไมต่ า่ กว่ารอ้ ยละ ๘๐ ๓. ได้คะแนนประเมินความรู้เม่ือส้ินสุดการพัฒนา ไม่ต่ากวา่ ร้อยละ ๘๐

ค่มู อื หลักสตู รการพัฒนาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษากอ่ นแต่งต้งั ใหด้ ารงตาแหนง่ รองผ้อู านวยการสถานศึกษา ๔6 แนวทางการวดั และประเมนิ ผล

คูม่ อื หลักสูตรการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาก่อนแต่งต้งั ให้ดารง แนวทางการวดั และประเมินผลการพฒั นาข้าราชการครแู ละบุคลากรท ระยะท่ี ๑ กำรเสริมสรำ้ งสมรรถนะของรองผูอ้ แบบ กจิ กรรมหรอื งานทจ่ี ะประเมิน ประเดน็ ประเมนิ ปผ.๑ การประเมินพฤติกรรมการมีส่วนรว่ มเปน็ เน้ือหาแต่ละหนว่ ยโดยประเมิน รายหน่วย รวม ๓ หน่วยการเรียนรู้ การมี สว่ นร่วม โดยประเมินภาพรว ๕ ประเดน็ ไดแ้ ก่ - การมีมนษุ ยสมั พนั ธ์ - ความมุ่งม่นั ต้งั ใจ -การมสี ่วนร่วมในกิจกรรม -การแสดงความคดิ เหน็ - ความรับผดิ ชอบ ปผ.๒ ผู้เข้ารับการพฒั นาสรุปองคค์ วามรู้ สรุปเป็นรายวชิ าในแต่ละหนว่ ยการ จานวน ๓๑ รายวิชา ใน ๓ หน่วย เรยี นรู้ ประเมินภาพรวม ๕ ประเดน็ ได้แก่ -ครอบคลมุ เนื้อหา การเรยี นรู้ -การบูรณาการ -รูปแบบการสรปุ -การประยุกต์สู่การปฏบิ ตั ิ -ถูกตอ้ งและตรงประเด็น ปผ.๓ การทดสอบวดั ความรคู้ วามเข้าใจ การทดสอบหลังการพัฒนา หลังการพฒั นา ตามองค์ความรู้ จานวน ๓๐ ขอ้ ท้ัง ๓ หนว่ ยการเรียนรู้ จานวน ๓๐ ขอ้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook