Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการนิเทศ เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ปีการศึกษา 2562 โดยใช้กระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) สพป.ลำปาง เขต 1

คู่มือการนิเทศ เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ปีการศึกษา 2562 โดยใช้กระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) สพป.ลำปาง เขต 1

Published by lpg1, 2020-06-22 22:57:27

Description: คู่มือการนิเทศ เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ปีการศึกษา 2562 โดยใช้กระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) สพป.ลำปาง เขต 1

Search

Read the Text Version

1 เพื่อยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น ปีการศกึ ษา 2562 โดยใชก้ ระบวนการนเิ ทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) จดั ทาโดย ดร.เอกฐสิทธิ์ กอบกา ผู้อานวยการกล่มุ นิเทศ ติดตามและประเมินผลการจดั การศกึ ษา กลมุ่ นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจดั การศึกษา สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร เอกสาร ศน. สพป.ลป.1 ท่ี 2/2562

ก คานา คู่มือการนิเทศ เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้กระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) เล่มนี้จัดทาข้ึน เพื่อให้คณะกรรมการและอนุกรรมการ ก.ต.ป.น. ศึกษานิเทศก์ ผู้บริหารสถานศึกษา หรือบุคลากรที่เกี่ยวข้อง นาไปใช้นิเทศ ติดตามการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทาง การเรียนของสถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 โดยกล่าวถึง ท่ีมาและความสาคัญของการนิเทศ วัตถุประสงค์ เป้าหมายเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ การนิเทศการสอน การนิเทศแบบโค้ช ทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้องกับการนิเทศการสอน แนวคิดเก่ียวกับ การพัฒนารูปแบบ การวัดและประเมินผล การบริหารจัดการเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน แนวทางการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น โดยใชก้ ระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือการนิเทศเล่มนี้ คงจะมีประโยชน์ไม่มากก็น้อยในการนา กระบวนการนิเทศเอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) ไปสู่การปฏิบัติในสถานศึกษา เพื่อยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของนักเรียน อย่างต่อเนื่องในแต่ละข้ันตอน เป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ ตอ่ ไป (ดร.เอกฐสิทธิ์ กอบกา) ผ้อู านวยการกล่มุ นิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1

ข สารบญั เรอ่ื ง หน้า คานา ก สารบัญ ข สว่ นที่ 1 บทนา………………………………………………………………………..…………….……………………… 1 ทมี่ าและความสาคญั ของการนิเทศ..……………………………………………………………………… 1 วตั ถุประสงค์ของการนเิ ทศ................................................................................................ 5 เป้าหมายของการนเิ ทศ..................................................................................................... 5 ส่วนที่ 2 เอกสารที่เก่ยี วขอ้ ง.......................…………………………………………………………..……………. 6 2.1 การนิเทศการสอน…………………………………………………………..……………………………. 7 2.1.1 ความหมายของการนิเทศการสอน……………………………………………………….. 7 2.1.2 จุดมงุ่ หมายของการนิเทศการสอน……………………………………………………….. 7 2.1.3 ความจาเป็นนิเทศการสอน………………………………………..………………………….. 9 2.1.4 กิจกรรมการนเิ ทศการสอน............................................................................. 10 2.1.5 ทกั ษะการนเิ ทศการสอน…………………………………………………………………….. 12 2.1.6 กระบวนการการนิเทศการสอน……………………..……………………………………. 13 2.1.7 เทคนคิ การสงั เกตการสอน………………………….……………………………………… 22 2.2 การนเิ ทศแบบโค้ช…………………………………………………..………………………………….. 25 2.2.1 การโคช้ เพื่อการรหู้ นังสอื และการอ่าน (Literacy Coaching or Reading Coaching)……………………………………………………..……………….. 26 2.2.2 การโคช้ เพอ่ื เนน้ นักเรียนเป็นสาคัญ (Student Centered Coaching)………………………………………….…………………………………………. 27 2.3 ทฤษฎีเกย่ี วกบั การนเิ ทศการสอน…………………………….…………………………………… 29 2.3.1 ทฤษฎีการเปลย่ี นแปลง................................................................................. 29 2.3.2 ทฤษฎีแรงจูงใจ.............................................................................................. 30 2.3.3 ทฤษฎีการสอื่ สาร........................................................................................... 31 2.3.4 ทฤษฎมี นุษย์สมั พนั ธ์....................................................................................... 31 2.3.5 ทฤษฎภี าวะผนู้ า..............................................................................................32 2.3.6 ทฤษฎกี ารเรียนรู้ของผู้ใหญ่.............................................................................32

ค สารบญั (ตอ่ ) เรื่อง หน้า 2.4 แนวคิดเก่ียวกับการพฒั นารปู แบบ……………………………..………………………………. 34 2.4.1 ความหมายของรปู แบบ…………………………………………………………………… 34 2.4.2 ประเภทของรปู แบบ................................................................................... 34 2.4.3 ลกั ษณะของรูปแบบทีด่ ี.............................................................................. 35 2.4.4 แนวคิดการออกแบบและพฒั นารปู แบบ.................................................... 35 2.5 การวดั และประเมนิ ผล........................................................................................... 39 2.5.1 การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้…………………………………………………… 39 2.5.2 หลกั การวดั และประเมนิ ผลการศกึ ษา........................................................ 40 2.5.3 วธิ ีการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นร.ู้ .......................................................... 41 2.6 การบรหิ ารจัดการเพื่อยกระดับผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน………………………………. 41 41 2.6.1 ความหมายของผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น..………………………………………… 42 2.6.2 การบริหารจดั การเพอ่ื ยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน........................... ส่วนท่ี 3 แนวทางการนเิ ทศ เพ่อื ยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น…….……………………….……. 45 การนเิ ทศการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน..…………………..……………..………………….… 45 บรรณานกุ รม............................................................................................................................... 49 ภาคผนวก………………………………………………………………………………………………………………….. 52 เครอื่ งมือนเิ ทศ ติดตามการยกระดับผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น.......................................... 52 คณะผู้จัดทา................................................................................................................................. 60

1 ส่วนท่ี 1 บทนา ทมี่ าและความสาคญั ของการนเิ ทศ พระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 มาตรา 47 กาหนดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษา เพ่ือพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การศกึ ษาในทกุ ระดบั ประกอบด้วยระบบประกันคุณภาพภายในและระบบประกันคุณภาพภายนอก และมาตรา 48 กาหนดให้หน่วยงานต้นสังกัด และสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในสถานศึกษาและให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ บรหิ ารการศกึ ษาทตี่ ้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดทารายงานประจาปีเสนอต่อหน่วยงาน ต้นสังกัด หน่วยงานที่เก่ียวข้องและเปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษาและเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก (กระทรวงศึกษาธิการ , 2553) หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กาหนดให้มีการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ใน 4 ระดับ ได้แก่ ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และ ระดับชาติทุกระดับมีเจตนารมณ์เช่นเดียวกัน คือ ตรวจสอบความก้าวหน้าในการเรียนรู้ของ ผู้เรียน เพื่อนาผลการประเมินมาใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาอย่างต่อเน่ืองต่อไป ทั้งนี้เพ่ือเป็นการสร้าง ความม่นั ใจให้กบั หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วข้องท้งั ภายใน และภายนอกสถานศกึ ษาเกย่ี วกบั คุณภาพของผู้เรียน ดังนี้ 1. การประเมินระดับช้ันเรียน เป็นการวัดและประเมินผลที่อยู่ในกระบวนการจัดการ เรียนรู้ ผู้สอนดาเนินการสอนเป็นปกติ และสม่าเสมอ ในการจัดการเรียน การสอน ใช้เทคนิค การประเมินอย่างหลากหลาย เชน่ การซักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การประเมนิ ชิ้นงาน/ภาระงาน แฟม้ สะสมงาน การใชแ้ บบทดสอบ ฯลฯ โดยผู้สอนเป็นผู้ประเมินเอง หรอื เปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รยี นประเมินตนเอง เพ่ือนประเมนิ เพือ่ น ผปู้ กครองร่วมประเมิน ในกรณีท่ีไม่ผ่าน ตัวช้ีวัดให้มีการสอนซ่อมเสริม ซ่ึงการประเมินระดับชั้นเรียนเป็นการตรวจสอบว่าผู้เรียน มกี ารพฒั นาการความกา้ วหน้าในการเรียนรอู้ ันเปน็ ผลมาจากการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนหรือไม่ และมากนอ้ ยเพียงใด มีสง่ิ ท่ีจะต้องได้รับการพัฒนาปรับปรุงและส่งเสริมในด้านใด นอกจากน้ียังเป็น ข้อมูลให้ผู้สอนใช้ปรับปรุงการเรียนการสอนของตนด้วยทั้งน้ีโดยสอดคล้องกับมาตรฐานมาตรฐาน การเรยี นรแู้ ละตัวช้วี ดั 2. การประเมนิ ระดบั สถานศกึ ษา เป็นการประเมินทสี่ ถานศึกษาดาเนินการ เพ่ือตัดสินผล การเรยี นของผู้เรียนเป็นรายปี/รายภาคผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน นอกจากน้ียังให้ข้อมูลเก่ียวกับการการจัดการศึกษาของ สถานศกึ ษาวา่ ส่งผลตอ่ การเรยี นรู้ของผ้เู รยี นตามเปา้ หมายหรือไม่ ผ้เู รยี นมจี ุดพฒั นาในด้านใด รวมท้ัง สามารถนาผลการเรียนของผู้เรียนในสถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติผลการ ประเมิน ระดับสถานศึกษาจะเป็นข้อมูลและสารสนเทศเพ่ือการปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการ หรือวิธีการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพ่ือการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ สถานศึกษา ตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษา และการรายงานผลการจัดการศึกษาต่อ

2 คณะกรรมการสถานศึกษา สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้นั พน้ื ฐาน ผปู้ กครองและชุมชน 3. การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา เป็นการประเมินคุณภาพ ผู้เรียนในระดับ เขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อใช้เป็น ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของเขตพ้ืนที่การศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบ สามารถ ดาเนินการโดยประเมินคณุ ภาพผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นด้วยขอ้ สอบมาตรฐานที่จัดทาโดยเขต พ้ืนท่ีการศึกษา หรือด้วยความร่วมมือกับหน่วยงานต้นสังกัด ในการดาเนินการจัดสอบ นอกจากนี้ ยังได้จากการตรวจสอบทบทวนขอ้ มูลจากการประเมนิ ระดับสถานศึกษาในเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา 4. การประเมินระดับชาติ เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติตามมาตรฐาน การเรียนรตู้ ามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนทุกคนที่เรียนใน ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 เข้ารับ การประเมิน ผลจากการประเมินใช้เป็นข้อมูลในการเทียบเคียงคุณภาพการศึกษาในระดับต่าง ๆ เพ่ือนาไปใช้ในการวางแผนยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ตลอดจนเป็นข้อมูลสนับสนุน การตัดสนิ ใจในระดบั นโยบายของประเทศ (กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2552) การยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของสถานศึกษา ต้องมีการวางแผนการขับเคลื่อน อย่างเป็นระบบ เชื่อมประสานกับผู้เกี่ยวข้อทุกฝ่ายท้ังภายในและนอกสถานศึกษา ทางานร่วมกัน อยา่ งบรู ณาการบนพื้นฐานสงั คมแห่งการเรียนรู้ กาหนดเป้าหมายที่ชัดเจน ท้ังน้ีผู้บริหารสถานศึกษา ต้องมีรูปแบบการบริหารจัดการที่ดี ครูผู้สอนจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ วัดและ ประเมินผลตามสภาพจริง มีเครื่องมือวัดและประเมินผลที่หลากหลาย สอดคล้องกับตัวช้ีวัด/ มาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ดาเนินการ แก้ปัญหาการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยใช้กระบวนการวิจัยในช้ันเรียน ศึกษานิเทศก์หรือหน่วยงาน ต้นสังกัดหรือผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องมีรูปแบบการพัฒนาหรือกระบวนการนิเทศ ติดตามท่ีดีเป็นระบบ ช่วยเหลือ ชี้แนะ แนะนา อย่างเป็นกัลยาณมิตร เพื่อพัฒนาผู้เรียนทุกคนที่ได้เข้าเรียน และจบ การศกึ ษาอย่างมีคณุ ภาพสูงตามเกณฑ์ เปา้ หมาย และมาตรฐานของหลกั สูตร เนื่องจากหลักสูตร ในปัจจุบันเป็นหลักสูตรอิงมาตรฐาน ดังน้ันการวัดและประเมินผล จึงควรมุ่งเน้นการประเมิน เพ่ือการเรียนรู้ ที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเน่ืองและตลอดเวลา มีการต้ังคาถามกระตุ้นยั่วยุผู้เรียนได้ แสดงความคดิ ความสามารถ ทงั้ นี้ครูผ้สู อนต้องดาเนินการประเมินผู้เรียน ทั้งการประเมินเพ่ือเรียนรู้ (Assessment for learning) การประเมินขณะเรียนรู้ (Assessment as learning) และ การประเมินผลการเรียนรู้ (Assessment of learning) (สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, 2560 : 1 - 3) การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของสถานศึกษา ถือได้ว่าการนิเทศการศึกษา มีความสาคัญและมีความจาเป็นอย่างย่ิง เนื่องจากการนิเทศการศึกษาเป็นกระบวนการบริหารที่ให้ ความช่วยเหลือ ให้ความร่วมมือกับครูผู้สอนและบุคคลท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา ช้ีแนะ เพื่อปรับปรุงการเรียนการสอนของครู และเพ่ิมคุณภาพของผู้เรียนให้เป็นไปตามเป้าหมายของ การศึกษา เพราะการนิเทศการศึกษามีจุดมุ่งหมาย คือ พัฒนาคุณภาพการศึกษาของผู้เรียน โดยปฏบิ ัติการผ่านครูผู้สอน เพื่อพัฒนาคนให้มีคุณภาพสูงข้ึนท่ีเกิดจากการพัฒนางานให้ได้ผลดีและ

3 เป็นการพัฒนากระบวนการทางานมีการประสาน สัมพันธ์อันดีงามระหว่างผู้ปฏิบัติงาน ลดความขดั แย้งให้ได้มากท่ีสดุ อกี ทั้งยังเป็นการสร้างขวัญและกาลังใจใน การปฏิบัติงาน นอกจากน้ี การนิเทศการศึกษายังมีความสาคัญ คือ ช่วยปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอนให้ดาเนินการอย่าง ราบร่ืนเรียบร้อยและมีผลสัมฤทธ์ิสูง การนาการนิเทศแบบโค้ช (Coaching) มาเป็นขั้นตอนหนึ่งใน การขับเคล่ือนให้ครูผู้สอน มีความรู้ ความเข้าใจในการจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐาน เนื่องจากหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 มงุ่ เนน้ ให้คนไทยทุกคน คิดเป็น ทาเป็น มีเหตุผล สามารถเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ให้นักเรียนมีทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ปัญหาใน การดาเนินชีวิตประจาวัน และมีความคิดสรร้างสรรค์ (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ , 2545 : 14 - 15) ในการนเิ ทศการสอนเพ่ือให้เกดิ ผลสาเรจ็ มปี ระสทิ ธิภาพและประสิทธิผล จาเป็นอย่างยิ่งที่ จะต้องดาเนินการตามลาดับข้ันตอนอย่างต่อเนื่องกัน ซึ่งนักการศึกษาหลายท่านได้นาเสนอ กระบวนการนิเทศ เช่น สงัด อุทธานันท์ (2530 : 10) ได้เสนอแนะกระบวนการนิเทศการสอนที่ สอดคล้องกับสภาพสังคมไทย ประกอบด้วย 5 ข้ันตอน ซ่ึงเรียกว่า “PIDRE” คือ การวางแผน (P-Planning) ให้ความรู้ก่อนดาเนินการนิเทศ (Informing-I) การดาเนินการนิเทศ (Doing-D) การสร้าง เสริมขวัญกาลังใจแก่ผู้ปฏิบัติงานนิเทศ (Reinforcing-R) การประเมินผลการนิเทศ (Evaluating-E) ในส่วนของวัชรา เล่าเรียนดี (2550 : 18-19) ได้เสนอกระบวนการนิเทศการสอน 7 ขั้นตอน คือ 1. วางแผนรว่ มกันระหวา่ งผนู้ ิเทศและผ้รู บั นิเทศ 2. เลือกประเดน็ หรอื เร่อื งทส่ี นใจจะปรับปรุงพัฒนา 3. นาเสนอโครงการพัฒนาและขั้นตอนการปฏิบัติให้ผู้บริหารโรงเรียนได้รับทราบเพ่ืออนุมัติ ดาเนนิ การ 4. ใหค้ วามรหู้ รือแสวงหาความรจู้ ากเอกสารตา่ งๆและจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับ เทคนิคการสังเกตการสอนในชั้นเรียน และความรู้เกี่ยวกับวิธีการสอนและนวัตกรรมใหม่ ๆ ที่สนใจ 5. จดั ทาแผนการนิเทศ กาหนดวัน เวลา ท่ีจะสังเกตการสอน ประชุมปรึกษาหารือ เพื่อแลกเปลี่ยน ความคดิ เหน็ และประสบการณ์ 6. ดาเนินการตามแผนโดยครูและผูน้ เิ ทศ (แผนการจัดการเรียนรู้และ การนิเทศ) 7. สรปุ และประเมนิ ผลการปรบั ปรงุ และพัฒนา รายงานผลสาเร็จ นอกจากนี้ยังได้มีการนา วงจรคุณภาพ (PDCA) หรือโดยท่ัวไปนิยมเรียกกันว่า PDCA มาใช้เป็นกระบวนการนิเทศการสอน ซ่ึง สมศักดิ์ สินธุระเวชญ์ (2542 : 188) กล่าวถึง จุดหมายท่ีแท้จริงของวงจรคุณภาพ (PDCA) ว่าเป็น กิจกรรมพื้นฐานในการบริหารคุณภาพนั่นมิใช่เพียงแค่การปรับแก้ผลลัพธ์ที่เบี่ยงเบนออกไปจากเกณฑ์ มาตรฐานให้กลับมาอยู่ในเกณฑ์ท่ีต้องการเท่าน้ัน แต่เพ่ือก่อให้เกิดการปรับปรุงในแต่ละรอบของ PDCA อย่างต่อเนื่องเป็นระบบและมีการวางแผน PDCA ที่ม้วนไต่สูงขึ้นเรื่อย ๆ 4 ข้ันตอน คือ ขั้นที่ 1 การวางแผน (Plan-P) ข้ันท่ี 2 การดาเนินตามแผน (Do -D)ข้ันท่ี 3 การตรวจสอบ (Check-C) ขั้นท่ี 4 การแก้ไข ปัญหา (Act - A) นอกจากนี้จากการศึกษาการวิจัยของเกรียงศักด์ิ สังข์ชัย (2552) เกี่ยวกับการพัฒนา รปู แบบการนเิ ทศครูวิทยาศาสตร์ เพอ่ื พัฒนาศกั ยภาพนักเรียนที่มีแววความสามารถทางวิทยาศาสตร์ ซ่ึงใช้รปู แบบการนเิ ทศท่เี รียกวา่ APFIE Model มกี ระบวนการดาเนินงาน 5 ข้ันตอน คือ ข้ันตอนที่ 1 การศึกษาสภาพปัจจุบันและความต้องการจาเป็น (Assessing needs : A) ข้ันตอนที่ 2 จัดการให้ ความรู้ก่อนการนิเทศ (Providing information : P) ขั้นตอนท่ี 3 การวางแผนการนิเทศ (Formation

4 Plan : F) ขั้นตอนที่ 4 ปฏิบัติการนิเทศ (Implementation : I) ซึ่งประกอบด้วยกระบวนการนิเทศ 4 ข้ันตอน คือ 1 ขั้นเตรยี มการก่อนสอนและการนิเทศ 2) สังเกตการสอนในชั้นเรียน 3) ข้ันประชุม ให้ข้อมูลย้อนกลับ หลังสังเกตการสอน 4) ประเมินผลการนิเทศ ติดตาม ดูแล และข้ันตอนที่ 5 ประเมินผลการนิเทศตลอดภาคเรียน (Evaluating : E) และวชิรา เครือคาอ้าย (2552) เสนอรูปแบบ การนิเทศนักศึกษา ฝึกประสบการณ์ วิชาชีพครู เพื่อพัฒนาสมรรถภาพการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริม การคิดของนักเรียนประถมศึกษา มีช่ือว่า รูปแบบ การนิเทศดับเบ้ิลพีไออี ( PPIE) ประกอบด้วย 4 ข้ันตอน คือ 1 ข้ันเตรียมความรู้/เทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้ 2) ข้ันวางแผนการนิเทศ 3) ขั้นดาเนินการนิเทศการสอน 4) ข้ันประเมินผลการนิเทศ ส่วนยุพิน ยืนยง (2553) เสนอรูปแบบการ นิเทศแบบหลากหลายวิธีการ เพ่ือส่งเสริมสมรรถภาพการวิจัยในช้ันเรียน มีช่ือว่า ซีไอพีอี (CIPE Model) ซึ่งมี 4 ข้ันตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 Classifying : C การคัดกรองระดับความรู้ ความสามารถ ทกั ษะท่สี าคญั เก่ยี วกบั การจัดการเรียนรแู้ ละการวจิ ัยในชน้ั เรียน เพื่อจัดกลุ่มครูและเลือกวิธีการนิเทศ ท่ีเหมาะสมสาหรับครูแต่ละกลุ่ม ข้ันตอนที่ 2 Informing : I การให้ความรู้ก่อนการนิเทศ ขั้นตอนท่ี 3 Proceeding : P การดาเนินงานได้แก่ 3.1 การประชุมก่อนการสังเกตการสอน (Pre conference) 3.2 การสังเกตการสอน (Observation) 3.3 การประชุมหลังการสังเกตการสอน (Post conference) ขั้นตอนท่ี 4 Evaluating : E การประเมินผลการนเิ ทศ และธญั พร ช่ืนกล่ิน (2553) ได้เสนอการพัฒนา รูปแบบการโค้ช เพื่อพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของอาจารย์พยาบาลท่ีส่งเสริมทักษะการคิด อย่างมีวิจารณญาณของนักศึกษาพยาบาลในสังกัดสถาบันพระบรมราชชนกกระทรวงสาธารณสุข พบว่า การพัฒนารูปแบบโค้ช พีพีซีอี (PPCE Coaching Model) คือ ระยะท่ี 1 ระยะการเตรียมการ (Preparing Phase : P) ระยะที่ 2 ระยะวางแผนการโค้ช (Planning Phase : P) ระยะที่ 3 ระยะ การปฏิบัตกิ ารโค้ช(Coaching Phase : C) ระยะที่ 4 ระยะเวลาการประเมินผลการโค้ช (Evaluating Phase : E) ดังน้ันในการการสร้างระบบบริหารจัดการที่มีคุณภาพในโรงเรียน นับได้ว่าเป็นกลยุทธ์ที่ สาคัญทีส่ ุดต่อการแกไ้ ขปญั หาและพัฒนานาการเรียนรู้ขององค์การให้บรรลุเป้าหมาย โดยมีพลังสาม ฝา่ ยของบุคลากรในโรงเรยี นซึง่ ประกอบไปด้วย ผบู้ รหิ ารโรงเรยี น ครูผสู้ อน และนักเรยี น ต้องเกิดจาก การมที กั ษะ ความรู้ความสามารถและสามารถเลือกบทบาทท่ีเหมาะสมตามศักยภาพแต่ละบุคคลใน การขับเคล่ือนองค์การซึ่งหมายถึง “โรงเรียน”ให้เกิดการเปล่ียนแปลงและพัฒนาในทิศทางท่ีดีขึ้น (สุรศกั ด์ิ ปาเฮ, 2554) จะเห็นได้ว่าการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ใน 4 ระดับ ได้แก่ ระดับช้ันเรียน ระดับ สถานศึกษา ระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา และระดับชาติ การนิเทศติดตามตามอย่างเป็นระบบ มคี วามสาคญั ต่อการยกระดับระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ดังนัน้ กล่มุ นิเทศ ติดตาม และประเมินผล การจัดการศึกษา จึงต้องการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของสถานศึกษาในสังกัดสานักงาน เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 โดยใช้กระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) 5 ขั้นตอน คือ 1. A (Assessing Need) การศกึ ษาสภาพและความต้องการ 2. P (Planning) การวางแผนการนิเทศ 3. I (Informing) การให้ความรู้ก่อนการนิเทศ 4. C (Coaching) การนิเทศ แบบโค้ช และ5. E (Evaluating) การประเมนิ ผลการนเิ ทศ

5 วัตถปุ ระสงคข์ องการนิเทศ เพื่อนิเทศ ติดตามการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้กระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) ของสถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ลาปาง เขต 1 เปา้ หมายของการนเิ ทศ เปา้ หมายเชงิ ปริมาณ เพ่ือนิเทศ ติดตามการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน โดยใช้กระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) ของสถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา ลาปาง เขต 1 จานวน 94 โรงเรยี น เป้าหมายเชงิ คุณภาพ 1. ผู้บริหารสถานศึกษาสามารถบริหารจัดการด้านการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน อย่างเปน็ ระบบและมีประสทิ ธภิ าพ 2. ครูผู้สอนสามารถจัดการเรียนรู้ได้สอดคล้องกับปัญหาที่พบในชั้นเรียน สะท้อนตัวช้ีวัด และมาตรฐานการเรยี นรู้ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 3. ค่าเฉล่ียร้อยละของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติ RT (ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1) NT (ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3) และ O-NET (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และมัธยมศึกษาปีที่ 3) ของของ สานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาสงู กว่าคา่ เฉลี่ยระดบั ประเทศ และมีการพัฒนาการเพิ่มขึน้ ร้อยละ 3

6 สว่ นท่ี 2 เอกสารท่เี กี่ยวขอ้ ง การนิเทศ ติดตาม เพื่อยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน โดยใช้กระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) ดาเนนิ การศึกษาเอกสารทเ่ี ก่ียวข้อง ดังน้ี 2.1 การนิเทศการสอน 2.1.1 ความหมายของการนเิ ทศการสน 2.1.2 จุดม่งุ หมายของการนิเทศการสอน 2.1.3 ความจาเปน็ นเิ ทศการสอน 2.1.4 กจิ กรรมการนเิ ทศการสอน 2.1.5 ทักษะการนิเทศการสอน 2.1.6 กระบวนการการนิเทศการสอน 2.1.7 เทคนคิ การสงั เกตการสอน 2.2 การนิเทศแบบโคช้ 2.2.1 การโคช้ เพอ่ื การร้หู นังสือและการอ่าน (Literacy Coaching or Reading Coaching) 2.2.2 การโคช้ เพอ่ื เนน้ นักเรียนเป็นสาคญั (Student Centered Coaching) 2.3 ทฤษฎเี ก่ยี วกบั การนเิ ทศการสอน 2.3.1 ทฤษฎีการเปล่ยี นแปลง 2.3.2 ทฤษฎแี รงจูงใจ 2.3.3 ทฤษฎกี ารส่ือสาร 2.3.4 ทฤษฎีมนุษยส์ มั พันธ์ 2.3.5 ทฤษฎีภาวะผนู้ า 2.3.6 ทฤษฎีการเรียนรขู้ องผู้ใหญ่ 2.4 แนวคิดเกย่ี วกับการพัฒนารูปแบบ 2.4.1 ความหมายของรูปแบบ 2.4.2 ประเภทของรปู แบบ 2.4.3 ลกั ษณะของรปู แบบที่ดี 2.4.4 แนวคดิ การออกแบบและพัฒนารปู แบบ 2.5 การวดั และประเมินผล 2.6 การบรหิ ารจดั การเพอ่ื ยกระดบั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน

7 2.1 การนเิ ทศการสอน 2.1.1 ความหมายของการนิเทศการสอน การนเิ ทศการสอน มคี วามสาคญั เป็นอย่างมาก เนื่องจากศาสตร์ในเรื่องนี้มีส่ิงต่างๆ มากมายทีจ่ ะต้องดาเนนิ การอย่างเป็นระบบ มีข้ันตอนการทางานท่ีชัดเจน ซ่ึงได้มีนักการศึกษาต่างๆ ได้ให้ความหมายของการนิเทศการสอนไวห้ ลายทา่ น สรุปไดด้ งั น้ี สงัด อุทรานันท์ (2530 : 7), กิติมา ปรีดีดิลก (2532 : 262), วไรรัตน์ บุญสวัสด์ิ (2538 : 3), ปรยี าพร วงศ์อนตุ รโรจน์ (2548 : 48), ชาญชยั อาจนิ สมาจาร (ม.ป.ป), วัชรา เล่าเรียนดี (2550 : 3) ได้ให้ความหมายเกี่ยวกับการนิเทศการสอนท่ีสอดคล้องกันไว้ว่า การนิเทศการสอน คือ กระบวนการบริหารจดั การศึกษาทส่ี ร้างสรรคไ์ ม่หยุดนงิ่ เพอื่ ช้ีแนะให้ความช่วยเหลือ ให้ความร่วมมือ กับครผู สู้ อน และบคุ ลากรต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการศึกษาหรือในเรื่องอ่ืนๆ ท่ีต้องอาศัยการนิเทศจาก ผู้รู้ ผู้ท่มี ีความสามารถเฉพาะเรื่อง โดยเป็นกระบวนการดาเนินงานทจ่ี ะต้องทาร่วมกนั ระหว่างผู้นิเทศ กับผู้รบั การนิเทศ ตลอดจนให้การช่วยเหลอื แนะนา และให้ความร่วมมือกับครูผู้สอนในการปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นนักเรียนเป็นสาคัญ ท้ังในเรื่องของการวิเคราะห์ นักเรียน การวางแผนการทางาน การผลิตสื่อการเรียนการสอน การวิเคราะห์ สรุปผลการปฏิบัติงาน ตลอดจนการรายงานการปฏบิ ัติงานในภาพรวม และในประเดน็ ที่มีความสาคัญในแต่ละเรอื่ ง นอกจากน้ี Burton, William H. and Bruecker, Lee J. (1955 : 7), Spears, Harold (1967 : 16), Harris, Ben M. (1985 : 10, Oliva, Peer F. (1989 : 8), Glickman, Card. D., Stephen P. Gordon and Jovita M. Ross-Gordon (2004 : 8) ได้ให้ความหมายที่สอดคล้อง สรุปได้ว่า การนิเทศการสอน หมายถึง เป็นการช่วยเหลือสนับสนุนให้ผู้บริหาร ครู และบุคลากรท่ี เกี่ยวข้องกับการปรับปรุงการเรียนการสอนท้ังในเร่ืองหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน สื่อการ เรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ และสิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ เพ่ือพัฒนาการทางานของ ครูใหม้ ปี ระสิทธิภาพ และสง่ ผลตอ่ คุณภาพของนักเรียน สรุปการนิเทศการสอนเป็นกระบวนการสร้างสรรค์ท่ีไม่หยุดนิ่งระหว่างผู้นิเทศกับ ผู้รับการนิเทศ เพ่ือมุ่งเน้นการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาท่ีส่งผลต่อพัฒนาการเรียนรู้ ของนักเรียน โดยเน้นการให้บริการ การให้ความร่วมมือ และการให้ความช่วยเหลือ สนับสนุนแก่ ผูบ้ รหิ าร ครู และบุคลากรท่ีเกี่ยวขอ้ งทง้ั ในดา้ นการพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การวัด และประเมินผล และการจัดกิจกรรมเสริมอ่ืนๆ เน้นความร่วมมือกัน ความเป็นประชาธิปไตย ให้บรกิ ารชว่ ยเหลอื สนบั สนนุ มากกว่าการบังคับให้ปฏบิ ตั ิตาม 2.1.2 จดุ มุ่งหมายของการนเิ ทศการสอน การนิเทศการสอนแต่ละคร้ังจะต้องมีการกาหนดจุดมุ่งหมาย เพ่ือเป็นแนวทางใน การปฏิบัติและแนวทางในการดาเนินการนิเทศการสอนที่ชัดเจน เพ่ือจะให้เกิดผลท่ีต้องการดังท่ี นักการศึกษาหลายท่านได้กาหนดจุดมุ่งหมายของการนิเทศการสอนไว้อย่างสอดคล้องกัน ดังน้ี วัชรา เล่าเรียนดี (2550 : 8), ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์ (2548 : 20), วไลรัตน์ บุญสวสั ดิ์ (2538 : 7) มคี วามเหน็ สอดคลอ้ งกันวา่ จุดมุ่งหมายของการนเิ ทศการสอนเป็นการปรับปรุง กระบวนการสอนและกระบวนการเรียนรู้ของนักเรยี น สรา้ งขวัญและกาลังใจ และสร้างความสัมพันธ์ ท่ีดีระหว่างบุคคลที่เกี่ยวข้องในการทางานร่วมกัน โดยอาศัยการนิเทศช่วยเหลือ แนะนา ให้ความรู้

8 และการฝึกปฏิบัตดิ า้ นการพฒั นาหลักสูตร เทคนคิ วธิ ีการเรียนการสอนใหม่ ๆ การใช้และการสร้างสื่อ นวตั กรรมดา้ นการสอนและการทาวิจัยในชั้นเรียน เพื่อให้ครูสามารถปรับปรุงและพัฒนาการจัดการ เรียนการสอนหรืองานในวิชาชีพของตนเองอย่างต่อเนื่อง มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุด ตามเปา้ หมาย สว่ น กิติมา ปรีดีดิลก (2532 : 264) ได้สรุปจุดมุ่งหมายการนิเทศการสอนไว้ เพ่ือช่วย ให้ครูคน้ หาและรวู้ ิธีการทางานด้วยตนเอง รู้จักแยกแยะ วิเคราะหป์ ัญหาของตนเองโดยใหค้ รูรู้ว่าอะไร ทีเ่ ป็นปญั หาทีก่ าลงั เผชิญอยู่และจะแกไ้ ขปญั หาเหล่านัน้ ไดอ้ ย่างไร รู้สึกมั่นคงในอาชีพ และมีความเช่ือม่ัน ในความสามารถของตน คุ้นเคยกับแหล่งวิทยาการ และสามารถนาไปใช้ในการเรียนการสอนได้ เผยแพร่ให้ชุมชนเข้าถึงแผนการจัดการศึกษาของโรงเรียนและให้การสนับสนุนโรงเรียน ตลอดจน เข้าใจปรัชญาและความต้องการทางการศึกษา นอกจากนี้ ยุพิน ยืนยง (2553 : 38) ; เกรียงศักดิ์ สังข์ชัย (2552 : 71) ยังกล่าวว่าการนิเทศการสอน มีจุดมุ่งหมาย คือ การช่วยเหลือ แนะนา และ สนับสนุนให้ครูได้รับการพัฒนางานในวิชาชีพของตนเองให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล อันที่จะ ส่งผลต่อการพฒั นาการดา้ นการเรียนรูข้ องนักเรยี น สาหรับสานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (2547 : 180-181) ได้สรุป จุดมุ่งหมายของการนิเทศการสอนไว้ว่า 1) เพ่ือให้สถานศึกษามีศักยภาพในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ ของนักเรียนให้สอดคล้องกับมาตรฐานหลักสูตรและให้เป็นไปตามแนวทางของพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2545) 2) เพื่อให้สถานศึกษา สามารถบริหารและจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ 3) เพ่ือพัฒนาหลักสูตรและจัดการเรียนรู้ให้มี ประสิทธิภาพสอดคล้องกับความต้องการของชุมชน สังคม ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทุกด้าน 4) เพ่ือให้ บุคลากรสถานศึกษาได้เพิ่มความรู้ ทักษะและประสบการณ์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และ การปฏบิ ตั ิงาน รวมท้งั ความต้องการในวิชาชพี 5) เพอ่ื ส่งเสรมิ ให้สถาบันการศกึ ษาปฏิรูประบบบริหาร โดยให้ทุกคนมีส่วนร่วมคิด ร่วมทา ร่วมตัดสินใจ และร่วมรับผิดชอบ ชื่นชมในผลงาน 6) เพ่ือให้เกิด การประสานงานและความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาระหว่างผู้เก่ียวข้อง ได้แก่ ชุมชน สังคม และวัฒนธรรม 7) เพ่ือพัฒนาบุคลิกภาพท่ีดีแก่ครูในด้านความเป็นผู้นาทางวิชาการและ ความคิด ความมีมนุษย์สัมพนั ธ์ ความคดิ สร้างสรรค์ และความม่งุ ม่นั มีอดุ มการณ์ท่ีจะอบรมนักเรียนให้ เป็นผู้มีคุณภาพชีวิตท่ีดีตามความต้องการของสังคมประเทศชาติ 8) เพ่ือพัฒนาวิชาชีพครูและ เสรมิ สร้างสมรรถภาพดา้ นการสอนใหแ้ กค่ รูในด้านการวิเคราะหแ์ ละปรบั ปรงุ จุดประสงค์ในการเรียนรู้ วิธีการศึกษาพื้นฐานความรู้ของนักเรียน การเลือกและปรับปรุงเน้ือหาการสอนการดาเนินการจัด กจิ กรรมการเรยี นการสอนเหมาะสม ประเมินผลการเรยี นการสอนและปรับปรุงกระบวนการวัดผลได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 9) เพ่ือพัฒนากระบวนการทางานของครู โดยใช้กระบวนการกลุ่มในด้าน การร่วมมือกันจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและแก้ปัญหาการสอนการร่วมมือกันทางานอย่างเป็น ขนั้ ตอน มีระบบ ระเบียบ การร่วมมือกันทางานด้วยความเข้าใจกัน เห็นอกเห็นใจกัน ยอมรับซ่ึงกัน และกัน การรว่ มมือกันทางานทมี่ เี หตุผลในการพฒั นาหลกั สูตร สามารถปฏิบัติได้ถูกต้องและก้าวหน้า เกิดประโยชน์สูงสุด เป็นภาระหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษา รองผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้าฝ่าย วิชาการ และคณะครู อาจารย์ ภายในสถานศึกษาท่ีจะต้องมีหน้าที่ดาเนินการนิเทศกันเอ ง มีการประสานความร่วมมือระหวา่ งการนิเทศครูผู้ทาหน้าที่นิเทศและแหล่งวิทยาการต่างๆ ให้บริการ ช่วยเหลอื งานวชิ าการของสถานศึกษาอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและคล่องตัว มีความสัมพันธ์ท่ีดีระหว่างครู

9 ด้วยกนั ได้รับขวญั และกาลังใจจากผบู้ รหิ ารและการยอมรบั ในความรู้ ความสามารถของผูใ้ หก้ ารนิเทศ รวมทัง้ ผู้รับการนเิ ทศจะต้องให้การสนับสนุนด้วย และมีกระบวนการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรใน โรงเรยี นทจ่ี ะส่งผลใหโ้ รงเรยี นพฒั นาตนเอง และ10) เพ่อื สรา้ งขวญั และกาลังใจแก่ครูในด้านการสร้าง ความม่นั ใจและความถูกต้องในการใชห้ ลักสตู รและการสอน สร้างความสบายใจในการทางานร่วมกัน และความก้าวหนา้ ในตาแหน่งทางวิชาชพี ครู สรปุ จดุ มุง่ หมายของการนิเทศการสอนคอื การพฒั นาคน พฒั นาครูให้มีความรู้ ความสามารถ ในการพัฒนางานด้านหลักสูตร การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตลอดจนส่งเสริมความเจริญก้าวหน้า ในวชิ าชีพครทู ่สี ่งผลโดยตรงตอ่ การพัฒนาคุณภาพของนักเรียน โดยอาศยั การนเิ ทศ ชว่ ยเหลือ แนะนา อนั จะส่งผลต่อการพฒั นาคณุ ภาพนักเรียนให้เป็นอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีคุณลักษณะ ทีพ่ งึ ประสงคต์ ามเปา้ หมายของหลกั สูตร 2.1.3 ความจาเปน็ ในการนเิ ทศการสอน การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาใหป้ ระสบความสาเรจ็ ได้นนั้ จะต้องอาศัยกระบวนการ นิเทศการสอนเป็นองค์ประกอบด้วย ทั้งน้ีเพราะการนิเทศการสอนเป็นกระบวนการของการทางาน รว่ มกบั ครเู พื่อปรบั ปรงุ การเรยี นการสอนในชนั้ เรยี นให้มปี ระสิทธผิ ล ดงั ท่ี กติ ิมา ปรีดดี ิลก (2532 : 263) ได้ให้ความเห็นว่าในปัจจุบันการนิเทศการสอน มีความจาเปน็ ตอ่ กระบวนการเรียนการสอนเป็นอย่างมากด้วยเหตุผลท่ีว่า 1) การศึกษาเป็นกิจกรรม ที่ซับซ้อนและยุ่งยาก จาเป็นจะต้องมีการนิเทศ 2) การนิเทศการสอนเป็นงานท่ีมีความจาเป็นต่อ ความเจริญงอกงามของครู 3) การนิเทศการสอนมีความจาเป็นต่อการช่วยเหลือครูในการเตรียม การสอน 4) การนิเทศการสอนมีความจาเป็นต่อการทาให้ครูเป็นบุคคลท่ีทันสมัยอยู่เสมอ อนั เนอ่ื งมาจากการเปลย่ี นแปลงทางสงั คมทมี่ อี ยู่ตลอดเวลา ซึ่งแนวคิดดงั กลา่ วสอดคล้องกับกรองทอง จริ เดชากุล (2550 : 4) ท่ีได้กล่าวถึงความจาเป็นของการนิเทศการสอนไว้ว่า การนิเทศการสอนเป็น การปรับปรุงคุณภาพของการจดั การศึกษา การพัฒนาสถานศึกษา ครู และผู้เกี่ยวข้องเข้าสู่มาตรฐาน การศึกษา รวมท้ังเป็นการประสานงานให้เกดิ การปฏิบตั ทิ ่มี ปี ระสิทธภิ าพในสถานศึกษา ท้ังน้เี น่ืองจาก สงั คมมกี ารเปลยี่ นแปลงทุกๆ ด้านตลอดเวลา นอกจากนี้ ชาญชัย อาจินสมาจาร (ม.ป.ป.) ยังกล่าวว่า การนิเทศการสอนมีความจาเปน็ กล่าวคือ 1. การนิเทศการสอนมีความจาเป็นในการให้บริการทางวิชาการ การศึกษาเป็น กิจกรรมที่ซับซ้อน และยุ่งยาก เพราะมันเกี่ยวข้องกับบุคคล การนิเทศการสอนเป็นการให้บริการ แก่ครูจานวนมากท่ีมีความสามารถต่าง ๆ กัน อีกประการหน่ึงการศึกษาได้ขยายตัวไปอย่างมาก เมอื่ ไมน่ านมานี้ ส่ิงเหลา่ น้ตี ่าง ๆ กต็ อ้ งอาศยั ความชว่ ยเหลอื จากการนเิ ทศท้งั นน้ั 2. การนเิ ทศการสอนมคี วามจาเปน็ ตอ่ ความเจริญงอกงามของครู แม้ว่าครูจะได้รับ การฝึกฝนมาแล้วเป็นอย่างดีก็ตาม แต่ครูจะต้องปรับปรุงการฝึกฝนอยู่เสมอในขณะทางานใน สถานการณ์จริง 3. การนเิ ทศการสอนมีความจาเปน็ ต่อการช่วยเหลอื ครใู นการตระหนักเตรียมการสอน เนื่องจากครูต้องปฏิบัติงานในกิจกรรมต่าง ๆ กัน และจะต้องเผชิญกับภาวะท่ีค่อนข้างหนัก ครูจึงไม่อาจสละเวลาได้มากเพียงพอต่อการตระเตรียมการสอน การนิเทศการสอนจึงสามารถ ลดภาระของครไู ดใ้ นกรณี ดงั กล่าว

10 4. การนิเทศการสอนมีความจาเป็นต่อการทาให้ครูเป็นบุคคลท่ีทันสมัยอยู่เสมอ จากการเปล่ียนแปลงทางสังคม ทาให้เกิดพัฒนาการทางการศึกษาทั้งทางทฤษฎีและทางปฏิบัติ ข้อแนะนาที่ได้จากการวิเคราะห์และจากการอภิปราย จากการค้นพบของการวิจัยมีความจาเป็นต่อ ความเจรญิ เตบิ โตดังกล่าว ซ่งึ การนเิ ทศการสอนสามารถให้บริการได้ 5. การนิเทศการสอนมีความจาเป็นต่อภาวะผู้นาทางวิชาชีพแบบประชาธิปไตย การนเิ ทศการสอน สามารถให้ประโยชน์ในทางสร้างสรรค์ นอกจากน้ียังสามารถรวมพลังของทุกคน รว่ มอยใู่ นกระบวนการทางการศกึ ษาดว้ ย สรุปการนิเทศการสอนมีความจาเป็นต่อการจัดการศึกษาอย่างยิ่ง เพราะเป็น การช่วยเหลือสนับสนุน ส่งเสริมให้ครูมีความสามารถในการพัฒนางานในวิชาชีพของตนเองให้มี ประสิทธภิ าพและประสิทธิผล อันจะช่วยให้ครูเจริญก้าวหน้าในวิชาชีพ รวมท้ังส่งผลถึงนักเรียนและ คณุ ภาพการศกึ ษาโดยภาพรวมในท่ีสดุ 2.1.4 กิจกรรมการนเิ ทศการสอน กิจรรมการนิเทศการสอน เป็นวิธีการนิเทศท่ีผู้นิเทศจะต้องพิจารณาเลือกใช้ให้ เหมาะสมกบั สถานการณ์หรือสภาพปัญหาของสถานศึกษา และให้คานึงถึงหลักเกณฑ์ในการเลือกใช้ กิจกรรม แต่ละชนิดอย่างเหมาะสม โดยพิจารณาถึงจุดประสงค์ของการนิเทศ และประโยชน์ท่ีผู้รับ การนิเทศจะได้รับเป็นสาคัญ Harris et al. (1985 : 71-86) ; ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์ (2548 : 20) ; วัชรา เล่า เรียนดี (2550 : 14-16) ไดเ้ สนอกิจกรรมการนิเทศ ดังน้ี 1. การบรรยาย (Lecturing) เป็นกิจกรรมที่เน้นการถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ ของผู้นเิ ทศไปสผู่ รู้ ับนิเทศ ใช้เพียงการพดู และการฟงั เท่านัน้ 2. การบรรยายโดยใช้ส่ือประกอบ (Visualized lecturing) เป็นการบรรยายท่ีใช้สื่อเข้ามาช่วย เชน่ สไลด์ แผนภูมิ แผนภาพ ฯลฯ ซึง่ จะช่วยใหผ้ ฟู้ งั มีความสนใจมากยิง่ ข้ึน 3. การบรรยายเป็นกลมุ่ (Panel Presenting) เปน็ กิจกรรมการให้ข้อมูลเป็นกลมุ่ ที่มจี ุดเน้นทีก่ ารให้ขอ้ มูลตามแนวความคิดหรือแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ ซึง่ กันและกนั 4. การให้ดูภาพยนตร์หรือโทรทัศน์ (Viewing film or Television) เป็นการใช้เคร่ืองมือที่เป็น สื่อทางสายตา ได้แก่ ภาพยนตร์ โทรทัศน์ วีดีทัศน์ เพื่อทาให้ผู้รับการนิเทศได้รับความรู้และ เกดิ ความสนใจมากขน้ึ 5. การฟังคาบรรยายจากเทปวิทยุและเคร่ืองบันทึกเสียง (Listening to tape, Radio recordings) เป็นการใช้เคร่ืองบันทึกเสียงเพื่อนาเสนอแนวความคิดของบุคคลหนึ่งไปสผู่ ้ฟู งั อื่น 6. การจดั นิทรรศการเกยี่ วกับวัสดุและเคร่ืองมือต่างๆ (Exhibiting Materials and Equipment’s) เปน็ กจิ กรรมทชี่ ว่ ยในการฝกึ อบรมหรือเป็นกิจกรรมสาหรบั งานพฒั นาส่อื ตา่ งๆ 7. การสงั เกตในชน้ั เรยี น (Observing in Classroom) เป็นกจิ กรรมที่ทาการสังเกต การปฏบิ ัติงานในสถานการณจ์ ริงของบคุ ลากร เพื่อวิเคราะห์สภาพการปฏิบัติงานของบุคลากร ซึ่งจะ ช่วยให้ทราบจุดดีหรือจุดบกพร่องของบุคลากร เพื่อใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติงานและใช้ใน การพฒั นาบคุ ลากร

11 8. การสาธิต (Demonstrating) เป็นกิจกรรมการให้ความรู้ท่ีมุ่งให้ผู้อ่ืนเห็นกระบวนการและ วธิ ดี าเนนิ การ 9. การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (Structured Interviewing) เป็นกิจกรรมสัมภาษณ์ที่กาหนด จุดประสงคช์ ัดเจนเพื่อให้ได้ข้อมูลต่าง ๆ ตามตอ้ งการ 10. การสัมภาษณ์เฉพาะเรื่อง (Focused Interview) เป็นกิจกรรมสัมภาษณ์แบบ กึง่ โครงสร้างโดยจะทาการสัมภาษณ์เฉพาะโรงเรียนท่ีผู้ตอบแบบสอบถามมีความสามารถจะตอบได้ เท่านน้ั 11. การสัมภาษณ์แบบไม่ช้ีนา (Non-directive Interview) เป็นการพูดคุยและ อภปิ รายหรือการแสดงความคิดของบคุ คลท่สี นทนาดว้ ย ลักษณะของการสัมภาษณ์จะสนใจกับปัญหา และความในใจของผูร้ ับการสัมภาษณ์ 12. การอภิปราย (Discussing) เป็นกิจกรรมท่ีผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศปฏิบัติร่วมกัน ซงึ่ เหมาะสมกบั กลมุ่ ขนาดเลก็ มักใช้ร่วมกับกจิ กรรมอ่นื ๆ 13. การอ่าน (Reading) เป็นกิจกรรมที่ใช้มากกิจกรรมหน่ึง สามารถใช้ได้กับคน จานวนมาก เช่น การอ่านขอ้ ความจากวารสาร มกั ใชผ้ สมกบั กจิ กรรมอื่น 14. การวิเคราะห์ข้อมูลและการคิดคานวณ (Analyzing and Calculating) เป็น กิจกรรมทีใ่ ชใ้ นการติดตามประเมินผล การวิจยั เชิงปฏบิ ัตกิ ารและการควบคุมประสทิ ธิภาพการสอน 15. การระดมสมอง (Brainstorming) เป็นกจิ กรรมทเี่ กีย่ วขอ้ งกับการเสนอแนวคิด วธิ ีแกป้ ญั หาหรือใช้ข้อเสนอแนะนาตา่ งๆ โดยให้สมาชกิ แตล่ ะคนแสดงความคิดโดยเสรี ไม่มีการวิเคราะห์ หรือวิพากษว์ จิ ารณแ์ ต่อย่างใด 16. การบันทกึ วดี ที ศั น์และการถา่ ยภาพ (Videotaping and Photographing) วีดีทศั น์เปน็ เคร่ืองมอื ท่ีแสดงให้เห็นรายละเอียดท้ังภาพและเสยี งสว่ นการถ่ายภาพมีประโยชน์มากใน การจดั นิทรรศการ กิจกรรมนมี้ ีประโยชนใ์ นการประเมินผลงานและการประชาสัมพันธ์ 17. การจดั ทาเครอ่ื งมือและขอ้ ทดสอบ (Instrumenting and Testing) เป็นการใช้ แบบทดสอบและแบบประเมินตา่ งๆ 18. การประชุมกล่มุ ย่อย (Buzz Session) เป็นกจิ กรรมการประชมุ กลมุ่ เพอ่ื อภปิ ราย ให้หัวข้อเรื่องที่เฉพาะเจาะจง มุ่งเน้นการปฏิสัมพนั ธ์ภายในกลุ่มมากที่สุด 19. การจัดทัศนศึกษา (Field Trip) เป็นกิจกรรมการเดินทางไปสถานที่แห่งอื่น เพื่อศึกษาและดูงานท่ีสัมพนั ธก์ ับงานท่ีตนปฏบิ ัติ 20. การเยี่ยมเยียน (Intervisiting) เป็นกิจกรรมท่ีบุคคลหนึ่งไปเย่ียมและสังเกต การทางานของอีกบุคคลหนง่ึ 21. การแสดงบทบาทสมมติ (Role Playing) เป็นกิจกรรมที่สะท้อนให้เห็น ความรู้สึกนกึ คิดของบุคคล กาหนดสถานการณ์ขึ้นแลว้ ให้ผู้ทากิจกรรมตอบสนองหรือปฏิบัติตนเองไป ตามธรรมชาตทิ ี่ควรจะเปน็ 22. การเขียน (Writing) เป็นกิจกรรมที่ใช้เป็นสื่อกลางในการนิเทศเกือบทุกชนิด เช่น การเขียนโครงการนเิ ทศ การบนั ทึกข้อมลู การเขียนรายงาน การเขียนบันทกึ ฯลฯ

12 23. การปฏิบัติตามคาแนะนา (Guided Practice) เป็นกิจกรรมท่ีเน้นการปฏิบัติ ในขณะที่ปฏบิ ัตมิ ีการดแู ลชว่ ยเหลอื มักใช้กับรายบุคคลหรือกลุ่มขนาดเล็ก 24. การประชุมปฏิบัติการ (Workshop) เป็นการประชุมท่ีเน้นให้ผู้เข้าประชุมมีความรู้ ความเข้าใจและทกั ษะทางดา้ นทฤษฎีและดา้ นปฏบิ ัติอยา่ งแท้จรงิ โดยสามารถนาไปพัฒนางานให้มีคุณภาพ 25. การศึกษาเอกสารทางวิชาการ เป็นการมอบหมายเอกสารให้ผู้รับการนิเทศไป ศกึ ษาค้นคว้าเรอ่ื งใดเรื่องหนงึ่ แล้วนาความร้มู าถ่ายทอดให้แกค่ ณะครู 26. การสนทนาทางวิชาการ เป็นการประชุมครูหรือกลุ่มผู้สนใจในเรื่องราว ข่าวสาร เดยี วกัน โดยกาหนดใหม้ ีผนู้ าสนทนาคนหนงึ่ นาสนทนาในเรอื่ งท่กี ลมุ่ สนใจ เพือ่ เพ่ิมพูนความรู้ ความเข้าใจ แนวทางในการปฏบิ ัติงาน เทคนคิ วิธกี ารแก่คณะครูในสถานท่ีศึกษา 27. การสัมมนา เป็นการประชุมและเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจ เพื่อสรุปข้อคิดเห็น และหาแนวทางในการปฏิบัติงานร่วมกัน 28. การอบรม เป็นการให้ครเู ขา้ ศึกษาหาความรู้เพ่ิมเติมในวิชาชีพ เพ่ือเป็นการกระตุ้น ให้ครมู คี วามตืน่ ตัวทางวชิ าการ และนาความรูค้ วามสามารถท่ีได้จากการอบรมไปใช้พัฒนาการจัดการเรียน การสอนให้มีคุณภาพ 29. การให้คาปรึกษาแนะนา เป็นการพบปะกันระหว่างผู้นิเทศกับผู้รับการนิเทศ เพื่อช่วยแก้ปัญหาท้ังด้านส่วนตัวและการปฏิบัติงาน หรือช่วยแนะนาส่งเสริมให้การปฏิบัติงาน ประสบความสาเร็จยิ่งขึ้น การใหค้ าปรึกษาแนะนาสามารถดาเนินการได้ทัง้ เปน็ รายบุคคลและรายกลมุ่ 30. การสังเกตการสอน เป็นการจัดให้บุคคลท่ีมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการเรียน การสอนมาสังเกตพฤติกรรมของครูในขณะท่ีทาการสอน เพื่อให้ครูสามารถพัฒนาหรือปรับปรุงการสอน ให้มปี ระสทิ ธิภาพ โดยใชข้ ้อมลู ยอ้ นกลับจากการสงั เกตการสอนของผูน้ เิ ทศ สรุปกิจกรรมนิเทศการศึกษาในแต่ละกิจกรรมจะมีจุดเด่น จุดด้อย และลักษณะ การนาไปใช้ท่ีแตกต่างกัน การเลือกใช้กิจกรรมการนิเทศ จึงมีความสาคัญเป็นอย่างย่ิง ซึ่งใน การเลือกใช้กิจกรรมการนิเทศในแต่ละคร้ัง ควรคานึงถึงจุดประสงค์ของการนิเทศ จานวนผู้รับ การนิเทศ และประโยชนท์ ่ีผู้รับการนิเทศจะได้รบั ตลอดจนสอดคล้องกบั สภาพปญั หาท่ีพบในโรงเรียน และความต้องการของผู้รับการนเิ ทศ 2.1.5 ทกั ษะการนเิ ทศการสอน ในการนิเทศการสอน เพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษาและปรับปรุงคุณภาพการเรียน การสอนให้บรรลุผลสาเรจ็ ตามวัตถปุ ระสงคน์ ั้น วัชรา เล่าเรียนดี (2550 : 18-19) ได้กล่าวถึง ทักษะที่จาเป็นในการนิเทศไว้ สอดคลอ้ งกนั คอื ทกั ษะดา้ นเทคนิค ทกั ษะด้านมนุษยส์ ัมพันธ์ และทกั ษะด้านการจัดการ รายละเอียด แตล่ ะด้าน ดงั นี้ 1. ทักษะด้านเทคนิค (Technical Skills) เป็นความสามารถในการใช้ความรู้ วิธีการ และเทคนคิ ท่ีจาเป็นและที่เกี่ยวข้องกับการนิเทศ ซึ่งในการนิเทศแต่ละครั้งผู้นิเทศหรือผู้ทาหน้าที่นิเทศ จะต้องมีความรู้ ความสามารถเฉพาะอย่าง ตอ้ งมคี วามรู้ความเข้าใจเทคนิควิธี และสามารถใช้เทคนิค วิธีเหล่าน้ันได้ เช่น เทคนิคการนิเทศแบบพัฒนาการ เทคนิคการนิเทศแบบคลินิก เทคนิคการนิเทศ

13 สงั เกตการสอนและการจัดประชุมให้ข้อมลู ย้อนกลับ รวมทั้งต้องมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคนิค วิธสี อนแบบต่างๆท่ีสาคัญ และสามารถสาธิตแนะนาให้กับครไู ด้ 2. ทักษะด้านมนุษย์สัมพันธ์ (Human Relation Skills) เป็นความสามารถใน การปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลภายในกลุ่ม และสามารถสร้างความร่วมมือให้ เกิดขึ้นระหว่างสมาชิกภายในกลุ่ม รวมถึงความสามารถในการจูงใจและการมีอิทธิพลเหนือคนอื่น การได้รับความร่วมมืออย่างจริงใจ สามารถพัฒนากลุ่มงานให้มีประสิทธิภาพและสร้างการยอมรับ ในการเปลี่ยนแปลงมากขึน้ 3. ทักษะดา้ นการจัดการ (Managerial Skills) เป็นความสามารถในการที่จะจัดให้ และคงไว้ซึง่ สภาพเงื่อนไขท่ีจะเป็นการสนับสนุนการทางานของหน่วยงาน หรือกลไกในการรักษาไว้ และทาใหอ้ งค์กรดีมีประสิทธภิ าพมากข้นึ ประกอบดว้ ยทกั ษะในการจดั การต่อไปนี้ 3.1 ความสามารถในการรกั ษาไวซ้ ึง่ ความสัมพันธ์ท่ดี ีระหวา่ งบคุ คลกบั หนว่ ยงาน 3.2 ความสามารถในการท่ีจะมองเห็นความสัมพันธ์ของปัจจัยต่างๆที่สาคัญ ทเี่ อื้อตอ่ การปฏบิ ตั งิ านในองค์กรหรือโรงเรยี น 3.3 ความสามารถในการที่จะสร้างองค์กรทมี่ ีคณุ ภาพ 3.4 ความสามารถในการสร้างและคงไว้ซึง่ สมรรถภาพขององค์กร สรุปได้ว่า ทักษะท่ีจาเป็นในการนิเทศที่สาคัญก็คือ 1) ทักษะด้านเทคนิค (Technical Skills) 2) ทักษะด้านมนุษย์สัมพันธ์ (Human Relation Skills) และ3) ทักษะด้าน การจัดการ (Managerial Skills) ซึ่งทักษะทั้งสามด้านจะต้องผสมผสานกันในการนาไปใช้ใน การปฏบิ ัติการนเิ ทศ 2.1.6 กระบวนการนิเทศการสอน ในการนิเทศการสอนเพื่อให้เกิดผลสาเร็จ มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล จาเป็น อย่างยง่ิ ที่จะต้องดาเนนิ การตามลาดบั ข้นั ตอนอยา่ งตอ่ เน่ืองกัน ซึ่งนักการศึกษาหลายท่านได้นาเสนอ กระบวนการนิเทศไวด้ งั นี้ สงัด อุทรานันท์ (2530 : 10) ได้เสนอแนะกระบวนการนิเทศการสอนที่สอดคล้องกับ สภาพสงั คมไทย ประกอบด้วย 5 ข้นั ตอน ซง่ึ เรียกวา่ “PIDRE” คอื 1. การวางแผน (P-Planning) เป็นข้ันตอนที่ผู้บริหาร ผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศ จะทาการประชุม ปรึกษาหารือ เพ่ือให้ได้มาซ่ึงปัญหาและความต้องการจาเป็นที่ต้องมีการนิเทศ รวมทง้ั วางแผนถงึ ข้นั ตอนการปฏบิ ัติเกยี่ วกับการนเิ ทศทีจ่ ัดขึน้ 2. ให้ความรู้ก่อนดาเนินการนิเทศ (Informing-I) เป็นขั้นตอนของการให้ความรู้ ความเข้าใจถึงสิ่งท่ีจะดาเนินการว่าต้องอาศัยความรู้ ความสามารถอย่างไรบ้าง จะมีข้ันตอนใน การดาเนินการอย่างไร และจะดาเนินการอย่างไรให้ผลงานออกมาอย่างมีคุณภาพ ขั้นตอนนี้จาเป็น ทกุ ครั้งสาหรบั เริม่ การนิเทศทจี่ ดั ขึ้นใหม่ ไม่วา่ จะเป็นเรื่องใดก็ตาม และเมื่อมีความจาเป็นสาหรับงาน นิเทศท่ียังเป็นไปไม่ได้ผล หรือได้ผลไม่ถึงขั้นท่ีพอใจ ซ่ึงจาเป็นท่ีจะต้องทบทวนให้ความรู้ใน การปฏบิ ตั งิ านท่ีถกู ตอ้ งอีกครง้ั หนึง่

14 3. การดาเนินการนิเทศ (Doing-D) ปะกอบด้วยการปฏิบัติงาน 3 ลักษณะ คือ การปฏิบัติงาน ของผู้รับการนิเทศ (ครู) การปฏิบัติงานของผู้ให้การนิเทศ (ผู้นิเทศ) การปฏิบัติงานของผู้สนับสนุนการนิเทศ (ผู้บริหาร) 4. การสร้างเสริมขวัญกาลังใจแก่ผู้ปฏิบัติงานนิเทศ (Reinforcing-R) เป็นข้ันตอน ของการเสริมแรงของผู้บริหาร ซึ่งให้ผู้รับการนิเทศมีความมั่นใจและบังเกิดความพึงพอใจใน การปฏบิ ตั งิ านข้ันน้ีอาจดาเนินไปพร้อม ๆ กับผู้รับการนิเทศท่ีกาลังปฏิบัติงานหรือการปฏิบัติงานได้ เสรจ็ สนิ้ แลว้ ก็ได้ 5. การประเมินผลการนิเทศ (Evaluating-E) เป็นขั้นตอนท่ีผู้นิเทศนาการประเมินผล การดาเนินงานท่ีผ่านไปแล้วว่าเป็นอย่างไร หลังจากการประเมินผลการนิเทศ หากพบว่ามีปัญหาหรือ มีอุปสรรคอย่างใดอย่างหนึ่ง ท่ีทาให้การดาเนินงานไม่ได้ผล สมควรท่ีจะต้องปรับปรุง แก้ไข ซึ่งการปรบั ปรุงแก้ไขอาจทาได้โดยการให้ความรู้เพ่ิมเติมในเรื่องท่ีปฏิบัติใหม่อีกคร้ัง ในกรณีท่ีผลงานยัง ไม่ถึงข้ันน่าพอใจ หรือได้ดาเนินการปรับปรุงการดาเนินงานทั้งหมดไปแล้ว ยังไม่ถึงเกณฑ์ที่ต้องการ สมควรทจี่ ะตอ้ งวางแผนร่วมกนั วิเคราะหห์ าจดุ ท่คี วรพฒั นาหลงั ใช้นวตั กรรมดา้ นการเรียนรเู้ ข้ามานเิ ทศ วัชรา เล่าเรียนดี (2550 : 18-19) ไดเ้ สนอกระบวนการนเิ ทศการสอน ประกอบด้วย 7 ขัน้ ตอน คือ 1. วางแผนร่วมกันระหวา่ งผูน้ เิ ทศและผู้รับนเิ ทศ (ครแู ละคณะครู) 2. เลือกประเดน็ หรอื เรอ่ื งทีส่ นใจจะปรบั ปรงุ พัฒนา 3. นาเสนอโครงการพัฒนาและข้ันตอนการปฏิบัติให้ผู้บริหารโรงเรียนได้รับทราบ เพอื่ อนุมตั ดิ าเนินการ 4. ให้ความรู้หรือแสวงหาความรู้จากเอกสารต่างๆและจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เกีย่ วกับเทคนิคการสงั เกตการสอนในชน้ั เรียน และความรเู้ ก่ยี วกับวิธกี ารสอนและนวัตกรรมใหมๆ่ ทีส่ นใจ 5. จดั ทาแผนการนเิ ทศ กาหนดวัน เวลา ท่ีจะสังเกตการสอน ประชุมปรึกษาหารือ เพอื่ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ์ 6. ดาเนนิ การตามแผนโดยครูและผูน้ ิเทศ (แผนการจดั การเรียนรแู้ ละการนิเทศ) 7. สรุปและประเมินผลการปรบั ปรุงและพฒั นา รายงานผลสาเรจ็ Harris et al. (1985 : 13-15) ได้เสนอกระบวนการนิเทศการสอนประกอบด้วย 6 ขน้ั ตอน คือ 1. ประเมินสภาพการทางาน (Assessing) เป็นกระบวนการศึกษาถึงสถานภาพต่างๆ รวมท้งั ขอ้ มลู ท่ีจาเปน็ เพื่อจะนามาเปน็ ตัวกาหนดถึงความต้องการจาเป็น เพ่ือก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลง ซ่งึ ประกอบด้วยงานตอ่ ไปนค้ี ือ 1.1 วิเคราะหข์ อ้ มลู โดยการศกึ ษาหรอื พิจารณาธรรมชาติ และความสัมพันธ์ของ สง่ิ ต่าง ๆ 1.2 สงั เกตสง่ิ ตา่ ง ๆ ด้วยความรอบคอบถี่ถ้วน 1.3 ทบทวนและตรวจสอบสง่ิ ตา่ ง ๆ ด้วยความระมดั ระวัง 1.4 วัดพฤตกิ รรมการทางาน 1.5 เปรียบเทียบพฤติกรรมการทางาน

15 2. จัดลาดับความสาคัญของงาน (Prioritizing) เป็นกระบวนการกาหนด เป้าหมาย จุดประสงค์ และกิจกรรมต่าง ๆ ตามลาดบั ความสาคญั ประกอบด้วย 2.1 กาหนดเปา้ หมาย 2.2 ระบุจุดประสงค์ในการทางาน 2.3 กาหนดทางเลอื ก 2.4 จดั ลาดบั ความสาคญั 3. ออกแบบการทางาน (Designing) เป็นกระบวนการวางแผนหรือกาหนด โครงการตา่ ง ๆ เพ่ือกอ่ ใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลงโดยประกอบด้วย 3.1 จัดสายงานใหส้ ่วนประกอบต่างๆ มีความสมั พนั ธ์กัน 3.2 หาวธิ ีการนาเอาทฤษฎหี รือแนวคดิ ไปสกู่ ารปฏบิ ัติ 3.3 เตรยี มการตา่ งๆ ให้พร้อมทีจ่ ะทางาน 3.4 จัดระบบการทางาน 3.5 กาหนดแผนในการทางาน 4. จัดสรรทรัพยากร (Allocating Resources) เป็นกระบวนการกาหนดทรัพยากร ต่างๆ ให้เกดิ ประโยชนส์ งู สุดในการทางาน ซ่งึ ประกอบด้วยงานตอ่ ไปนี้คือ 4.1 กาหนดทรพั ยากรทตี่ อ้ งใช้ตามความตอ้ งการของหน่วยงานตา่ งๆ 4.2 จัดสรรทรัพยากรไปใหห้ นว่ ยงานต่างๆ 4.3 กาหนดทรพั ยากรท่ีจาเป็นจะตอ้ งใช้สาหรบั จดุ ม่งุ หมายบางประการ 4.4 มอบหมายบุคลากรใหท้ างานในแต่ละโครงการหรอื แตล่ ะเปา้ หมาย 5. ประสานงาน (Coordinating) เป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับคน เวลา วัสดุอุปกรณ์ และสิ่งอานวยความสะดวกทุกๆ อย่างเพื่อจะให้การเปลี่ยนแปลงบรรลุผลสาเร็จงานในกระบวนการ ประสานงาน ไดแ้ ก่ 5.1 ประสานการปฏิบัตงิ านในฝ่ายต่าง ๆ ให้ดาเนนิ งานไปดว้ ยกันดว้ ยความราบรื่น 5.2 สรา้ งความกลมกลืนและความพรอ้ มเพียงกนั 5.3 ปรับการทางานในสว่ นต่าง ๆ ให้มีประสทิ ธิภาพใหม้ ากท่สี ดุ 5.4 กาหนดเวลาในการทางานในแตล่ ะชว่ ง 5.5 สร้างความสมั พันธ์ให้เกิดขนึ้ 6. การอานวยการหรือการส่ังการ (Directing)เป็นกระบวนการทีมีอิทธิพลต่อการปฏิบัติงาน เพอื่ ให้เกิดสภาพท่ีเหมาะสมอนั จะสามารถบรรลผุ ลแห่งการเปลีย่ นแปลงให้มากทสี่ ุดซงึ่ ได้แก่ 6.1 การแตง่ ต้ังบคุ ลากร 6.2 กาหนดแนวทางหรอื กฎเกณฑ์ในการทางาน 6.3 กาหนดระเบยี บแบบแผนเกยี่ วกบั เวลา ปริมาณหรืออตั ราเร็วในการทางาน 6.4 แนะนาและปฏิบัตงิ าน 6.5 ชแี้ จงกระบวนการทางาน 6.6 ตัดสินใจเกี่ยวกับทางเลือกในการปฏบิ ัตงิ าน

16 Allen (อ้างในสงัด อุทธานันท์, 2530 : 76-79) กล่าวถึงกระบวนการนิเทศการสอนว่า ประกอบดว้ ยกระบวนการหลัก 5 กระบวนการซงึ่ นิยมเรียกกันง่าย ๆ ว่า “POLCA” โดยย่อมาจากคาศัพท์ ต่อไปน้ีคอื P = Planing Processes (กระบวนการวางแผน) O = Organizing Processes (กระบวนการจัดสายงาน) L = Leading Processes (กระบวนการนา) C = Controlling Processes (กระบวนการควบคุม) A = Assessing Processes (กระบวนการประเมนิ ผล) 1. กระบวนการวางแผน (Planing Processes) กระบวนการวางแผนในทัศนะของ Allen มดี ังนี้ 1.1 คดิ ถึงส่ิงที่จะทาว่ามอี ะไรบ้าง 1.2 กาหนดแผนงานว่าจะทาส่งิ ไหน เมอ่ื ไหร่ 1.3 กาหนดจุดประสงค์ในการทางาน 1.4 คาดคะเนผลที่จะเกิดจากการทางาน 1.5 พัฒนากระบวนการทางาน 1.6 วางแผนในการทางาน 2. กระบวนการจัดสายงาน (Organizing Processes) กระบวนการจัดสายงานหรือ จัดบุคลากรต่าง ๆ เพื่อทางานตามแผนงานทวี่ างไวม้ ีกระบวนการดังน้ี 2.1 กาหนดเกณฑม์ าตรฐานในการทางาน 2.2 ประสานงานกบั บุคลากรต่างๆ ที่จะปฏิบัติงาน 2.3 จดั สรรทรัพยากรตา่ ง ๆ สาหรบั การดาเนินงาน 2.4 มอบหมายงานใหบ้ ุคลากรฝ่ายต่างๆ 2.5 จดั ให้มีการประสานงานสมั พันธก์ นั ระหวา่ งผทู้ างาน 2.6 จัดทาโครงสรา้ งในการปฏบิ ัติงาน 2.7 จดั ทาภาระหนา้ ที่ของบุคลากร 2.8 พฒั นานโยบายในการทางาน 3. กระบวนการนา (Leading Processes) กระบวนการนาบุคลากรต่างๆ ให้งานนั้น ประกอบดว้ ยการดาเนินงานต่อไปนคี้ ือ 3.1 ตดั สนิ ใจเกยี่ วกับสง่ิ ต่าง ๆ 3.2 ให้คาปรกึ ษาแนะนา 3.3 สรา้ งนวตั กรรมในการทางาน 3.4 ทาการสอ่ื สารเพอ่ื ความเข้าใจในคณะทางาน 3.5 สรา้ งแรงจูงใจในการทางาน 3.6 เร้าความสนใจในการทางาน 3.7 กระตุน้ ใหท้ างาน 3.8 อานวยความสะดวกในการทางาน

17 3.9 ริเรมิ่ การทางาน 3.10 แนะนาการทางาน 3.11 แสดงตวั อย่างในการทางาน 3.12 บอกข้นั ตอนการทางาน 3.13 สาธิตการทางาน 4. กระบวนการควบคุม (Controlling Processes) กระบวนการควบคุมประกอบด้วย การดาเนนิ งานในสง่ิ ตอ่ ไปน้ี 4.1 นาให้ทางาน 4.2 แก้ไขการทางานท่ีไม่ถกู ตอ้ ง 4.3 วา่ กล่าวตักเตือนในสง่ิ ท่ีผดิ พลาด 4.4 เรง่ เรา้ ใหท้ างาน 4.5 ปลดคนทีไ่ ม่มคี ณุ ภาพให้ออกจากงาน 4.6 สร้างกฎเกณฑใ์ นการทางาน 4.7 ลงโทษผูก้ ระทาผิด 5. กระบวนการประเมินสภาพการทางาน (Assessing Processes) กระบวนการ ประเมินสภาพการทางาน ประกอบดว้ ยส่งิ ตอ่ ไปน้ี 5.1 การพจิ ารณาตดั สนิ เกี่ยวกบั การปฏบิ ัตงิ าน 5.2 วัดพฤตกิ รรมในการทางาน 5.3 จดั การวจิ ัยผลงาน Glickman et al. (1995 : 324-328) ได้นาเสนอกระบวนการนิเทศการสอน ประกอบด้วย 5 ขัน้ ตอน คอื 1. การประชุมร่วมกับครูก่อนการสังเกตการสอน (Preconference with teacher) ผนู้ ิเทศเข้าร่วมประชุมกับครเู พ่ือพิจารณารายละเอยี ดกอ่ นการสงั เกตการสอนของครูเกยี่ วกับจุดมุ่งหมาย ของการสังเกตตอ้ งการใหเ้ น้นการสังเกตในประเด็นใดเป็นพิเศษวิธีการและรูปแบบการสังเกตท่ีจะนาไปใช้ เวลาท่ใี ชใ้ นการสังเกต และกาหนดเวลาท่ีใช้ในการประชมุ หลงั การสังเกต 2. การสังเกตการสอนในชั้นเรียน (Observation of Classroom) เป็นการติดตาม พฤติกรรมการสอนของครูในชั้นเรียน เพื่อให้เกิดความเข้าใจสอดคล้องกับหลักการและรายละเอียด ตา่ งๆทีก่ าหนด ผู้สงั เกตอาจใช้วธิ สี ังเกตเพยี งวธิ ใี ดวธิ ีหนึ่งหรอื หลายวิธกี ไ็ ด้ 3. การวิเคราะห์และติดตามผลการสังเกตการสอน และพิจารณาวางแผนการประชุม ร่วมกับครู (Analyzing and interpreting observation and determining conference approach) ผู้นิเทศหลังจากได้สังเกตการสอนและได้รับข้อมูลของครูมาแล้ว ให้วิเคราะห์ข้อมูล โด ยใช้การนับ ความถี่ตวั แปรบางตวั ท่ไี ดก้ าหนดไว้ จาแนกตวั แปรหลักทเ่ี กดิ ขึ้น รวมท้ังค้นหาตัวแปรบางตัวท่ีเกิดข้ึน ใหม่จากการปฏิบัติหรือบางตัวท่ีไม่เกิดขึ้น ในการวิเคราะห์ข้อมูลให้ผู้นิเทศวางตัวเป็นกลาง และ ใหด้ าเนนิ การแปลความหมายของขอ้ มูล

18 4. ประชุมร่วมกบั ครูภายหลังการสังเกตการสอน (Post conference with teacher) ผู้นิเทศจดั ประชุมครูเพ่อื เปน็ การให้ขอ้ มลู ยอ้ นกลับและร่วมกันอภิปราย ซึ่งผลทไ่ี ด้รับจากการอภิปราย รว่ มกัน ครผู ู้สอนสามารถนาไปใชใ้ นการวางแผนปรบั ปรงุ การสอนได้ 5. การวพิ ากษว์ ิจารณผ์ ลทไ่ี ดร้ บั จากขน้ั ตอนท้ัง 4 ข้ันตอน (Critique of previous four steps) ซ่ึงกระบวนการนเิ ทศการสอนท่ีสอดคล้องกับกระบวนการนิเทศของ Copeland and Boyan (1978 : 23) ได้เสนอการนิเทศการสอนไว้ 4 ขั้นตอน คือ 1) การประชุมก่อนการสังเกตการสอน 2) การสังเกต การสอน 3) การวิเคราะหข์ ้อมลู จากการสงั เกตการสอน และ 4) การประชมุ หลงั การสังเกตการสอน การนาวงจรคุณภาพ (PDCA) หรือโดยทว่ั ไปนิยมเรยี กกนั วา่ PDCA มาใช้เป็นกระบวนการ นิเทศการสอน ซึ่งสมศักดิ์ สินธุระเวชญ์ (2542 : 188) กล่าวถึง จุดหมายที่แท้จริงของวงจรคุณภาพ (PDCA) ว่าเป็นกิจกรรมพื้นฐานในการบริหารคุณภาพนั่นมิใช่เพียงแค่การปรับแก้ผลลัพธ์ท่ีเบี่ยงเบน ออกไปจากเกณฑม์ าตรฐานให้กลับมาอยู่ในเกณฑ์ที่ต้องการเท่านั้น แต่เพ่ือก่อให้เกิดการปรับปรุงในแต่ละ รอบของ PDCA อย่างต่อเน่ืองเป็นระบบและมีการวางแผน PDCA ท่ีม้วนไต่สูงขึ้นเรื่อยๆ 4 ขั้นตอน คือ ข้ันท่ี 1 การวางแผน (Plan-P) ขั้นที่ 2 การดาเนินตามแผน (Do-D) ข้ันท่ี 3 การตรวจสอบ (Check-C) ข้ันท่ี 4 การ แกไ้ ขปญั หา (Act-A) ภาพท่ี 2.1 กระบวนการ PDCA วางแผน(Plan-P) อะไร กาหนดปัญหา วิเคราะหป์ ัญหา ทาไม อยา่ งไร หาสาเหตุ วางแผนร่วมกัน ปฏิบตั ิ (Do-D) นาไปปฏิบตั ิ ตรวจสอบ (Check-C) ยืนยนั ผลลัพธ์ แกไ้ ข (Act-A) ทามาตรฐาน ทม่ี า : สมศักดิ์ สนิ ธุระเวชญ์ (2542 : 188)

19 ข้ันตอนท่ี 1 การวางแผน (Plan) การวางแผนงานจะช่วยพัฒนาความคิดต่าง ๆ เพ่ือนาไปสู่ รูปแบบที่เป็นจริงข้ึนมาในรายละเอียดให้พร้อมในการเริ่มต้นลงมือปฏิบัติ แผนที่ดีควรมีลักษณะ 5 ประการ ซ่ึงสรุปได้ ดงั นี้ 1. อยู่บนพื้นฐานของความเป็นจริง (realistic) 2. สามารถเข้าใจได้ (understandable) 3. สามารถวัดได้ (measurable) 4. สามารถปฏิบัติได้ (behavioral) 5. สามารถบรรลุผลสาเร็จได้ (achievable) การวางแผนที่ดีควรมีองค์ประกอบ ดังน้ี 1. กาหนดขอบเขตปัญหาให้ชัดเจน 2. กาหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมาย 3. กาหนดวิธีการที่จะบรรลุถึงวัตถุประสงค์และเป้าหมายให้ชัดเจนและถูกต้อง แม่นยาท่ีสุดเท่าท่ีเป็นไปได้ ขน้ั ตอนท่ี 2 ปฏบิ ัติ (Do) ประกอบดว้ ยการทางาน 3 ระยะ 1. การวางแผนกาหนดการ 1.1 การแยกกจิ กรรมต่างๆ ทต่ี ้องการกระทา 1.2 กาหนดเวลาท่ีคาดวา่ ตอ้ งใช้ในกจิ กรรมแต่ละอยา่ ง 1.3 การจดั สรรทรัพยากรตา่ งๆ 2. การจัดการแบบแมทริกซ์ (matrix management) การจัดการแบบนี้สามารถ ช่วยดงึ เอาผ้เู ช่ียวชาญหลายแขนงจากแหลง่ ตา่ ง ๆ มาได้ และเป็นวธิ ชี ว่ ยประสานระหวา่ งฝ่ายต่างๆ 3. การพัฒนาขีดความสามารถในการทางานของผู้ร่วมงาน 3.1 ให้ผู้ร่วมงานเข้าใจถึงงานท้ังหมดและทราบเหตุผลที่ต้องกระทา 3.2 ให้ผู้ร่วมงานพร้อมในการใช้ดุลพินิจที่เหมาะสม 3.3 พัฒนาจิตใจให้รักการร่วมมือ ขั้นตอนท่ี 3 การตรวจสอบ (Check) การตรวจสอบทาให้รับรู้สภาพการณ์ของงานที่ เปน็ อยู่เปรยี บเทยี บกับสงิ่ ทว่ี างแผน ซึง่ มีกระบวนการ ดงั นี้ 1. กาหนดวตั ถุประสงค์ของการตรวจสอบ 2. รวบรวมข้อมูล 3. การทางานเป็นตอนๆ เพื่อแสดงจานวน และคุณภาพของผลงานท่ีได้รับในแต่ละ ขัน้ ตอนเปรยี บเทยี บกับท่ไี ด้วางแผนไว้ 4. การรายงานจะเสนอผลการประเมนิ รวมทั้งมาตรการป้องกันความผิดพลาดหรือ ความล้มเหลว 4.1 รายงานเป็นทางการอยา่ งสมบรู ณ์ 4.2 รายงานแบบอย่างไม่เป็นทางการ

20 ข้ันตอนท่ี 4 การแกไ้ ขปญั หา (Act) ผลของการตรวจสอบหากพบว่าเกิดข้อบกพร่อง ขึ้นทาให้งานที่ไดไ้ มต่ รงตามเป้าหมายหรือผลงานไม่ได้มาตรฐาน ให้ปฏิบัติการแก้ไขปัญหาตามลักษณะ ปัญหาทค่ี ้นพบ 1. ถ้าผลงานเบี่ยงเบนไปจากเป้าหมายตอ้ งแก้ไขที่ตน้ เหตุ 2. ถ้าพบความผิดปกติใดๆ ให้สอบสวนค้นหาสาเหตุแล้วทาการป้องกัน เพ่ือมิให้ ความผิดปกตินน้ั เกดิ ขึ้นซ้าอีก ในการแกไ้ ขปญั หาเพือ่ ให้ผลงานได้มาตรฐานอาจใชม้ าตรการดังต่อไปน้ี 1. การย้านโยบาย 2. การปรับปรุงระบบหรือวิธีการทางาน 3. การประชุมเกีย่ วกบั กระบวนการทางาน จะเห็นได้ว่าวงจรคุณภาพ (PDCA) ประกอบด้วย การวางแผน (Plan) การดาเนิน ตามแผน (Do) การตรวจสอบ (Check) และการปรับปรุงแก้ไข (Act) โดยการวางแผน การลงมือ ปฏิบัติตามแผน การตรวจสอบผลลัพธ์ที่ได้ และหากไม่ได้ผลลัพธ์ตามท่ีคาดหมายไว้ จะต้องทา การทบทวนแผนการโดยเร่ิมต้นใหม่และทาตามวงจรคุณภาพซ้าอีก เม่ือวงจรคุณภาพหมุนซ้าไป เรอื่ ย ๆ จะทาใหเ้ กดิ การปรับปรงุ งานและระดับผลลัพธ์ที่สูงข้ึนเรื่อยๆ ซึ่งหลักการดังกล่าวหากนามา ปรับใชใ้ หส้ อดคล้องกบั บรบิ ทของสถานศกึ ษาจะชว่ ยพฒั นาบุคลากรและนักเรียนใหม้ คี ุณภาพ จากกระบวนการนิเทศการสอนดังกล่าว สรุปได้ว่า กระบวนการนิเทศที่สาคัญๆ ประกอบด้วยข้ันตอนการวางแผน ขั้นตอนการดาเนินงานนิเทศ และข้ันตอนการวัดและประเมินผล การนิเทศ ดงั น้ันรูปแบบการนิเทศ จึงเรยี กว่า เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) โดยมี 5 ข้นั ตอน ดังน้ี ขน้ั ตอนท่ี 1 ศึกษาสภาพ และความต้องการ (Assessing Need = A) การศึกษาสภาพ และความต้องการเปน็ สิง่ ทีม่ คี วามสาคัญเป็นอย่างมาก เพราะจะได้ ทราบสภาพจริงและความต้องการในการรบั การนิเทศของครผู ู้สอนในเรื่องต่าง ๆ เนื่องจากบริบทของ แตล่ ะโรงเรยี นไม่เหมือนกัน มีความแตกต่างกันท้ังในเรื่องของการจัดการเรียนการสอน ความพร้อม ของครูและนักเรียน ดังนั้นในข้ันตอนนี้จึงมีความสาคัญท่ีผู้นิเทศจะต้องมีการศึกษาสภาพจริงที่ ครูผู้สอนปฏิบัติ และความต้องการในการช่วยเหลือในการแก้ปัญหาการเรียนการสอน ผู้วิจัยนา แนวคิดมาจากรูปแบบจาลองการออกแบบการสอน The ADDIE Model ของ : Kevin Kruse (2007 : 1) ท่ีกล่าวว่า ข้ันตอนที่ 1 เป็นขั้นของการวิเคราะห์ความต้องการจาเป็น และแนวคิด แบบจาลองการออกแบบการสอนเชิงระบบของ Dick et al. (2005 : 1-8) ในการวิเคราะห์ ความ ต้องการจาเป็น การวิเคราะห์การเรียนการสอน การวิเคราะห์นักเรียนและบริบทซ่ึงผู้วิจัยได้ศึกษา กระบวนการนเิ ทศของ Harris et al. (1985 : 13-15) ที่กล่าวว่า การนิเทศการสอนต้องมีการศึกษา ขอ้ มลู เบ้อื งตน้ วิเคราะหค์ วามสัมพันธ์ต่าง ๆ ที่มีอยู่ในองค์กร เพื่อพิจารณาถึงการเปล่ียนแปลง และ เป็นไปตามแนวคิดของ Acheson, Keith A. and Gall, Meredith D. (1997 : 90), วัชรา เล่าเรียนดี (2550 : 527-528) ที่กล่าวว่า ผู้นิเทศต้องวิเคราะห์การสอนของครูผู้สอนและการเรียนของนักเรียน เปิดโอกาสให้ผู้รับการนิเทศนาเสนอความต้องการ ประเด็นที่สนใจจะปรับปรุงและพัฒนาและ สอดคลอ้ งรปู แบบการนเิ ทศของเกรียงศักด์ิ สังขช์ ยั (2552 : 37)

21 ขัน้ ตอนที่ 2 วางแผนการนเิ ทศ (Planning = P) การวางแผนการนิเทศเป็นข้ันของการเตรียมการในการกาหนดตัวชี้วัดความสาเร็จ ส่ือการนิเทศ เคร่ืองมือการนิเทศ และปฏิทินการนิเทศการจัดกิจกรรมและประเมินการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน ผู้วิจัยได้ศึกษาแนวคิดเก่ียวกับกระบวนการนิเทศของ Harris et al. (1985 : 23 อา้ งถึงใน วไลรัตน์ บญุ สวสั ดิ์, 2538 : 40) ทีก่ ล่าวว่าการนิเทศภายในโรงเรียนต้องมีการวางแผน (Planning) ได้แก่ การคิดและการต้ังวัตถุประสงค์ ข้ันตอนการดาเนินงาน วางแผนโครงการ และ สอดคลอ้ งกับแนวคิดของ Lucio, William H., and McNiel, John D (1979 : 24) ที่กล่าวว่าผู้นิเทศ ต้องรู้จักการวางแผน และต้องมีการวางแผนการปฏิบัติงานของตนเอง นอกจากนี้ในกระบวนการ นิเทศการสอนของ Glatthorn, Allan A. (1984 : 2), วัชรา เล่าเรียนดี (2550 : 27), สงัด อุทรานันท์ (2530 : 84-85), เกรียงศักดิ์ สังข์ชัย (2552 : 37), ธัญพร ชื่นกล่ิน (2553 : 28) ยังได้ให้ ความสาคญั เกี่ยวกับการวางแผน และได้นาข้ันตอนการวางแผนการนิเทศ เป็นส่วนหนึ่งของรูปแบบ การนิเทศ และกระบวนการนเิ ทศการสอนทีไ่ ด้พัฒนาขึ้น ข้ันตอนท่ี 3 การใหค้ วามรูก้ ่อนการนเิ ทศ (Informing = I) การให้ความรู้ก่อนการนิเทศ เป็นขั้นการให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมและ ประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ผู้วิจัยได้ศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับรูปแบบและกระบวนการ นเิ ทศการสอนของนักวชิ าการในศาสตร์การนิเทศ เชน่ Glatthorn et al. (1984 : 2),วัชรา เล่าเรียนดี (2550 : 27), สงัด อุทรานันท์ (2530 : 86) พบว่า นักวิชาการดังกล่าวมีความคิดเห็นสอดคล้อง ตรงกันวา่ ในการนเิ ทศการสอนนั้นมคี วามจาเป็นต้องให้ความรู้ท่ีสาคัญ เพื่อเป็นพ้ืนฐานในการพัฒนา ดว้ ยการประชุม สมั มนาเชงิ ปฏิบตั กิ ารตา่ งๆ การส่อื สารท้งั การพดู และการเขียน ตลอดจนการแสวงหา ความรูจ้ ากเอกสาร ข้นั ตอนที่ 4 ปฏิบตั ิการโค้ช (Coaching = C) การปฏิบัติการนิเทศแบบโค้ช (Coaching) ผู้วิจัยได้ศึกษาแนวคิด รูปแบบและ กระบวนการนิเทศของวัชรา เล่าเรียนดี (2556 : 313-317), Sandvold, A (2008 อ้างถึงใน วัชรา เล่าเรียนดี, 2556 : 314), Sweeney, Diane (2011 : 9) ธัญพร ชื่นกลิ่น (2553 : 28-29) เนื่องจาก แนวคิดของนักวิชาการท่ีกล่าวถึงมุ่งเน้น การแก้ปัญหาการรู้หนังสือและการอ่าน การคิดอย่างเป็น ระบบ เน้นให้ครูผู้สอนนาความรู้และทักษะทสี่ าคัญของการจัดการเรียนการสอนไปจัดกิจกรรมท่ีเน้น นักเรียนเป็นสาคัญ มีขั้นตอนท่ีสาคัญ คือ 1) ระบุจุดประสงค์การเรียนรู้ของนักเรียนที่สัมพันธ์กับ มาตรฐานการเรียนรู้ 2) วัดและประเมินผลนักเรียนก่อนเรียน 3) จัดการเรียนการสอนท่ีตอบสนอง ความต้องการของนกั เรยี น 4) วัดและประเมนิ ผลหลงั เรียน นอกจากนี้การนิเทศแบบโค้ช ผู้นิเทศและ ผู้รบั การนเิ ทศมคี วามใกล้ชิดกนั รว่ มกนั คิดใน เชิงสร้างสรรค์ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันอย่างเป็น ระบบและตอ่ เน่ือง ขัน้ ตอนที่ 5 การประเมนิ ผลการนิเทศ (Evaluating = E) การประเมินผลการนิเทศ เป็นขั้นท่ีผู้วิจัยนามาใช้เป็นข้ันตอนสุดท้าย เพ่ือสรุปผล การนเิ ทศในแตล่ ะขน้ั ตอนท่ไี ดด้ าเนนิ การไป เพื่อให้เห็นผลการดาเนินงานทุกขั้นตอนอย่างเป็นระบบ ซึ่งสอดคลอ้ งกบั กระบวนการนเิ ทศของสงดั อทุ รานันท์ (2530 : 87-88) , วัชรา เล่าเรียนดี (2550 : 28) เกรยี งศกั ดิ์ สังขช์ ัย (2552 : 37-38), ยุพิน ยืนยง (2553 : 25-26), ธญั พร ช่ืนกลนิ่ (2553 : 29)

22 2.1.7 เทคนิคการสงั เกตการสอน เน่ืองจากการสงั เกตการสอนเปน็ เคร่ืองมือสาคัญในการนิเทศการสอน ผลจากการสังเกต การสอนชว่ ยในการวเิ คราะห์การสอนของครู ดงั นน้ั การสังเกตการสอนจะต้องสังเกตและบันทึกข้อมูล ตรงตามความจริงและใหต้ รงตามจดุ มุ่งหมายมากท่สี ดุ Acheson et al. (1997 : 23) ได้ให้ข้อเสนอแนะในการนิเทศการสอน ซึ่งประกอบดว้ ย เทคนคิ วิธีการ การกาหนดวตั ถุประสงค์ และการวางแผนการสังเกตการสอน เทคนิค วิธีการสังเกตการสอนในชั้นเรียน เทคนิคการบันทึกการสังเกตการสอนโดยใช้เครื่องมือแบบต่างๆ เทคนิคการประชุมเพ่ือให้ข้อมูลย้อนกลับ และเทคนิคการนิเทศช้ีแนะ แนะนาเพื่อช่วยเหลือครู ให้เกิดการเปล่ียนแปลงและพัฒนา เทคนิคการสังเกตการสอนนั้นประกอบด้วย วิธีการสังเกตและ การบันทึกโดยเลือกใช้เครื่องมือท่ีเหมาะสม (ผู้สังเกตและครูร่วมกันเลือก) เพราะก่อนมีการสังเกต การสอนทุกคร้ังจะต้องมีการตกลงร่วมกันก่อนระหว่างครูกับผู้นิเทศหรือผู้สังเกต และหลังจาก การสังเกตการสอนอาจจะร่วมกันวิเคราะห์ขอ้ มูลจากการสังเกตการสอนก่อนที่จะให้ข้อมูลย้อนกลับ แก่ครู เพ่ือร่วมกันในการพิจารณาหาแนวทางในการปรับปรุงหรือพัฒนาการเรียนการสอนต่อไป ดังน้ัน ผู้นิเทศ ผู้ทาหน้าที่นิเทศ หรือผู้ท่ีทาหน้าท่ีนิเทศการสอนจะต้องมีความรู้ มีความเข้าใจ พอสมควรเก่ียวกับวิธีการสังเกตการสอน เทคนิควิธีการสังเกตการสอน และการบันทึกเคร่ืองมือ สงั เกตการสอน การสร้างและการประยุกต์ใชเ้ คร่ืองมือสังเกตการสอนจึงจะช่วยให้การนิเทศการสอน ประสบผลสาเรจ็ ตามเป้าหมาย การสังเกตการสอนและการบันทึกการสอนจาแนกได้หลายลักษณะ เช่น Oliva, Peer F. and Pawlas, George E. (1997 : 26-28) ได้จาแนกการสังเกตเปน็ 2 ประเภท 1. การสังเกตแบบกว้าง ๆ ทั่วไป (Global Observation) เป็นการสังเกตในภาพรวม ไมเ่ ฉพาะเจาะจงในพฤติกรรมประเภทใดประเภทหน่ึง โดยปกติจะเป็นการสังเกตหรือวิธีการสังเกตที่ ผู้บรหิ ารหรือผูน้ ิเทศนิยมใช้ เม่ือตอ้ งการสังเกตพฤติกรรมการสอนท่ัว ๆ ไป เป็นการสังเกตโดยภาพรวม ของการปฏิบัติการสอนของครู และมักจะใช้ผลการสังเกตและการบันทึก ด้วยวิธีการดังกล่าวใน การประเมินประสิทธิภาพการสอนของครูด้วย เช่น แบบสังเกตและบันทึกแบบตรวจสอบรายการ (Checklist) และแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) เป็นต้น 2. การสังเกตแบบเฉพาะเจาะจง (Specific Observation) เป็นการสังเกตและบันทึก เฉพาะพฤติกรรม เฉพาะเหตกุ ารณ์ เฉพาะเร่ือง หรอื เฉพาะประเด็น เช่น การสังเกตบันทึกพฤติกรรม ปฏสิ มั พนั ธท์ างวาจาระหว่างครกู ับนักเรยี นเปน็ ตน้ นอกจากน้ี Glickman et al. (1995 : 36 ) ได้จาแนกการสังเกตการสอนเป็น 2 ประเภท คือ 1. การสังเกตเชิงปริมาณ (Quantitative Observation) เป็นวิธีการวัดเหตุการณ์ และพฤติกรรมต่างๆ และส่ิงต่างๆ ในห้องเรียน ที่สามารถสังเกตเห็นได้ วัดได้ เป็นจานวนครั้งหรือ ความถี่ของเหตุการณ์ หรือพฤติกรรมตา่ งๆ ท่ีทาการสังเกตและบนั ทึกด้วยเคร่ืองมือหรือวิธีการสังเกต ดว้ ยปรมิ าณ เช่น 1.1 เคร่ืองมือสงั เกตการสอนแบบนับจานวนความถี่ (Categorical Frequency Instrument)

23 1.2 เครอ่ื งมอื สังเกตการสอนแบบระบุพฤติกรรมตามกระบวนการจัดการเรียน การสอนในรปู แบบต่างๆ (Performance Indicator Instrument) 1.3 เคร่อื งมือสังเกตการสอนทจี่ ดั เตรียมฟอรม์ ทีเ่ ป็นแผนผัง (Diagram) 1.4 เครือ่ งมือสังเกตและบนั ทกึ ตรวจสอบรายการ (Check list) 1.5 เครอ่ื งมือสงั เกตและบนั ทึก แบบเลอื กประเภทของคาพูดหรือการพูด จด และ บันทกึ ขอ้ มูลคาพดู นั้น คาตอ่ คาตามเวลาทีก่ าหนด (Selective Verbatim Recording) 1.6 เครื่องมอื สังเกตและบันทึกปฏิสัมพันธ์ทางวาจาระหว่างครูกับนักเรียนของ Ned Flanders FIAC (Flanders’s Interaction Analysis Category) 2. การสังเกตเชิงคุณภาพ (Qualitative Observation) การสังเกตด้วยวิธีนี้เป็น วิธีสังเกตและบันทึกท่ีจะใช้เม่ือผู้สังเกตหรือผู้นิเทศไม่ทราบว่าจะสังเกตหรือบันทึกอะไรบ้าง ในช้นั เรียน หรอื ผูน้ ิเทศสังเกตรายละเอียดพฤติกรรมในการจัดการเรียนการสอนของครูและนักเรียน การสังเกตเชิงคุณภาพ การสังเกตเหตุการณ์และพฤติกรรมต่าง ๆ ตลอดจนสภาพทางกายภาพ ในช้ันเรยี น เช่น การจดบนั ทึก การจัดบอรด์ ส่ืออุปกรณ์ต่าง ๆ โดยทาการบันทึกแบบพรรณนาความ โดยไมใ่ ส่อารมณ์ความรู้สึกของตนเองลงไปดว้ ย ประกอบดว้ ยเครือ่ งมือหรือวธิ ีการสังเกตดงั ต่อไปน้ี 2.1 การสังเกตแบบไมม่ สี ่วนรว่ ม (Detached-open Narrative) 2.2 การสงั เกตบนั ทึกขอ้ มูลการพูดเฉพาะอยา่ ง (Save Verbatim Recording) 2.3 การสงั เกตบนั ทกึ โดยใช้ V.D.O. (Audio record) 2.4 การสงั เกตและบันทกึ แบบสั้นๆ (Anecdotal Record) 2.5 การสงั เกตและบนั ทกึ แบบมีสว่ นรว่ ม (Participant Observation) 2.6 การสังเกตบนั ทึกตามประเดน็ คาถาม (Focused Questionnaire Observation) 2.7 การสงั เกตและบนั ทึกแบบบันทึกการปฏบิ ตั ิงานของตนเอง (Journal Writing) 2.8 การวิจารณ์ทางการศึกษา (Educational Criticism) 2.9 การสงั เกตบนั ทกึ แบบเฉพาะเหตกุ ารณ์ (Tailored Observation System) การสงั เกตการสอนต้องมีเคร่ืองมือสังเกตการสอน (Observation Instrument) ซ่ึง เครอ่ื งมือสังเกตการสอนหมายถึง เครอ่ื งมอื ที่ใช้ในการสังเกตและบันทกึ การเรยี นการสอน เช่น ดินสอ ปากกา กระดาษ เคร่ืองใช้อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ เช่น เทปบันทึกเสียง กล้องถ่ายวีดีโอ คอมพิวเตอร์ ขนาดเล็ก รวมถึงแบบฟอร์มการสังเกตและบันทึกท่ีผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศสร้างขึ้นเองหรือมีผู้อ่ืน สร้างขึ้น และเป็นท่ียอมรับและรู้จักแพร่หลาย เช่น แบบฟอร์มการสังเกต – บันทึกของ Acheson et al. (1997 : 69-71) ซึง่ เปน็ เครอ่ื งมือการสังเกตการสอนที่ได้จากการสร้างและพัฒนาทดลองใช้จน แน่ใจว่าสามารถนาไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล แต่มักจะเป็นเครื่องมือท่ีสร้างขึ้น โดยเฉพาะงานวิจัยท่ีเกี่ยวกับพฤติกรรมการสอนของครูท่ีมีประสิทธิภาพหรือเพื่อใช้ในการประเมิน ประสิทธภิ าพการสอนของครู เพอ่ื จดุ ประสงค์อ่นื ท่ีไมใ่ ช่เพือ่ การปรบั ปรงุ และพัฒนาการเรียนการสอน โดยตรง โดยเฉพาะอย่างย่ิงเป็นเคร่ืองมือที่ค่อนข้างจะละเอียดซับซ้อน ผู้ท่ีจะนาไปใช้ต้องมี ความสามารถ ความคุ้นเคยและความชานาญในการใช้มากพอสมควร จึงขอแนะนาว่า ควรจะ ประยุกตแ์ ละปรับใช้เปน็ เครอื่ งมือสังเกตการสอนอย่างง่าย สะดวกตอ่ การฝกึ และการใชใ้ นสถานการณ์

24 จริงจะเหมาะสมกว่า ดังท่ีกล่าวมาแล้ว และใช้วิธีการสังเกตให้สอดคล้องกับพฤติกรรมการสอนที่มี ประสิทธิภาพของ Acheson et al. (1997 : 69-71) ในการนิเทศการสอนเพือ่ ปรบั ปรงุ และพฒั นาการสอนนนั้ ครูควรจะได้มีการส่งเสริม และพัฒนาให้มคี วามสามารถในการวเิ คราะห์การสอนของตนเองได้ ซึ่งมีการสังเกตและการวิเคราะห์ ตนเองอยา่ งงา่ ย ๆ คอื 1. การวิเคราะหต์ นเองโดยใชเ้ คร่อื งมือช่วย เช่น การฟังเสียงการพูดของตนเองจาก เทปบนั ทึกเสียง การสังเกตตนเองจากการดวู ีดีโอเทปทบ่ี ันทกึ การปฏบิ ัตงิ านของตนเองไว้ และการรับ ฟังข้อมูลย้อนกลับจากการสังเกตพฤติกรรมการสอนของผู้นิเทศ หรือผู้ทาหน้าท่ีนิเทศ หรือจากเพ่ือน หรือจากนกั เรยี น 2. การเยี่ยมช้ันเรียนซ่ึงกันและกัน เพ่ือแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็นซึ่งกันและ กนั อาจทาการเยย่ี มชั้นเรียนเปน็ กลมุ่ หรือคณะ เพอ่ื สงั เกตการสอนและให้สมาชิกภายในกลุ่มช่วยกัน ให้ข้อมูลย้อนกลับ ซึ่งจะช่วยให้มองเห็นการสอนของผู้อื่นและการสอนของตนเองชัดเจนย่ิงขึ้น ดว้ ยการเปรยี บเทียบกับการสอนของตนเอง 3. ให้จบั คู่เพ่ือนทส่ี นิทสนมและผลดั กันสังเกตการสอนซ่ึงกันและกันให้ข้อมูลย้อนกลับ จากการสังเกตการสอนในด้านต่าง ๆ ที่กาหนด ช่วยกันคิดและวิเคราะห์จุดท่ีเป็นปัญหา เพื่อหาทาง แกไ้ ขปรบั ปรุงตอ่ ไป 4. ใชเ้ ทคนคิ แบบคลินิก (Clinical Supervision) ซึ่งเป็นกระบวนการท่ีต้องมีการวางแผน การสงั เกตการสอน มีการบันทึกข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบ แล้วให้ข้อมูลย้อนกลับ จะช่วย ให้ทราบปัญหาข้อบกพร่องต่างๆที่จะต้องแก้ไขปรับปรุง ซ่ึงการนิเทศแบบคลินิกเป็นการนิเทศที่มี จดุ มงุ่ หมายเพื่อพฒั นาปรบั ปรงุ การสอนและทกั ษะการสอนโดยเฉพาะ และที่สาคัญท่ีสุดจะต้องดาเนินการ โดยการมีการร่วมมือกันอย่างจรงิ จงั ระหวา่ งผูน้ เิ ทศกับครู หรอื ผู้ทาหน้าทน่ี ิเทศกับครู ในการสังเกตการสอนต้องมีวิธีการบันทึกการสังเกตการสอนที่ดี จะบันทึกอย่างไร ด้วยวิธีใด ข้ึนอยู่กับวัตถุประสงค์ของการสังเกต ประเภทของการสังเกตการสอน และการเลือกใช้ เคร่ืองมือที่เหมาะสม เช่น เป็น การสังเกตการสอนเชิงปริมาณ (Qualitative Observation) จะต้องระบุ วัตถุประสงค์ชัดเจนว่า จะสังเกตพฤติกรรมอะไรบ้าง อย่างไร ใช้เคร่ืองมือแบบใดจึงเหมาะสม เช่นเดียวกับการสังเกตการสอนเชิงคุณภาพ (Qualitative Observation) จะต้องระบุวัตถุประสงค์ ชัดเจน วิธีการบันทึกและเครื่องมือที่เหมาะสม ดังน้ัน เคร่ืองมือสังเกตการสอน นอกจากจะเป็น แบบฟอร์มลักษณะต่าง ๆ ที่มีผู้สร้างและพัฒนาข้ึน และเผยแพร่ให้ใช้แล้ว ซึ่งอาจจะเป็นการจดหรือ เขียนบันทึกเหตุการณ์หรือพฤติกรรมด้วยกระดาษ ดินสอ ปากกา (Written record) ใช้การบันทึกเสียง (Audio record) หรือด้วยการบันทึกภาพ (Videotaping) ประกอบการสังเกตและบันทึกด้วยวิธีการอื่นๆ ด้วยดงั ตวั อย่างวิธีการสงั เกตบนั ทึกการสอน ดงั น้ี 1. การบนั ทึกแบบพรรณนาความ (Descriptive of Narrative Record) 2. การบันทึกส้ันๆ ไม่เป็นความคิดหรือการประเมินผลใดๆ (Anecdotal Record or Note king) 3. การบันทึกเสียงและการบันทึกภาพเหตุการณ์ทุกอย่างในห้องเรียน (Audio taping Videotaping)

25 4. การจดบันทกึ คาพดู คาตอ่ คา ประโยคต่อประโยค ทก่ี าหนด หรือคาพูดท่ีเลือกจะ บันทกึ (Selective Verbatim Recording) 5. การบนั ทกึ แบบบันทึกการปฏิบัติงานของตนเอง (Journal Writing) 6. การบันทึกตามประเด็นคาถามท่กี าหนด (Focused Questionnaire) 7. การบันทกึ โดยทาตารางบันทกึ ความถี่ (Frequency Tabulation) 8. การบนั ทกึ โดยใชแ้ ผนผงั ท่นี ง่ั เตรยี มไว้ (Seating Chart) 9. การบนั ทกึ พฤตกิ รรมภาพท่ีปรากฏโดยใชแ้ บบตรวจสอบรายการ (Check list) 10. การบันทกึ พฤติกรรมที่เปน็ แบบมาตราสว่ นประมาณค่า (Rating scale) 11. การบนั ทกึ พฤติกรรมโดยใช้แบบบันทึกท่ีระบุพฤตกิ รรมบง่ ชี้ (Performance Indicator Recording) อยา่ งไรกต็ าม การสังเกตการสอนจะบันทกึ ดว้ ยเครื่องมือหรือวธิ กี ารใดก็ตาม การนา เคร่ืองมือประเภทเคร่ืองอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ เช่น เครื่องบันทึกเสียง บันทึกภาพ และฟิล์มต่างๆ มาใช้ประกอบ จะช่วยให้การบันทึกต่างๆในห้องเรียนมีความเที่ยงตรง ครบถ้วนและชัดเจนมากขึ้น เพราะภาพที่บันทึกจะแสดงการเคลื่อนไหว และการใช้ภาษาที่สังเกตและบันทึกด้ วยวิธีอ่ืนๆ ท่ีได้บันทึกไว้ด้วย ซ่ึงข้อมูลต่างๆ ดังกล่าวจะมีประโยชน์ต่อการนาไปช่วยในการวิเคราะห์ผล การสังเกตการสอนได้ละเอียดย่ิงขึ้น ท่ีสาคัญการสังเกตการสอนนั้น เป็นการสังเกตที่มีจุดมุ่งหมาย ดังน้ัน ผู้ทาการสังเกตหรือผู้นิเทศจะต้องรู้ว่าจะสังเกตการสอนครูในเรื่องใด ด้านใด หรือพฤติกรรม อะไร ดังนั้น นอกเหนือจากเทคนิควิธีการ และทักษะในการสังเกตการสอนแล้ว ผู้นิเทศหรือผู้สังเกต การสอนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องท่ีจะสังเกตการสอนเป็นอย่างดี เช่น เทคนิควิธีการสอนต่างๆ ทักษะการสอน รูปแบบการสอนที่มีประสิทธิภาพ นวัตกรรมต่างๆรวมทั้งพฤติกรรมการสอนท่ีมี ประสทิ ธิภาพในดา้ นต่าง ๆ ของครูด้วย (วชั รา เล่าเรยี นดี, 2544 : 24) การวิจัยในครั้งนี้ผู้วิจัยได้มีการสังเกตการสอนและบันทึกผลการนิเทศ เช่น บันทึก ข้อมลู ทพ่ี บระหวา่ งการนเิ ทศ การถา่ ยภาพการจัดกจิ กรรมของครูผู้สอน การเรียนรู้และสืบข้อมูลของ นักเรียน แล้วนาขอ้ มูลมาตรวจสอบสรปุ ผลการนเิ ทศทง้ั ในภาพรวม และผลการสังเกตตามตัวชี้วัดของ การอ่านคิดวิเคราะห์ และเขียน คือ 1) การอ่าน และการหาประสบการณ์จากสื่อที่หลากหลาย 2) การอ่าน และการจับประเด็นสาคัญ ข้อเท็จจริง ความคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน 3) การอ่าน และ การเปรียบเทียบแง่มุมต่างๆ 4) การอ่าน และการแสดงความคิดเห็นต่อเร่ืองที่อ่าน โดยมีเหตุผล ประกอบ 5) การอ่าน และการถา่ ยทอดความคดิ เห็น ความรสู้ กึ จากเรอ่ื งทอี่ า่ น โดยการเขยี น 2.2 การนเิ ทศแบบโค้ช (Coaching) การนิเทศแบบโค้ช เป็นกระบวนการหนึ่งท่ีมีความสาคัญในการช่วยเหลือให้การจัดการ เรยี นร้เู ป็นไปอยา่ งมคี ุณภาพ ผ้ทู ี่มีบทบาทสาคญั คือ ศึกษานิเทศก์ รวมทั้งเครือข่ายการนิเทศที่เข้ามา มีส่วนร่วมในการนิเทศการสอน การดาเนินการเพ่ือเพิ่มศักยภาพในการจัดการเรียนรู้ให้แก่ครูและ ผู้บริหารสถานศึกษา ให้สามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพและได้มาตรฐาน ตลอดจนสามารถ เสริมสร้างการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาให้เข้มแข็ง การนาเทคนิค

26 การนิเทศแบบโค้ช (Coaching) มาใช้ในการนิเทศการสอน จึงเป็นวิธีการหน่ึงท่ีจะช่วยในการพัฒนา คณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาให้มปี ระสทิ ธิภาพมากขึน้ ได้ การนิเทศแบบโค้ช (Coaching) เป็นวธิ ีการพัฒนาสมรรถภาพการทางานของครู โดยเน้น ไปทกี่ ารทางานให้ได้ตามเป้าหมายของงาน หรือการช่วยให้สามารถนาความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่และ หรือได้รับการอบรมมา ไปสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ การโค้ชมีลักษณะเป็นกระบวนการ มี เป้าหมายทตี่ ้องการไปให้ถึง 3 ประการ คือ การแก้ปญั หาในการทางาน การพัฒนาความรู้ ทกั ษะ หรือ ความสามารถในการทางาน และการประยกุ ต์ใชท้ กั ษะหรอื ความรู้ในการทางาน ที่ต้ังอยู่บนหลักการของ การเรียนรู้ร่วมกัน (Co-Construction) โดยยึดหลักว่าไม่มีใครรู้มากกว่าใคร จึงต้องเรียนไปพร้อมกัน เพ่ือให้ค้นพบวิธีการแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง (สานักทดสอบทางการศึกษา สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน, 2553 : 2-7) 2.2.1 การโค้ชเพ่ือการรู้หนังสือและการอ่าน (Literacy Coaching or Reading Coaching) คาวา่ Literacy Coaching หมายถึง การโค้ชเพอื่ ช่วยให้มีความรู้ มีความสามารถใน ดา้ นใดด้านหน่ึง เช่น การโค้ชเพ่ือพัฒนาทักษะการอ่าน (Reading Coaching) ซึ่งคา 2 คานี้มีการนาไปใช้ แพรห่ ลายในโรงเรียนต่าง ๆ ซึ่งในด้านการศึกษา Literacy Coaching อาจหมายถึง การปฏิบัติงานหลาย อย่าง เพอ่ื พฒั นาคุณภาพการศกึ ษาหรอื เพื่อการพัฒนาคณุ ภาพการเรียนการสอนในหลายวชิ าๆ เปน็ ต้น การโค้ชเพ่อื ช่วยครพู ฒั นาทกั ษะการอ่านแก่นักเรียน ผูท้ าหนา้ ที่โค้ชอาจจะทาหน้าที่ สอนครูเกยี่ วกับยุทธวธิ ีการอา่ น การใชแ้ ผนภูมิ แผนภาพ หรือกจิ กรรมการสอนทชี่ ว่ ยให้นักเรียนเข้าใจ ในบทอ่านมากขน้ึ ถา้ ผทู้ าหนา้ ทโ่ี ค้ชเพื่อพัฒนาการรู้หนังสือ อาจะมีความรับผิดชอบ โดยการช่วยนักเรียน พัฒนาทักษะการเขียน และทักษะการอ่านในทุกวิชา อาจทาหน้าที่โดยโค้ชครูบ่อยครั้งหรือไม่ทา การโค้ชเลยก็ได้ โค้ชเพื่อการพัฒนาการอ่าน (Reading Coaching) อาจทาหน้าท่ีครูปฏิบัติด้าน การสอนแก่นักเรียนหรือประเมินผลการเรียนของนักเรียน การโค้ชท้ัง Literacy Coaching และ Reading Coaching อาจจะใช้สลับกันทาหน้าท่ีโค้ช แต่บทบาทของโค้ชเพ่ือพัฒนาการรู้หนังสือกับ โค้ชเพื่อพฒั นาการอา่ นค่อนข้างชดั เจนทั้งตัวครู บทบาทและหนา้ ที่ เช่น ในยุคศตวรรษท่ี 21 Literacy Coaching คือ โค้ชที่มาหน้าท่ีช่วยพัฒนาความรู้จะต้องมีท้ังความรู้ ความสามารถด้านการอ่าน และ การอ่านออกเขยี นไดด้ ว้ ยวิธีต่างๆ เปน็ ตน้ (วัชรา เล่าเรียนดี, 2556 : 111-112) นอกจากนี้ การโค้ชเพื่อพัฒนาความสามารถด้านการอ่านออกเขียนได้ (Literacy Coaching) หรอื การรู้หนงั สือดาเนนิ การ ดงั นี้ 1. การแลกเปลี่ยนข้อมูล (Sharing Information) ระหว่างโรงเรยี นทเี่ ข้าร่วมโครงการ 2. การเตรียมความพร้อม สาหรับการโค้ช คือ ผู้ทาหน้าท่ีโค้ช ครูผู้รับการโค้ช จุดประสงค์สาคัญจากการโค้ช ก็คือ ผลการเรียนรู้ด้านการอ่านของนักเรียนที่มาจากการสอนท่ีมี ประสิทธิภาพ (Expert Teaching) ของครูที่ได้รับการโค้ช การโค้ชจึงมีจุดประสงค์เพ่ือพัฒนา ความเชี่ยวชาญ ดา้ นการสอน โดยมีแนวคิดเชิงระบบง่ายๆ ดังน้ี Literacy Coaching Expert Teaching Student Achievement 3. การเลอื กโค้ชทเ่ี หมาะสม โคช้ ต้องมีความรู้ความสามารถสูง โดยเฉพาะถ้าจะต้อง พฒั นาทกั ษะด้านใดดา้ นหน่งึ วิธีใดวิธีหน่ึงโดยเฉพาะ เช่น โค้ชท่ีจะทาการโค้ช เพ่ือพัฒนาสมรรถนะ

27 การสอนอา่ นให้เป็นผู้เชี่ยวชาญการอ่านให้แก่ครูจะต้องมีความเชี่ยวชาญด้านการอ่านจริงและเป็นที่ ยอมรับ 4. พัฒนาความรู้สึกเป็นเจ้าของ การพัฒนาในวิชาชีพระหว่างผู้ร่วมโครงการ ถา้ ผูม้ สี ว่ นรว่ มมคี วามเตม็ ใจ ต้ังใจ กระตือรอื ร้น ในการเริ่มต้นในการพัฒนาอย่างจริงจัง เป็นการเริ่มต้น บนรากฐานท่ีดีในการพฒั นาตอ่ ไป 5. กาหนดความรับผิดชอบและความสัมพันธ์ต่อกันท่ีชัดเจน เพราะเม่ือใด ที่ ผบู้ รหิ าร ครู และโคช้ ทางานร่วมกนั ผลการเรียนของนักเรยี นตอ้ งมีการพัฒนาขึ้น 6. โคช้ ตอ้ งตดิ ต่อปฏิสัมพันธ์กับโรงเรียนตลอดเวลา การพบปะพดู คยุ กันระหว่างผู้ท่ี เก่ยี วขอ้ ง ทกุ สปั ดาห์ หรอื สองสัปดาห์ต่อคร้งั อย่างต่อเนอ่ื ง 7. โค้ชต้องร้วู า่ แหลง่ ความรู้มีอะไรบา้ ง และเข้าถึงไดอ้ ยา่ งไร เชน่ เว็บไซตต์ ่างๆ ศูนย์สือ่ ตา่ ง ๆ ที่โรงเรียนจะเข้าถึงได้ 8. การพูดจาภาษาเดยี วกนั ผมู้ สี ว่ นรว่ มทกุ คนต้องพดู อธิบายในเรื่องเดยี วกนั ไดเ้ ข้าใจ 9. การประเมินความก้าวหน้า (Assess Progress) การติดตามดูแลช่วยเหลือ ความกา้ วหนา้ ของครใู นการใช้หลกั สูตรการส่งเสริมการอ่าน หรือยุทธวิธีสอนจะต้องมีการเก็บบันทึก ข้อมูล ครผู สู้ อนและโค้ช ก็ต้องได้รบั การฝกึ อบรม และมกี ารประเมินผลความกา้ วหน้า 10. มีการวางแผนเพ่อื พัฒนาอย่างต่อเน่อื ง 2.2.2 การโคช้ ทเี่ น้นนักเรียนเปน็ สาคญั (Student Centered Coaching) 1. แนวคิด การโค้ชท่ีเน้นนักเรียนเป็นสาคัญ (Student Centered Coaching) เป็นอีก แนวคิดหน่ึงในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของครู เพื่อให้ความสาคัญ กับนักเรียนและยึด นักเรยี นเปน็ สาคญั กอ่ นเปน็ อันดบั แรก ถึงแม้ว่าเปา้ หมายหลักสาคัญของการนิเทศในปัจจุบันหรือการ โค้ชทกุ รปู แบบจะเน้นพัฒนาการของการเรียนรู้ของนักเรียนก็ตาม การโค้ชท่ีเน้นนักเรียนเป็นสาคัญ เป็นแนวคดิ และงานของ Diane Sweeney (2011 อ้างถึงใน วัชรา เล่าเรียนดี, 2556 : 323) จุดเด่น และลักษณะสาคัญของการโค้ชที่เน้นนักเรียนเป็นสาคัญ คือ เป็นการดาเนินการโค้ชท่ีโรงเรียน โดย ความร่วมมือของโค้ชผู้บริหาร และครู เพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักเรียนเป็นสาคัญ เป็นโค้ชท่ีมี วัตถุประสงค์ คือ ผลการเรียนรู้ของนักเรียนมากกว่าการมุ่งปรับปรุงการปฏิบัติการสอนของครู การโค้ช แนวทางการโค้ช มุ่งสู่พัฒนาการของผลการเรียนรู้ของนักเรียนท่ีเกิดขึ้น ซึ่งต้องวัดได้และ ประเมินไดช้ ดั เจน 2. สาระสาคญั ของการโค้ชท่ีเน้นนักเรียนเปน็ สาคญั 2.1 การโค้ชที่เน้นนักเรียนเป็นสาคัญ กาหนดเป้าหมายเฉพาะ คือ พัฒนา นกั เรียน เปน็ การร่วมมอื กนั ของโค้ช ผู้บริหาร และครูผ้สู อน 2.2 ผู้บริหารมีบทบาทสาคัญยิ่งในการพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักเรียนใน โรงเรยี น ซึ่งต้องมสี ่วนร่วมอย่างจรงิ จงั ในการโค้ชและการพฒั นาคณุ ภาพของนักเรยี น 2.3 เป็นการวัดและประเมินผลกระทบโดยตรงท่ีเกิดข้ึนกับนักเรียน อันเน่ืองมาจากการโคช้

28 2.4 การพัฒนาวิชาชีพด้วยการโค้ชภายในโรงเรียนมีหลายรูปแบบ หลายวิธีการ ปฏิบตั ิใชก้ ันแพร่หลายตอ่ เนื่อง และประสบผลสาเร็จ แต่การโค้ชที่เน้นนักเรียนเป็นสาคัญจะช่วยยืนยัน ได้ว่าการโคช้ เปน็ การพัฒนาวิชาชีพอย่างต่อเนื่องของครแู ละบุคลากรในโรงเรียน ส่งผลถึงพัฒนาการของ ผลการเรยี นร้ขู องนักเรียนจริง 2.5 การโค้ชท่ีเน้นนักเรียนเป็นสาคัญ มีลักษณะและการปฏิบัติท่ีชัดเจนของ การโค้ชในโรงเรียน โดยบุคลากรในโรงเรียน เนือ่ งจากผู้บรหิ ารตอ้ งให้ความสาคัญและให้ความร่วมมือ เพอื่ การพฒั นาคุณภาพของนกั เรยี น โดยตรง 3. บทบาทของผูบ้ ริหารในการโค้ชท่ีเนน้ นักเรยี นเปน็ สาคัญ 3.1 ทาความเขา้ ใจหลกั การ แนวคิด แนวปฏบิ ัติ ของการโค้ชที่เน้นนักเรียนเป็น สาคญั พร้อมกบั โค้ชหรอื ผูท้ าหน้าที่โคช้ เพราะผบู้ รหิ ารเป็นบคุ คลท่จี ะสร้างความร่วมมือให้เกิดข้ึนกับ คณะครูในโรงเรียน ไม่ใช่โคช้ 3.2 ผู้บริหารต้องสร้างวัฒนธรรมของการเรียนรู้ร่วมกันให้เกิดข้ึนในโรงเรียน บุคลากรทุกคนในโรงเรียนหรือครูทุกคน และผู้บริหาร เป็นนักเรียนที่ต้องเรียนรู้ตลอดเวลา เพื่อ ตอบสนองต่อความต้องการของนกั เรียน 3.3 ผู้บริหารต้องมีส่วนร่วมในการโค้ชทุกขั้นตอนของการโค้ช คาถาม และ การอภปิ รายรว่ มกันระหว่างผู้บริหาร โค้ช และครู คือ เราต้องการให้นักเรียนของเราเรียนรู้และพัฒนา เรือ่ งใด เราจะรู้ไดอ้ ย่างไรว่านกั เรียนของเราเกิดการเรยี นรแู้ ละพัฒนาตามเปา้ หมาย เราจะช่วยนกั เรียนที่ มีปัญหาในการเรียนด้วยวิธีใหม่ ๆ อย่างไร การเปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์และจุดเน้น การโค้ชจาก การปรับปรุงพัฒนาครูให้ได้ตามมาตรฐานการจัดการเรียนรู้ ให้เป็นการปรับปรุงพัฒนานักเรียนเป็น สาคัญเป็นเร่ืองใหม่ โค้ชทาหน้าท่ีโค้ชโดยลาพังไม่ได้ โรงเรียนต้องมีผู้นาเคียงข้างร่วมมือตลอดเวลา จงึ จะทาใหก้ ารพัฒนาผลการเรียนของนกั เรยี นเพื่อนกั เรยี นโดยโรงเรียนประสบผลสาเรจ็ 4. ข้ันตอนการโคช้ ท่เี นน้ นักเรียนเป็นสาคัญ 4.1 ร่วมกันระบุจุดประสงค์การเรียนรู้ หรือวิเคราะห์ข้อมูลการเรียนรู้ของ นกั เรยี นทีส่ ัมพันธก์ ับมาตรฐานการเรยี นรู้ 4.2 วัดและประเมินผลนักเรียนก่อนเรียน โดยเปรียบเทียบกับจุดประสงค์ การเรยี นรู้ 4.3 จดั การเรียนการสอนท่ีตอบสนองต้องความต้องการของนกั เรยี น 4.4 วัดและประเมินผลหลังเรียน เพ่ือตรวจสอบตัดสินว่านักเรียนเกิดการเรียนรู้ ตามจดุ ประสงคก์ ารเรียนร้ทู ี่กาหนดหรือไม่ การนิเทศแบบโค้ช ซ่ึงเป็นการนิเทศที่ผู้วิจัยได้นามาใช้ในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี น เนอ่ื งจากว่าการนิเทศแบบโคช้ ผู้ทีท่ าการนิเทศและผู้รับการนิเทศได้มีโอกาสใกล้ชิดกัน มากกว่าการนเิ ทศในรปู แบบอื่นๆ ผู้รบั การนิเทศไดม้ ีโอกาสพูดแสดงความคิดเห็นอย่างเตม็ ท่ี ส่วนใหญ่ ผนู้ เิ ทศจะเป็นฝา่ ยรับฟงั มากกว่าพูด มีการแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็น ซักถามพูดคุยในประเด็นที่ นิเทศ การนเิ ทศท่เี หมาะสมท่สี ดุ คอื การนเิ ทศแบบโค้ช

29 2.3 ทฤษฎเี ก่ียวกบั การนิเทศการสอน การนิเทศการสอน เป็นกระบวนการปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างผู้นิเทศกับผู้รับการนิเทศ เพื่อท่ีจะพัฒนาปรับปรุงคุณภาพการจัดการศึกษา และจัดการเรียนการสอนของครูเพื่อให้ได้มาซ่ึง ประสิทธิผลในการเรียนของนักเรยี น กลา่ วโดยสรปุ ได้วา่ ในการนิเทศการสอนมีความจาเป็นอย่างมาก ที่จะต้องนาทฤษฎเี กย่ี วกบั การนิเทศการสอนมาเป็นฐานคดิ ในการพฒั นาระบบของการนิเทศการสอน ทั้งนี้ เน่ืองจากการนิเทศการสอนเป็นพฤติกรรมที่เป็นทั้งศาสตร์และศิลป์และมีความเกี่ยวข้องกับ พฤติกรรมของมนุษย์โดยตรง ดงั น้ัน จงึ มคี วามจาเปน็ ท่ตี ้องศึกษาทฤษฎีตา่ งๆ ที่เก่ียวข้องกับการนิเทศ การสอน เพื่อที่จะนามาพิจารณาถึงความสอดคล้องเหมาะสมในการพัฒนาครูให้ตรงกับสภาพและ ความต้องการในการพัฒนาเทคนิคการนเิ ทศการสอน จากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎีท่ีเก่ียวข้องกับการ นิเทศการสอนของนักคิด นักการศึกษา และนักจิตวิทยา สามารถสรุปสาระสาคัญของทฤษฎีต่าง ๆ ดงั น้ี 2.3.1 ทฤษฎีการเปล่ียนแปลง การนิเทศการสอนมีเป้าหมาย เพ่ือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมโดยการช่วยเหลือ สนับสนุน ส่งเสริมให้เกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมและการปฏิบัติงานของครู และบุคลากร ที่เกี่ยวข้อง ให้ส่งผลถึงคุณภาพของนักเรียนและคุณภาพของการศึกษาเป็นสาคัญ ดังนั้น ใน การพฒั นารูปแบบการนเิ ทศการสอนในครงั้ นี้ ผูว้ ิจัยได้ศกึ ษาหลักการ แนวคดิ ทฤษฎกี ารเปลี่ยนแปลง ของนกั คดิ นกั การศกึ ษา และนักจิตวิทยา เพือ่ เป็นพน้ื ฐานทีจ่ ะนาไปประกอบกับเทคนิคและทักษะใน การนิเทศ อาทิเช่น Bennis, Warren G., Benne and Chin R. (1969 : 34-35), วัชรา เล่าเรียนดี (2550 : 33-34) ได้เสนอยุทธวิธีทั่วไปของการเปล่ียนแปลงไว้ 3 ยุทธวิธี คือ 1) ยุทธวิธีการใช้หลัก เหตุผลและข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีความเชื่อว่า มนุษย์สามารถจะทาตามความสนใจของตนเองให้ ปรากฏชัดเจนได้การเปล่ียนแปลงจึงเกิดข้ึน จากที่ตัวบุคคล กลุ่มบุคคลรู้ดีว่าตนเองมีความประสงค์ และเห็นวา่ มีผลดีตามความสนใจของตนเอง 2) ยุทธวิธีการให้การศึกษาใหม่หรือให้ความรู้ใหม่ โดยมี ความเชื่อว่า มนุษย์มีแรงจูงใจท่ีแตกต่างกัน ยึดความเป็นเหตุผล และความฉลาดของมนุษย์ โดยท่ี แบบแผนการปฏิบัติใดๆจะได้รับการสนับสนุนหรือเป็นผลมาจากบรรทัดฐานทางสังคมท่ีบุคคลนั้น ยอมรับและยึดเป็นแนวปฏิบัติ และ 3) ยุทธวิธีในการใช้อานาจและการควบคุม กล่าวคือ เป็นการใช้ อิทธิพลของตาแหน่งหน้าท่ีและใช้ข้อมูลท่ีไม่สามารถคัดค้านหรือปฏิเสธได้ นอกจากนี้กระบวนการ เปลีย่ นแปลงยังประกอบด้วย 3 ข้ัน คือ 1) ข้ันละลายความเคยชิน 2) ขั้นการเปลี่ยนแปลง 3) ขั้นทาให้อยู่ อยา่ งมน่ั คง นอกจากน้ีปัจจัยท่ีส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงมาจาก 2 สาเหตุ คือ สาเหตุจากภายนอก และสาเหตุจากภายใน ซึ่งการเปล่ียนแปลงท่ีมาจากภายนอกอาเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างช้าๆ สะสม จนทาใหเ้ กิดการเปลยี่ นแปลง จากลักษณะท่ีสาคัญของทฤษฎี สรุปได้ว่า ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงมีลักษณะของ การผสมผสานกัน ดังนั้นการเลือกใช้ทฤษฎี หลักการในการเปลี่ยนแปลงสาหรับการนิเทศ จาเป็น จะต้องรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงในทุกองค์ประกอบ ทั้งนี้ เพื่อปฏิบัติหน้าที่ในการนิเทศ ให้มปี ระสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลสงู สุด

30 2.3.1 ทฤษฎแี รงจูงใจ ทฤษฎีแรงจงู ใจที่ได้รบั การยอมรบั และกลา่ วขวัญกันคือ ทฤษฎีแรงจูงใจของ Maslow และ ทฤษฎีแรงจูงใจของ Herzberg, F. โดยท่ี Maslow ได้จาแนก ความต้องการของมนุษย์เรียงลาดับจาก ความต้องการพ้นื ฐานจนถึงความต้องการสุดยอด 5 ประการ คือ 1. ความต้องการทางด้านร่างกาย (Physiological Needs) 2. ความตอ้ งการความปลอดภยั หรอื สวัสดิภาพ (Safety Needs) 3. ความต้องการความรักและการเป็นส่วนหน่ึงของหมู่คณะ (Belongingness and love Needs) 4. ความต้องการได้รบั ความนับถอื จากผอู้ ่นื (Esteem Needs) 5. ความต้องการความเป็นตัวตนเองอันแท้จริงของตนเอง และต้องการท่ีจะพัฒนา ตนเองอย่างเต็มศักยภาพ (Self-actualization Needs) เป็นความต้องการข้ันสุดท้าย ซ่ึงเป็น ความต้องการขั้นสูงสุดของมนุษย์ ความต้องการของมนุษย์ท้ัง 5 ประเภทนี้อาจจะเกิดขึ้นพร้อม ๆ กัน ในบางประเภท เชน่ ความต้องการทางสงั คม และความสาเร็จในตัวเอง หรือความต้องการทางกาย และ ความตอ้ งการทางสังคม ในทานองเดียวกัน Herzberg at el. (1959 อ้างถึงใน วัชรา เล่าเรียนดี, 2550 : 68) ได้เสนอทฤษฎีแรงจูงใจสององค์ประกอบ คือ องค์ประกอบด้านแรงจูงใจ (Motivation Factors) ได้แก่ โอกาสและความเป็นไปใน การเจริญก้าวหน้า การได้เลื่อนระดับหรือความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน การได้รับการยกย่อง ยอมรับ การได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบ และผลสาเร็จหรือการประสบผลสาเร็จ สว่ นองค์ประกอบด้านสุขภาพศาสตร์ (Hygiene Factors) ประกอบด้วย เงินเดือนค่าจ้าง สภาพการทางาน ความปลอดภยั หรือสวสั ดิการในการทางาน ชวี ติ ส่วนตวั นโยบายของโรงเรียนและการบริหาร การนิเทศและ เทคนิควธิ ีการนเิ ทศ ความสมั พนั ธ์ระหว่างบุคคลในหนว่ ยงาน และฐานะหรือสถานภาพของบคุ คล ส่วน Mc Gregor, Douglas (1960 อ้างถึงใน วัชรา เล่าเรียนดี, 2550 : 68) ได้เสนอ ข้อสมมติเกี่ยวกับมนุษย์ใน 2 ลักษณะ คือ ทฤษฎี X กล่าวว่า มนุษย์ท่ัวไปมีนิสัยประจาตัวก็คือ ไม่อยาก ทางานและพยายามท่ีจะหลีกเลี่ยงงานเท่าที่จะทาได้ ต้องมีการบังคับควบคุมช้ีแนะ และขู่เข็ญ ดว้ ยการลงโทษ รวมท้งั ไมช่ อบท่ีจะถกู ชี้แนะ ปรารถนาทจี่ ะหลีกเลี่ยงความรับผิดชอบ มีความทะเยอทะยาน นอ้ ย มคี วามต้องการความปลอดภยั มากทส่ี ุด และทฤษฎี Y กล่าวคือ การใช้ความพยายามทางด้านร่างกาย และจติ ใจในการทางานเปน็ เรื่องธรรมชาติ การควบคมุ ภายนอกและการทาให้หวาดกลัวโดยการลงโทษไม่ใช่ เป็นวิธีการทาให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กรการมีข้อผูกมัดกับจุดประสงค์ในการทางานเป็นวิธีการให้ รางวัลชนิดหนึ่งซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับความสาเร็จ มนุษย์สามารถเรียนรู้ได้ภายใต้ภาวการณ์ท่ีเหมาะสม ความสามารถในการใชจ้ ิตนาการ ความจริงใจ ความคิดสร้างสรรค์ เพ่ือแก้ไขปัญหาภายในองค์กรจะเป็นไป อยา่ งกวา้ งขวาง ไมใ่ ชภ่ ายในขอบเขตจากดั จากการศึกษาทฤษฎีแรงจูงใจ สรุปได้ว่า ในการนิเทศงานจาเป็นต้องคานึงถึง ธรรมชาตขิ องมนษุ ยท์ ี่แท้จริง และความต้องการของผู้รับการนิเทศ หรือครูตามความต้องการพื้นฐาน ในข้ันความต้องการที่จะรู้สึกว่าตัวเองมีค่า และความต้องการที่รู้จักตนเองอย่างแท้จริงและ ความต้องการท่ีจะพัฒนาตนเองอย่างเต็มศักยภาพ ซึ่งต้องอาศัยทฤษฎีแรงจูงใจต่างๆ มาประกอบกับ การปฏบิ ตั งิ านนเิ ทศดว้ ย โดยมุ่งเนน้ ทั้งดา้ นงานและจิตใจ รวมทงั้ การสร้างบรรยากาศในการปฏบิ ัติงานด้วย

31 2.3.3 ทฤษฎีการส่อื สาร การติดต่อส่ือสารมีความจาเป็นและสาคัญต่อการนิเทศการสอน เพราะการนิเทศ การสอนเป็นการปฏิบัติงานเพ่ือช่วยครูในการสอนท่ีต้องอาศัยการติดต่อส่ือสารซึ่งกันและกัน การติดตอ่ สอื่ สารเกิดขึ้นในทุกองค์กรอย่างหลกี เล่ียงไม่ได้ เนอื่ งจากกระบวนการพูด มีองค์ประกอบท่ี สาคัญ คือ 1) ผู้พูด 2) คาพูด 3) ผู้ฟัง คือ ผู้พูด คาพูด ผู้ฟัง มีจุดเน้นที่การกระทาของ ผู้ส่งและผู้รับซึ่งทาหน้าท่ีอย่างเดียวกันและเปลี่ยนบทบาทกันไปมาในการเข้ารหัสสาร การแปล ความหมาย และการถอดรหัสสาร นอกจากน้ัน วัชรา เล่าเรียนดี (2550 : 165) กล่าวว่าการส่ือสาร เป็นการสื่อ ความหมายระหว่างกัน ในการนิเทศการสอนจึงเป็นเรอื่ งสาคัญ เพราะผนู้ ิเทศน้ันจะต้องทางานร่วมกับ ครู ต้องพูดคุยปรึกษาหารือกัน ทั้งเป็นแบบทางการและไม่เป็นทางการอยู่ตลอดเวลา มีจุดเน้นท่ี กระทาของผู้ส่งและผู้รับซึ่งทาหน้าที่อย่างเดียวกัน และเปล่ียนบทบาทกันไปมาในการเข้ารหัส การแปลความหมาย และการถอดรหัส ซ่ึงในการสื่อสารนั้นจะต้องตอบคาถามต่อไปน้ีให้ได้ คือ ใคร พูดอะไร โดยวิธีการและช่องทางใด ไปยังใคร ด้วยผลอะไร จากคาถามดังกล่าว สรุปว่าการพัฒนา ทฤษฎีการส่ือสารโดยมปี ระเด็นที่พจิ ารณาวา่ ผูส้ ่งจะส่งสารอย่างไร และผูร้ ับจะแปลความหมาย และมี การโต้ตอบสารน้ันอย่างไร เรียกว่าทฤษฎี S M C R ประกอบด้วย ผู้ส่ง (Source) ข้อมูลข่าวสาร (Message) ช่องทางในการส่ง (Channel) ผู้รับ (Receiver) อันเป็นองค์ประกอบสาคัญของการ สอื่ สาร จากการศึกษาทฤษฎีการสื่อสาร สรุปได้ว่า ในการนิเทศการสอนในโรงเรียนนั้น บรรยากาศโรงเรียนแบบเปิด วัฒนธรรมโรงเรียนท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ การปฏิบัติงานร่วมกัน การยอมรบั ซึ่งกนั และกัน มีความสาคัญต่อการนิเทศให้บรรลุผลสาเร็จ รวมท้ังการติดต่อส่ือสารต่อกัน ทีม่ ีประสิทธิผล ย่อมสรา้ งความเขา้ ใจตรงกนั ที่สาคัญทีส่ ุด คอื การสอ่ื สารท่ีดีต่อกนั 2.3.4 ทฤษฎีมนุษย์สมั พันธ์ นักคิดนักการศึกษา และนักจิตวิทยาได้กล่าวถึง ทฤษฎีมนุษย์สัมพันธ์ของ Elton Mayo (อ้างถึงใน Sergiovanni and Stratt 1988 : 8-10) ได้ศึกษาถึงพฤติกรรมของมนุษย์ใน การทางานท่ีไม่ได้ขึ้นอยู่กับปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจหรือการจูงใจทางด้านการเงินเท่านั้น แต่ยงั ขน้ึ อยู่กบั ความต้องการทางด้านจติ ใจ หรือเรอ่ื งราวทางด้านสงั คมที่ไม่ได้เก่ยี วกบั การเงินโดยตรง ด้วยและยังศึกษาถึง “Hawthorne Studies” ในประเด็นปัจจัยด้านปทัศถานทางสังคม พฤติกรรม ของคนถกู กาหนดตามสมั พันธภาพในกลุ่ม และผนู้ าอยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการ ส่วน Maslow (1954 อ้างถึงใน Glickman, Gordon and Ross-Gordon 1995 : 156) มีแนวคิดที่มุ่นเน้นกระบวนการในการจูงใจ (Process Theory of Motivation) เพือ่ หาคาตอบว่าจะมีวธิ ีการจูงใจอย่างไรท่ีจะทาให้คนมีพฤติกรรมตามท่ีเราต้องการได้ ซึ่งนามาเป็น หลักทางด้านมนุษย์สัมพันธ์ ตามทฤษฎีลาดับความต้องการของ Maslow’s Hierarchy of Needs Theory บนสมมติฐาน 3 ข้อ คือ 1) บุคคลคือส่ิงมีชีวิตท่ีมีความต้องการ 2) ความต้องการ ถูกเรียงลาดับตามความสาคัญจากความต้องการพ้ืนฐานไปจนถึงความต้องการที่ซับซ้อน และ3) บุคคลจะก้าวสู่ความต้องการในระดับต่อไปเม่ือความต้องการระดับต่าลงมาได้รับ การตอบสนองแล้ว

32 2.3.5 ทฤษฎภี าวะผนู้ า ในการนิเทศการสอน ผู้นิเทศจะต้องใช้ภาวะผู้นาในการนิเทศอย่างเหมาะสม เพ่ือให้การนิเทศประสบผลสาเร็จและบรรลุตรงตามเป้าหมาย ดังน้ัน ผู้นิเทศจะต้องรู้และเข้าใจ เก่ียวกับภาวะผู้นา ประเภทผู้นา และการใช้ภาวะผู้นาในการส่งเสริมเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม การปฏบิ ตั ิงานของครู ใหส้ ่งผลถงึ คุณภาพของนักเรียนมากที่สุด เกี่ยวกับเร่ืองนี้ Mc Gregor, Douglas (1960 อ้างถึงใน วัชรา เล่าเรียนดี, 2550 : 58) ได้กล่าวถึงลักษณะของผู้นา ตามแนวทฤษฎี X และ ทฤษฎี Y และไดเ้ สนอข้อสมมตฐิ านเกยี่ วกบั มนุษย์ใน 2 ลกั ษณะ คือ ทฤษฎี X กล่าวว่า มนุษย์ท่ัวไปมี นิสัยประจาตัวก็ คือ ไม่อยากทางานและพยายามที่จะหลีกเล่ียงงานเท่าที่จะทาได้ ต้องมีการบังคับ ควบคุมช้ีแนะ และขู่เข็ญด้วยการลงโทษ รวมท้ังไม่ชอบท่ีจะถูกชี้แนะ ปรารถนาท่ีจะหลีกเลี่ยง ความรับผิดชอบ มีความทะเยอทะยานน้อย มีความต้องการความปลอดภัยมากท่ีสุด และทฤษฎี Y กล่าวคือ การใช้ความพยายามทางด้านร่างกายและจิตใจในการทางานเป็นเร่ืองธรรมชาติ การควบคุม ภายนอกและการทาให้หวาดกลัวโดยการลงโทษไม่ใช่เป็นวิธีการทาให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร การมีข้อผูกมัดกับจุดประสงค์ในการทางานเป็นวิธีการให้รางวัลชนิดหนึ่งซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับ ความสาเร็จ มนุษย์สามารถเรียนรู้ได้ภายใต้ภาวการณ์ท่ีเหมาะสม ความสามารถในการใช้จินตนาการ ความจริงใจ ความคิดสร้างสรรค์ เพื่อแก้ไขปัญหาภายในองค์กรจะเป็นไปอย่างกว้างขวาง ไม่ใช่ภายใน ขอบเขตจากัด นอกจากน้ัน Hersey P. and Blanchard K. (1977 อ้างถึงใน วัชรา เล่าเรียนดี, 2550 : 65) ได้เสนอรูปแบบภาวะผู้นา 4 แบบ ซึ่งเน้นพฤติกรรมการทางาน (Task Behavior) กับ พฤติกรรมความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล (Relationship Behavior) คือ 1) ให้ความสาคัญกับงานสูง และใหค้ วามสมั พนั ธร์ ะหว่างบคุ คลตา่ จดั เป็นการใช้ภาวะผูน้ าแบบเผด็จการ 2) ใหค้ วามสาคัญกับงาน และให้ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลสูง จัดเป็นการใช้ภาวะผู้นาแบบประชาธิปไตย 3) ให้ความสาคัญ กับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลสูง และความสาคัญกับงานต่า และ4) ให้ความสาคัญกับงานและให้ ความสมั พันธร์ ะหว่างบุคคลต่า จดั เป็นการใช้ภาวะผ้นู าแบบปล่อยปละละเลย จะเห็นได้ว่าทฤษฎีที่เก่ียวข้องกับความสาเร็จของการนิเทศ ย่อมข้ึนอยู่กับ ความสามารถ และรูปแบบของความเป็นผู้นา โดยการรู้จักในสิ่งจูงใจเป็นเคร่ืองกระตุ้นใน การปฏิบัตงิ าน การให้ความร่วมมือ ดงั นั้น ภาวะผู้นา จงึ เป็นเทคนิคหน่ึงท่ีจาเป็นของผู้นาและผู้นิเทศ จะต้องเลือกใชท้ ั้งรูปแบบภาวะผูน้ าให้เหมาะสมกบั คนและกลมุ่ คน 2.3.6 ทฤษฎีการเรียนรู้ของผูใ้ หญ่ พัฒนาการของผู้ใหญ่ในด้านการเรียนรู้และความเจริญก้าวหน้านั้น เป็นไป ตามลาดับขั้นตอน โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงการเรียนรู้ของผู้ใหญ่จาเป็นต้องคานึงถึงการ เปล่ียนแปลงลกั ษณะของความรู้ ความสามารถ ความสัมพันธ์ของผู้ใหญ่กับสภาพแวดล้อมด้วย และ ผใู้ หญแ่ ตล่ ะคนจะมีระดับความคิดรวบยอดท่ีแตกต่างกันตามลาดับ เก่ียวกับเร่ืองนี้ วัชรา เล่าเรียนดี (2550 : 38) ได้ให้แนวคิดในการพัฒนาความคิดรวบยอดของผู้ใหญ่ ดังนี้ คือ 1) ความคิดรวบยอด ระดับต่าเป็นบุคคลที่มีความสามารถในการคิดท่ีเป็นรูปธรรม เช่น สามารถประเมินสิ่งต่างๆ ด้วย เกณฑ์ธรรมดางา่ ยๆ ไม่สามารถนยิ ามปญั หาได้ จาเป็นต้องแสดงวิธีทาให้ดูหรือแสดงวิธีการแก้ปัญหา ให้ดูเป็นตัวอย่าง 2) ความคิดรวบยอดระดับปานกลาง เป็นบุคคลท่ีมีความสามารถในการคิด

33 เชงิ นามธรรมได้มากขึน้ ไดแ้ ก่ อธิบายหรอื นิยามปัญหาได้ และคดิ วธิ แี กป้ ัญหาท่ีเหมาะสมได้ในจานวน ท่ีจากดั แต่ยงั ไมม่ กี ารวางแผนแกปัญหาที่ชดั เจน 3) ความคิดรวบยอดระดับสูง เป็นบุคคลท่ีมีลักษณะ เป็นนักคิดท่ีละเอียดลออ สามารถคิดเชิงนามธรรมระดับสูง เป็นตัวของตัวเอง เช่ือมั่นในตัวเอง มีความรู้ มีความยืดหยุ่น และมีความสามารถในการบรู ณาการเรอื่ งตา่ งๆ เข้าดว้ ยกนั ได้ กล่าวโดยสรุป ผู้ใหญ่ท่ีมีความคิดรวบยอดระดับสูงจะมีลักษณะการเรียนรู้ท่ี แตกต่างกนั จากผู้ใหญท่ ี่มีความคิดรวบยอดระดับต่า โดยเฉพาะในประเด็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ และเทคนิควิธีการท่ีใช้ในการจัดการเรียนรู้ นอกจากน้ันการเรียนรู้ของผู้ใหญ่ ยังมีความสัมพันธ์ เกี่ยวโยงกับการนิเทศและผนู้ เิ ทศโดยตรง ดังนั้นหากผู้นิเทศที่มีความรู้เกี่ยวกับผู้ใหญ่ พัฒนาการของ ผู้ใหญ่และแนวทางการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้ใหญ่ ก็จะช่วยให้การนิเทศการสอนของครู เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรมการเรียนการสอนใหม้ ีคุณภาพมากขึ้น ซ่ึงสอดคล้องกับการนิเทศแบบ พัฒนาการของ Glickman at el. (2004 อา้ งในวชั รา เล่าเรียนด,ี 2550 : 36-37) ที่ให้ความสาคัญกับ ครู และการเลือกใช้วิธกี ารนิเทศทีเ่ หมาะสมกบั ครูแตล่ ะแบบ ในการนิเทศการสอนความรู้เกี่ยวกับผู้ใหญ่และแนวทางการพัฒนาผู้ใหญ่ หากผู้นิเทศมีความรู้ เกี่ยวกับผู้ท่ีจะทาการช่วยเหลือแนะนาหรือร่วมปฏิบัติงานด้วย ก็จะช่วยทาให้ การดาเนนิ การนเิ ทศเปน็ ไปได้ง่าย และมแี นวโนม้ จะประสบผลสาเร็จมากกว่าการไม่มีความรู้เก่ียวกับ ผใู้ หญ่หรือครูเลย นอกจากน้ันยังเปน็ การส่งเสริมให้ครมู คี วามก้าวหน้า มีการพัฒนาการ และส่งผลถึง ผลการเรียนรู้ของนักเรียน ซ่ึงวัชรา เล่าเรียนดี (2550 : 37, 141-142), Glickman at el. (1995 : 80-81), ชิดชงค์ ส.นันทนาเนตร (2549 : 94-96), Wiles, Jon and Joseph B. (2004 : 152 – 153), Knowles, M.S., Holtion and Swanson (1998 : 64-68) ได้สรุปหลักการส่งเสริมและพัฒนาการ เรยี นรขู้ องผใู้ หญ่ ดงั น้ี 1) ต้องคานึงถึงความต้องการท่ีจะรู้หรือความต้องการเรียนรู้ของผู้ใหญ่แต่ละ บุคคลเป็นหลกั 2) การเรียนรู้ของผู้ใหญ่ อาศัยความรู้เดิมและประสบการณ์ที่ได้สั่งสมมาเป็น พ้ืนฐานในการเรยี นรู้ 3) สภาพแวดล้อมและความพร้อมในการเรียนรู้ ผใู้ หญ่ต้องการความสะดวกสบาย เหมาะสม ตลอดจนได้รบั ความไวว้ างใจและการใหเ้ กียรติผเู้ รียน 4) ความคิดรวบยอดเก่ียวกับตนเอง ผู้ใหญ่มองตนเองว่าเป็นบุคคลท่ีมี ความรบั ผิดชอบตอ่ ชีวิตของตนเอง 5) เปา้ หมายการเรยี นร้ขู องผใู้ หญ่ ผูใ้ หญจ่ ะมีแนวโนม้ จะมงุ่ เป้าหมายการเรียนรู้ใน เรื่องท่เี ก่ยี วข้องกับวถิ ชี วี ติ เพือ่ การแกป้ ัญหา 6) การเรียนรู้ของผใู้ หญเ่ กดิ จากแรงจูงใจภายในมากกว่าแรงจงู ใจภายนอก จากหลกั การสง่ เสรมิ และพัฒนาการเรียนรู้ของผู้ใหญ่ สรุปได้ว่า ผู้ใหญ่มีลาดับของ การเรยี นรู้จากรูปธรรมไปสนู่ ามธรรม ดังน้ันในการนิเทศการสอนจึงต้องอาศัยความรู้ ความเข้าใจใน เรอ่ื งการเรยี นรขู้ องผใู้ หญ่และการพฒั นาการของผใู้ หญค่ วบคู่ไปกับการให้ความรู้ท่ีเกี่ยวกับการนิเทศ

34 2.4 แนวคดิ เกี่ยวกบั การพฒั นารูปแบบ ผู้วจิ ัยได้ศึกษาหลกั การแนวคดิ เกี่ยวกบั รปู แบบ และการพฒั นารปู แบบ ดังน้ี 2.4.1 ความหมายของรูปแบบ คาศัพท์ในภาษาอังกฤษที่ใช้เรียกรูปแบบมี 2 คา คือ Model และ Paradigm ซึ่งสงัด อุทรานันท์ (2530 : 11) ได้อธิบายว่า ท้ัง 2 คาน้ี นาไปใช้แตกต่างกัน โดยคาว่า Model ใช้กับทฤษฎีหรือส่ิงท่ีเกิดข้ึนคร้ังแรก แต่หากเป็นการนาไปประยุกต์ใช้ หรือดัดแปลงจากของเดิม เรียกว่า Paradigm แต่ในปจั จบุ ันนิยมใช้คาวา่ Model ทง้ั ในกรณีทฤษฎหี รอื ส่ิงที่เกิดขึ้นครั้งแรก และ ในกรณกี ารนาไปประยกุ ตใ์ ช้ คาวา่ รปู แบบหรอื Model ตามพจนานกุ รมของ Webster (1970 : 913) ได้ให้ความหมายแบ่งออกเป็น 4 ประการด้วยกัน ได้แก่ 1) แบบจาลองท่ีลอกเลียนแบบย่อส่วนจาก วตั ถุของจริง ตวั ต้นแบบ รปู แบบแรกเริม่ แบบสมมุติ หุ่นจาลอง หุ่นข้ีผึ้ง 2) บุคคลหรือสิ่งของท่ีได้รับ การยกย่องให้เป็นมาตรฐานของความยอดเยี่ยม 3) วิถีทางหรือแบบแผน 4) บุคคลที่เป็นแบบให้แก่ ศิลปิน ช่างภาพ หรือนางแบบแสดงเครื่องแต่งกาย คาน้ีในภาษาไทยมีคาอื่น ๆ ที่ใช้เรียกใน ความหมายเดียวกนั กบั รูปแบบ เช่น ต้นแบบ ตัวแบบ แบบจาลอง ซ่ึงนักวิชาการทางการศึกษาหลาย ทา่ นได้อธิบายความหมายรูปแบบ ดังนี้ รูปแบบ หมายถึง แผนผัง แผนภูมิหรือหุ่นจาลอง ซึ่งมีลักษณะการจาลองสภาพ ความเปน็ จริงของปรากฏการณ์ เพื่ออธบิ ายความสมั พนั ธ์ที่ซับซ้อนขององค์ประกอบหรือปรากฏการณ์ ต่าง ๆ เพ่ือให้เข้าใจได้ง่ายข้ึน (สงัด อุทรานันท์ (2530 : 11), วิชัย วงษ์ใหญ่ (2537 : 41), Stoner, Jame A. F. and Wankel, Charles. (1986 : 12) รูปแบบจึงเป็นรูปธรรมทางความคิดท่ีเป็นนามธรรม มีลกั ษณะเป็นโครงสร้างทางความคิด ทีแ่ สดงองค์ประกอบและความสมั พันธข์ ององค์ประกอบที่สาคัญ ของสิ่งท่ีศึกษา หรือส่ิงที่บุคคลใช้ในการหาคาตอบ ความรู้ และความเข้าใจในปรากฏการณ์ต่างๆ วจิ ิตรา ปัญญาชยั (2543 : 74), ทิศนา แขมมณี (2545 : 1) สรุปว่า รูปแบบหมายถึง โครงสร้างของความคิดที่แสดงองค์ประกอบต่างๆ และ ความสัมพนั ธข์ ององค์ประกอบเหลา่ นัน้ 2.4.2 ประเภทของรปู แบบ Keeves (1988, อ้างถึงใน วิจิตรา ปัญญาชัย 2543 : 74) จาแนกประเภท รปู แบบทางการศึกษาและสังคมศาสตร์ ออกเป็น 4 ประเภท ดงั นี้ 1. รูปแบบเชงิ เทยี บเคยี ง (Analogue Model) เปน็ รูปแบบท่ใี ชใ้ นการอุปมาอปุ ไมย เทียบเคียง ในการอธิบายปรากฏการณ์ที่เป็นนามธรรม เพื่อสร้างความเข้าใจเชิงรูปธรรม โดยใช้ หลักการเทียบเคียงโครงสร้างของรูปแบบให้สอดคล้องกับลักษณะข้อมูลหรือความรู้ท่ีมีอยู่ ซ่งึ องค์ประกอบของรปู แบบต้องมคี วามชัดเจน สามารถนาไปทดสอบขอ้ มูลเชงิ ประจกั ษไ์ ด้ 2. รปู แบบเชงิ ขอ้ ความ (Semantic Model) เปน็ รปู แบบที่ใชภ้ าษาเปน็ สอื่ ในการบรรยาย หรืออธิบายปรากฏการณ์ที่ศึกษาด้วยภาษา แผนภูมิ หรือรูปภาพ เพื่อให้เห็น โครงสรา้ งทางความคดิ องคป์ ระกอบและความสัมพนั ธข์ ององคป์ ระกอบของปรากฏการณ์นนั้ ๆ 3. รูปแบบเชงิ คณติ ศาสตร์ (Mathematical Model) เปน็ รปู แบบที่ใชส้ มการทาง คณติ ศาสตร์ แสดงความสัมพนั ธข์ องตัวประกอบหรอื ตวั แปร

35 4. รูปแบบเชงิ สาเหตุ (Causal Model) เปน็ รปู แบบท่พี ฒั นามาจากการวิเคราะห์ เสน้ ทาง (path analysis) ร่วมกับหลักการสรา้ งรูปแบบเชงิ ขอ้ ความ โดยอาศัยทฤษฎีท่ีเก่ียวข้องหรือ งานวจิ ัยท่ีมมี าแล้ว นามาแสดงความสัมพันธเ์ ชงิ เหตุและผลระหวา่ งตัวแปร ซงึ่ สามารถทดสอบได้ 2.4.3 ลกั ษณะของรปู แบบทดี่ ี Keeves (1988 อ้างถึงใน วิจิตรา ปัญญาชัย, 2543 : 75) ได้สรุปลักษณะของ รปู แบบท่ีดี ดงั น้ี 1. ประกอบด้วยความสัมพันธ์เชงิ โครงสรา้ งระหว่างตวั แปรแต่ละตัว 2. นาไปสกู่ ารทานายผล ซ่ึงสามารถตรวจสอบได้ด้วยข้อมูลเชิงประจกั ษ์ 3. อธิบายโครงสร้างความสัมพันธ์เชิงเหตุผลได้อย่างชัดเจน สามารถพยากรณ์ และอธิบายปรากฏการณไ์ ดด้ ว้ ย 4. นาไปสกู่ ารสร้างแนวคิดใหม่ หรอื ความสมั พันธ์ใหมใ่ นเรอ่ื งทศี่ ึกษา 5. ลักษณะรูปแบบของเรือ่ งใด ๆ ควรข้ึนกับกรอบทฤษฎขี องเรือ่ งน้ันๆ 2.4.4 แนวคิดการออกแบบและพฒั นารูปแบบ การออกแบบระบบการเรยี นการสอน เป็นกระบวนการหนึง่ ทส่ี าคญั โดยการนา วิธีการเชิงระบบ (System Approach) มาใช้ในการดาเนินงานให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล สงู สุด ทง้ั นี้เนือ่ งจาก“ระบบ”ชว่ ยใหก้ ารดาเนนิ งานตา่ งๆ เกิดสัมฤทธิผลตามเป้าหมาย (ทิศนา แขมมณี, 2550 : 197) ระบบเป็นกลุ่มองค์ประกอบที่เชื่อมโยงซ่ึงกันและกัน มุ่งไปสู่จุดหมายเดียวกัน ดังน้ัน การนาวิธีเชิงระบบไปใช้กบั การออกแบบจะช่วยทาให้เกิดประสิทธิภาพในการนาไปสู่จุดมุ่งหมายทาง การศึกษาไดม้ ากยงิ่ ขึน้ นอกจากน้ีการตรวจสอบข้อมูลท่ีป้อนกลับสู่ระบบเป็นการควบคุมการทางาน ของระบบทาให้การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนเกิดขึ้นอย่างคล่องตัวและราบร่ืน Kruse (2007 : 1) แบบจาลองท่ีใช้ในการออกแบบทางการศึกษามีอยู่มากมาย ในที่น้ีผู้วิจัยได้ทบทวนแบบจาลอง เชงิ ระบบ 2 ระบบ ดังน้ี 1. แบบจาลองการออกแบบระบบการเรียนการสอน The ADDIE Model เป็นแบบจาลองท่ีใชว้ ธิ กี ารเชงิ ระบบ ประกอบดว้ ย ข้นั ตอนตา่ ง ๆ 5 ข้ันตอน Kruse (2007 : 1) คอื 1.1 ขั้นตอนการวิเคราะห์ (Analysis) วิเคราะห์ความต้องการจาเป็น และ ขอบเขตในการจดั การเรยี นการสอน 1.2 ขั้นตอนการออกแบบ (Design) ระบุกิจกรรมการเรียนรู้ การประเมิน การเรยี นรู้ การเลอื กส่ือ และวธิ ีการจดั การเรยี นการสอน 1.3 ขั้นตอนการพัฒนา (Development) พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ การพัฒนา นวตั กรรมท่ใี ช้ในการจัดการเรียนรู้และพัฒนาเคร่ืองมอื วัดและประเมินผล 1.4 ขั้นตอนการนาไปใช้ (Implementation) เป็นการนาแผนการจัด การเรียนรู้ นวัตกรรม และเครื่องมอื วดั ผลการเรยี นไปใชใ้ นสถานการณจ์ ริง 1.5 ข้ันตอนการประเมินผล (Evaluation) ประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ ทุกระดบั สาหรบั การนาไปใช้ในคร้ังตอ่ ไป

36 แผนภาพท่ี 2.2 แบบจาลอง The ADDIE Model Analysis Design Development Implementation Evaluation ทีม่ า : Kevin Kruse. Instruction to Instructional Design and the ADDIE Model. (Online). Accessed 19 June 2007. Available from http : www.elearninggurn.com/articles/art1_1.htm. 2. แบบจาลองการออกแบบระบบการสอนของ Dick et al. (2005 : 56) ประกอบด้วยองค์ประกอบสาคัญท้งั ส้นิ 10 องคป์ ระกอบ คอื 2.1 กาหนดเป้าหมายการเรียนการสอน (Identify Instructional Goals) ข้ันตอนนเี้ ปน็ ขั้นตอนแรกของการออกแบบในแบบจาลองน้ี เปน็ การกาหนด ว่าต้องการให้นักเรียนสามารถทาอะไรได้บ้างเม่ือเรียนจบบทเรียนแล้ว เป้าหมายการเรียนการสอน อาจได้มาจากบัญชีรายการเป้าหมาย ได้มาจากการวิเคราะห์การปฏิบัติงาน ( Performance analysis) การวิเคราะห์ความต้องการจาเป็น (Needs Assessment) จากประสบการณ์ การปฏบิ ตั งิ านท่ีพบวา่ เป็นเรือ่ งยากสาหรบั นักเรยี น หรือเป็นความตอ้ งการในการเรยี นรใู้ นสิ่งใหม่ 2.2 วิเคราะหก์ ารเรียนการสอน (Analyze Instruction) หลงั จากการกาหนดเป้าหมายการเรยี นการสอนแล้ว เป็นขั้นทีต่ ้องวิเคราะห์ ว่าจะต้องดาเนินการต่อไปอย่างไร หากกาหนดเป้าหมายไว้เช่นนั้น ด้วยการวิเคราะห์ไปทีละลาดับ ข้ันตอน และในขนั้ ตอนสดุ ท้ายของการวเิ คราะหก์ ารเรียนการสอน เป็นการกาหนดว่า ทักษะ ความรู้ และเจตคติท่รี ูจ้ กั กันในชอ่ื ว่า พฤตกิ รรมนาเข้า (Entry Behavior) อะไรบ้างท่ีนักเรียนต้องสามารถทา ไดก้ อ่ นทจี่ ะเรมิ่ การเรียนการสอนคร้งั นี้ 2.3 วิเคราะห์นักเรียนและบริบท (Analyze learners and Contexts) นอกจากการวเิ คราะห์เปา้ หมายการเรยี นการสอนแล้ว ยังมีการวเิ คราะห์ท่ี ตอ้ งดาเนนิ การไปแบบคู่ขนาน คอื การวิเคราะห์นักเรียนและบรบิ ท ทจ่ี ะชว่ ยให้นักเรยี นได้เรยี นรู้ ทักษะและบรบิ ทต่าง ๆ ท่จี ะตอ้ งใช้ ลกั ษณะต่าง ๆ เช่น ทักษะ ความชอบ เจตคติของนักเรียนจะถูก กาหนดดว้ ยคุณลักษณะของสถาบนั และแหล่งฝึกทักษะ ข้อมูลที่สาคัญเหล่านี้จะมีผลต่อความสาเร็จ ในแตข่ ้นั ตอนของแบบจาลอง โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในขั้นการพฒั นากลยุทธก์ ารสอน 2.4 เขียนวตั ถุประสงคเ์ ชงิ ปฏิบัติ (Write Performance Objective) ขนั้ ตอนน้ขี ึน้ อยู่กบั ข้ันการวิเคราะหก์ ารเรียนการสอน และพฤติกรรมนาเข้าท่ี ระบไุ ว้ เปน็ การเขียนระบุใหช้ ัดเจนวา่ นกั เรียนจะสามารถทาอะไรได้บา้ งในดา้ นความรู้และการปฏิบัติ เม่ือส้ินสุดการเรียนการสอนแล้ว ข้อความที่เขียนข้ึนนี้ได้มาจากทักษะที่ระบุไว้ในขั้นการวิเคราะห์ การเยนการสอน ข้ันตอนนจ้ี งึ เป็นการระบุทกั ษะทีต่ อ้ งเรยี นรู้ เง่ือนไขท่ตี อ้ งปฏบิ ัตใิ นการพัฒนาทักษะ และเกณฑ์ท่บี ่งชก้ี ารบรรลคุ วามสาเร็จ

37 2.5 พฒั นาเคร่ืองมือประเมนิ ผล (Develop Assessment Instrument) ขั้นตอนการพัฒนาเครื่องมอื ประเมนิ ผลนข้ี น้ึ อย่กู บั วตั ถปุ ระสงคท์ ี่ได้กาหนดไว้ เครอื่ งมอื ท่พี ัฒนาข้ึนต้องสอดคลอ้ งกับวัตถุประสงค์ดังกลา่ ว คือสามารถวัดความสามารถของนักเรียน ได้ตรงตามความต้องการ จุดเน้นหลัก คือ ทักษะที่ระบุในวัตถุประสงค์กับทักษะที่ต้องการประเมินมี ความสอดคล้องกนั 2.6 พฒั นากลยทุ ธก์ ารสอน (Develop Instructional Strategy) เปน็ การกาหนดกลยุทธ์ทีต่ ้องใชใ้ นการสอน เพ่อื ใหบ้ รรลุวตั ถปุ ระสงค์ กลยทุ ธ์ จะเป็นองค์ประกอบของการส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียน ได้แก่ 1) กิจกรรมก่อนเรียน 2) การนา เสนอเน้ือหา 3) การมีส่วนร่วมของนักเรียน และ 4) การประเมินผลและติดตามกิจกรรมการเรียน กลยทุ ธค์ วรอยู่ภายใต้ทฤษฎีการเรียนรู้ และผลการวิจัยเกี่ยวกับการเรียนรู้ ลักษณะของสื่อ อุปกรณ์ การเรยี นที่ตอ้ งใชใ้ นการจัดการเรียนการสอน เนอ้ื หาทจ่ี ะสอน และลักษณะของนักเรียน ส่ิงเหล่านี้ใช้ สาหรับ การพัฒนา การเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์และแผนการสร้างปฏิสัมพันธ์ในห้องเรียน สื่อการสอน การเรยี นรูโ้ ดยใชเ้ ทคโนโลยี เช่น เวป็ ไซด์ หรือหน่วยการเรยี นตา่ งๆ 2.7 พัฒนาและเลือกส่ือการเรียนการสอน (Develop and select Instructional materials) เป็นขั้นตอนของการใช้กลยุทธ์การสอนในการกาหนดการจัดการเรียน การสอน อันประกอบด้วย คู่มือนักเรียน สื่อการเรียนการสอน และการประเมินผล (สื่อการเรียน การสอน รวมถึงส่ือทุกชนิด เช่น คู่มือครู หน่วยการเรียนรู้ เคร่ืองฉายภาพข้ามศีรษะ วีดีโอเทป คอมพิวเตอร์ เว็บเพจ สาหรบั การเรยี นทางไกล ฯลฯ) การตัดสินใจเลือกสื่อขึ้นอยู่กับชนิดของผลลัพธ์ การเรียนรแู้ ละการเขา้ ถงึ ส่ือเหล่าน้นั 2.8 ออกแบบและประเมนิ ผลระหวา่ งการเรยี นการสอน (Design and Conduct Formation Evaluation of Instruction) หลังจากการออกแบบการสอนเรียบร้อยแล้ว จึงเป็นข้ันของการประเมินผล โดยการรวบรวมขอ้ มูลที่ใชเ้ พือ่ ระบวุ ธิ กี ารปรบั ปรุงการเรียนการสอน การประเมนิ ผลระหวา่ งการเรียน การสอนนี้ แบ่งออกเปน็ 3 ประเภทดว้ ยกนั คอื การประเมินผลรายบุคคล การประเมินกลุ่มย่อย และ การประเมินผลการทดสอบภาคสนาม (Field-trial Evaluation) แต่ละประเภทของการประเมินผล ทาให้ผอู้ อกแบบตอ้ งเตรยี มแบบประเมินทแ่ี ตกตา่ งกนั ออกไปสาหรับใชใ้ นการปรบั ปรงุ การเรียนรู้ 2.9 ทบทวนการจดั การเรียนการสอน (Revise Instruction) ขัน้ ตอนสดุ ทา้ ยของการออกแบบและกระบวนการพัฒนา (และเปน็ ขั้นแรก ของการเร่ิมต้นใหม่ของกระบวนการ) คือ ขั้นการทบทวนการจัดการเรียนการสอน ข้อมูลจาก การประเมนิ เพื่อพฒั นาการเรยี นร้ถู ูกสรปุ และตีความเพอื่ ระบปุ ระสบการณ์ที่แตกต่างกันของนักเรียน ในการบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ และบง่ บอกถึงปัจจยั ทีท่ าให้การจดั การเรยี นการสอนไม่มีประสิทธิภาพ เส้น ทล่ี ากเช่ือมไปยังข้ันตอนต่าง ๆ ซึ่งข้อมูลจากการประเมินเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอนไม่ได้นาไปใช้ เพียงการปรับปรุงการสอนเท่าน้ัน แต่ยังใช้สาหรับการตรวจสอบซ้าถึงความเช่ือถือได้ของ การวิเคราะห์การเรียนการสอน แต่เป็นข้อสมมติฐานเก่ียวกับพฤติกรรมนาเข้า และคุณลักษณะของ

38 นักเรียนและอาจจาเป็นต่อการตรวจสอบซ้าเก่ียวกับวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมและการจัด แบบทดสอบ 2.10 ออกแบบและการประเมินผลภายภายหลังการเรียนการสอน (Design and Conduct Summative Evaluation) แมว้ ่าการประเมนิ ผลภายหลงั การเรยี นการสอน เปน็ การรวบรวมการประเมิน ประสิทธภิ าพของการเรียนการสอน แต่โดยทั่วไปไมไ่ ดเ้ ปน็ ส่วนหนงึ่ ของกระบวนการออกแบบขั้นตอน น้เี ป็นการประเมินคา่ หรือคุณค่าของการเรียนการสอน และปรากฏเฉพาะหลังจากการสอนเสร็จสิ้น และได้ประเมนิ เพอ่ื การพัฒนาการเรยี นการสอนในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนเรียบร้อยแล้ว และเปน็ การทบทวนการบรรลุถงึ มาตรฐานทีผ่ ู้ออกแบบไดก้ าหนดไว้ แผนภาพท่ี 2.3 แบบจาลองการออกแบบระบบการเรียนการสอน แบบจาลองการออกแบบระบบการเรียนการสอน การ การทบทวน วิเคราะห์ การจดั การเรียน การเรี ยน การสอน การสอน การกาหนด การวิเคราะห์ การเขียน การพฒั นา การพฒั นากล การพฒั นาและ การออกแบบ เป้าหมาย ผเู้ รียนและ วตั ถุ เคร่ืองมือ ยุทธ์การสอน เลือกส่ือการ และประเมินผล การเรี ยน ประเมินผล การสอน บริบท ประสงค์ เรียน ระหวา่ ง เชิงปฏิบตั ิ การสอน การเรียน การสอน การออกแบบ และ การระเมินผล หลงั การเรียน การสอน ท่มี า Dick et al., The Systematic of Instruction 6thed. (Boston : Pearson, 2005)

39 2.5 การวัดและประเมนิ ผล 2.5.1 การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ใน 4 ระดับ ได้แก่ ระดับช้ันเรียน ระดับ สถานศึกษา ระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา และระดับชาติทุกระดับมีเจตนารมณ์เช่นเดียวกัน คือ ตรวจสอบความกา้ วหนา้ ในการเรยี นรขู้ อง ผู้เรียน เพื่อนาผลการประเมนิ มาใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนา อย่างต่อเนื่องต่อไป ทั้งนี้เพื่อเป็นการสร้างความม่ันใจให้กับหน่วยงานที่เก่ียวข้องท้ังภายใน และ ภายนอกสถานศึกษาเกย่ี วกับคณุ ภาพของผเู้ รียน ดังนี้ 1) การประเมินระดับช้ันเรียน เป็นการวัดและประเมินผลที่อยู่ในกระบวนการ จัดการเรียนรู้ ผู้สอนดาเนินการสอนเป็นปกติ และสม่าเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใช้เทคนิค การประเมินอย่างหลากหลาย เช่น การซักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การประเมนิ ชน้ิ งาน/ภาระงาน แฟ้มสะสมงาน การใช้แบบทดสอบ ฯลฯ โดยผู้สอนเป็นผู้ประเมินเอง หรือเปิดโอกาสให้ผู้เรียนประเมนิ ตนเอง เพือ่ นประเมินเพ่ือน ผ้ปู กครองร่วมประเมิน ในกรณีท่ีไม่ผ่าน ตัวช้ีวัดให้มีการสอนซ่อมเสริม ซึ่งการประเมินระดับช้ันเรียนเป็นการตรวจสอบว่าผู้เรียน มีการพัฒนาการความก้าวหน้าในการเรยี นรู้อันเปน็ ผลมาจากการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนหรือไม่ และมากนอ้ ยเพยี งใด มีสง่ิ ท่ีจะต้องได้รับการพัฒนาปรับปรุงและส่งเสริมในด้านใด นอกจากนี้ยังเป็น ข้อมูลให้ผู้สอนใช้ปรับปรุงการเรียนการสอนของตนด้วยท้ังน้ีโดยสอดคล้องกับมาตรฐานมาตรฐาน การเรียนรู้และตัวช้วี ัด 2) การประเมินระดับสถานศึกษา เป็นการประเมินที่สถานศึกษาดาเนินการ เพื่อ ตัดสินผล การเรียนของผู้เรียนเป็นรายปี/รายภาคผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน นอกจากนี้ยังให้ข้อมูลเกี่ยวกับการการจัด การศกึ ษาของสถานศึกษาวา่ สง่ ผลต่อการเรยี นรู้ของผู้เรยี นตามเปา้ หมายหรือไม่ ผู้เรียนมีจุดพัฒนาใน ด้านใด รวมทั้งสามารถนาผลการเรียนของผู้เรียนในสถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติผล การ ประเมินระดับสถานศึกษาจะเป็นข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการหรือวิธีการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพื่อการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ สถานศึกษา ตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษา และการรายงานผลการจัดการศึกษาต่อ คณะกรรมการสถานศึกษา สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พ้นื ฐาน ผู้ปกครองและชุมชน 3) การประเมินระดบั เขตพื้นที่การศกึ ษา เป็นการประเมินคุณภาพ ผู้เรียนในระดับ เขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพ่ือใช้เป็น ข้อมูลพ้ืนฐานในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบ สามารถ ดาเนินการโดยประเมนิ คุณภาพผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นดว้ ยขอ้ สอบมาตรฐานท่ีจัดทาโดยเขต พ้ืนที่การศึกษา หรือด้วยความร่วมมือกับหน่วยงานต้นสังกัด ในการดาเนินการจัดสอบ นอกจากน้ี ยังไดจ้ ากการตรวจสอบทบทวนข้อมลู จากการประเมนิ ระดับสถานศึกษาในเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา 4) การประเมินระดับชาติ เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติตาม มาตรฐาน การเรยี นรตู้ ามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนทุกคน ท่ีเรียนใน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6

40 เข้ารับการประเมิน ผลจากการประเมินใช้เป็นข้อมูลในการเทียบเคียงคุณภาพการศึกษาในระดับต่าง ๆ เพื่อนาไปใช้ในการวางแผนยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ตลอดจนเป็นข้อมูลสนับสนุนการ ตัดสินใจในระดับนโยบายของประเทศ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551) 2.5.2 หลักการวดั และประเมินผลการเรยี น 1) การประเมินผลการเรยี น ให้เป็นไปตามหลักการตอ่ ไปน้ี (1) สถานศกึ ษาเป็นผรู้ ับผิดชอบการวดั และการประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยเปิดโอกาสให้ผู้ท่ีเกี่ยวข้องมีส่วนร่วม เช่น ผู้เรียน ครูผู้สอน ผู้ปกครองนักเรียน คณะกรรมการ การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน (2) การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ มีจุดมุ่งหมาย เพื่อพัฒนาผู้เรียน กล่าวคือ เป็นการประเมินผลย่อย (Formative Assessment) ที่ดาเนินการอย่างต่อเน่ือง ตลอดการ เรียนการสอน โดยมิใช่ใช้แต่การทดสอบระหว่างเรียนเป็นระยะ ๆ อย่างเดียวแต่เป็นการท่ีครูเก็บ ข้อมลู การเรยี นรู้ของผเู้ รยี นอย่างไมเ่ ปน็ ทางการด้วย ขณะที่ให้ผู้เรียนทาภาระงานตามท่ีกาหนด ครูสังเกต ซักถามจดบันทึก แล้ววิเคราะหข์ อ้ มูลว่าผเู้ รยี นเกดิ การเรยี นรหู้ รือไม่ จะต้องใหผ้ ูเ้ รยี นปรบั ปรุงอะไร หรือ ผู้สอนปรับปรุงอะไร เพ่ือให้เกิดความก้าวหน้าในการเรียนรู้ตามมาตรฐาน/ตัวชี้วัด การประเมิน ระหว่างเรียนดาเนินการได้หลายรูปแบบ เช่น การให้ข้อแนะนาข้อสังเกตในการนาเสนอผลงาน การ พูดคยุ ระหว่างผ้สู อนกบั ผเู้ รียนเป็นกลุ่มหรือรายบุคคล การสัมภาษณ์ ตลอดจนการวิเคราะห์ผลการสอบ เป็นต้น ส่วนการตัดสินผลการเรียนเป็นการประเมินสรุปผลการเรียนรู้ (Summative Assessment) มักเกิดขึ้นเมื่อจบหน่วยการเรียนรู้เพ่ือตรวจสอบผลการเรียนรู้ของผู้เรียนตามตัวชี้วัด และยังใช้เป็น ข้อมูลในการเปรียบเทียบกับการประเมินก่อนเรียน ทาให้ทราบพัฒนาการของผู้เรียน การประเมิน สรุปผลการเรียนรู้ยังเป็นการตรวจสอบผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียนตอนปลายปี/ปลายภาคอีก ด้วยการ ประเมินสรุปผลการเรียนรู้ใช้วิธีการและเครื่องมือประเมินได้อย่างหลากหลาย ซึ่งเน้น การวัดและ ประเมินแบบอิงเกณฑ์ (Criterion-Referenced Assessment) เป็นการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เพื่อนาเสนอผลการตดั สนิ ความสามารถหรือผลสมั ฤทธ์ขิ องผู้เรยี น โดยเปรียบเทยี บกับเกณฑท์ ี่กาหนดขน้ึ (3) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ต้องสอดคล้องและครอบคลุมมาตรฐาน การเรียนรู้/ตัวช้วี ัดตามกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ทีก่ าหนดในหลักสูตรสถานศึกษา และจัดให้มีการประเมิน การอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขียน คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ และกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น (4) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการจัดการ เรียนรู้ต้องดาเนินการด้วยเทคนิควิธีการที่หลากหลาย เพื่อให้สามารถวัดและประเมินผลผู้เรียนได้อย่าง รอบด้านทั้งด้านพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย เหมาะสมกับส่ิงท่ีต้องการวัด ธรรมชาติวิชา และ ระดบั ช้นั ของผ้เู รยี น โดยตง้ั อย่บู นพื้นฐานของความเทย่ี งตรง ยุติธรรมและเชื่อถือได้ (5) การประเมินผู้เรียนพิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ การปฏิบัติกิจกรรม ผลงานของนักเรียน การทดสอบ ควบคู่ไปใน กระบวนการเรยี นรู้ ตามความเหมาะสมของแตล่ ะระดับและรปู แบบการศึกษา (6) เปิดโอกาสให้ผู้เรียนและผู้มีส่วนเก่ียวข้องตรวจสอบผลการประเมินผล การเรยี นรู้ของผู้เรียน เช่น ผู้อานวยการโรงเรียน ผู้ปกครองนักเรียน ผู้นาชุมชน คณะกรรมการ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

41 5.2.3 วิธกี ารวัดและประเมินผลการเรียนรู้ (1) สถานศึกษาต้องดาเนินการวัดและประเมินผลให้ครบองค์ประกอบทั้ง ๔ ด้าน คือ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ และกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน (2) การประเมินผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้ง ๘ กลุ่มสาระ เป็นการประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ เจตคติ ทักษะการคิดท่ีกาหนดอยู่ในตัวช้ีวัดในหลักสูตร ซึ่งจะนาไปส่กู ารสรุปผลการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี นตามมาตรฐานการเรยี นรู้ โดยดาเนนิ การดังน้ี (3) ผู้สอนแจ้งตัวชี้วัด วิธีการประเมินผลการเรียน เกณฑ์การผ่านตัวช้ีวัด และ เกณฑ์ข้นั ตา่ ของการผ่านรายวิชาก่อนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ให้ผู้เรียนในแต่ละกลุ่มสาระการเรยี นรู้ (4) จดั ให้มีการประเมนิ ผลก่อนเรียน เพ่ือตรวจสอบความรู้พื้นฐานและความรอบรู้ ในเรือ่ งท่จี ะเรียน (5) จัดให้มีการประเมินผลระหว่างเรียน เพ่ือศึกษาผลการเรียน เพ่ือจัดสอนซ่อม เสริม และนาคะแนนจากการวัดผล ไปรวมกบั การวัดผลปลายปี (6) จัดให้มีการประเมินผลปลายปี เพ่ือตัดสินผลการเรียนรู้การวัดและ ประเมินผล ไดก้ าหนดสัดส่วนคะแนนในแต่ละกลมุ่ สาระฯ (7) การประเมนิ การอ่าน คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขยี นส่ือความของผู้เรยี น ให้ครปู ระจา วชิ า ดาเนินการวัดผลตามเกณฑท์ ่ีสถานศึกษากาหนด (8) ผู้สอนแจ้งตัวชี้วัด วิธีการประเมนิ ผล และเกณฑ์การผ่านตัวชี้วัดการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน (9) จัดให้มีการประเมินผล และสรุปผลปลายปี (10) การประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ของผ้เู รียนใหค้ รผู ู้สอนดาเนินการ วัดผลไปพรอ้ มกบั การประเมนิ ผลระดบั ช้ันเรยี นตามเกณฑ์สถานศกึ ษากาหนด - ผู้สอนแจ้งตวั ชว้ี ดั วธิ กี ารประเมนิ ผล และเกณฑก์ ารผ่านตัวช้ีวัด คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ - จัดให้มีการประเมินผล และสรุปผลปลายปี (11) การประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียนใหป้ ระเมินเปน็ รายปี โดยสถานศกึ ษาเป็นผู้ กาหนดแนวทางการประเมนิ ผู้รับผิดชอบกิจกรรมดาเนินการประเมินตามตวั ช้วี ัด - ผู้สอนแจ้งตวั ชว้ี ดั วธิ ีการประเมนิ ผล และเกณฑ์การผ่านตัวช้ีวดั กิจกรรม พฒั นาผเู้ รยี น - จดั ให้มีการประเมินผล และสรปุ ผลปลายปี 2.6 การบรหิ ารจดั การเพือ่ ยกระดับผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน 2.6.1 ความหมายของผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเป็นความสามารถของนักเรียนในด้านต่างๆ ซึ่งเกิดจาก นกั เรยี นได้รบั ประสบการณจ์ ากกระบวนการเรียนการสอนของครู โดยครตู อ้ งศกึ ษาแนวทางในการวัด

42 และประเมินผล การสร้างเครื่องมือวัดให้มีคุณภาพน้ัน ได้มีผู้ให้ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทาง การเรยี นไว้ดังน้ี สมพร เช้ือพันธ์ (2547 : 53) กล่าวว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความสามารถ ความสาเร็จและสมรรถภาพด้านต่างๆของผู้เรียนที่ได้จากการเรียนรู้อันเป็นผลมาจาก การเรียนการสอน การฝกึ ฝนหรอื ประสบการณ์ของแต่ละบุคคลซ่ึงสามารถวัดได้จากการทดสอบด้วย วิธกี ารต่างๆ พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข (2548 : 125) กล่าวว่า ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี นหมายถึงขนาดของความสาเร็จทไี่ ดจ้ ากกระบวนการเรยี นการสอน ปราณี กองจินดา (2549 : 42) กล่าวว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความสามารถหรอื ผลสาเรจ็ ทไี่ ด้รับจากกจิ กรรมการเรยี นการสอนเปน็ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและ ประสบการณ์เรียนรู้ทางด้านพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย และยังได้จาแนกผลสัมฤทธ์ิทางการ เรียนไว้ตามลกั ษณะของวัตถปุ ระสงค์ของการเรียนการสอนทีแ่ ตกตา่ งกนั สรุปผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน หมายถึง ผลที่เกดิ จากกระบวนการเรียนการสอนที่จะ ทาให้นักเรยี นเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม และสามารถวัดได้โดยการแสดงออกมาทั้ง 3 ด้าน คือ ดา้ นพทุ ธพิ ิสยั ดา้ นจติ พิสัย และด้านทักษะพิสัย 2.6.2 การบริหารจัดการเพ่ือยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน 1) การจัดการความรู้เพ่อื กาหนดนโยบายและจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ของ โรงเรียน โดยมีดาเนินการในรูปแบบที่ต่างกัน มีทั้งการประชุมคณะกรรมการบริหารหลักสูตร คณะกรรมการฝ่ายวชิ าการ ทมี พัฒนาคณุ ภาพของโรงเรียน และทมี ทาระบบการเรียนรู้และผู้ปกครอง นกั เรียน โดยนาผลการประเมินทบทวนระบบ ผลการประเมนิ ภายนอก ผลการประเมินตนเองประจา ปผี ลจากการประชมุ กรรมการวชิ าการท่ีจัดเป็นประจาอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง และจากการจัดการ ความรู้มาพิจารณาโดยภาพรวม จากน้ันจึงจัดทาโครงการอบรม สัมมนาครูและบุคลากรเพ่ือให้มี ความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับการพัฒนาโรงเรียนเข้มแข็งโดยการจัดการความรู้ (Knowledge Management) และการใชส้ ่ือนวัตกรรมเพอื่ การเรยี นรู้ 2) การวิเคราะห์สภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน มีการใช้หลักสูตร กระบวนการจัดการ เรียนรู้ของครูในแต่ละกลุ่มสาระ ประสิทธิภาพของการวัดผลประเมินผล ตลอดจนการจัดกิจกรรม มีการวิเคราะห์สภาพปญั หาท่เี กิดจากนักเรียนและปัญหาที่เกิดจากครูผู้สอน ด้วย มีการใชข้ ้อมลู สารสนเทศและรูปแบบการวิเคราะห์และจาแนกนักเรียนท่ีแตกตา่ งกนั 3). การกาหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนากระบวนการยกระดับผลสัมฤทธ์ิ ยุทธศาสตร์ที่มุ่ง ความเป็นเลิศของโรงเรียน โดยกาหนดให้สอดคล้องกับสภาพบริบท ของโรงเรียน ดา้ นปัจจยั และทรัพยากร 4) การนิเทศภายในแบบกัลยาณมิตร เพื่อกากับติดตามในระดับช้ันเรียน และ ระดบั เครือขา่ ยการเรียนรู้ จากฝา่ ยบรหิ ารและคณะกรรมการผู้รบั ผดิ ชอบ มวี ิธกี ารดาเนินการทั้งในรูป ของ คณะกรรมการทีว่ างแผนอย่างเปน็ ระบบตามขั้นตอนการนิเทศการศึกษาและใช้การนิเทศภายใน เปน็ การจัดการความร้แู บบไมเ่ ป็นทางการ มีท้ังการแลกเปล่ียนเรียนร้กู ารจัดการเรียนการสอนโดยครู ใน กลุ่มสาระการเรียนรู้ด้วยกัน และการใช้การนิเทศงาน เป็นกระบวนการท่ีฝ่ายบริหารพบปะครูที่

43 ปรึกษาเพ่ือรับทราบสภาพปัญหาและให้คาแนะนาใน การแก้ไขปัญหา รวมทั้งมีการประเมินผล การปฏิบัตงิ านตามท่ีไดร้ ับมอบหมายด้วย 5) การประสานงานร่วมกับผ้ปู กครองเพือ่ เฝา้ ระวังและติดตามแก้ไขปัญหา โดยให้ ความ สาคัญกับผู้ปกครองในฐานะภาคีร่วมรับผิดชอบต่อการพัฒนาผู้เรียนร่วมกับโรงเรียนและครู การมี สมั พนั ธ์ที่ดตี อ่ กัน ทาให้สามารถชว่ ยปรับพฤตกิ รรม และส่งเสริมการเรยี นรขู้ องนกั เรยี นได้มีการ ให้ นักเรียนและผู้ปกครองนักเรียนทาพันธะสัญญาท่ีจะปรับเปล่ียนพฤติกรรมเป็นลายลักษณ์อักษร ครทู ี่ ปรึกษาครผู สู้ อน หัวหนา้ ระดับ ครกู จิ กรรมนกั เรยี นเฝ้าดูแลอย่างใกล้ชิด ผู้ปกครองช่วยเหลือครู ร่วม แกป้ ญั หาแบบไตรภาคี ด้านพฤติกรรม และด้านผลการเรียน ระหว่างผู้ปกครอง ครูผู้สอน และ นักเรียน วิธกี ารจัดการยกระดับผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นดาเนนิ การใน 3 รูปแบบ คือ รูปแบบที่1 การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้สูงขึ้น ตามเกณฑ์ที่ คาดหวงั มีวธิ กี ารดาเนนิ การโดย 1. การปรับเปล่ียนทา่ ทขี องครใู นการจัดการความรู้ คือการที่ครูผู้สอนตระหนักถึง ความจาเป็นในการปรับพฤติกรรมของตนเองเพ่ือเหมาะสมกับ เป็นครูท่ีดี ได้แก่ การปรับพฤติกรรม ของครูและการสร้างสัมพันธ์เชิงบวกกับนักเรียน ใช้วิธีการตั้งกติกาการเป็นแนวปฏิบัติร่วมกันทั้งครู นักเรยี นและผู้ปกครองและครยู อมรับข้อเสนอแนะและความคิดเหน็ ของผู้เกี่ยวขอ้ ง 2. การกาหนดเกณฑ์ท่ีคาดหวัง และเกณฑ์การประเมินผล เป็นการระบุ เกณฑ์ที่ คาดหวงั ของโรงเรยี น และปรบั เปลยี่ นเกณฑ์ตลอดจนวิธีการประเมินผล เพื่อให้เหมาะสมและเป็นไป ได้ในการประเมินผู้เรียนตามสภาพจริงและช่วยให้นักเรียนสามารถยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของตนเพิ่มข้ึน ได้แก่ กาหนดเกณฑ์การประเมินท่ีคาดหวัง กาหนดเกณฑ์การประเมินและวิธีการ ประเมนิ ผลเหมาะสมกบั สภาพผเู้ รียน ใชว้ ิธกี ารประเมินผลท่ีหลากหลาย 3. การจัดกลุ่มผู้เรียนให้เหมาะสม เป็นการจาแนกการจัดกลุ่มผู้เรียนเพ่ือจัด การเรียนการสอนยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยวิธีการจัดกลุ่มแบบคละกลุ่มเป็นจานวนคน คละ ความสามารถในการเรยี นรูต้ ามความสมัครใจของผู้เรียนและตามเกณฑ์ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ทีก่ าหนด และจัดกลมุ่ ตามความสามารถความถนัด ความสนใจ 4. การกาหนดรูปแบบการพัฒนาการเรียนรู้และการจัดกิจกรรม คือ วิธีการที่ โรงเรยี นปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ 4 กลุ่มสาระหลักโดยเลือกรูปแบบ ส่ือ/นวัตกรรมการเรียนรู้และเทคนิคที่เหมาะสมกับเน้ือหา และความสามารถของผู้เรียน ตาม ธรรมชาติของรายวิชาในแต่ละกลมุ่ สาระการเรียนรู้คอื 4.1 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย มีรปู แบบการจดั การเรียนการสอน โดยใช้ วธิ กี ารให้นักเรียนเกง่ มาช่วยสอน การวิเคราะห์ผู้เรียน แล้วสอนเพ่ิมเติมในเนื้อหาที่มีปัญหา จัดสอน เสรมิ ในชัว่ โมงอสิ ระหรอื หลังเลกิ เรยี น ฝึกใหเ้ ด็กได้ปฏิบัติจรงิ กาหนดขั้นตอน/วิธีการ และภาระ งาน ทช่ี ดั เจน การใหแ้ รงเสริมและจดั ทานวตั กรรมการเรยี นสอนซอ่ มเสรมิ 4.2 กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ใช้วิธีการ คือ การใช้ส่ือเทคโนโลยีและ นวัตกรรมที่ครูผลิตข้ึน ใช้วิธีการศึกษานักเรียนเป็นรายบุคคล เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ร่วมวางแผน ปฏิบตั กิ จิ กรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์อยา่ งมีขนั้ ตอน

44 4.3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ใช้วิธีการ คือ ใช้กระบวนการ วิทยาศาสตร์ การให้นักเรียนได้ปฏิบัติจริง การสอนแบบบูรณาการทักษะสัมพันธ์จัดสอนซ่อมเสริม ใหน้ ักเรยี นทีไ่ ม่ผ่านเกณฑ์และใชน้ วตั กรรมการเรียนการสอนและสือ่ ICT 4.4 กลุ่มสาระการเรียนูร้ภาษาต่างประเทศใช้วิธีการ คือ จัดกิจกรรรมฝึก ทักษะทางภาษาท่ีหลากหลายจัดสอนซ่อมเสริมเป็นกรณีพิเศษนอกเหนือจากเวลาสอนตามปกติ จัดกจิ กรรม เสริมหลกั สตู รและใช้สอ่ื ประกอบการสอนท่ีเนน้ ICT รปู แบบท่ี 2 การยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียน เพอื่ มุง่ สู่ความเป็นเลิศ 1. การจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนพิเศษ เพ่ือให้นักเรียนได้เลือกเรียนตาม ศกั ยภาพ ความสามารถความต้องการของนักเรียน เป็นลักษณะโครงการพิเศษจาแนกตามกลุ่มสาระ การเรยี นรู้ และการจดั แผนการเรียนสาหรับโครงการความสามารถพิเศษ 2. การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ เพื่อส่งเสริมเพื่อความเป็นเลิศ คือ การจัดกิจกรรม เรยี นรู้ในกลมุ่ สาระการเรียนรแู้ ละการจัดกจิ กรรมเสริมหลักสูตรวชิ าต่าง ๆ 2.1 การจัดกจิ กรรมการเรยี นรใู้ นกลมุ่ สาระการเรียนรู้มีวิธีการ คือ เน้นการฝึก ทักษะปฏิบัติในรูปแบบเฉพาะการการเรียนรู้ให้เกิดการบูรณาการและผลิตผลงานเชิงบูรณาการ การ เปิดสอนรายวชิ าสาระเพ่ิมเติม และจดั การศกึ ษาและฝึกปฏิบตั ิจากแหลง่ เรยี นรู้ 2.2 การจัดกิจกรรมเสรมิ หลักสูตรวิชาต่าง ๆ กิจกรรมชุมนุมอย่างหลากหลาย ตาม เกณฑ์และข้อกาหนดของโรงเรียน ให้นักเรียนที่สนใจรวมกลุ่มนักเลือกเรียน ทาให้ใช้การ ประสาน ร่วมมือกับระบบกิจกรรมนักเรียน การเปิดให้นักเรียนมีโอกาสพัฒนานาความสามารถของ ตนเองอยา่ ง ตอ่ เน่อื ง รูปแบบที่3 การชว่ ยเหลอื นักเรียนที่ไม่ผา่ นเกณฑ์การจบหลักสูตรและลด 0 ร และ มส. 1. การดูแลใกล้ชิดเพ่ือปรับพฤติกรรมและให้โอกาสนักเรียนคือ การที่โรงเรียน ให้ ความสาคัญในการติดตาดูแลและช่วยเหลือกัน เรียนกลุ่มเส่ียงหรือกลุ่มที่มีปัญหาหลายด้าน มีการ ศึกษา วิเคราะหป์ ัญหาและจัดทาโครงการพเิ ศษและหาวิธีการดแู ลติดตามใหน้ กั เรยี นได้มีโอกาส ปรบั ปรุงพฤตกิ รรมและชว่ ยเหลอื ใหโ้ อกาสเรยี นร้ใู หมจ่ นจบการศึกษา 2. การเพ่ิมพูนผลสัมฤทธ์ิ เพื่อให้ได้ตามเกณฑ์การจบหลักสูตรโดยมีการจัด โครงการ พิเศษ จัดกิจกรรมการเรียนคู่ขนาน การจัดค่ายพัฒนาคุณภาพและการให้ความช่วยเหลือ นกั เรียนทีม่ ี ปัญหาดา้ นการเรียนการสอนใหม้ ผี ลสัมฤทธทิ์ ส่ี ูงข้นึ ไดต้ ามเกณฑ์การจบหลกั สตู ร 3. การจัดหลักสูตรนอกระบบ การเรียนหลักสูตรนอกระบบ เป็นหลักสูตร ท่ี โรงเรียนกาหนดขน้ึ เพื่อแก้ปญั หาใหน้ ักเรยี นที่ไมส่ ามารถเรยี นในระบบได้ อาจจะมีปัญหาด้านสุขภาพ ดา้ นเศรษฐกจิ หรอื ดา้ นการปรับตวั และรวมถึงนกั เรียนทไี่ ม่จบหลกั สูตร หรือนกั เรียนท่ีออกกลางคัน

45 สว่ นที่ 3 แนวทางการนเิ ทศ เพือ่ ยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น การนิเทศการศกึ ษามคี วามสาคัญต่อการพัฒนา ปรับปรุง และเพิ่มประสิทธิภาพในการจัด การศกึ ษาของสถานศึกษา เพอ่ื ใหผ้ บู้ ริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน และบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ ความเขา้ ใจในหลกั สูตร สามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมท้ังการบริหารจัดการ และ ปัญหาอ่ืนๆ ท่ีส่งผลต่อการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ซ่ึงกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ดาเนินการ โดยใช้ กระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) ดงั แผนภาพท่ี 1 และแผนภาพที่ 2 ดงั น้ี แผนภาพท่ี 1 การนิเทศเพือ่ ยกระดับผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น โดยใช้กระบวนการนเิ ทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) ศึกษาสภาพ และความต้องการ (Assessing Needs : A) การวางแผนการนิเทศ (Planning : P) การให้ความรูก้ อ่ นการนิเทศ (Informing : I) การนิเทศแบบโคช้ (Coaching : C) การประเมินผลการนเิ ทศ (Evaluating : E)

46 แผนภาพที่ 2 กรอบแนวคิดการนเิ ทศการยกระดับผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน โดยใชก้ ระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) กรอบแนวคดิ การนิเทศ เพ่ือยกระดับผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น โดยใช้กระบวนการนิเทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) ศึกษาสภาพ และความต้องการ ศกึ ษาสภาพปัจจุบัน/ปัญหา และความต้องการ (Assessing Needs : A) การวางแผนการนิเทศ กาหนดตวั ช้ีวัดความสาเร็จ (KPI) (Planning : P) สรา้ งส่ือ/นวตั กรรม และเคร่อื งมอื การนเิ ทศ การใหค้ วามรู้กอ่ นการนิเทศ กาหนดกิจกรรมและปฏทิ ินการนเิ ทศ (Informing : I) การนิเทศแบบโคช้ ส่งเสริม/พฒั นาความรู้ที่เกีย่ วข้องการยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน (Coaching : C) ปฏิบตั กิ ารนิเทศ Coaching เพ่ือกระตุ้นให้ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน การประเมนิ ผลการนิเทศ และบุคลากรท่ีเกี่ยวข้อง วิเคราะห์ปัญหา/เลือกแนว/ กาหนดแนวทาง (Evaluating : E) การแก้ปัญหา/ วางแผน/ ดาเนินการแก้ปัญหา/ วิเคราะห์ และสรุปผล/ แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ /ชนื่ ชม รวบรวม วิเคราะห์ และสังเคราะหผ์ ลการนเิ ทศ ปรับปรุง/ พฒั นา ไมม่ ีคณุ ภาพ ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการนิเทศ มคี ุณภาพ สรุปและจัดทารายงานผลการนิเทศ นาเสนอและเผยแพรผ่ ลการนิเทศ (จดั นทิ รรศการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้/ยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รติ/Website ฯลฯ)