Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นาฏศิลป์ไทย

นาฏศิลป์ไทย

Published by dionana88, 2021-01-25 04:02:12

Description: นาฏศิลป์ไทย

Search

Read the Text Version

นาฏศิลป์ หมายถึง ศิลปะการฟ้อนรา หรือความรู้แบบแผน ของการฟ้อนรา เป็นส่ิงท่ีมนุษย์ประดิษฐ์ข้ึนด้วยความประณีตงดงาม ให้ความบันเทิง อันโน้มน้าวอารมณ์และความรู้สึกของผู้ชมให้คล้อย เตกขาา้ารมรร่ว้อมงศดริลา้วปทยาะเเปพพร่อืละสงเ่งภเทสนริมี้ตใ้อหง้เอกาิดศคัยุณกคาร่าบย่ิงรขรเึ้นลงหดรนอื ตเรรยีี แกลวะ่ากศาิลรปขับะขร้อองง การศึกษานาฏศิลป์ เป็นการศึกษาวัฒนธรรมแขนงหน่ึง นาฏศิลป์เป็นส่วนหน่ึงของศิลปะสาขาวิจิตรศิลป์ อันประกอบด้วย จิตรกรรม สถาปัตยกรรม วรรณคดี ดนตรี และนาฏศิลป์ นาฏศิลป์ นอกจากจะแสดงความเป็นอารยะของประเทศ แล้ว ยังเป็นเสมือนแหล่งรวมศิลปะและการแสดงหลายรูปแบบเข้า ด้วยกัน โดยมีมนุษย์เป็นศูนย์กลาง ในการท่ีจะสร้างสรรค์ อนุรักษ์ และถา่ ยทอดสืบตอ่ ไป

นาฏศิลปไ์ ทยมกี าเนิดมาจาก ๑. การเลียนแบบธรรมชาติ แบง่ เป็น ๓ ขัน้ คอื ขั้นต้น เกิดแต่วิสัยสัตว์ เมื่อเวทนาเสวยอารมณ์ ไม่ว่าจะเป็นสุขเวทนาหรือ ทุกขเวทนาก็ตาม ถ้าอารมณ์แรงกล้าไม่กลั้นไว้ได้ ก็แสดงออกมาให้เห็นปรากฏ เช่น เด็ก ทารกเม่อื พอใจ กห็ วั เราะตบมือ กระโดดโลดเต้น เมื่อไม่พอใจกร็ ้องไห้ ดนิ้ รน ขั้นต่อมา เมื่อคนรู้ความหมายของกิริยาท่าทางมากขึ้น ก็ใช้กิริยาเหล่านั้นเป็น ภาษาสื่อความหมาย ให้ผู้อ่ืนรู้ความรู้สึกและความประสงค์ เช่น ต้องการแสดงความ เสน่หาก็ยิ้มแย้ม กรุ้มกร่ิมชม้อยชม้ายชายตา หรือโกรธเคืองก็ทาหน้าตาถมึงทึง กระทืบ กระแทก ต่อมาอกี ขน้ั หนึง่ มีผู้ฉลาดเลอื กเอากริ ยิ าทา่ ทาง ซึง่ แสดงอารมณ์ต่างๆ นนั้ มา เรียบเรียงสอดคลอ้ ง ตดิ ตอ่ กันเปน็ ขบวนฟ้อนราให้เห็นงาม จนเปน็ ท่ตี อ้ งตาตดิ ใจคน ๒. การเซ่นสรวงบชู า นาฏศลิ ปไ์ ทยมีกาเนิดมาจาก ๑. การเลียนแบบธรรมชาติ แบง่ เป็น ๓ ขน้ั คอื ขั้นต้น เกิดแต่วิสัยสัตว์ เมื่อเวทนาเสวยอารมณ์ ไม่ว่าจะเป็นสุขเวทนาหรือ ทุกขเวทนาก็ตาม ถ้าอารมณ์แรงกล้าไม่กล้ันไว้ได้ ก็แสดงออกมาให้เห็นปรากฏ เช่น เด็ก ทารกเมอื่ พอใจ ก็หัวเราะตบมือ กระโดดโลดเตน้ เม่อื ไมพ่ อใจก็ร้องไห้ ดนิ้ รน ขั้นต่อมา เมื่อคนรู้ความหมายของกิริยาท่าทางมากขึ้น ก็ใช้กิริยาเหล่านั้นเป็น ภาษาส่ือความหมาย ให้ผู้อ่ืนรู้ความรู้สึกและความประสงค์ เช่น ต้องการแสดงความ เสน่หาก็ยิ้มแย้ม กรุ้มกร่ิมชม้อยชม้ายชายตา หรือโกรธเคืองก็ทาหน้าตาถมึงทึง กระทืบ กระแทก

ตอ่ มาอกี ขนั้ หนงึ่ มีผู้ฉลาดเลอื กเอากริ ิยาทา่ ทาง ซ่ึงแสดงอารมณต์ า่ งๆ นัน้ มาเรยี บ เรียงสอดคลอ้ ง ติดต่อกนั เปน็ ขบวนฟอ้ นราให้เห็นงาม จนเป็นทต่ี อ้ งตาติดใจคน ๒. การเซ่นสรวงบชู า มนษุ ย์แตโ่ บราณมามคี วามเชอ่ื ถอื ในสิ่งศักด์ิสิทธิ์ จงึ มีการบูชา เซน่ สรวง เพ่อื ขอให้สง่ิ ศกั ด์สิ ิทธิ์ประทานพรใหต้ นสมปรารถนา หรือขอใหข้ จดั ปัดเปา่ ส่ิงที่ตนไมป่ รารถนาให้ สิ้นไป การบชู าเซน่ สรวง มักถวายส่ิงท่ตี นเห็นว่าดหี รอื ท่ีตนพอใจ เช่น ข้าวปลาอาหาร ขนมหวาน ผลไม้ ดอกไม้ จนถึง การขับร้อง ฟ้อนรา เพ่อื ใหส้ ิ่งทตี่ นเคารพบูชาน้นั พอใจ ตอ่ มามีการฟ้อนราบาเรอกษตั ริยด์ ้วย ถอื ว่าเป็นสมมุติเทพที่ช่วยบาบดั ทุกข์ บารุงสขุ ให้ มกี ารฟ้อนรารับขวัญขนุ ศึกนักรบผ้กู ล้าหาญ ทมี่ ชี ยั ในการสงครามปราบ ข้าศึกศตั รู ตอ่ มาการฟ้อนรากค็ ลายความศักดิส์ ิทธ์ลิ งมา กลายเป็นการฟ้อนราเพอ่ื ความบันเทงิ ของคนท่ัวไป ๓. การรับอารยธรรมของอินเดีย เม่ือไทยมาอยใู่ นสวุ รรณภูมใิ หม่ๆ น้นั มีชนชาติมอญ และชาตขิ อมเจรญิ ร่งุ เรอื ง อยกู่ อ่ นแลว้ ชาติทงั้ สองนน้ั ได้รับอารยธรรมของอินเดียไวม้ ากมายเป็นเวลานาน เม่ือ ไทยมาอยู่ในระหว่างชนชาตทิ ้งั สองน้ี ก็มีการติดต่อกันอยา่ งใกลช้ ดิ ไทยจึงพลอยได้รบั อารยธรรมอินเดียไวห้ ลายดา้ น เชน่ ภาษา ประเพณี ตลอดจนศลิ ปการละคร ได้แก่ ระบา ละครและโขน

การระบา ระบา คอื ศิลปะของการร่ายราทแี่ สดงพรอ้ มกนั เปน็ หมเู่ ป็นชดุ ความงามของการแสดง ระบา อยู่ที่ความสอดประสานกลมกลืนกนั ด้วยความพรอ้ มเพรียงกนั การแสดงมีท้งั เน้ือ รอ้ งและไมม่ ีเนื้อร้อง ใชเ้ พียงดนตรปี ระกอบ คาว่า \"ระบา\" รวมเอา \"ฟ้อน\" และ \"เซิง้ \" เข้าไว้ดว้ ยกนั เพราะวธิ กี ารแสดงไปในรปู เดยี วกนั แตกต่างกันท่ีวธิ ีร่ายรา และการแต่ง กายตามระเบยี บประเพณีตามท้องถน่ิ ระบา แบง่ ออกเปน็ ๒ ชนิด คอื ระบาดั้งเดิมหรือระบามาตรฐาน และระบาปรับปรุงหรือ ระบาเบ็ดเตล็ด

๑. ระบาดั้งเดิมหรือระบามาตรฐาน หมายถึง การแสดงที่ปรมาจารย์ได้กาหนดเน้ือร้อง ทานองเพลง ลีลาท่าราและการแต่งกาย ตลอดถึงกระบวนการแสดงไว้อย่างแน่นอน ตายตัว และได้ส่ังสอน ฝึกหัด ถ่ายทอด ต่อๆ กันมาเป็นเวลานาน จนนับถือเป็นแบบฉบับ จัดเป็นระบามาตรฐาน เป็นแม่บทที่ควรธารงรักษาไว้ ซ่ึงใครจะเปลี่ยนแปลงลีลาท่ารา ไมไ่ ด้ เชน่ ระบาดาวดงึ ส์ ระบากฤดาภนิ ิหาร ระบาเทพบนั เทงิ ระบาโบราณคดี ๒. ระบาปรบั ปรุงหรอื ระบาเบ็ดเตล็ด หมายถึง การแสดงท่ีประดษิ ฐ์ขน้ึ ใหมต่ าม ประสงค์ ตามเหตุการณ์ ตามสมัยนิยม และตามเน้ือเรื่องท่ีผู้ประพันธต์ อ้ งการ ระบา ปรบั ปรุงแยกออกเปน็

- ปรับปรุงจากแบบมาตรฐาน หมายถึง ระบาที่คิดประดิษฐ์ขึ้นโดยยึด แบบและลีลา ตลอดจนความสวยงามในด้านระบาไว้ ท่าทางลีลาท่ีสาคัญยังคงไว้ อาจมี การเปล่ียนแปลงบางสงิ่ บางอย่างเพ่ือให้ดูงามขึ้นอีก หรือเปลี่ยนแปลงเพ่ือความเหมาะสม กบั สถานที่ทนี่ าไปแสดง เชน่ การจดั รปู แถว การนาเพลงหน้าพาทย์ชั้นสูงเข้าไปสอดแทรก เปน็ ตน้ - ปรับปรุงจากพ้ืนบ้าน หมายถึง ระบาที่คิดประดิษฐ์สร้างสรรค์ข้ึนจากแนวทาง ความเป็นอยู่ของคนพื้นบ้าน การทามาหากิน อุตสาหกรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ใน แต่ละท้องถิ่นมาแสดงออกเป็นรูประบา เพ่ือเป็นเอกลักษณ์ประจาท้องถ่ิน เช่น เซิ้งบั้งไฟ เตน้ การาเคียว ระบางอบ ระบากะลา รองเง็ง ฯลฯ - ปรบั ปรุงจากทา่ ทางของสตั ว์ หมายถงึ ระบาที่คิดประดษิ ฐ์ขึ้นใหม่ ตามลักษณะ ลีลาท่าทางของสัตว์ชนิดต่าง ๆ เช่น ระบานกยูง ระบานกเขา ระบามฤคราเริง ระบา บันเทงิ กาสร ระบาตัก๊ แตน เปน็ ตน้

- ปรับปรุงจากตามเหตุการณ์ หมายถึง ระบาท่ีคิดประดิษฐ์ขึ้นใช้ตามโอกาสที่ เหมาะสม เช่น ระบาพระประทีป ระบาโคมไฟ ระบาท่ีประดิษฐ์ขึ้นราในวันนักขัตฤกษ์ ลอยกระทงในเดอื นสิบสอง ระบาท่ีประดิษฐ์ข้ึนเพ่ือการต้อนรับ เพื่อแสดงความยินดี อวย พรวันเกิด เปน็ ต้น - ปรับปรุงจากส่ือการสอน เป็นระบาประดิษฐ์และสร้างสรรค์ข้ึน เพ่ือเป็น แนวทางส่ือนาสู่บทเรียน เหมาะสาหรับเด็ก ๆ เป็นระบาง่าย ๆ เพ่ือเร้าความสนใจ ประกอบบทเรยี นตา่ ง ๆ เชน่ ระบาสูตรคูณ ระบาวรรณยุกต์ ระบาประเภทปรับปรุงข้ึนใหม่นี้ ลักษณะท่าราจะไม่ตายตัว จะมีการ เปล่ยี นแปลงไปตลอดเวลา ขนึ้ อยู่กับเหตุการณ์ ตัวบคุ คล ตลอดจนฝีมือและความสามารถ ของผูส้ อนและตวั นกั เรยี นเอง

การรา รา หมายถงึ การแสดงท่มี งุ่ ความงามของการร่ายรา เป็นการแสดงทา่ ทางลลี าของผู้รา โดยใชม้ ือแขนเป็นหลกั ประเภทของการรา ไดแ้ ก่ การราเดยี่ ว การราคู่ การราหมู่ ๑. การราเดี่ยว คือ การราท่ีใช้ผแู้ สดงเพยี งคนเดยี ว จดุ มุง่ หมายคอื ๑.๑ ตอ้ งการอวดฝีมอื ในการรา ๑.๒ ต้องการแสดงศิลปะร่ายรา ๑.๓ ต้องการสลบั ฉากเพอ่ื รอการจัดฉาก หรอื ตวั ละครแต่งกายยงั ไมเ่ สร็จ เรียบร้อย การราเดย่ี ว เชน่ การราฉยุ ฉายต่าง ๆ รามโนราห์บูชายัญ ราพลายชมุ พล ฯลฯ ๒. การราคู่ แบ่งเปน็ ๒ ประเภท คือ ราคู่ในเชงิ ศิลปะการตอ่ สู้ ไม่มีบทรอ้ ง และราคู่ใน ชุดสวยงาม

๒.๑ การราคูใ่ นเชิงศลิ ปะการตอ่ สู้ ไดแ้ ก่ กระบี่ กระบอง ดาบสองมือ โล่ ดาบ เขน ดั้ง ทวน และรากริช เปน็ การราไม่มีบทร้อง ใช้สลับฉากในการแสดง ๒.๒ การราคูใ่ นชุดสวยงาม ท่าราในการราจะต้องประดิษฐ์ให้สวยงาม ท้ังท่ารา ท่ีมคี าร้องตลอดชุด หรอื มบี างชว่ งเพื่ออวดลลี าท่ารา มบี ทรอ้ งและใชท้ ่าทางแสดง ความหมายในตอนนน้ั ๆ ไดแ้ ก่ หนุมานจับสุพรรณมัจฉา หนุมานจบั นางเบญกาย พระรามตามกวาง พระลอตามไก่ รามสูร เมขลา รจนาเส่ยี งพวงมาลัย ทุษยนั ต์ตามกวาง ราแม่บท ราประเลง ราดอกไม้เงนิ ทอง รถเสนจับมา้ ๓. การราหมู่ เป็นการแสดงมากกวา่ ๒ คนขนึ้ ไป ไดแ้ ก่ ราโคม ญวนรากระถาง ราพดั ราวงมาตรฐาน และราวงทั่วไป การแสดงพ้นื เมืองของชาวบา้ น เช่น เตน้ การาเคยี ว รา กลองยาว

การฟอ้ น ฟ้อน หมายถึง ศลิ ปะการแสดงทเ่ี ปน็ ประเพณขี องทางภาคเหนอื จะใชผ้ ู้แสดงเปน็ จานวน มาก มีลีลาการฟ้อนพร้อมเพรยี งกนั ด้วยจังหวะทคี่ ่อนข้างช้า การพิจารณาศิลปะการฟอ้ น ทีป่ รากฏในลานนาปจั จบุ นั อาจารย์ทรงศักด์ิ ปรางค์วัฒนากลุ ไดแ้ บง่ การฟ้อนออกเป็น ๕ ประเภท คอื ๑. ฟ้อนทสี่ ืบเนอื่ งมาจาการนบั ถือผี เก่ียวเนื่องกบั ความเชือ่ และพธิ กี รรม เปน็ การฟ้อนเกา่ แก่ที่มมี าชา้ นาน ไดแ้ ก่ ฟอ้ นผมี ด ผเี ม็ง ฟ้อนผีบ้านผีเมือง ฟ้อนผนี างดงั ๒. ฟ้อนแบบเมอื ง หมายถงึ ศลิ ปะการฟ้อนทีม่ ลี ีลาแสดงลักษณะเป็นแบบฉบับของ \"คน เมือง\" หรือ \"ชาวไทยยวน\" ได้แก่ ฟอ้ นเลบ็ ฟ้อนเทียน ฟอ้ นเจิง ตบมะผาบ ฟอ้ นดาบ ตี กลองสะบัดไชย ฟ้อนสาวไหม

๓. ฟ้อนแบบม่าน เป็นการผสมผสานกนั ระหว่างศลิ ปะการฟอ้ นของพมา่ กับของ ไทยลานนา ไดแ้ ก่ ฟอ้ นมา่ นมุ่ยเชียงตา ๔. ฟอ้ นแบบเง้ยี วหรือแบบไทยใหญ่ หมายถึง การฟ้อนตลอดจนการแสดงที่รบั อิทธพิ ล หรอื มตี น้ เค้ามาจากศิลปะการแสดงของชาวไทยใหญ่ ได้แก่ เลน่ โต กงิ่ กะหร่า(กนิ นรา) หรอื ฟ้อนนางนก กาเบอ้ คง มองเซงิ ฟ้อนไต(ไทยใหญ่) ฟ้อนเงีย้ ว ๕. ฟอ้ นที่ปรากฏในบทละคร เปน็ การฟ้อนทม่ี ผี คู้ ิดสร้างสรรข้นึ ในการแสดง ละครพนั ทาง ซ่ึงนิยมในสมยั รชั กาลที่ ๕ ได้แก่ ฟอ้ นนอ้ ยใจยา ฟ้อนลาวแพน ฟ้อนมา่ น มงคล

๑. ควรศึกษาเกี่ยวกับท่ารา \"ท่ารา\" ของนาฏศิลป์ไทยจดั ได้ว่าเป็น \"ภาษา\" ชนดิ หนงึ่ ซ่งึ ใชส้ อื่ ความหมายให้ผ้ชู มเขา้ ใจถึงกิรยิ า อาการ และความรสู้ ึก ตลอดจนอารมณ์ ของผู้แสดง มีทั้งทา่ ราตามธรรมชาติและท่าทป่ี ระดษิ ฐใ์ ห้วจิ ติ รสวยงามกว่าธรรมชาติ ผู้ชมท่ดี จี ะตอ้ งเรยี นรู้ความหมายและลีลาทา่ ราต่างๆ ของนาฏศิลป์ไทย ให้เชา้ ใจเปน็ พน้ื ฐานก่อน ๒. เขา้ ใจเก่ียวกบั ภาษาหรอื คารอ้ งของเพลงตา่ งๆ การแสดงนาฏศลิ ปจ์ ะต้อง ใชด้ นตรแี ละเพลงเขา้ ประกอบ ซง่ึ อาจจะมีทั้งเพลงขบั รอ้ งและเพลงบรรเลง ในเรอ่ื งเพลง รอ้ งน้นั จะต้องมี \"คาร้อง\" หรอื เน้อื ร้อง ประกอบดว้ ย บทร้องเพลงไทยสว่ นมากจะเป็นคา ประพันธ์ประเภทกลอนแปด หรอื กลอนสุภาพ เปน็ คารอ้ งท่แี ต่งขึน้ ใชก้ ับเพลงน้นั ๆ โดยเฉพาะ หรอื นามาจากวรรณคดีไทยตอนใดตอนหน่ึงก็ได้ ผูช้ มจะตอ้ งฟงั ภาษาที่ใชร้ ้อง ใหเ้ ขา้ ใจควบค่กู ับการชมการแสดงด้วย จงึ จะเข้าใจถึงเร่ืองราวนาฏศลิ ปท์ ่ีแสดงอยู่

๓. มีความเข้าใจเกย่ี วกับดนตรีและเพลงตา่ งๆ นาฏศิลป์จาเปน็ ต้องมีดนตรีบรรเลง ประกอบขณะแสดง ซง่ึ อาจจะเป็นแบบพน้ื เมอื งหรือแบบสมยั นยิ ม ผชู้ มจะตอ้ งฟงั เพลงให้ เข้าใจท้งั ลีลา ทานอง สาเนยี งของเพลง ตลอดจนจังหวะอารมณ์ดว้ ย จึงจะชมนาฏศิลปไ์ ด้ เข้าใจและไดร้ สของการแสดงอยา่ งสมบูรณ์ เช่น เขา้ ใจว่าเพลงสาเนยี งมอญ พมา่ ลาว ฯลฯ สามารถเข้าใจถงึ ประเพทของเพลงและอารมณ์ของเพลงแต่ละเพลง นอกจากน้ี จะตอ้ งรูจ้ กั ถงึ ชื่อของเคร่อื ง ดนตรแี ละวงดนตรีท่ีใชป้ ระกอบการแสดงทกุ ชนิดดว้ ย ๔. เข้าใจเก่ยี วกบั การแตง่ กายและแต่งหน้าของผูแ้ สดง การแสดงนัน้ แบ่งออก หลายแบบ หลายประเภท ผชู้ มควรดูให้เข้าใจว่าการแต่งกายเหมาะสมกบั บรรยากาศและ ประเภทของการแสดงหรอื ไม่ เสอื้ ผ้า เครื่องประดับ และอุปกรณต์ ่างๆ ทใี่ ช้ในการแสดง ตลอดท้ังการแตง่ หนา้ ดว้ ยว่าเหมาะสมกลมกลืนกนั เพยี งใด เช่น เหมาะสมกบั ฐานะหรอื บทของ ผแู้ สดงหรอื ไม่

๕. เข้าใจถงึ การออกแบบฉากและการใช้แสงและเสยี ง ผู้ชมที่ดีตอ้ งมีความรู้ ความ เขา้ ใจเรื่องฉาก สถานท่ี และสถานการณ์ตา่ งๆ ของการแสดง คือต้องดูให้เข้าใจว่า เหมาะสมกับการแสดงหรอื ไม่ บรรยากาศ แสง หรือเสยี งท่ีใชน้ ั้นเหมาะสมกับลกั ษณะของ การแสดงเพยี งใด ๖. เขา้ ใจเกี่ยวกบั บทบาทและฐานะของตัวแสดง คอื การแสดงที่เปน็ เร่ืองราว มตี ัวแสดง หลายบท ซึ่งจะตอ้ งแบ่งออกตามฐานะในเร่ืองนนั้ ๆ เชน่ พระเอก นางเอก ตวั เอก ตัวนาย โรง พระรอง นางรอง ตวั ตลก ฯลฯ ๗. เข้าใจเกี่ยวกับเรอ่ื งราวของการแสดง ในกรณีทเี่ ล่นเป็นเรอ่ื งราว เชน่ โขน ละคร ผชู้ มตอ้ งติดตามการแสดงให้ตอ่ เนื่องกนั ถึงจะเขา้ ใจถงึ เรอ่ื งราวตา่ งๆ วา่ ใคร ทา อะไร ทีไ่ หน อย่างไร

๘. ควรมีอารมณร์ ว่ มกบั การแสดง การแสดงนาฏศิลปไ์ ด้บรรจเุ อาลลี าท่าทาง หรือ อารมณ์ตา่ งๆ ของผู้แสดงไว้มากมาย ผูช้ มท่ีดคี วรมสี ่วนร่วมกบั ผู้แสดงดว้ ย เช่น สนกุ สนาน เฮฮาไปด้วย จะทาให้ไดร้ สของการแสดงอย่างเต็มที่ และผูแ้ สดงจะสนุกสนาน มอี ารมณ์และกาลงั ใจในการแสดงด้วย ๙. ควรมมี ารยาทในการชมการแสดง คอื ปรบมือใหเ้ กยี รตกิ ่อนแสดงและหลัง จาจบการแสดงแตล่ ะชุด ไม่ควรส่งเสยี งโห่รอ้ งเป็นการลอ้ เลยี น หรือเยาะเย้ย ในขณะท่ี การแสดงนนั้ ไม่ถูกใจหรอื อาจจะผิดพลาด ตลก ขบขนั ซ่ึงจะทาใหผ้ แู้ สดงเสียกาลังใจ และ ถือวา่ ไม่มีมารยาทในการชมการแสดงอย่างมาก อีกท้ังเป็นการรบกวนสมาธแิ ละอารมณ์ ของผ้ชู มคนอนื่ ๆ ด้วย

๑๐. ควรแต่งกายสุภาพเรียบรอ้ ย คอื ตอ้ งใหเ้ หมาะสมกบั สถานท่ที ่ีใช้แสดง เชน่ โรงละครแหง่ ชาติ หอประชมุ ขนาดใหญ่ ควรแตง่ กายสภุ าพแบบสากลนยิ ม แตใ่ นกรณี สถานทส่ี าธารณะหรืองานแบบสวนสนกุ ก็อนุโลมแตง่ กายตามสบายได้ ๑๑. ควรศึกษาเกี่ยวกับสจู ิบัตร ให้เขา้ ใจกอ่ นเร่ิมชมการแสดง เพื่อจะได้ชม การแสดงได้เข้าใจตัง้ แต่ตน้ จนจบ แต่ถ้าไม่มสี จู ิบัตร ก็ควรจะต้งั ใจฟงั พธิ ีการบรรยายถึง เรอ่ื งราวตา่ งๆ ที่เกย่ี วกับการแสดงใหเ้ ข้าใจดว้ ย ๑๒. ควรไปถึงสถานทแ่ี สดงก่อนเวลา เพ่ือจะได้เตรยี มตัวให้พร้อม และได้ชม การแสดงต้ังแต่เรม่ิ ตน้ อีกท้งั จะได้ไม่เดินผ่านผ้อู นื่ ซงึ่ ชมการแสดงอยกู่ อ่ นแลว้ จะทาให้ เกดิ ความว่นุ วายเปน็ การทาลายสมาธดิ ว้ ย

เปน็ 2ม.1ร.ใดหใกหค้ ขคุ้ณอณุ คงค่าชด่าาด้าตนา้ิใหนก้คคารงวออายนมู่สเุรพกัืบลษไปดิ แ์ เลพะลเนิผยบแนั พเทรงิ่ เใพจรตาอ่ ะผเู้รปบั ็นชศมลิ ปะการแสดงท่ี 3. ใหค้ ุณคา่ ด้านพธิ ีกรรม เพราะมีการแสดงนาฏศลิ ปใ์ นงานพิธีตา่ งๆ เช่น ราอวยพร หรอื การแสดงเกยี่ วกับความเช่ือเร่ืองสง่ิ ศกั ด์ิสิทธิ์ เชน่ เซง้ิ บัง้ ไฟ เปน็ การฟอ้ นราประกอบของงานแหบ่ ั้งไฟ เพ่ือบูชาพระยาแถนให้ บบัานงด4ช.าดุ ลใเหใปห้ค็น้ฝณุ กนคาตร่ากแดสา้ นดงคทวใ่ีาชม้ปรู้เรกะย่ีกวอกบบั ลวะรครรณแคลดะีไวทรยรณเพครดาไี ะทกยาตรา่ แงสๆดงนาฏศลิ ป์

นาฏศลิ ป์เป็นศิลปะแขนงหนงึ่ ที่สรา้ งสรรค์สนุ ทรียะดา้ นจิตใจและอารมณ์ใหก้ บั คนใน สังคมและมีอทิ ธพิ ลต่อการดาเนินชวี ิตของมนษุ ยท์ ่สี ามารถสะทอ้ นวิถชี ีวิตและกิจกรรม ของคนในสงั คม ทัง้ ที่เปน็ กิจกรรมสว่ นตัวและกิจกรรมส่วนรวม ดงั พจิ ารณาได้จากบทบาท ของนาฏศิลปท์ ่ีมผี ลต่อการดาเนินชวี ติ ของมนุษย์ทางด้านต่าง ๆ เชน่ บทบาทในพธิ กี รรม รฐั พธิ แี ละราชพธิ ี การแสดงนาฏศลิ ป์ในพิธีกรรมตา่ ง ๆ สามารถแสดงถงึ ความเชอื่ ในพลัง เหนือธรรมชาตขิ องภูตผีปีศาจและส่งิ ศกั ด์ิสิทธท์ิ ้ังหลาย เชน่ การฟ้อนราในพธิ ีราผีฟ้าเพ่ือ รกั ษาโรค หรอื สะเดาะเคราะห์ของภาคอสี าน การฟ้อนผีมดผเี ม็งในภาคเหนอื ทีจ่ ะมี ผหู้ ญิงมาเขา้ ทรง เป็นต้น

เมือ่ กลา่ วถงึ คาว่า นาฏศิลปไ์ ทย ทุกทา่ นคงนกึ ถึงภาพ คนแตง่ กายแบบละคร สวม ชฎา มงกุฎ ทาท่าร่ายราตามทานองเพลง และมองว่าสิ่งเหล่าน้เี ป็นสงิ่ ทโี่ บราณ ครา่ ครึ ไม่ เข้ากับสังคมยุคสมยั ปจั จบุ นั ที่ทุกส่ิงทุกอย่างต้องรวดเรว็ ฉบั ไว และดูเปน็ สากล แต่คงไม่มี ใครทราบวา่ ส่งิ ที่ทา่ นมองเหน็ ว่าล้าหลังน้ัน เปน็ เคร่อื งยนื ยันถงึ อดตี ความเปน็ มาและ วัฒนธรรมที่ส่งั สม อันมคี ณุ ค่ายิ่งของชาติไทย คาว่า นาฏศลิ ป์ ตามความหมายของพจนานกุ รมราชบณั ฑิตยสถาน ฉบบั เฉลมิ พระเกียรติ พ.ศ. 2530 ไดใ้ ห้ความหมายไว้ดังนี้

นาฏ – น. นางละคร นางฟอ้ นรา ไทยใช้หมายถึง หญิงสาวสวย เช่น นางนาฏ นาฏกรรม - น. การละคร ฟ้อนรา นาฏศิลป์ - น. ศลิ ปะแห่งการละครหรือการฟอ้ นรา นอกเหนือจากนี้ ยงั มีทา่ นผู้รไู้ ดใ้ ห้ความหมายของคาวา่ นาฏศิลป์ ในแง่มมุ ตา่ งๆ ไวด้ งั นี้ สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดารงราชานภุ าพฯ ทรงอธบิ ายถึงกาเนิดและ ววิ ัฒนาการของนาฏศิลปท์ ีผ่ กู พนั กบั มนุษย์ ดงั นี้ “ การฟ้อนรา ย่อมเป็นประเพณี ในเหล่ามนุษย์ทุกชาตทิ กุ ภาษา ไม่เลอื กว่าจะอยู่ ณ ประเทศถ่ินสถานที่ใดในพภิ พน้ี คงมีวธิ ีการฟ้อนราตามวิสยั ชาตขิ องตนดว้ ยกันทั้งนน้ั อย่า ว่าแตม่ นุษยเ์ ลย ถงึ แมส้ ตั วเ์ ดรจั ฉานกม็ ีวธิ ฟี ้อนรา ดังเช่น สุนัขกาไก่ เปน็ ตน้ เวลาใดที่สบ อารมณม์ ันเขา้ มนั ก็เตน้ โลดกรดี กรายทากริ ยิ าท่าทางไดต้ า่ งๆ อาจารยธ์ นิต อยู่โพธิ์ ไดใ้ หค้ วามหมายของนาฏศิลป์ ไวด้ ังนี้

“ คาวา่ นาฏยะ หรือ นาฏะ ความจริงมคี วามหมายรวมเอาศลิ ปะ 3 อยา่ งไว้ด้วยกนั คือ การฟ้อนราหน่งึ การบรรเลงดนตรหี น่ึง และการขบั รอ้ งหน่งึ หรอื พูดอย่างง่ายๆ คาวา่ นาฏยะ มคี วามหมายรวมท้ังการฟ้อนราขับร้องและประโคมดนตรีดว้ ย ไมใ่ ช่มแี ต่ ความหมายเฉพาะศิลปะแหง่ การฟอ้ นราอยา่ งเดยี วด่งั ทีท่ ่านเขา้ ใจกัน “สรปุ ความได้วา่ นาฏศิลป์ เป็นศลิ ปะท่ีมนษุ ยแ์ สดงออกเมอ่ื เกดิ อารมณ์ขน้ึ มวี วิ ัฒนาการมาพร้อมความ เจรญิ ของมนษุ ย์ มีการจดั ระเบยี บแบบแผนให้เกิดความงดงาม ประกอบไปด้วย

การร้อง การรา และการบรรเลงดนตรกี ารแสดงนาฏศิลปข์ องไทย ปรากฏในรูปแบบ ของการละคร ฟอ้ น รา ระบา เต้น การแสดงพ้ืนเมอื งภาคตา่ งๆ ซ่ึงมีการขับรอ้ งและการ บรรเลงดนตรี รวมอยดู่ ้วย ถอื กาเนิดขน้ึ มาจากธรรมชาติ ความเช่ือ ศาสนา ความเปน็ อยู่ วิถชี ีวติ ผนวกกบั ได้รับอารยธรรมจากประเทศอินเดยี ท่ีมีความเจริญกา้ วหนา้ ทางศิลป วิทยาการทางด้านต่างๆ ตอ่ มาไดม้ กี ารพฒั นา ปรบั ปรุง เปลยี่ นแปลง จนกลายมาเป็น นาฏศลิ ปไ์ ทยท่มี แี บบแผนอยา่ งเช่นในปจั จบุ นั นาฏศิลปไ์ ทยในอดีตมีบทบาทสาคญั เพราะเกย่ี วข้องกับวถิ ชี วี ิตของคนไทยตงั้ แต่เกิดจนตาย บทบาทในงานสาคญั ของหลวง พิธกี รรมตา่ งๆของชาวบา้ น รวมถงึ การสรา้ งความบันเทิงให้กับผ้คู นในสงั คม

เช่นการแสดงลเิ ก ละคร โขน เพลงพื้นเมอื งต่างๆ เมื่อสงั คมยคุ ปจั จุบันได้มกี าร เปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเรว็ นาฏศิลป์ไทยจาเปน็ ตอ้ งปรับเปลย่ี นบทบาทของตวั เองจากท่ี ตอบสนองความต้องการของมนุษย์อยา่ งในอดตี มาเปน็ บทบาททางดา้ นต่างๆท่ีสามารถ จาแนกบทบาทให้เหน็ ได้ ดังน้ี 1. บทบาททางการศึกษา การแสดงออกทางด้านศลิ ปะน้นั ถอื เป็นศาสตรแ์ ละ ศิลป์ ในอดีต การเรยี นของศาสตร์แขนงน้มี กั อยใู่ นแวดวงทจ่ี ากดั เฉพาะกลุ่มเทา่ นัน้ แตป่ ัจจบุ ันมกี าร เปดิ กวา้ งมากขึ้น มกี ารจดั ตง้ั สถานศึกษาสาหรับการสอนนาฏศิลปข์ ึน้ หลายแห่ง ทั้งของรัฐ ที่สอนทางด้านนาฏศลิ ป์ มหี นา้ ท่ที านบุ ารงุ รกั ษาศลิ ปะโดยตรง สถานศึกษาของเอกชนท่ี สอนนาฏศิลป์ให้แก่กลุ บุตรกลุ ธิดา เพอื่ สง่ เสรมิ ความสามารถและบุคลกิ ภาพรวมถึง ส่งเสรมิ ลักษณะนสิ ัย

2. บทบาททางธรุ กจิ และอตุ สาหกรรมการทอ่ งเท่ยี ว ซ่งึ บทบาทน้ีเห็นได้อย่างชัดเจน ในการ แสดงตามงานเทศกาลทอ่ งเทย่ี วต่างๆ ที่ภาครัฐหรือเอกชนจัดข้ึน จะตอ้ งมนี าฏศลิ ป์ไทย เขา้ ไป เกี่ยวข้องอย่เู สมอ ไมว่ ่าจะเป็นรูปแบบมหรสพสมโภชหรือ การแสดงแสง เสยี งสือ่ และผสม โดยศลิ ปะการแสดงเหลา่ นี้ถอื เปน็ จุดขายที่สาคัญ นอกเหนอื จากนยี่ งั มีโรงละครของเอกชน เปิดทาการแสดงเพอ่ื ให้ชาวต่างชาตหิ รือผู้ทสี่ นใจเขา้ ชมดาเนินการในรูปแบบธรุ กิจอยา่ ง ชดั เจน

3. บทบาทในการอนรุ กั ษ์และเผยแพร่เอกลักษณข์ องชาติ ปัจจุบนั วัฒนธรรมต่างชาติมี บทบาทอยา่ งมากในสงั คมไทย และเป็นไปไดว้ า่ อนาคตประเทศไทยอาจถกู กลนื ทาง วัฒนธรรมได้ เพอื่ ใหค้ วามเปน็ ไทยคงอยู่ สิง่ ทจี่ ะช่วยไดน้ ่ันคอื เอกลกั ษณ์ของชาตใิ นดา้ น ตา่ งๆ โดยใชว้ ิธีการเผยแพร่ อนุรกั ษ์ และสรา้ งสรรค์ศลิ ปะการแสดง นอกจากนยี้ งั เปน็ การ ประชาสัมพนั ธแ์ ละสรา้ งความเขา้ ใจอันดีกบั ประเทศต่างๆ เพ่ิมขึน้ อีกด้วย

กดท่ีน่ี

กดท่ีน่ี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook