Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 33. สุขศึกษา พลศึกษา ทช31002 ม.ปลาย สาระการดำเนินชีวิต

33. สุขศึกษา พลศึกษา ทช31002 ม.ปลาย สาระการดำเนินชีวิต

Description: 33. สุขศึกษา พลศึกษา ทช31002 ม.ปลาย สาระการดำเนินชีวิต

Keywords: 33. สุขศึกษา พลศึกษา ทช31002 ม.ปลาย สาระการดำเนินชีวิต

Search

Read the Text Version

93 สลายตัวไดงายกวาปกติ นอกจากนี้ ยังพบวายาอะมิโนพัยรินและไดพัยโรน มีผลตอสวนประกอบของ เลือดอยา งมาก 3. ความเปนพษิ ตอตบั ถึงแมตับจะเปน อวัยวะท่ีมีสมรรถภาพสูงสุดในการกําจัดยา แตมันก็ถูก กับตัวยาในความเขมขนที่สูง จึงอาจเปนอันตรายจากยาดวยเหตุน้ีก็ได ยาบางขนานท่ีอาจเปนอันตรายตอ เซลลของตบั โดยตรง เชน ยาจําพวก Chlorinated hydrocarbons ยาเม็ดคุมกําเนดิ ยาปฏิชวี นะจําพวก โพลมิ กิ ซิน และวิตามินเอ ในขนานสงู มากๆ อาจทาํ ใหต บั หยอ นสมรรถภาพได 4. ความเปนพษิ ตอ ไต ไตเปนอวัยวะทสี่ ําคัญท่ีสุดในการขับถายยาออกจากรา งกาย ยาจาํ พวก ซัลฟาบางขนานอาจตกตะกอนในไต ทําใหไตอักเสบเวลารับประทานยาพวกนี้จึงควรดื่มนํ้ามาก ๆ นอกจากนี้ ยังมยี าทอ่ี าจทาํ ใหเ กดิ พษิ โดยตรงตอไตได เชน ยานีโอมัยซนิ เฟนาเซดิน กรดบอริก ยาจําพวก เพนิซิลลิน หรือการใหวิตามินดีในขนาดสูงมากและเปนเวลานาน อาจกอใหเกิดพิษตอไต ไตหยอน สมรรถภาพ จนถึงขัน้ เสียชวี ติ ได 5. ความเปนพิษตอ เสน ประสาทของหู ยาบางชนดิ เปน พษิ ตอเสนประสาทของหู ทาํ ใหอาการ หูอ้อื หตู ึง และหหู นวกได เชน ยาสเตร็ปโตมัยซิน นโี อมัยซนิ กานามัยซนิ ควินิน และยาจําพวก ซาลซิ ยั เลท เปน ตน 6. ความเปนพิษตอประสาทสวนกลาง ยาบางขนานทําใหมีอาการทางสมอง เชน การใช แอมเฟตามีน ทําใหสมองถูกกระตุนจนเกิดควรจนนอนไมหลับ ปวดหัว กระวนกระวาย อยูไมสุข และ ชักได สว นยากดประสาทจําพวกบารบิทูเรต ถาใชไปนาน ๆ จะทําใหเกิดอาการงวง ซึมเศรา จนถึงขั้น อยากฆาตัวตาย 7. ความเปน พิษตอระบบหวั ใจและการไหลเวียนเลอื ด มักเกิดจากยากระตุน หัวใจ ยาแกหอบหืด ไปทําใหหวั ใจเตน เรว็ ผิดปกติ 8. ความเปนพษิ ตอกระเพาะอาหาร ยาบางชนิด เชน แอสไพริน เฟนลิ บิวตาโซน เพรดโซโลน อนิ โดเมธาซนิ ถา รับประทานตอนทองวางและรบั ประทานบอยๆ จะทาํ ใหก ระเพาะอาหารอกั เสบและเปน แผลได 9. ความเปน พษิ ตอทารกในครรภ มยี าบางชนิดที่แมไ มค วรรับประทานระหวางต้ังครรภ เชน ยาธาลโิ ดไมลช ว ยใหน อนหลับและสงบประสาท ยาฟโนบารบิตาลใชรักษาโรคลมชัก ยาไดอะซีแพมใช กลอมประสาท และยาแกคลื่นไสอาเจียน เนื่องจากอาจเปนอันตรายตอตัวมดลูกและตอทารกในครรภ เปน ผลใหเดก็ ท่ีคลอดออกมามคี วามพกิ าร เชน บางรายอาจมอื กุด ขากดุ จมูกโหว เพดานและรมิ ฝ ปากแหวง หรอื บางคนศรี ษะอาจยุบหายไปเปนบางสวน ดังนน้ั แมใ นระหวา งต้ังครรภค วรระมัดระวงั การ ใชย าเปนอยา งย่ิง

94 การใชย าผดิ และการตดิ ยา (Drug Abuse and Drug Dependence) การใชยาผิด หมายถึง การใชยาท่ีไมตรงกับโรค บุคคล เวลา วิธี และขนาด ตลอดจน จุดประสงคของการใชย าน้ันในการรกั ษาโรค เชน การใชย าบารบ ทิ ูเรต (เหลา แหง ) เพื่อใหนอนหลบั สบาย โดยอยูภายใตก ารดูแลของแพทย ถอื วาเปน การใชย าถกู ตอ ง แตถาใชยาบารบ ิทเู รต (เหลา แหง ) จํานวนเดิม เพือ่ ใหเ คลบิ เคล้มิ เปน สขุ (Euphoria) ถอื วา เปนการใชยาผิด การติดยา หมายถึง การใชยาติดตอกันไปชั่วระยะเวลาหน่ึง แลวอวัยวะของรางกายโดยเฉพาะ อยางย่งิ ระบบประสาท ไดยอมรบั ยาขนานน้นั เขา ไวเปนสิ่งหน่ึงท่ีจําเปน สําหรับเมตาบอลิซึมของอวัยวะน้ัน ๆ ซึ่งถาหากหยุดยาหรือไดร ับยาไมเพยี งพอจะเกิดอาการขาดยา หรืออาการถอนยา (Abstinence or Withdrawal Syndrome) ซึ่งแบง ไดเ ปน อาการทางกาย และอาการทางจติ ใจ สาเหตุท่ที าํ ใหเกดิ การใชย าผิดหรอื การตดิ ยา อาจเนอื่ งมาจาก 1. ความเชอ่ื ทวี่ ายาน้ันสามารถแกโรคหรอื ปญหาตา งๆ ได 2. สามารถซื้อยาไดง ายจากแหลงตา งๆ 3. มีความพงึ พอใจในฤทธ์ขิ องยาที่ทาํ ใหร ูสกึ เคลบิ เคลิ้มเปน สขุ 4. การทําตามอยา งเพอื่ น เพอ่ื ใหเ ขากับกลุมได หรือเพ่อื ใหร สู กึ วาตนเองทันสมยั 5. ความเช่อื ทว่ี ายาน้นั ชวยใหม คี วามสามารถและสติปญ ญาดีขนึ้ 6. ความไมพ อใจในสภาพหรือสังคมท่เี ปน อยู หรอื ความรูส กึ ตอตานวัฒนธรรม 7. การหลงเชอื่ คาํ โฆษณาสรรพคณุ ของยานัน้ การใชย าผดิ แบงตามลกั ษณะการใชโดยสังเขปไดเปน 2 ประการ คอื 1. ใชผ ิดทาง ไมเปน ไปเพ่อื การรักษาโรค เชน ใชยาปฏชิ วี นะเสมอื นหนึ่งเปน การลดไข ชาวนา ใชข ้ีผ้ึงเพนิซิลลินทาแทนวาสลิน เพ่ือกันผิวแตก ซ่ึงอาจทําใหเกิดอาการแพจนถึงแกชีวิตได โดยท่ัวไป แพทยจะใหน า้ํ เกลอื และยาบาํ รงุ เขา เสน ตาง ๆ เฉพาะผูที่ปวยเทาน้ัน แตผูท่ีมีสุขภาพดีกลับนําไปใชอยาง กวา งขวาง ซ่ึงนอกจากจะไมใหป ระโยชนแลวยงั เปนอนั ตรายถึงชีวิตได 2. ใชพร่ําเพร่ือ เปนระยะเวลานานๆ จนติดยา เชน การใชยาลดไขแกปวด ซ่ึงมีสวนผสมของ แอสไพรนิ และเฟนาเซติน เพื่อรกั ษาอาการปวดเม่อื ยหรอื ทําใหจ ิตใจเปน สขุ ถาใชต ดิ ตอกันนาน ๆ ทําให ตดิ ยาและสขุ ภาพทรุดโทรม นอกจากนี้ การใชยานอนหลับ ยาระงบั ประสาท ยากลอมประสาท กญั ชา โคเคน แอมแฟตามีน โบรไมด การสูดกาวสารทาํ ใหเ กิดประสาทหลอนตดิ ตอ กันเปน เวลานานจะทาํ ใหต ิดยาได ขอควรระวังในการใชส มนุ ไพร เมื่อมีความจําเปน หรือความประสงคท่ีจะใชสมุนไพรไมวาจะเพ่ือประสงคอยางไรก็ตาม ใหระลึกอยเู สมอวา ถาอยากมสี ุขภาพที่ดี หายจากการเจ็บปวย สิง่ ที่จะนําเขาไปสูในรางกายเราก็ควรเปน สง่ิ ทดี่ ี มปี ระโยชนตอรา งกายดวย อยา ใหความเช่อื แบบผดิ ๆ มาสง ผลเสยี กับรา งกายเพ่ิมขึ้น หลายคนอาจ เคยไดย ินขาวเกี่ยวกับหมอนอย ซ่ึงเปนเด็กอายเุ พยี ง 3 ป 7 เดอื น ท่ีเปนขา วในหนา หนังสอื พมิ พเ มื่อป 2529 ทส่ี ามารถรกั ษาโรคไดทุกชนิดใชเ พียงกงิ่ ไมใ บไมอ ะไรกไ็ ดแ ลวแตจ ะช้ีไป คนเอาไปตมรับประทานดวย

95 ความเช่ือ ซ่ึงความจริงการเลือกใชสมุนไพรจะตองมีวิธีการ และความรูที่ถูกตอง การใชจึงจะเกิด ประโยชน ขอควรระวงั ในการใชอยางงายๆ และเปนแนวทางในการปฏิบัติเพื่อใหเกิดความปลอดภัยใน การใชสมนุ ไพร คือ - ใชใหถูกตน สมุนไพรบางชนิดอาจมีลักษณะคลายกัน หรือมีช่ือพองกัน การใชผิดตน นอกจากไมเกดิ ผลในการรักษาแลว ยงั อาจเกิดพิษข้นึ ได - ใชใหถกู สวน ในแตละสว นของพชื สมนุ ไพร เชน ใบ ราก ดอก อาจมีสรรพคุณไมเหมือนกัน และบางสว นอาจมพี ษิ เชน เมลด็ ของมะกล่ําตาหนูเพยี งเม็ดเดียว ถา เค้ียวรับประทานอาจตายได ในขณะที่ สวนของใบไมเ ปนพิษ - ใชใ หถ กู ขนาด ปรมิ าณการใชเปน สวนสาํ คัญทท่ี าํ ใหเกิดพษิ โดยเฉพาะ ถา มีการใชในปรมิ าณ ที่มากเกนิ ไป หรอื ถานอยเกนิ ไปก็ไมเกิดผลในการรกั ษา - ใชใ หถูกโรค สมนุ ไพรแตละชนิดมีสรรพคุณไมเ หมอื นกนั เปนโรคอะไรควรใชส มุนไพรท่ีมี สรรพคณุ รกั ษาโรคนั้นๆ และสง่ิ ที่ควรคาํ นงึ คอื อาการเจ็บปวย บางอยางมคี วามรุนแรงถึงชวี ิตได ถา ไมได รับการรักษาทันทวงทีในกรณีเชนนี้ไมควรใชยาสมุนไพร ควรรับการรักษาจากแพทยผูเช่ียวชาญจะ เหมาะสมกวา การรับประทานยาสมุนไพรจากท่ีเตรียมเอง ปญหาท่ีพบบอยคือ ไมทราบขนาดการใชท่ี เหมาะสมวาจะใชป รมิ าณเทาใดดี ขอแนะนาํ คอื เริ่มใชแ ตนอยกอ นแลวคอ ยปรับปริมาณเพิม่ ขึ้นตามความ เหมาะสมทหี ลัง (มีศัพทแ บบพน้ื บานวา ตามกําลงั ) ไมควรรับประทานยาตามคนอน่ื เพราะอาจทําใหรับยา มากเกินควร เพราะแตละคนจะตอบสนองตอยาไมเหมือนกัน สําหรับยาที่ซ้ือจากรานควรอานฉลาก วธิ กี ารใชอยางละเอยี ดและใหเขาใจกอ นใชทุกคร้งั การหมดอายขุ องยาจากสมนุ ไพรเชนเดียวกันกับยาแผนปจจุบัน โดยทั่วไปสมุนไพรเมื่อเก็บ ไวน านๆ ยอมมกี ารผุพัง เกดิ ความชื้น เช้อื รา หรอื มีแมลงวันมากัดกิน ทําใหอยูในสภาพที่ไมเหมาะสมท่ี จะนาํ ไปใช และมกี ารเส่ือมสภาพลงแตก ารจะกําหนดอายุทแี่ นน อนน้นั ทาํ ไดยาก จึงควรนับตั้งแตวันผลิต ยาสมุนไพรหรือยาจากสมุนไพรไมควรใชเม่ือมีอายุเกิน 2 ป ยกเวนมีการผลิตหรือเก็บบรรจุที่ดี และถา พบวา มเี ชื้อรา มกี ลนิ่ หรอื สีเปลยี่ นไปจากเดมิ ก็ไมควรใช ขอ สงั เกตในการเลือกซือ้ สมนุ ไพร และยาแผนโบราณ ดังนัน้ ยาแตล ะชนดิ ทางกฎหมายมขี อ กําหนดท่แี ตกตางกนั ในการเลอื กซอ้ื หรอื เลอื กใชจงึ ตอ ง รคู วามหมาย และขอกาํ หนดทางกฎหมายเสียกอ น จงึ จะรวู า ยาชนดิ ใด จะมีคณุ สมบัติอยางไร มีวิธีการใน การสงั เกตอยางไร เพื่อที่จะไดบอกไดวายานั้น ควรที่จะใชหรือนาที่จะมีความปลอดภัยตอการใช ส่ิงท่ี นาจะรูห รอื ทําความเขา ใจ คอื ความหมายของยาชนดิ ตาง ๆ ดังน้ี ยาสมนุ ไพร คือ ยาท่ีไดจ ากพฤกษชาติ สตั ว หรอื แรธาตุ ซึ่งมไิ ดผ สมปรงุ หรอื แปรสภาพ

96 ยาแผนโบราณ คอื ยาท่ีมุงหมายใชในการประกอบโรคศลิ ปะแผนโบราณ ซ่ึงอยูในตาํ รา แผนโบราณท่รี ัฐมนตรปี ระกาศ หรือยาทไ่ี ดรบั อนุญาตข้ึนทะเบียนเปน ยาแผนโบราณ หรอื ใหเ ขา ใจงายๆ คือ ยาท่ีไดจ ากสมุนไพรมาประกอบเปนตํารับตามทร่ี ะบุไวใ นตาํ รายาหรือ ทีก่ ําหนดใหเ ปนยาแผนโบราณ ในการประกอบโรคศิลปะแผนโบราณนั้นกําหนดวา ใหใชวิธีท่ีสืบทอด กันมาแตโบราณโดยไมใ ชกระบวนการทางวิทยาศาสตร เชน การนําสมุนไพรมาตมรับประทาน หรือทํา เปน ผงละลายนาํ้ รับประทาน แตใ นปจ จุบันมขี อกําหนดเพม่ิ เตมิ ใหยาแผนโบราณมีการพัฒนารูปแบบให สะดวกและทันสมยั ขึ้นเชน เดยี วกับยาแผนปจจบุ นั เชน ทําเปนเม็ด เม็ดเคลือบน้ําตาลหรือแคปซูล โดยมี ขอสังเกตวาที่แคปซลู จะตองระบุวา ยาแผนโบราณ เรือ่ งท่ี 3 ความเช่อื เก่ยี วกับการใชยา ปจจบุ นั แมวา ความกาวหนา ทางแพทยส มยั ใหมร วมท้ังวิถีชีวติ ท่ไี ดร บั อทิ ธพิ ลจากตะวนั ตก จะทํา ใหคนทั่วไปเม่อื เจ็บปว ยหนั ไปพึง่ การรกั ษาจากบุคลากรทางการแพทยซ ึง่ มงุ เนนการใชย าแผนปจจุบันใน การรกั ษาอาการเจบ็ ปว ยเปนหลัก โดยใหค วามสาํ คญั ความเชื่อถอื ในยาพน้ื บา น ยาแผนโบราณลดนอยลง ทําใหภมู ิปญ ญาพ้ืนบา นรวมถงึ ตาํ หรับยาแผนโบราณสูญหายไปเปนจํานวนมาก นอกจากนั้นยงั ขาดความ ตอเนอ่ื งในการถายทอดองคความรูใ นการดูแลรกั ษาตนเองเบือ้ งตนดวยวธิ ีการและพชื ผัก สมนุ ไพร ท่ีหา ไดงายในทอ งถิ่น โดยองคความรูท่ีถา ยทอดจากรนุ สูรนุ นน้ั ไดผา นการวิเคราะหและทดลองแลววาไดผลและไมเ กดิ อันตรายตอสุขภาพ อยางไรก็ตามยังคงมีความเชื่อบางประการเกี่ยวกับการใชยาเพ่ือเสริมสุขภาพ และ สมรรถภาพเฉพาะดาน ซึ่งยังไมไดรับการพิสูจนดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตรการแพทย วามี สรรพคุณตามคําโฆษณา อวดอาง หรือบอกตอ ๆ กัน ซ่ึงอาจกอใหเกิดอันตรายหรือผลขางเคียงหากใช

97 จํานวนมากและตอ เนอ่ื งเปนเวลานาน ไดแก ยาดองเหลา ยาฟอกเลือด ยาชงสมุนไพร ยาที่ทําจากอวัยวะ ซากพืชซากสัตว เปน ตน รวมถึงยาชดุ ตาง ๆ ท่มี กั มกี ารโฆษณาชวนเชื่ออวดอาง สรรพคุณเกินจริง ทําให คนบางกลุมหลงเช่ือ ซอื้ หามารบั ประทาน ยาบางชนิดมีราคาแพงเกนิ ปกตโิ ดยอางวาทาํ จากผลิตภัณฑท่ี หายาก สรรพคุณครอบจกั รวาล สามารถรกั ษาไดส ารพดั โรค ซ่งึ สรรพคณุ ท่ีมกั กลาวอา งเกนิ จรงิ อาทิเชน - กินแลวจะเจริญอาหาร ทําใหรับประทานอาหารไดมากข้ึน เชน ยาดองเหลา ยาสมุนไพร บางชนดิ - กนิ แลวจะทาํ ใหมกี าํ ลงั สามารถทาํ งานไดทนนาน - กินแลวทําใหมีพลังทางเพศเพิ่มขึ้น เชน ยาดองเหลา ยาดองอวัยวะซากสัตว อุงตีนหมี ดงี ูเหา ฯลฯ - กนิ แลว จะทําใหเ ลือดลมไหลเวยี นดี นอนหลบั สบาย ผิวพรรณผอ งใส เชน ยาฟอกเลือด ยาสตรี ยาขับระดู ฯลฯ - กินแลว ทําใหเ ปนหนมุ เปนสาว อวยั วะบางสวนใหญข้ึน เชน เขากวาง และกวาวเครือแดง เสริม ความหนุม กวาวเครอื ขาวเสรมิ ทรวงอก และความสาว เปน ตน - กินแลวจะชวยชะลอความแกหรือความเสื่อมของอวัยวะ เชน รังนกซึ่งทําจากนํ้าลายของ นกนางแอน หูฉลามหรือครีบของฉลาม หรอื โสม ซึง่ สว นใหญม รี าคาแพงไมคุมคากับประโยชนท รี่ า งกาย ไดรบั จริง ๆ - กนิ แลว รกั ษาอาการปวดเม่ือย ไขขอ อกั เสบเรอ้ื รงั เชน ยาชุดตาง ๆ ยาแกกระษัยไตพิการ ซ่ึงมัก ผสมสารหนู ที่เปนอันตรายตอรางกายมาก เพราะผูใชอาจมักติดยาตองรับประทานเพิ่มขึ้นจึงเกิดการ สะสมพษิ เมือ่ เกิดอนั ตรายมกั มีอาการรุนแรงยากแกการรักษา ทัง้ น้ี การใชยาดังกลา วสวนใหญเกิดจากความเชื่อผิด ๆ หรือเชื่อในคําโฆษณาเกินจริง ที่แฝงมา ดว ยภยั เงยี บที่กอ ใหเ กดิ อนั ตรายตอ รา งกายหากใชอยางตอ เนื่องและใชในจาํ นวนมาก นอกจากน้ียังทําให เสยี คาใชจายคอนขางสงู แตไมเกดิ ประโยชนตอ รางกายไมมีผลในการรกั ษาอาการตาง ๆ ตามสรรพคุณท่ี กลาวอาง ดังน้ัน กอนจะซ้ือหายาหรือผลิตภัณฑเสริมสุขภาพมาใช ควรศึกษาสรรพคุณ สวนประกอบ แหลงผลิต วันหมดอายุ และความนาเชื่อถือของผูผลิตโดยพิจารณาจากมีเลขทะเบียนถูกตองหรือไม มตี รา อย. หรือมีใบอนุญาตการผลติ ใบประกอบโรคศลิ ปะแพทยแ ผนโบราณ เปนตน ความเชอ่ื และขอ ควรระวังในการใชย าชดุ ยาดองเหลา และยาชงสมนุ ไพร 1. ยาชดุ ยาชดุ หมายถงึ ยาท่ผี ูข ายจดั รวมไวใหก ับผซู อ้ื สําหรับใหกนิ ครัง้ ละ 1 ชุด รวมกันหมด โดยไม แยกวา เปน ยาชนิดใด ควรจะกนิ เวลาไหน โดยทัว่ ไปมกั จะมียา ต้งั แต 3 – 5 เมด็ หรืออาจมากกวาและอาจ จดั รวมไวในซองพลาสตกิ เล็กๆ พิมพฉ ลากบงบอกสรรพคุณไวเ สร็จ

98 สรรพคุณท่พี มิ พไ วบนซองยาชดุ มกั โออ วดเกนิ ความจรงิ เพ่ือใหขายไดมาก ชื่อท่ีตั้งไวจะเปน ชื่อท่ีดึงดูดความสนใจหรือโออวดสรรพคุณ เชน ยาชุดกระจายเสน ยาชุดประดงขุนแผน ยาชุดแก ไขมาลาเรีย เปน ตน เนอ่ื งจากผจู ดั ยาชุดไมม ีความรเู ร่อื งยาอยางแทจริง และมักจะมุง ผลประโยชนเปนสําคัญ ดังนั้น ผูใ ชยาชดุ จึงมโี อกาสไดรบั อันตรายจากยาสงู มาก อันตรายจากการใชยาชดุ 1. ไดรับตัวยาซ้ําซอน ทําใหไดรับตัวยาเกินขนาด เชน ในยาชุดแกปวดเมื่อย ในยาชุดหน่ึงๆ อาจมยี าแกปวด 2-3 เม็ด กไ็ ด ซึ่งยาแกป วดน้จี ะอยใู นรปู แบบตางกัน อาจเปนยาคนละสีหรือขนาดเม็ดยา ไมเทากัน แตมีตวั ยาแกป วดเหมอื นกัน การทไี่ ดรับยาเกินขนาดทําใหผ ูใ ชยาไดร บั พิษจากยาเพิ่มข้นึ 2. ไดร บั ยาเกนิ ความจําเปน เชน ในยาชุดแกหวัดจะมียาแกปวดลดไข ยาปฏิชีวนะยาลดน้ํามูก ยาทาํ ใหจมูกโลง ยาแกไอ แตจริงๆ แลว ยาปฏิชีวนะจะใชรักษาไมไดในอาการหวัดที่เกิดจากเช้ือไวรัส และอาการหวัดของแตละคนไมเ หมอื นกัน ถาไมปวดหัวเปน ไข ยาแกป วด ลดไขไ มจําเปน ไมมีอาการไอ ไมควรใชยาแกไ อ การรกั ษาหวดั ควรใชบ รรเทาเฉพาะอาการท่ีเกิดขึ้นเทาน้ันไมจําเปนตองกินยาทุกชนิดที่ อยใู นยาชดุ 3. ในยาชุดมักมียาเส่ือมคุณภาพ หรือยาปลอมผสมอยู การเก็บรักษายาชุดที่อยูในซองพลาสติก จะไมสามารถกันความชื้น ความรอน หรือแสงไดดีเทากับท่ีอยูในขวดที่บริษัทเดิมผลิตมา ทําใหยาเส่ือม คุณภาพเรว็ นอกจากนนั้ ผูจ ัดยาบางชดุ บางรายตองการกาํ ไรมากจึงเอายาปลอมมาขายดว ย ซึง่ เปนอนั ตรายมาก 4. ในยาชดุ มักใสย าอนั ตรายมากๆ ลงไปดว ย เพ่อื ใหอาการของโรคบรรเทาลงอยา งรวดเร็ว เปน ที่พอใจของผูซ อื้ ทัง้ ผขู ายโดยทย่ี าจะไปบรรเทาอาการแตไมไดแกสาเหตุของโรคอยางแทจริง อาจทําให โรคเปนมากขึน้ ยาท่ีมีอันตรายสูงมากและจัดอยูในยาชุดเกือบทุกชนิด คือ ยาสเตียรอยด หรือที่เรียกวายา ครอบจกั รวาล นิยมใสในยาชุด เพราะมีฤทธ์ิบรรเทาอาการไดมากมายหลายอยาง ทําใหอาการของโรค ทเุ ลาลงเรว็ แตจะไมรักษาโรคใหห าย ยาสเตียรอยด เชน เพรดนิโซโลน เดกซาเมธาโซน ทําใหเกดิ อนั ตราย ตอผูใชสูงมากทําใหเกิดอาการบวมนํ้า ความดันโลหิตสูง หัวใจทํางานหนัก หนาบวม กลมเหมือน พระจันทร ทําใหกระดูกพรนุ เปราะหกั งา ย กระเพาะอาหารเปนแผล ความตานทานโรคลดลงและทําให เกดิ ความผดิ ปกติดานประสาทจิตใจ 5. ผทู ใ่ี ชยาชดุ จะไดยาไมค รบขนาดรกั ษาทพ่ี บบอ ยคอื การไดร ับยาปฏชิ วี นะเพราะการใชย า ปฏิชีวนะตองกนิ อยา งนอย 3-5 วนั วนั ละ 2-4 ครัง้ แลว แตชนดิ ของยา แตผซู อ้ื ยาชุดจะกนิ ยาเพียง 3-4 ชุด โดยอาจกนิ หมดในหนงึ่ วนั หรือกนิ วันละชดุ ซ่งึ ทําใหไ ดร บั ยาไมครบขนาด โรคไมหายและกลับดอ้ื ยา อกี ดว ย

99 การใชย าชุดจึงทําใหเ สียคณุ ภาพ การใชย าไมถ กู โรค ทําใหโ รคไมหายเปน มากขน้ึ ผปู วยเสี่ยง อนั ตรายจากการใชย าโดยไมจ ําเปนสิน้ เปลืองเงนิ ทองในการรักษา 2. ยาดองเหลา และยาเลือด หลายคนอาจเคยเห็นและเคยรับประทานยาชนดิ นี้มาบางแลว แตเดิมยากลมุ นจี้ ะใชใ นกลุมสตรี เพ่ือบํารงุ เลอื ด ระดูไมป กติ และใชในกลุมสตรีหลังการคลอดบุตร เพ่ือใชแทนการอยูไฟ สวนประกอบ ของตัวยาจะมีสมนุ ไพรทีม่ รี สเผ็ดรอ นหลายชนดิ เชน รากเจตมูลเพลิงแดง กระเทียม พริกไทย เทียนขาว เปลือกอบเชยเทศ ขิง และสวนผสมอ่ืนๆ แลวแตชนิดของตํารับ มีขายทั้งที่เปนช้ินสวนสมุนไพรและท่ี ผลิตสาํ เรจ็ รูปเปนยาผงและยาน้าํ ขาย สวนใหญย าในกลุมนยี้ ากท่จี ะระบถุ ึงสรรพคณุ ท่แี ทจรงิ เน่ืองจากยัง ขาดขอมูล ผลของการทดลองทางคลินิกเทาท่ีทราบมีเพียงสวนประกอบของตัวยาซึ่งสวนใหญเปนสาร นํ้ามันหอมระเหยและสารเผ็ดรอนหลายชนิด เม่ือรับประทานเขาสูรางกายจะรูสึกรอน กระตุนการ ไหลเวยี นโลหิต สมุนไพรหลายชนิดในตํารับ เชน เจตมูลเพลิงแดง และกระเทียม มีรายงานวาสามารถ กระตุนการบบี ตวั ของกลา มเน้ือมดลูก และมีรายงานการทดลองในหนูเพศเมยี เมื่อไดรับยาจะทาํ ใหล ดการ ต้ังครรภได จงึ เปน ขอ ทคี่ วรระวังในผูท่ตี ้ังครรภไ มควรรับประทานยากลุมน้ีอาจทําใหแทงได และหลาย ตํารับจะมีการดองเหลาดวย เม่ือรับประทานทําใหเจริญอาหารและอวนข้ึน การอวนมักเกิดจาก แอลกอฮอล (เหลา ) ทไ่ี ปลดการสรางพลังงานท่ีเกิดจากกรดไขมัน (Fatty acid) จึงมีการสะสมของไขมัน ในรางกาย และอาจเกดิ ตบั แขง็ ไดถ ารบั ประทานในปรมิ าณมาก ๆ และติดตอ กนั ทุกวัน นอกจากนี้การดื่ม เหลา อาจทําใหเด็กทารกท่อี ยูในครรภเ กิดการพกิ ารได ในเรื่องยาเลือดนี้อาจมีความเชื่อและใชกันผิดๆ คือ การนํายาเลือดสมุนไพรไปใชเปนยาทําแทง ซึ่งเปนสิ่งท่ีไมควรอยางยิ่งโดยเฉพาะเมื่อการตั้งครรภเกิน 1 เดอื น เนอ่ื งจากไมค อยไดผล และผลจากการกระตุน การบีบตัวและระคายเคืองตอผนังมดลูกที่เกิดจาก การใหย าอาจทาํ ใหเ กิดการทําลายของเยื่อบุผนังมดลูกบางสวนเปนเหตุใหทารกเกิดมาพกิ ารได 3. ยาชงสมนุ ไพร การใชย าสมุนไพรเปนทีน่ ยิ มกันในหลายประเทศ ท้ังทางประเทศยุโรปและเอเชียในประเทศ ไทยปจจุบันพบมาก มีการเพิ่มจํานวนชนิดของสมุนไพรมาทําเปนยาชงมากข้ึน เชน ยาชงดอกคําฝอย หญา หนวดแมว หญา ดอกขาว เปนตน ขอดขี องยาชงคอื มักจะใชส มนุ ไพรเดี่ยวๆ เพียงชนดิ เดยี ว เมอ่ื ใชก นิ แลวเกดิ อาการอันไม พึงประสงคอยางไรกต็ ามสามารถรูวาเกิดจากสมนุ ไพรชนิดใดตางกับตํารายาผสมท่เี ราไมส ามารถรูไดเลย ในตา งประเทศมรี ายงานเรอื่ งความเปน พิษทีเ่ กดิ จากยาชงสมนุ ไพรท่ีมขี ายในทอ งตลาดกนั มาก และเกดิ ได หลายอาการ สําหรับประเทศไทย รายงานดา นนยี้ ังไมพ บมากนัก เนือ่ งจากสวนใหญมีการเลือกใชสมุนไพร ทคี่ อ นขา งปลอดภัย แตท คี่ วรระวังมีชาสมนุ ไพรทีม่ สี วนผสมของใบหรอื ฝกมะขามแขก ใชประโยชนเ ปน ยาระบายทอง บางยห่ี อระบเุ ปนยาลดความอวนหรอื รบั ประทานแลว จะทาํ ใหห นุ เพรียวข้ึน อาการที่เกดิ คือ สาเหตจุ ากมะขามแขกซงึ่ เปน สารกลุมแอนทราควิโนน (Antharquinone) จะไปกระตุนการบีบตวั ของ

100 ลําไสใ หญ ทาํ ใหเกดิ การขบั ถาย การรับประทานบอยๆ จะทําใหรางกายไดรับการกระตุนจนเคยชิน เม่ือ หยดุ รับประทานรางกายจึงไมส ามารถขับถา ยไดเ องตามปกติ มีอาการทองผูกตองกลับมาใชยาระบายอีก เรื่อย ๆ จงึ ไมค วรใชยาชนิดน้ีติดตอกันนานๆ และหากจําเปนควรเลือกยาที่ไปเพ่ิมปริมาณกากและชวย หลอ ล่นื อุจจาระโดยไมดูดซึมเขาสูรางกาย เชน สารสกัดจากหัวบุกจะปลอดภัยกวา แตการรับประทาน ตดิ ตอ กนั นาน ๆ อาจทําใหร างกายไดร บั ไขมันนอ ยกวา ความตองการก็ได เพราะรา งกายเราตองการไขมัน ตอการดํารงชีพดวย สารกลมุ แอนทราควิโนน

101 บทที่ 7 ผลกระทบจากสารเสพตดิ สาระระสาํ คัญ มีความรู ความเขาใจ สามารถวเิ คราะหป ญ หา สาเหตแุ ละผลกระทบจากการแพรระบาดของ สารเสพติดได มีสว นรว มในการปองกันส่ิงเสพตดิ ในชมุ ชน และเผยแพรความรูดา นกฎหมายทเ่ี ก่ยี วของ กับสารเสพติดแกผูอ ่ืนได ผลการเรยี นรูท ี่คาดหวัง 1. วเิ คราะหปญ หา สาเหตุ และผลกระทบจากการแพรร ะบาดของสารเสพติดได 2. ปฏิบตั ิตนในการหลกี เลยี่ งและมคี วามรวมมอื ในการปอ งกนั ส่ิงเสพติดในชุมชน 3. เผยแพรค วามรูดา นกฎหมายทเี่ กย่ี วขอ งกับส่งิ เสพตดิ แกผ อู ่นื ได ขอบขายเนอื้ หา เรอื่ งท่ี 1 ปญ หาการแพรระบาดของสารเสพติดในปจ จุบนั เร่ืองท่ี 2 แนวทางการปอ งกนั การแพรระบาดของสารเสพตดิ เรือ่ งที่ 3 กฎหมายทเ่ี ก่ียวของกับสารเสพติด

102 เรื่องท่ี 1 ปญหาการแพรร ะบาดของสารเสพติดในปจจุบนั ปจจบุ ันปญ หาการแพรระบาดของสารเสพติดนับวา รุนแรงมากยงิ่ ขน้ึ โดยเฉพาะในกลุมเด็กและ เยาวชน จากสถิติของกระทรวงสาธารณสุข พบวา จํานวนผูเสพและผูติดยาเสพติดในกลุมเด็กนักเรียน เพม่ิ มากขนึ้ จนหนา เปน หวง ซง่ึ การท่เี ด็กวัยเรยี นมีการเสพตดิ ยอมสงผลกระทบตอสุขภาพ สติปญญาและ สมาธิในการเรียนรูทําใหคุณภาพประชากรลดลง เปนปญหาตอการพัฒนาประเทศ และการแขงขันใน ระดบั โลกตอ ไปในอนาคต ทง้ั นจี้ งึ ควรปอ งกันและแกปญ หาอยา งเรงดวนทั้งในครอบครวั โรงเรียน ชุมชน และประเทศ ปจจุบันมีส่ิงเสพติดอยูมากมายหลายประเภท ซึ่งออกฤทธิ์ตอรางกายในลักษณะตาง ๆ กัน แบงไดเปน 3 ประเภท ดังนี้ 1. ประเภทออกฤทธ์กิ ดประสาท ส่งิ เสพตดิ ประเภทน้ีจะทาํ ใหสมองอยูในสภาวะมนึ งง มกี ารงวงซึม ไดแ ก ฝน มอรฟ น เฮโรอนี และจาํ พวกยานอนหลบั ยากลอมประสาท เชน เหลา แหง เปน ตน 2. ประเภทออกฤทธ์ิกระตุนประสาท ส่ิงเสพติดประเภทนี้จะทําใหเกิดต่ืนเตน ประสาท ถูกกระตุน ไมใหมีอาการงวงหรือหลับใน เชน ยาบา ยาขยัน โคเคน ยามา แอมเฟตามีน กาแฟ และสาร คาเฟอีน บุหร่ี กระทอ ม และยาลดความอว น เปนตน 3. ประเภทออกฤทธิห์ ลอนประสาท สิง่ เสพตดิ ประเภทนีจ้ ะทาํ ใหเกิดประสาทหลอน ภาพลวงตา หแู วว หวาดกลัวโดยไมม สี าเหตุ อาจทาํ อันตรายตอตนเองและผูอ่ืน เชน แอล เอส ดี กวาวซีเมนต กัญชา ไอระเหยของเบนซนิ ทินเนอร กาวตา ง ๆ ฯลฯ นอกจากนี้ ปจจุบันไดมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบของสารเสพติดออกมามากมาย ทั้งท่ีเปนเม็ด เปนน้ํา และผสมในเคร่ืองดื่ม ขนม หรืออาหารประเภทตางๆ ซ่ึงยากที่จะติดตามตรวจสอบ จึงนับวาเปน อนั ตรายตอ เด็ก และเยาวชนเปนอยางย่งิ 1.1 สาเหตขุ องการตดิ สารเสพติด ปญ หาการตดิ สารเสพตดิ มสี าเหตจุ ากสามปจจยั ตอไปนี้ 1. ปจจยั ภายในตวั บุคคล ไดแ ก วัยของบคุ คล มกั พบวา ผเู สพยาสว นใหญจะเร่มิ ตน ในชว งอายุเขา สวู ัยรุน กําลังอยูใน วยั คะนอง อยากลอง อยากรู อยากเห็นในสง่ิ ทแ่ี ปลกใหม - ความรู เจตคติ และความคิดเกยี่ วกับสารเสพตดิ ความรนุ แรง เชน เชื่อวา การใชก าํ ลัง หรอื ใชคาํ พดู รุนแรงทําใหค นอน่ื เชอ่ื ฟง ทาํ ตาม การตลี กู ทําใหลกู ไดด ี ผมู ศี กั ดิศ์ รีใครมาหยามตอ งตอสูกัน ใหแพชนะ ฯลฯ - ขาดทักษะที่จําเปนในการอยูรวมกับผูอ่ืน เชน ทักษะการสื่อสาร การจัดการกับ อารมณแ ละความเครยี ด การจดั การกับความโกรธ การแสดงออกท่ีเหมาะสม เปน ตน - การใชยาเสพติดและเครื่องดื่มแอลกอฮอล ทําใหคนขาดสติยับยั้ง ควบคุมตัวเอง ไมได

103 - เคยเห็นการกระทํารุนแรงหรือเคยเห็นเหย่ือกระทํารุนแรง เม่ือเกิดอารมณโกรธ ทําใหก อ ความรนุ แรงไดง าย 2. ปจจัยจากการเลย้ี งดูของครอบครวั - ขาดความรัก ความเขาใจ และการสนับสนุนจากครอบครัว เชน เม่ือมีปญหาขาด ผูใหญคอยดูแลใหค ําแนะนําชว ยเหลอื เปนตน - เตบิ โตในบานท่ีใชความรุนแรง ทําใหเ หน็ แบบอยา ง และคิดวา ความรนุ แรงเปน เรื่อง ปกติในสงั คม - การถกู ลงโทษและเปน เดก็ ที่เคยถูกทําราย - มีพอ แมหรอื พนี่ อ งทม่ี พี ฤติกรรมเกีย่ วขอ งกับอาชญากรรม 3. ปจ จยั จากสภาพแวดลอ ม - ความไมเ ทาเทียมกนั ทางสงั คม เศรษฐกจิ สังคมเมือง และความแออัดทําใหค น แขง ขนั สูง และเกิดความเครียด - การเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิ อยางรวดเร็ว และมีการวา งงานสงู ในกลุมประชากร อายุนอ ย - อิทธพิ ลจากสอ่ื เชน ภาพยนตร โทรทศั น หนงั สือพมิ พ ทแี่ สดงภาพความรนุ แรง ตางๆ - มาตรฐานทางสังคมทส่ี นับสนนุ พฤตกิ รรมความรุนแรง เชน การทค่ี นมีพฤตกิ รรม ความรุนแรงไมไดรับการลงโทษ ความรนุ แรงเปน เร่ืองปกติในสังคม - อยูในพน้ื ท่ที ่สี ามารถหายาเสพตดิ ไดงาย 1.2 โทษ ภัย และผลกระทบของสารเสพตดิ โทษและภัยอันเกดิ จากการใชสารเสพตดิ นอกจากจะมีผลโดยตรง กอใหเกิดตอรางกายและ จิตใจของผเู สพเองแลว ยังกอ ใหเ กดิ ผลกระทบตอระบบครอบครัว ระบบสังคม และประเทศชาติ ดังนี้ 1. โทษและภยั ตอ ตัวผูเ สพ ฤทธ์ขิ องสารเสพตดิ จะมีผลตอระบบประสาทและระบบอวัยวะตางๆ ของรา งกาย ตลอดจนจิตใจของผูท ่เี สพเสมอ ดังน้ัน จะพบวา สุขภาพรางกายของผูท่ีเสพยาจะทรุดโทรม ท้ังรายกายและจิตใจ เชน มีรูปรางผอม ซูบซีด ผิวคล้ํา ไมมีแรง ออนเพลียงาย สมองเสื่อมและความจํา สบั สน เปนโรคติดเช้ืออ่ืน ๆ ไดงาย เชน โรคตับอักเสบ ไตอักเสบ โรคระบบทางเดินหายใจ โรคหัวใจ โรคมะเร็ง ภูมิตานทานในรางกายจะลดลง มีสภาวะทางจิตใจไมปกติ สภาพจิตใจเส่ือมลง อารมณ แปรปรวนงา ย ซึมเศรา วติ กกังวล ความรูสึกฟุงซาน ซ่ึงจากผลรายทเี่ กดิ ข้ึนดงั กลาว จะผลกั ดันใหผ เู สพ ยาเสพติดเปนบุคคลที่ไรสมรรถภาพทั้งรางกายและจิตใจในการดําเนินชีวิตในสังคม ขาดความเชื่อม่ัน สญู เสียบุคลิกภาพ ไมสนใจตนเอง ไมส นใจการงานหรือการเรียน และผเู สพบางรายอาจประสบอุบัติเหตุ ถงึ ขั้นพกิ าร เชน พลัดตกจากท่ีสูงขณะทํางาน หกลม อันเนื่องมาจากฤทธิ์ของยาเสพติดท่ีมีผลตอระบบ ประสาทและสมอง

104 2. โทษและภยั ตอครอบครัว การตดิ สารเสพติดนอกจากจะทาํ ใหเ ส่ือมเสียชื่อเสียงของตนเอง และครอบครัวแลว ยังทําใหผูเสพกลายเปนบุคคลที่ขาดความรับผิดชอบตอครอบครัวไมหวงใยดูแล ครอบครวั ทาํ ใหค รอบครัวขาดความอบอุน ตองสญู เสียเศรษฐกิจและรายไดของครอบครัว เนื่องจากตอง นาํ เงนิ มาซื้อสารเสพติด บางรายอาจตอ งสูญเสียเงินจาํ นวนไมนอยเพ่ือรักษาตนเองจากโรครายแรงตาง ๆ อันเกิดจากการใชสารเสพติด กลายเปนภาระของครอบครัวในท่ีสุด อีกท้ังนําไปสูปญหาครอบครัว เกดิ การทะเลาะวิวาทกันบอ ยๆ เกิดความแตกแยกภายในครอบครัว เปน ตน 3. โทษและภยั ตอ สงั คมและเศรษฐกิจ ผูที่เสพสารเสพติด นอกจากจะเปนผูที่มีความรูสึกวา ตนเองดอยโอกาสทางสังคมแลว ยังอาจมีความคิดหรือพฤติกรรมท่ีนําไปสูปญหาสังคมสวนรวมได เชน กอ ใหเ กดิ ปญ หาอาชญากรรม เชน ปลน จ้ี ทาํ รา ยรา งกายผอู ืน่ เพ่ือชิงทรพั ย ปญ หาอุบตั เิ หตุ เชน รถชน หรือตกจากที่สูง และปญหาโรคเอดส เปนตน นับวาเปนการสูญเสียทรัพยากรบุคคลอันมีคา ตลอดจน ทรพั ยสนิ ของตนเองและสวนรวมอยางไรประโยชน ทําใหเปนภาระของสังคมสวนรวม ในการจัดสรร บคุ ลากร แรงงาน และงบประมาณในการปราบปรามและบาํ บดั รกั ษาผูตดิ สารเสพติดในทส่ี ดุ 4. โทษและภัยตอประเทศชาติ ผูท่ีเสพสารเสพติดและตกเปนทาสของสารเสพติดอาจกลาว ไดวา เปนผทู บ่ี อ นทาํ ลายเศรษฐกิจและความม่นั คงของชาติ เน่อื งจากผูท ีเ่ สพสารเสพติดทําใหรัฐบาลตอง สูญเสยี กําลังคมและงบประมาณแผนดินจํานวนมหาศาล เพื่อใชจายในการปราบปรามและบําบัดรักษา ผูติดสารเสพติด ทําใหตองสูญเสียทรัพยากรบุคคลอันมีคา เกิดความไมสงบสุขของบานเมือง ทําให เศรษฐกิจทรุด บ่ันทอนความมั่นคงของประเทศชาติ ตองสูญเสียกําลังสําคัญของชาติอยางนาเสียดาย โดยเฉพาะถา ผูทเี่ สพสารเสพตดิ เปนเยาวชน

105 เร่ืองที่ 2 แนวทางการปองกันการแพรร ะบาดของสารเสพตดิ ปญ หายาเสพติดเกดิ ขึน้ ไดเ พราะมีสถานการณสองอยางประกอบกัน คือ มีผูตองการใชยาอยูใน สังคม (Demand) กับมียาเพื่อตอบสนองความตองการของผูใช (Supply) ซ่ึงองคประกอบทั้งสองน้ี ตางฝายตางสงเสริมสนับสนุนซ่ึงกันและกันแบบลูกโซ ดังนั้น การแกไขปญหายาเสพติด จึงตอง ดาํ เนนิ การกับองคป ระกอบท้ังสองอยางไปพรอม ๆ กัน คือ จะตองลดปริมาณความตองการยาเสพติดลง ในขณะเดยี วกนั ก็จะตองลดปรมิ าณของยาเสพตดิ ในตลาดดวย ในทางปฏิบัติระหวางมาตรการสองอยางนี้ ดูเหมือนวา มาตรการลดความตองการจะไดรับความสนใจนอยกวา เพราะคนสวนใหญจะนึกถึงการลด ปริมาณยาในตลาดเสียมากกวา ปญหายาเสพติด คือ ปญ หาท่เี กิดจากการใชยาเสพติดหรือใชย าในทางที่ผิดซึ่งเปนปญหาพฤติกรรม ของมนุษยอันเนื่องมาจากความคาดหวังที่จะไดรับประโยชนจากฤทธิ์ของยาหรือจากความคิดท่ีจะอาศัย ฤทธ์ิยาเปนที่พึ่งในสถานการณตางๆ องคประกอบสําคัญของปญหาคือ ยากับคนเปนองคประกอบหลัก โดยมีแรงจงู ใจใหใชยากบั โอกาสที่เอ้อื ตอ การใชย าเปน องคประกอบเสริมถาองคประกอบอยางใดอยางหนึ่ง ขาดไปปญหายาเสพติดจะไมเกิดข้ึน มีแตคนแตไมมียา หรือมีแตยาแตไมมีคนใชยาปญหาก็จะไมเกิด หรือมคี นมยี าแตไมม แี รงจูงใจใหคนเอายามาใช ปญ หาก็จะไมเ กดิ หรือแมจ ะมีแรงจูงใจใหใ ชยา มีคนที่อยาก ใชย า และมยี าใหใ ช แตไมม โี อกาสจะใช เชน สถานที่ไมเหมาะสม ไมมีอุปกรณ มีตํารวจตรวจตราเขมงวด หรอื อยใู นสายตาพอแม ครอู าจารยการใชยาจะเกดิ ขึน้ ไมได ปญ หายาเสพตดิ ก็จะไมเ กิด ดงั น้ัน การปองกนั ปญหายาเสพติด ไดแก การปอ งกนั พฤตกิ รรมการใชยาของมนษุ ยท่เี กดิ จากการ คดิ พ่งึ ยาและหวงั ผลจากฤทธย์ิ านน้ั เอง ซึ่งบุคคลในขายท่ตี อ งปองกันไมใหทําพฤติกรรมใชยาเสพติดอาจ แบงออกเปน 3 กลุมดว ยกัน คือ 1. กลุม ท่ยี งั ไมเ คยใชยาและยงั ไมเรมิ่ ใชย า 2. กลมุ ทีเ่ คยใชยา ซ่ึงจาํ แนกออกไดเปนพวกทเ่ี คยลองใชแลวเลิก พวกที่ใชเ ปนคร้ังคราว พวกท่ีใชบอย ๆ เปนประจาํ แตย ังไมถ ึงขั้นตดิ ยา และพวกตดิ ยาใชยาแลว 3. กลุม ที่ใชยาเปนประจําหรอื ตดิ ยาท่ีผานการบาํ บัดรกั ษาและเลิกใชย าตดิ ยามาแลว เนือ่ งจากบุคคลทัง้ สามกลมุ ท่ีกลาวมานีม้ ีโอกาสที่จะเปน ผูใชยา และตดิ ยาในอนาคตได เชนเดียวกัน กิจกรรมของขายงานปองกันจึงจําเปนตองครอบคลุมบุคคลทั้งสามกลุม โดยที่ผูดําเนินงานปองกัน เปาหมายแตละกลุมจะตองกําหนดมาตรการและวิธีการใชแตกตางกันออกไป เพ่ือใหเหมาะสมกับ ลักษณะเฉพาะของเปา หมายแตล ะกลุม ลกั ษณะงานดา นปอ งกัน (Prevention) จึงมี 3 ระดับดวยกัน คือ 1. การปองกนั ขนั้ พื้นฐาน (Primary Prevention) 2. การปองกนั ขัน้ ท่สี อง (Secondary Prevention) 3. การปองกันข้ันท่สี าม (Tertiary Prevention)

106 1. การปอ งกันข้ันพ้ืนฐาน (Primary Prevention) การปอ งกันพืน้ ฐานหรือบางคนเรียกวาการปอ งกันเบ้อื งตน หมายถึง การดําเนินการใด ๆ เพอ่ื สรางภูมิคุมกนั ใหเ ยาวชนปดประตูท่ีจะนําไปสูการใชยาเสพติดอยางถาวร ใหเยาวชนตัดสินใจดวย ตนเองทีจ่ ะไมใชย าเสพตดิ ไมค ิดจะเสยี่ ง ทดลอง เปน การมุง ปอ งกนั คนสว นใหญของแผนดนิ ไมใหเขาไป หายาเสพตดิ เปนการปองกันอยา งถาวร งานปองกันขนั้ พืน้ ฐานจงึ นบั เปนงานท่มี ีความสําคัญท่ีสุด และเปนกุญแจสําคัญนําไปสู ความสําเร็จของการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดของชาติ แตในขณะเดียวกันเปนงานท่ีมีความ สลบั ซบั ซอนทําไดย าก เพราะเปน งานท่เี กีย่ วของกับการวางรากฐานใหกับคนสวนใหญของประเทศ ซึ่ง ตองเร่ิมปลูกฝงตั้งแตยังเยาววัยตอเนื่องกันไปจนพนวัยเรียน โดยอาศัยความรวมมือจากหลายฝายให ชว ยกันทาํ 2. การปองกันขนั้ ทสี่ อง (Secondary Prevention) การปองกันขั้นที่สองนี้ใชกันในความหมายที่แบงเปน 2 นัย นัยหน่ึง หมายถึง การปองกนั โดยทางออ ม ซึ่งหมายถงึ การกระทําใด ๆ ท่เี ปน การขดั ขวางไมใ หยาเขาไปสูคน โดยมีจุดหมาย ทเ่ี ร่ิมจากตัวยาเสพตดิ ท่ีเปน ปญ หาหลัก ซ่ึงตรงกนั ขา มกบั การปอ งกนั ขั้นพนื้ ฐานทมี่ งุ ปองกนั ไมใหค นเขา ไปหายา ดว ยการมองภาพทคี่ นเปนจดุ ต้ังตน ดังน้ัน การปองกันข้ันท่ีสอง ตามความหมายนี้จึงครอบคลุมถึงงานเกี่ยวกับ การปราบปราม ยดึ อายดั เผาทาํ ลายยาเสพติด การสกดั ก้นั การตรวจเขม การตรวจปสสาวะหาสารเสพติด การสง เจา หนา ทต่ี ํารวจเขา ไปประจําทาํ การสอดแนมในโรงเรยี น รวมถงึ มาตรการตรวจจับ จําแนก เพอ่ื แยกผใู ชย าเสพตดิ ไปรับการบําบัดรกั ษาฟน ฟู หรอื ปองกันไมใหผตู ิดยาสามารถเผยแพรยาเสพตดิ ไปสู ผไู มใ ชเ สพติดดวย ส ว น อี ก นั ย ห นึ่ ง เ ป น ค ว า ม ห ม า ย ที่ มั ก ใ ช กั น ใ น ว ง ก า ร ข อ ง ผู มี อ า ชี พ แ น ะ แ น ว ในความหมายของการดําเนนิ การชวยเหลือใหผูที่เคยลองใชยาเสพติด หรือผูที่ใชยาเสพติดชนิดใดชนิด หน่ึงเปนคร้ังคราวหรือใชบ อ ยๆ แตย ังไมติดยา ใหป รบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมเลิกใช เลิกเก่ียวขอ งกับยาเสพติด ชนิดน้ันๆ เปนมาตรการแยกคนออกจากยา หรือดึงคนติดยาออกจากยาเสพติดดวยมาตรการแนะแนว ใหคาํ ปรึกษาและจิตเวชบําบัด เปนการปองกันท่ีเนนการสกัดกั้นเพื่อหยุดย้ังพฤติกรรมการใชยาเสพติด ของกลุมผูทใี่ ชยาเสพตดิ หรือมีประสบการณเ กี่ยวขอ งกับยาเสพติดมาแลว 3. การปอ งกันขน้ั ที่สาม (Tertiary Prevention) การปอ งกันขั้นทสี่ าม คือ การปอ งกนั การตดิ ซ้าํ (Relapse) เปน มาตรการทใี่ ชสาํ หรับผตู ดิ ยาเสพติดที่ไดรบั การบาํ บดั รกั ษาดว ยการถอนพษิ ยาแลว ไมใ หกลบั ไปตดิ ยาซาํ้ ใหมอ ีก เปน มาตรการเสริม ท่ีสนับสนนุ มาตรการทางการแพทย เพ่ือใหผูปวยที่ไดร บั การรักษาใหห ายขาดจากยาแลว อยูอยางปลอดภัย จากยาเสพตดิ ไดย าวนานข้ึนกอ นทีจ่ ะหวนกลบั ไปติดยาอีก

107 การปอ งกนั ขนั้ ท่สี ามจะอาศัยมาตรการทุกชนิดทีม่ ุง ใหผูตดิ ยาหายจากอาการตดิ ยาทางจิต ดวยมาตรการฟน ฟจู ิตใจ (Rehabilitation) ดว ยวธิ จี ติ เวชบาํ บดั (Psychological therapy) การใหค าํ ปรกึ ษา (Social counseling) กลมุ บาํ บัด (Group therapy) และนันทนาการบําบดั (Recreational therapy) เปน ตน การปอ งกนั ผตู ดิ ยาเสพตดิ ทบี่ ําบัดแลวไมใหกลับไปติดยาใหมอีก ถือเปนสวนหน่ึงของ งานดานการปองกันท่ีมุงลดความตองการยาลงดวยการสกัดก้ันไมใหกลับไปใชยาอีก ซึ่งจะเปนการ ปอ งกนั ไมใ หพ วกเขานํายาไปเผยแพรตอ ใหค นอนื่ ไดดว ย โดยสรปุ แลว การปองกนั ข้นั พื้นฐาน น้นั เปน การปองกันมิใหมีการทดลองใชยา การใช ยาในทางทผี่ ดิ หรือมใิ หมีผูเ สพตดิ รายใหมๆ เกิดขึ้น การปองกันข้ันที่สองเปนการเรงรีบนําผูท่ีติดยาแลว ไปบําบัดรกั ษา และการที่จะทําการปอ งกันการเสพติดไดอยา งมีประสิทธิภาพน้ันจาํ เปนตองมีความเขาใจ ในสาเหตแุ ละองคประกอบของปญหาการเสพติดเสียกอน องคประกอบที่ทําใหเกิดการติดยาน้ัน ไดแก คน ยา และปจจัยท่ีเอื้ออํานวยใหมีการติดยา การวางแผนแกไขและปองกัน จึงจําตองศึกษาหาสาเหตุ เฉพาะและใหการปองกันใหตรงกับสาเหตุหลัก ดังนั้น การปองกันการเสพติดที่เจาะจงถึงสาเหตุน้ัน มแี นวทาง 3 แนวทาง ไดแก 1. การปองกันในวงกวาง เปนการปองกันโดยเนนเปาหมายที่สังคมโดยท่ัวไปมุงสราง สังคมใหต ระหนักถงึ พิษและภยั ของยา ลดความตองการของสังคม และลดการตอบสนองของยาเสพติด ซึ่งการดําเนินงานมีหลายรูปแบบ เชน การพัฒนาสุขภาพ การสรางเสริมศีลธรรม การใชกฎหมาย การพัฒนาสงั คม ฯลฯ กลวธิ ีของการปองกนั ในแนวกวาง ไดแก 1.1 การใหการศึกษาในการถายทอดความรู เพื่อใหเกิดการเรียนรูทักษะและ ประสบการณใ นการสรา งคณุ ภาพชีวติ และการไมพงึ่ พายาเสพตดิ โดยเนนถึงการพัฒนาตนเองและจิตใจ ใหมีความเช่ือมนั่ วา ตนเองมีคุณคา สรา งสุขนสิ ยั และฝก ทกั ษะในการประกอบอาชีพ 1.2 การใหขอ มูลและขาวสาร เปน การใหขอ มลู และขา วสารทถ่ี ูกตอ งของปญ หา ยาเสพติด เพือ่ ใหชุมชนไดว เิ คราะห เลอื กขอมลู และตดั สนิ ใจดว ยตนเองในการนําไปใชใหเกิดประโยชน ตอ ตนเอง 1.3 การจัดกิจกรรมทางเลือก ดวยการสงเสริมและสนับสนุนใหเกิดกิจกรรมตาง ๆ ทเี่ หมาะสมกบั พน้ื ฐานของบุคคลและชมุ ชน เพื่อเปนทางเลอื กในการใชเ วลาชวยเบีย่ งเบนความสนใจจาก พฤติกรรมทีไ่ มเ หมาะสมและเปน การชว ยพัฒนาท้ังรา งกายและจิตใจ 2. การปองกันในวงแคบ มุงเนนเฉพาะบุคคลบางกลุม หรือชุมชนบางแหงท่ีเส่ียงตอ ปญหาการเสพติด กลวิธใี นการดําเนินงาน การปองกันในวงแคบ ไดแ ก 2.1 การฝกอบรม เปนการฝกอบรมแกกลุมแกนนําและกลุมประชาชนใหมีความรู ดานการปองกนั การเสพติด การใชย าในทางที่ถกู โดยมีจดุ ประสงคใ หก ลุม แกนนําประยุกตความรูนั้นไป ปฏบิ ตั ใิ นชมุ ชนใหส อดคลอ งกบั สภาพของทองถิ่น สวนกลุมประชาชนน้ันใหมีความรูและมีพฤติกรรม ตอ ตา นการเสพตดิ โดยตรง

108 2.2 การรณรงค เปนการเผยแพรขาวสารโดยการระดมสื่อตาง ๆ ภายใตขอบเขตท่ี กาํ หนดไว ใหป ระชาชนเกิดการตื่นตวั ตระหนกั ถงึ ปญหาและเขา มามสี วนรวมในการแกปญหา 2.3 การปฏบิ ตั กิ ารทางสังคม เปนวิธีการที่หวังผลของการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว เชน ขจัดแหลงม่ัวสุม กวาดลา งแหลง ผลิต ฯลฯ 3. การปอ งกนั กรณีพิเศษ เปนการปองกันท่ีเนนในวงแคบที่สุด โดยเปาหมายอยูท่ีผูคา ผูติดยาเสพติด หรอื ผทู ีม่ ีความเสย่ี งสูง และครอบครัว เชน บคุ คลท่ีกาํ ลงั เผชิญกับปญ หาของตนเอง บุคคล ทีค่ รอบครวั แตกแยก ผตู ดิ ยาที่ผา นการถอนพิษยามาแลว กลวธิ ีในการปอ งกนั ในกรณพี เิ ศษน้ี ไดแก 3.1 การวเิ คราะหปญหา เพ่ือใหผ ูติดยาไดท ราบเกี่ยวกับพฤติกรรมและปญหาของตน ในการตดิ ยา 3.2 การใหคาํ ปรกึ ษาแนะนาํ เปน การใหแ นวทางปฏิบัติสําหรับเลือกปฏิบัติในกรณีท่ี เกิดปญ หาเพือ่ หลกี เลีย่ งการใชยาเสพติด 3.3 การใหคําปรึกษาแกครอบครัว เพ่ือลดความกดดันในครอบครัวลงและให แนวปฏิบัติแกค รอบครวั ของผูติดยาเสพติดหรอื ผทู ี่มีความเสีย่ งสูงเพอื่ ลดปญ หาของตนเอง 3.4 การใหสุขศึกษา เปนการใหความรูเรื่องยาและสุขภาพอยางถูกตอง เพื่อปองกัน การกลับไปใชย าในทางที่ผดิ อกี 3.5 การใหกําลังใจ เพื่อเพ่ิมกําลังใจใหแกผูติดยาในขณะที่กําลังเผชิญปญหาท่ีอาจ นาํ ไปใชใ นทางที่ผดิ อีก 3.6 การฝก อาชีพ เพื่อเปน แนวทางในการดํารงชีวิตตามความสามารถและความถนัด ของตนเปนการลดความกดดนั ดานเศรษฐกจิ และใชเ วลาวา งใหเ ปนประโยชน กลวธิ ที ุกอยา งสามารถนาํ ไปปฏบิ ัตพิ รอ มๆ กนั ไดหลายกลวิธไี มวา จะเปน การปองกัน ในระดบั ไหน หรอื มีวตั ถปุ ระสงคเพ่อื ปอ งกนั มิใหเกดิ การใชย าในทางที่ผดิ หรือปองกันการติดซ้ําซ่ึงเปน หัวใจสําคัญของการปองกันและแกปญหาการติดสารเสพติด ทุกฝายท่ีเกี่ยวของควรเขามามีสวนรวม ดําเนินการอยางจรงิ จงั เรอ่ื งที่ 3 กฎหมายทเี่ กี่ยวของกบั สารเสพติด “ยาเสพตดิ เปน ภัยตอ ชวี ิต เปนพษิ ตอสงั คม” เปน คาํ กลา วทแ่ี สดงถึงภาพของยาเสพตดิ เปนอยา งดี ในปจ จุบันปญ หาเรื่องยาเสพตดิ เปนปญ หาทท่ี ุกชาตใิ หค วามสําคัญเปนอยางมากในการปอ งกนั และ ปราบปรามและถอื วาเปน ความผดิ สากลซงึ่ แตละชาติสามารถจับกุมและลงโทษผกู ระทาํ ความผิดเกยี่ วกบั ยาเสพตดิ ไดท นั ที กฎหมายเกีย่ วกับยาเสพติดไดใหค วามหมายของคาํ วา ยาเสพติดไวดังน้ี “สารเคมีหรือวัตถุชนิดใด ๆ ซึ่งเมื่อเสพเขาสูรางกายไมวาจะโดยรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือดวยประการใด ๆ แลวทําใหเกิดผลตอ รางกายและจิตใจในลักษณะสําคัญ เชน ตองเพ่ิมขนาดการเสพข้ึนเปนลําดับ มีอาการถอนยาเมื่อขาดยา

109 มีความตองการเสพทง้ั ทางรางกายและจติ ใจอยางรุนแรงตลอดเวลา และสุขภาพโดยทว่ั ไปจะทรุดโทรมลง รวมถึงพืชหรือสวนของพืชท่ีเปนหรือใหผลผลิตเปนยาเสพติดใหโทษ หรืออาจใชผลิตเปนยาเสพติด ใหโ ทษและสารเคมีทีใ่ ชในการผลิตยาเสพติดใหโทษดวย” จากความหมายของยาเสพติดทําใหทราบวา อะไรบา งท่ีเขาลักษณะของยาเสพติด พืชอาจเปนยาเสพติดได ถาเสพแลวเกิดผลตอรางกายและจิตใจจน ขาดไมได มใิ ชเฉพาะแตเ ฮโรอนี ซ่ึงเปน สงิ่ สงั เคราะหเทาน้ันทเี่ ปนยาเสพติดใหโทษ ประเภทของยาเสพตดิ และบทลงโทษตามกฎหมาย ตามกฎหมายไดแบง ประเภทของยาเสพติดใหโทษแบงออกเปน 5 ประเภท ประเภท 1 ยาเสพติดใหโทษชนดิ รา ยแรง เชน เฮโรอีน ฝน เปนตน หา มมใิ หผ ูใด ผลติ จําหนา ย นําเขา สงออก หรือมไี วในครอบครอง ซึ่งยาเสพติดใหโทษประเภท 1 เวน แตเพอื่ ประโยชนทางราชการตามท่ี รมต.ฯ อนญุ าตเปน หนงั สอื เฉพาะราย ผูฝ าฝน ระวางโทษตั้งแต 1 ปถ งึ ประหารชีวิต แลวแตจํานวนยาเสพตดิ ทจี่ ําหนายหรือมีไวใ นครอบครอง ประเภท 2 ยาเสพตดิ ใหโทษทว่ั ไป เชน มอรฟ น กฎหมายหามมิใหผูใดผลิต นําเขา หรือสงออก ซ่ึงยาเสพติดใหโทษประเภท 2 แตสามารถ จาํ หนายหรอื มีไวใ นครอบครองไดเมอ่ื ไดรับอนญุ าตจากเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยาหรือผูซ่ึง ไดรบั มอบหมายหรือสาธารณสขุ จังหวดั สาํ หรับการมีไวในครอบครองท่ีไมเกินจํานวนท่ีจําเปนสําหรับ ใชรักษาโรคเฉพาะตัว โดยมีหนังสือรับรองของผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมไมตองขออนุญาต ผูฝาฝน ระวางโทษจาํ คกุ ไมเ กิน 5 ป ถึงจาํ คุกตลอดชีวติ แลว แตความหนกั เบาของความผดิ ประเภท 3 ยาเสพติดใหโทษที่มียาเสพติดประเภท 2 เปนสวนผสมอยูดวย เชน ยาแกไอผสม โคเคอีน เปน ตน กฎหมายหามมิใหผูใดผลิต นําเขา หรือสงออก ซ่ึงยาเสพติดใหโทษประเภท 3 เวนแตไดรับ อนุญาต ซึ่งตองเปนรานคาที่ไดรับอนุญาตใหผลิต ขายนําหรือสงเขาในราชอาณาจักรประเภทยาแผน ปจจบุ นั และมเี ภสัชกรประจําตลอดเวลาทีเ่ ปด ทาํ การ ผฝู า ฝนระวางโทษจําคุกไมเกิน 1 ป ถงึ จาํ คกุ ไมเกิน 3 ป ประเภท 4 สารเคมีที่ใชในการผลิตยาเสพตดิ ใหโทษประเภท 1 หรือประเภท 2 กฎหมายหามมิใหผูใดผลิต นําเขา หรือสงออกหรือมีไวในครอบครอง ซึ่งยาเสพติดใหโทษ ประเภท 4 เวน แตร ัฐมนตรีอนญุ าต ผฝู า ฝนระวางโทษจาํ คุกตั้งแต 1 ป – 10 ป ประเภท 5 ยาเสพติดใหโ ทษท่มี ิไดเขาอยใู นประเภท 1 ถึงประเภท 4 เชน กญั ชา พืชกระทอ มเปนตน กฎหมายมิใหผูใดผลิต จําหนาย นําเขา สงออก หรือมีไวในครอบครอง ซ่ึงยาเสพติดใหโทษ ประเภท 5 เวนแตร ฐั มนตรอี นญุ าต ผฝู าฝนระวางโทษจําคกุ ตงั้ แต 2 ป – 15 ป

110 บทลงโทษเก่ยี วกบั สารระเหย ตามพระราชกําหนดปอ งกนั การใชส ารระเหย พ.ศ. 2533 กาํ หนด มาตรการควบคุมไมใหนําสาร ระเหยมาใชใ นทางทผ่ี ดิ ไวหลายประการและกาํ หนดใหผ ูฝาฝนไมป ฏิบัตติ ามมาตรการดงั กลาว มคี วามผิด และตองรบั โทษ ซึ่งมรี ายละเอียดดังน้ี 1. กาํ หนดใหผูผ ลิต ผนู าํ เขา หรือผูขายสารระเหย ตองจัดใหมีภาพหรือขอความที่ภาชนะบรรจุ หรือหบี หอบรรจุสารระเหย เพอ่ื เปนการเตือนใหระวังการใชส ารระเหยดังกลา ว ผฝู า ฝนตองรับโทษจาํ คุก ไมเกนิ สองปหรือปรบั ไมเกนิ สองหมื่นบาท หรอื ทง้ั จําท้ังปรับ 2. หามไมใหผูใดขายสารระเหยแกผูที่มีอายุต่ํากวาสิบแปดปบริบูรณ เวนแตเปนการขายโดย สถานศึกษาเพ่อื ใชในการเรียนการสอน ผฝู าฝน ตอ งรับโทษจาํ คุกไมเ กนิ หนึง่ ป หรือปรับไมเ กนิ หนึ่งหม่ืน บาท หรือท้งั จําทงั้ ปรบั 3. หา มไมใ หผใู ดขาย จัดหา หรือใหสารระเหยแกผูอื่นซึ่งตนรูหรือควรรูวาเปนผูติดสารระเหย ผูฝ า ฝนตอ งรับโทษจําคกุ ไมเกนิ สองป หรือปรบั ไมเกนิ สองหมื่นบาท หรือท้งั จาํ ท้งั ปรบั 4. หามไมใหผูใดจูงใจ ชักนํา ยุยงสงเสริม หรือใชอุบายหลอกลวงใหบุคคลอื่นใชสารระเหย บาํ บัดความตองการของรางกายหรือจิตใจ ผูฝาฝนตองรับโทษจําคุกไมเกินสองป หรือปรับไมเกินสอง หม่นื บาท หรอื ทง้ั จาํ ท้งั ปรับ 5. หามไมใ หผูใ ดใชสารระเหยบําบัดความตอ งการของรา งกายหรอื จิตใจ ไมวาโดยวิธีสูดดมวิธี อื่นใด ผูฝา ฝน ตอ งรับโทษจําคกุ ไมเ กินสองปหรอื ปรบั ไมเกนิ สองหมน่ื บาท หรือทง้ั จําทงั้ ปรับ พงึ ระลกึ เสมอวา การเสพติดสารระเหย นอกจากจะเปนโทษตอรางกายแลว ยังเปนการกระทําที่ ผิดกฎหมายดวย ทง้ั น้ี กฎหมายทีเ่ กยี่ วของกบั ยาเสพตดิ ท่มี กี ารออกพระราชบญั ญตั แิ ละระเบยี บตางๆ ใชกันอยูใน ปจ จุบนั มหี ลายฉบับ ซ่งึ สามารถจัดเปนกลมุ ๆ ได คือ 1. กฎหมายทเ่ี กย่ี วกับตวั ยา ไดแ ก 1.1 พระราชบัญญตั ิยาเสพตดิ ใหโทษ พ.ศ. 2522 1.2 พระราชบญั ญตั ิยาเสพตดิ ใหโ ทษ (ฉบบั ท่ี 5) พ.ศ. 2545 1.3 พระราชบญั ญตั ิวัตถทุ ่อี อกฤทธิ์ตอ จติ และประสาท พ.ศ. 2528 แกไขเพม่ิ เตมิ พ.ศ. 2535 1.4 พระราชกําหนดปองกันการใชสารระเหย พ.ศ. 2533 1.5 พระราชบญั ญัตคิ วบคุมโภคภณั ฑ พ.ศ. 2495 2. กฎหมายทเี่ ก่ียวกับมาตรการ ไดแ ก 2.1 พระราชบัญญตั ิปอ งกนั และปราบปรามยาเสพติด พ.ศ.2519 2.2 พระราชบญั ญัติปองกันและปราบปรามยาเสพตดิ (ฉบบั ที่ 4) พ.ศ.2545 2.3 พระราชบัญญัตฟิ น ฟสู มรรภาพผตู ดิ ยาเสพติด พ.ศ.2545

111 ประชาชน นักเรียน นักศึกษาจึงควรศึกษาทําความเขาใจถึงขอกําหนดการกระทําผิดและ บทลงโทษท่ีเกย่ี วกบั ยาเสพติด เพ่ือหลีกเล่ียงการกระทําผิดพรอมทั้งควรแนะนําเผยแพรความรูดังกลาว แกเพื่อน สมาชิกในครอบครัว และประชาชนในชุมชน ใหตระหนักถึงโทษภัยของยาเสพติด รวมท้ัง รวมกนั รณรงคปองกนั การแพรระบาดสูเด็กและเยาวชนในชุมชน ตอ ไป ทัง้ น้ี การกระทําความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดไมวาจะกระทําในหรือนอกประเทศตองรับโทษใน ประเทศ ซง่ึ ถา รับโทษจากตา งประเทศมาแลว ศาลอาจลดหยอนโทษใหต ามสมควรและตามที่กลาวไวใน ตอนตน ถงึ ความจริงจังในการปอ งกันและปราบปรามยาเสพติด จึงมีการกําหนดใหการกระทําบางอยาง ตองรบั โทษหนักกวากฎหมายอื่น เชน กําหนดโทษใหผูพยายามกระทําความผิดตองระวางโทษเสมือน กระทาํ ความผดิ สําเรจ็ ซึ่งตามกฎหมายอาญาผูพ ยายามกระทาํ ความผิดจะรับโทษเพียง 2 ใน 3 ของโทษมี กาํ หนดสาํ หรับความผิดน้ันเทานั้น นอกจากน้ีผูสนับสนุน ชวยเหลือ ใหความสะดวกผูกระทําความผิด ตองระวางโทษเชนเดยี วกบั ผกู ระทําความผิด และทรัพยสินทีไ่ ดม าจากการกระทําความผดิ จะตองถูกศาล ส่ังริบ นอกจากพิสูจนไดวาทรัพยสินน้ันไมเก่ียวของกับการกระทําความผิด และในเรื่องการสืบทราบ การกระทําผิดเจาหนาทม่ี ีอํานาจเรียกบุคคลใดใหถ อ ยคําสงบัญชีเอกสารหรือหลักฐานใด ๆ ประกอบการ พิจารณาและมอี าํ นาจเขา ไปในเคหสถานเมือ่ ตรวจคนหลักฐานในกรณีมเี หตุอนั ควรสงสัยวามีการกระทํา ความผิดเกีย่ วกับยาเสพติด เม่อื ตรวจสอบและพบหลักฐานการกระทาํ ความผดิ เกย่ี วกับยาเสพติดเจาหนาท่ี มีอํานาจจับกุมและสอบสวนผูกระทําผิดและทําสํานวนฟองศาลตอไปตามกระบวนพิจารณาของศาล ซึ่งโทษท่ีจะไดรับสําหรับผูกระทําความผิดจะเปนโทษท่ีหนักเน่ืองจากความผิดเก่ียวกับยาเสพติดเปน ความผดิ รายแรงทแี่ ตละชาติไดใ หความสําคัญตามทีก่ ลาวไวในขางตน

112 บทท่ี 8 ทกั ษะชวี ิตเพ่ือสุขภาพจิต สาระสําคญั มีความรู ความเขา ใจ เกยี่ วกบั ความสาํ คัญของทักษะชีวิตทั้ง 10 ประการ และสามารถนําความรู ไปประยกุ ตใ ชในชวี ติ ประจาํ วันในการทาํ งาน การแกปญหาชีวิตครอบครัวของตนเองไดอยางเหมาะสม ตลอดจนสามารถนํากระบวนการทักษะชวี ิตไปใชในการแกปญ หาแกครอบครวั ผอู น่ื ได ผลการเรียนรูทีค่ าดหวงั 1. สามารถบอกถงึ ความหมาย ความสําคัญของทกั ษะชีวติ ไดอ ยางถูกตอง 2. สามารถอธบิ ายถงึ ทกั ษะชีวิตท่จี ําเปนในชวี ติ 3 ประการไดอ ยา งถูกตอง ขอบขายเนือ้ หา เรอ่ื งท่ี 1 ความหมาย ความสาํ คัญของทักษะชีวิต เร่ืองที่ 2 ทกั ษะการตระหนกั ในการรตู น เรอื่ งที่ 3 ทักษะการจัดการกบั อารมณ เรือ่ งท่ี 4 ทกั ษะการจัดการความเครยี ด

113 เรือ่ งท่ี 1 ความหมาย ความสําคัญของทักษะชีวติ ความหมายของทกั ษะชีวติ คําวาทักษะ (Skill) หมายถึง ความจัดเจนและความชํานิชํานาญในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ซึ่งบุคคล สามารถสรางขึ้นไดจากการเรียนรู ไดแก ทักษะการอาชีพ การกีฬา การทํางานรวมกับผูอื่น การอาน การสอน การจัดการ ทักษะทางคณิตศาสตร ทักษะทางภาษา ทักษะทางการใชเทคโนโลยี ฯลฯ ซึ่งเปน ทักษะภายนอกทสี่ ามารถมองเหน็ ไดช ัดเจนจากการกระทํา หรือจากการปฏิบัติ ซึ่งทักษะดังกลาวนั้นเปน ทักษะที่จําเปนตอการดํารงชีวิตที่จะทําใหผูมีทักษะเหลาน้ันมีชีวิตที่ดี สามารถดํารงชีพอยูในสังคมได โดยมีโอกาสท่ีดีกวาผูไมมีทักษะดังกลาว ซ่ึงทักษะประเภทน้ีเรียกวา Livelihood Skill หรือ Skill for Living ซึ่งเปนคนละอยางกับทักษะชวี ติ ท่ีเรียกวา Life Skill ดงั นน้ั ทกั ษะชวี ติ หรือ Life Skill จึงหมายถึง คุณลักษณะหรือความสามารถเชิงสังคม จิตวิทยา (Psychosocial Competence) ที่เปนทักษะภายใน ท่ีจะชวยใหบุคคลสามารถเผชิญสถานการณตาง ๆ ทเ่ี กิดขึน้ ในชวี ติ ประจําวันไดอยางมีประสิทธิภาพ และเตรียมความพรอมสําหรับการปรับตัวในอนาคต ไมว าจะเปนเร่อื งการดูแลสขุ ภาพ เอดส ยาเสพติด ความปลอดภัย ส่งิ แวดลอม คุณธรรม จริยธรรม ฯลฯ เพอ่ื ใหส ามารถมีชวี ติ อยใู นสงั คมไดอยา งมคี วามสุขหรือจะกลา วงา ย ๆ ทกั ษะชีวิต ก็คือ ความสามารถใน การแกปญหาท่ีตองเผชิญในชีวิตประจําวัน เพ่ือใหอยูรอดปลอดภัยสามารถอยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางมี ความสุขและเตรียมพรอ มสําหรับการปรับตัวในอนาคต ความสําคญั ของทกั ษะชีวิต เน่ืองจากสังคมปจจุบันมีความซับซอนในการดําเนินชีวิต เนื่องจากมีการเปล่ียนแปลงอยาง รวดเร็วในดานเศรษฐกิจ สังคม ขาวสารขอมูล และเทคโนโลยี มีการแขงขันและความขัดแยงมากข้ึน บุคคลมีความจําเปนตองปรับตัวใหทันตอความเปลี่ยนแปลง มีความสามารถในการแขงขัน สามารถสู กระแสวิกฤติตาง ๆ ไดอยางมีเหตุมีผล รูจักนําเทคโนโลยีมาใชเพื่อพัฒนาตนและพัฒนาอาชีพ มีความ เขาใจสถานการณและมีวิจารณญาณในการเลือกรับเลือกปฏิเสธ มีความสามารถควบคุมอารมณและ บริหารความขดั แยง ท่ีเกดิ ขึ้นในวิถีชีวติ และมีคุณสมบัติที่พึงประสงคในการอยูรวมกับผูอื่น จึงจะอยูใน สังคมไดอยา งมีความสขุ ทักษะชีวติ ท่ีจําเปน ทกั ษะชวี ิตจะมคี วามแตกตางกันตามวัฒนธรรมและสถานท่ี อยางไรก็ตาม มีทักษะชีวิตอยูกลุม หนึง่ ที่ถอื เปน หัวใจสาํ คัญที่ทุกคนควรมี โดยองคก ารอนามยั โลกไดกําหนดไว ดังน้ี 1. ทักษะการตัดสินใจ (Decision Making) เปน ความสามารถในการตัดสินใจเก่ยี วกับเรื่องราวตาง ๆ ในชวี ติ ไดอยา งมรี ะบบ เชน ถา บคุ คลสามารถตดั สินใจเกีย่ วกบั การกระทําของตนเองทีเ่ กีย่ วกับพฤติกรรม

114 ดานสุขภาพ หรือความปลอดภัยในชีวิต โดยประเมินทางเลือกและผลที่ไดจากการตัดสินใจเลือกทางท่ี ถกู ตอ งเหมาะสม ก็จะมผี ลตอการมสี ุขภาพท่ีดที ง้ั รา งกายและจติ ใจ 2. ทักษะการแกปญหา (Problem Solving) เปน ความสามารถในการจัดการกบั ปญ หาท่เี กิดข้ึนใน ชวี ิตไดอยา งมรี ะบบไมเกดิ ความเครียดทางกายและจิตใจ จนอาจลกุ ลามเปนปญหาใหญโ ตเกนิ แกไข 3. ทักษะการคิดสรางสรรค (Creative Thinking) เปนความสามารถในการคิดทีจ่ ะเปนสวนชว ย ในการตัดสินใจและแกไขปญ หาโดยการคิดสรางสรรค เพื่อคนหาทางเลือกตาง ๆ รวมท้ังผลที่จะเกิดข้ึน ในแตล ะทางเลือก และสามารถนาํ ประสบการณม าปรับใชใ นชวี ติ ประจาํ วนั ไดอ ยางเหมาะสม 4. ทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห ขอ มูลตางๆ และประเมนิ ปญหาหรอื สถานการณท ีอ่ ยูรอบตัวเราท่ีมีผลตอการดาํ เนินชวี ิต 5. ทกั ษะการสื่อสารอยางมปี ระสิทธิภาพ (Effective Communication) เปนความสามารถในการ ใชคําพูดและทาทางเพื่อแสดงออกถึงความรูสึกนึกคิดของตนเองไดอยางเหมาะสมกับวัฒนธรรมและ สถานการณตาง ๆ ไมวาจะเปนการแสดงความคิดเห็น การแสดงความตองการ การแสดงความชื่นชม การขอรอง การเจรจาตอรอง การตักเตอื น การชว ยเหลอื การปฏเิ สธ ฯลฯ 6. ทกั ษะการสรางสมั พนั ธภาพระหวางบุคคล (Interpersonal Relationship) เปน ความสามารถใน การสรางความสัมพนั ธท่ดี ีระหวางกันและกัน และสามารถรักษาสมั พันธภาพไวไ ดย ืนยาว 7. ทักษะการตระหนักรใู นตน (Self Awareness) เปน ความสามารถในการคนหา รูจักและเขาใจ ตนเอง เชน รูขอดี ขอเสียของตนเอง รูความตองการและส่ิงท่ีไมตองการของตนเอง ซึ่งจะชวยใหเรารู ตัวเองเวลาเผชิญกบั ความเครียดหรือสถานการณต าง ๆ และทกั ษะนี้ยงั เปน พนื้ ฐานของการพฒั นาทกั ษะ อืน่ ๆ เชน การส่อื สาร การสรางสมั พนั ธภาพ การตดั สนิ ใจ ความเห็นอกเห็นใจผูอนื่ เปน ตน 8. ทกั ษะการเขา ใจและเหน็ ใจผูอ ื่น (Empathy) เปนความสามารถในการเขาใจความเหมือนหรือ ความแตกตา งระหวางบุคคล ในดานความสามารถ เพศ วัย ระดบั การศึกษา ศาสนา ความเช่ือ สีผิว อาชีพ ฯลฯ ชวยใหส ามารถยอมรบั บคุ คลอน่ื ที่ตางจากเรา เกิดการชว ยเหลอื บคุ คลอืน่ ท่ีดอ ยกวา หรือไดรับความ เดอื ดรอน เชน ผตู ดิ ยาเสพตดิ ผูต ดิ เชื้อเอดส เปน ตน 9. ทกั ษะการจัดการกับอารมณ (Coping with Emotion) เปนความสามารถในการรับรอู ารมณของ ตนเองและผูอ่นื รวู า อารมณมีผลตอ การแสดงพฤตกิ รรมอยางไร รวู ธิ กี ารจดั การกบั อารมณโกรธและความ เศราโศกที่สงผลทางลบตอรางกายและจติ ใจไดอ ยางเหมาะสม 10. ทักษะการจัดการกับความเครียด (Coping with Stress) เปนความสามารถในการรับรูถึง สาเหตุของความเครียด รูวิธผี อ นคลายความเครยี ด และแนวทางในการควบคุมระดับความเครียด เพ่ือให เกดิ การเบยี่ งเบนพฤติกรรมไปในทางทถ่ี กู ตองเหมาะสมและไมเ กิดปญหาดานสขุ ภาพ

115 กลวิธีในการสรา งทกั ษะชีวติ จากทักษะชวี ิตทจี่ าํ เปน 10 ประการ สามารถแบง ไดเ ปน 2 สว น ดงั นี้ 1. ทักษะชีวิตท่ัวไป คือ ความสามารถพ้ืนฐานที่ใชเผชิญปญหาปกติในชีวิตประจําวัน เชน ความเครียด สขุ ภาพ การคบเพือ่ น การปรบั ตัว ครอบครัวแตกแยก การบรโิ ภคอาหาร ฯลฯ 2. ทกั ษะชีวติ เฉพาะ คือ ความสามารถทจี่ าํ เปนในการเผชิญปญหาเฉพาะ เชน ยาเสพตดิ โรคเอดส ไฟไหม น้ําทวม การถูกลว งละเมดิ ทางเพศ ฯลฯ เรื่องที่ 2 ทกั ษะการตระหนกั ในการรูตน การรจู ักตนเอง เปน เรอื่ งใกลต วั ท่ดี ูเหมือนไมนาจะสําคัญอะไรท่ีเราจะตองมานั่งเรียนรูทําความ เขาใจ แตทวากลบั มาความสาํ คญั อยางย่งิ ยวด เปรยี บไดกับเสน ผมบงั ภูเขาทีท่ ําใหคนจํานวนมากท่ีแม มคี วามรูมากมายทว มหวั แตเ อาตัวไมรอด เนอ่ื งจากสงิ่ หนงึ่ ทีเ่ ขาไมร เู ลยนนั่ คอื การรูจักตวั ตนของเขา อยางถอ งแทนนั่ เอง ท้งั ๆ ที่ในความเปน จริงแลว การรจู ักตนเองนับเปนพน้ื ฐานสําคัญที่เราควรเรียนรูเปนอันดับแรก สดุ ในชีวิต เน่ืองจากการรูจ ักตนเองจะนาํ ไปสกู ารมเี ปาหมายท่ชี ัดเจนในการดาํ เนินชวี ติ เนอื่ งจากรวู าตนมี ความถนดั ความชอบ และความสามารถในดานใด ดังนั้น จึงรูวาตนควรจะเรียนอะไร ประกอบอาชีพอะไร ควรแสวงหาความรูอะไรเพิม่ เตมิ การรจู ักวิธเี ฉพาะตัวทีต่ นถนัดในการพฒั นาทกั ษะการเรียนรูในดานตางๆ ของตนเองใหเปนไป อยางมีประสิทธิภาพ อาทิ รูเทคนิคการเรียนหนังสือของตนวาควรใชวิธีใดจึงประสบผลสําเร็จ รูตัววา ความจาํ ไมด ี จงึ ตองใชว ธิ จี ดอยางละเอยี ดและทบทวนบทเรียนอยางสมาํ่ เสมอ เปน ตน จุดออ นในชีวติ ไดร บั การแกไขอยางทันทว งที อาทิ เมือ่ เรารูตัววาเปนคนใจรอ น เมอื่ มเี หตุการณที่ เรารูสาเหตหุ ากอยใู นสถานการณเชน น้ีอาจนําไปสูการใชความรุนแรงได ดังน้ัน เราจึงเลือกที่จะแยกตัว ออกมานงั่ สงบสติอารมณเพอื่ คิดหาวิธีการแกไ ขท่ีดีท่สี ดุ การพฒั นาทกั ษะการแกไ ขปญ หาทเ่ี กดิ ขึ้นในชีวติ อยา งมีประสิทธิภาพ เน่ืองจากรูวาปญหานั้นมี สาเหตมุ าจากตนหรอื ไม และรูวาตนเองควรปรบั อารมณเ ชนใด เม่ือยามเผชิญปญหาและควรหาวิธีการใด ทีเ่ หมาะสาํ หรบั ตนเองมากทส่ี ดุ ในการแกปญ หาใหล ุลว งไปไดดวยดี การคนพบความสุขท่ีแทจริงในสิ่งท่ีตนเลือกทํา เน่ืองจากรูวาอะไรท่ีทําแลวจะทําใหตนเองมี ความสขุ ได นาํ ไปสกู ารเรยี นรูและเขา ใจผอู ื่นไดม ากย่งิ ขน้ึ อนั เปน การลดปญหาความขัดแยงและนําไปสู มติ รภาพทดี่ ีตามมา ตรงกันขามกับผูท่ีไมรูจักตนเอง ซ่ึงมักใชชีวิตโดยปลอยไปตามกระแสสังคม เลียนแบบ ทําตามคนรอบขาง โดยขาดจุดยืนท่ีชัดเจน เชน แสวงหาความสุขในชีวิตดวยการไปเท่ียวเตรกับเพ่ือน เสพยาเสพติด การเลือกคณะท่ีจะสอบเขา มหาวิทยาลัยตามคา นิยมขณะนน้ั หรือเลือกตามเพื่อน สุดทายเขา จึงไมสามารถพบกับความสุขท่ีแทจริงในชีวิตไดและนําไปสูปญหามากมายตามมา นอกจากน้ี คนที่

116 ไมร ูจกั ตนเองยามเม่ือตองเผชิญหนากับปญหา โดยมากแลว มกั จะไมดวู า ปญ หาท่ีเกิดขึ้นน้ันมาจากตนเอง หรือไม แตมักโทษเหตกุ ารณห รือโทษผอู ่นื เอาไวกอน จงึ เปนการยากทจี่ ะแกปญ หาใหล ุลว งไปไดด วยดี ทักษะการรูจักตนเองจึงเปนทักษะสําคัญที่เราทุกคนตองเรียนรูและฝกฝน เนื่องจากการรูจัก ตนเองน้นั ไมไดเปน เรือ่ งท่ีนง่ั อยเู ฉยๆ แลว จะสามารถรูข น้ึ มาไดเ อง แตต องผา นกระบวนการบมเพาะผาน ประสบการณตา งๆ การลองผิดลองถูก ความผิดหวัง เจ็บปวด ความผิดพลาดลมเหลวตางๆ เพื่อที่จะตก เปนผลึกทางปญญาในการรูจักตนเอง รวมท้ังผานการปฏิสัมพันธกับบุคคลรอบขาง ซึ่งถือเปนกระจก สะทอนช้ันดีใหเ ราไดเรยี นรจู ักตนเอง โดยยิง่ รจู ักตนเองเร็วเทาไรยงิ่ เปนการไดเปรียบในการออกสตารท ไปสเู ปาหมายชวี ิตไดเ ร็วเทา นัน้ รวมทง้ั ยงั เปน รากฐานสําคญั ในการใชช วี ติ อยางมคี วามสุขและ ประสบความสาํ เรจ็ ทามกลางปญ หาและแรงกดดนั ตา ง ๆ การฝก ฝนทักษะการรจู กั ตนเองจึงควรเร่มิ ตั้งแตวัยเยาว โดยพอ แมเ ปนบคุ คลสําคัญแรกสุดในการ ชวยลูกคน หาตนเอง โดยเรมิ่ จากเปดโอกาสท่ีหลากหลาย พอแมควรสรางโอกาสที่หลากหลายในการให ลกู ไดเรยี นรูทดลองในสิ่งตาง ๆ ใหมากทสี่ ุด อาทิ การทํางานบาน กิจกรรมตาง ๆ ที่ลูกสนใจ โดยพอแม ทําหนาท่ีเปนผูสนับสนุน อํานวยความสะดวกในการใหลูกไดเรียนรูจากประสบการณตาง ๆ อยางไร กต็ าม กิจกรรมดังกลาวพอแมควรคัดกรองวาเปนกิจกรรมที่สรางสรรคและปลอดภัยสําหรับลูกหรือไม อาทิ การทาํ งานอาสาสมคั รตา ง ๆ การเขาคายอาสาพัฒนา การเขาคายกีฬา ไมใชตามใจลูกทุกเรื่อง เชน ลูกขอไปเก็บเก่ียวประสบการณจากแกงมอเตอรไซค หรือขอไปเที่ยวกลางคืนหาประสบการณทางเพศ เปนตน ซ่ึงเปนกิจกรรมท่ีไมสรางสรรคและอาจเกิดอันตรายกับลูกได ใหอิสระในความคิดและ การตดั สินใจ พอ แมไ มควรเปนนกั เผด็จการทคี่ อยบงการชวี ติ ลูกไปทุกเรื่อง อาทิ พอแมอยากเรียนแพทย แตสอบไมต ดิ จงึ ฝากความหวงั ไวกบั ลูก พยายามสรา งแรงกดดันและปลูกฝงความคิดใหลูกตองสอบเขา คณะแพทยใหได เพื่อทําความฝนของพอแมใหเปนจริง โดยไมคํานึงวาลูกจะชอบหรือมีความถนัด ในดานนี้หรือไม พอแมท่ีปรารถนาใหลูกรูจักตนเองจึงควรเปดโอกาสใหลูกไดสามารถตัดสินใจ ในการเลือกส่ิงตาง ๆ ไดดวยตัวเอง โดยพอแมทําหนาที่คอยชี้แนะอยูหาง ๆ ถึงขอดี ขอเสีย ประโยชน หรอื โทษ ท่ีลกู จะไดรับผานการตัดสินใจน้ัน ๆ ซึ่งหากพอแมเห็นวาการตัดสินใจของลูกเปนไปในทาง ที่ไมถูกตองและอาจจะนําไปสูอันตรายได พอแมสามารถใชอํานาจในการยับย้ังการกระทําดังกลาวได โดยช้แี จงถงึ เหตุผลใหลูกไดเขา ใจ เปนกระจกสะทอ นใหลูกเหน็ ตนเอง พอแมต อ งทําหนา ทเ่ี ปน กระจกเงา สะทอ นใหล กู ไดเ ห็นตนเองในมุมตา ง ๆ ทง้ั จดุ ออ น จุดแข็ง จุดดี จุดดอย โดยหลักการสําคัญ คือ ผิดจาก ความเปน จรงิ หรืออาจรูจ ักตนเองอยางผดิ ๆ ผา นคาํ พดู ของคนรอบขา ง เพ่อื นฝูง ครู อาจารย ซง่ึ อาจทําให ลูกมองตนเองดอยคา เกิดเปน ปมดอยในจิตใจ โดยมงี านวิจยั ยนื ยันวาหากพอแมปลอ ยใหลูกมีความเขาใจ ทีผ่ ดิ ๆ เกยี่ วกบั ตัวเองในเรอ่ื งตาง ๆ ท้ัง ๆ ท่ีไมไ ดเปนความจริง และหากไมมกี ารรีบปรับความเขา ใจ ท่ผี ดิ ๆ น้ันโดยเรว็ สง่ิ ท่ลี กู เขาใจเก่ียวกับตนเองผดิ ๆ น้ันจะกลับกลายเปน ความจริงในท่ีสดุ

117 ตัวอยางเชน ลกู อาจโดนครทู ี่โรงเรยี นตอ วา เร่ืองผลการสอบวิชาคณติ ศาสตรท ่ีลูกสอบตก วาเปน เด็กไมฉ ลาด ทั้ง ๆ ท่ีพอแมเ ห็นลูกพยายามอยางเต็มที่แลวในวิชานี้ ในกรณีดังกลาวพอแมควรทําหนาที่ เปนกระจกสะทอนใหลูกเห็นในมมุ ทถ่ี กู ตองและใหกําลงั ใจวาลูกมีจุดแข็งที่พอแมภาคภูมิใจในเร่ืองของ ความตง้ั ใจจรงิ ความขยันหมัน่ เพยี ร แตอ ยา งไรก็ตามทีผ่ ลการเรียนออกมาเชนนี้อาจเพราะลูกไมถนัดใน วชิ าดงั กลาว และใหลูกพยายามตอไปอยา ทอถอย อยางไรก็ตามหากพอ แมไ มม กี ารปรับความเขาใจในการ มองตนเองของลูกในเรื่องน้ี ลูกจะตอกยํ้าตัวเองเสมอวาเปนคนหัวทึบ และเขาจะไมมีวันประสบ ความสําเร็จในชีวิตการเรียนไดเลย กระตุกใหลูกไดคิดวิเคราะหตนเอง โดยการหม่ันสังเกตพฤติกรรม อารมณข องลกู ในสภาวะตาง ๆ หรือจากเหตุการณตาง ๆ และเร่ิมตั้งคําถามกับลูกเม่ือการเรียนรูตนเอง แทนการโทษผูอื่น หรอื โทษสถานการณ ตวั อยา งเชน เมอ่ื ลูกทําขอสอบไดคะแนนไมดี แลวโทษวาเพราะครสู อนไมร เู รื่อง หรืออางวายังมี เพอื่ นท่ีเรยี นแยก วาเขาอีก พอแมควรกระตุนใหลูกไดคิดวาเราไมควรไปเปรียบเทียบกับผูที่เรียนแยกวา หรือโทษวาครูสอนไมรูเร่ือง พรอมกับใหลูกวิเคราะหตัวเองถึงจุดออนจุดแข็ง เชน ลูกมีจุดออนเร่ือง ระเบียบวนิ ัย การบริหารเวลาในการอานหนังสือหรือไม เพราะท่ีผานมาพอแมไมเห็นวาลูกจะตั้งใจอาน หนังสือหรือทบทวนบทเรียนเลย แตมาเรงอานตอนใกลสอบ ดังนั้น ในการสอบคร้ังตอไปลูกตองวาง แผนการเรยี นใหดแี ละขยนั ใหมากกวานี้ เปน ตน การสอนและเตือนสติ พอแมเ ปนผูท ่เี ห็นชีวติ ของลูกใกลชิดที่สุด และมีความสามารถในการเขา ใจความเปน ตวั ตนของเขามากทีส่ ุด ซึ่งในความเปนเด็กลกู เองยงั ไมส ามารถท่ีจะแยกแยะทําความรูจักกับ พฤตกิ รรมหรืออารมณต าง ๆ ที่ตนแสดงออกมาได โดยพฤติกรรมบางอยางของลูกหากพอแมปลอยปละ ละเลยไมส ง่ั สอนเตือนสติแตเ นิน่ ๆ พฤติกรรมนัน้ ๆ อาจบม เพาะเปนนิสัยแย ๆ ที่ติดตัวลูกไปจนโต และ ยิ่งโตย่ิงแกย าก เขา ทํานองไมออนดัดงายไมแกดัดยาก ดังน้ัน พอแมจึงตองส่ังสอนและเตือนสติลูกทันที ในพฤติกรรมที่ไมพ ึงประสงคต าง ๆ พรอ มชีใ้ หล กู เหน็ ถงึ ความรา ยแรงและหาแนวทางแกไขรว มกนั ตัวอยางเชน พอแมเห็นวาลูกมีอุปนิสัยเปนคนเจาอารมณ โกรธงาย พอแมควรพูดคุยกับลูก ถึงจุดออ นขอน้วี าจะสง ผลเสียอยางไรกบั ชีวติ ของเขาในระยะยาว พรอมทั้งหาวิธกี ารรว มกันในการฝกฝน ใหลูกรูเทาทันอารมณของตน ไมตอบสนองตอเหตุการณตาง ๆ อยางผิด ๆ โดยใชอารมณความรูสึก นําหนา อาทิ สอนใหลูกหลีกเลี่ยงตอสถานการณที่มากระตุนอารมณโกรธ สอนลูกใหตอบสนองอยาง ถูกตองเม่ือโกรธ โดยการเดินไปหาท่ีเงียบ ๆ สงบสติอารมณกอนแลวคอยมาพูดคุยกัน ทาทายลูกให ทําลายสถิติตนเองใหโกรธชาลง เชน แตเดิมเมื่อพบเหตุการณท่ีไมสบอารมณจะโกรธขึ้นมาทันที ครั้ง ตอไปควรฝก ใหโกรธชา ลง เปน ตน การเรียนรูจกั ตนเองอยา งถองแท นับเปนกระบวนการเรียนรูที่สําคัญมากยิ่งกวาการเรียนรูใด ๆ การเรียนรูจกั ตนเองเปน กระบวนการเรยี นรูระยะยาวตลอดทัง้ ชีวติ อันนํามาซ่ึงความสุขและเปนรากฐาน ของความสําเรจ็ ในชวี ติ โดยพอแมเ ปน บคุ คลสาํ คัญ ผูเปดโอกาสใหล ูกไดเรยี นรูจ ักตนเองและเปนกระจก บานแรกทสี่ ะทอนใหลกู ไดเห็นอยา งถูกตอ งวา ตวั ตนทีแ่ ทจ ริงของเขานนั้ เปน เชน ไร

118 เรอ่ื งที่ 3 ทักษะการจดั การกับอารมณ อารมณเปนพลังที่ทรงอํานาจอยางหน่ึงของมนุษย อารมณอาจเปนตนเหตุของสงคราม อาชญากรรม ความขัดแยงเรื่องเชื้อชาติ และความขัดแยงอื่น ๆ อีกหลายชนิดระหวางมนุษยดวยกัน ในทางตรงกันขามอารมณเปนนํ้าทิพยของชีวิต ทําใหทุกส่ิงทุกอยางสวยงามและนาอภิรมย ความรัก ความสนุกสนาน ความเพลิดเพลิน ความพอใจ หรือความตลกขบขัน ลวนแตทําใหชีวิตมีคุณคาและ ความหมายทงั้ สิน้ อารมณมีความสําคัญเชนเดียวกับการจูงใจดังไดกลาวแลว อารมณ คือ หลายส่ิงหลายอยาง ในทศั นะหนึง่ อารมณ คือ สภาวะของรา งกายซึง่ ถูกยัว่ ยุ จนเกดิ มีการเปลีย่ นแปลงทางสรีระวิทยาหลาย ๆ อยาง เชน ใจสน่ั ชพี จรตน เร็ว การหายใจเร็วและแรงข้ึน หนาแดง เปนตน ในอีกทัศนะหน่ึง อารมณ คือ ความรสู ึก ซงึ่ เกดิ ขน้ึ เพยี งบางสวนจากสภาวะของรางกายท่ถี กู ยัว่ ยุ อาจเปน ความรสู ึกพอใจหรือไมพ อใจ กไ็ ด อามรณย งั เปนส่ิงท่ีคนเราแสดงออกมาดว ยนํ้าเสยี ง คาํ พดู สหี นา หรอื ทา ทาง วิธจี ัดการกบั อารมณ 1. มองโลกในแงด ี เม่อื เรามคี วามคดิ ทีท่ าํ ใหซมึ เศรา เชน “ฉันทําวิชาคณิตศาสตรไมได” ใหคิด ใหมวา “ถาฉันไดรบั ความชวยเหลอื ท่ถี ูกตองฉันกจ็ ะทําได” แลวไปหาครู ครูพิเศษ หรือใหเพ่ือนชวยติว ให 2. หาสมุดบันทึกสักเลมไวเขียนกอนเขานอนทุกวัน ในสมุดบันทึกเลมนี้ หามเขียนเร่ืองไมดี จงเขียนแตเรือ่ งดี ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในวนั น้นั ตอนแรกอาจจะยากหนอย แตใหเขียน เชน มีคนแปลกหนายิ้มให ถาไดล องตงั้ ใจทาํ มันจะเปล่ียนความคิดใหเ รามองหาแตเร่ืองดี ๆ จากการศึกษาพบวา คนทค่ี ดิ ฆา ตัวตายมี อาการดขี ึน้ หลงั จากเรม่ิ เขยี นบันทกึ เรื่องดี ๆ ไดเพียงสองสปั ดาห 3. ใชเวลาอยกู บั คนทีท่ ําใหเ ธอหัวเราะได 4. ใสใ จกบั ความรสู กึ ของตนเองในเวลาแตล ะชวงวัน การตระหนกั รถู ึงอารมณของตัวเองจะทํา ใหเ ราจับคงู านที่เราตอ งทํากับระดับพลงั งานในตัวไดอยา งเหมาะสม เชน ถา เรารูสึกดีท่ีสุดตอนเชา แสดง วา ตอนเชา คอื เวลาจัดการกับงานเครียด ๆ เชน ไปเจอเพ่อื นที่ทาํ รา ยจติ ใจเรา หรือคุยกับครูที่เราคิดวาให

119 เกรดเราผดิ ถา ปกติเราหมดแรงตอนบา ย ใหเกบ็ เวลาชวงนนั้ เอาไวทํากิจกรรมทไี่ มต อ งใชพ ลังทางอารมณ มาก เชน อา นหนงั สอื หรืออยูก ับเพ่อื น อยาทําอะไรเครยี ดๆ เวลาเหนอ่ื ยหรอื เครียด 5. สังเกตอารมณตัวเองในเวลาชวงตาง ๆ ของเดือน ผูหญิงบางคนพบวา ชวงเวลาที่ตัวเอง อารมณไ มดีสัมพนั ธก ับรอบเดอื น 6. ออกกาํ ลังกาย การออกกําลังกายชวยใหเราแข็งแรงท้ังรางกายและจิตใจ การออกกําลังกาย อยา งนอ ยแควันละ 20 นาที สามารถทําใหรูสึกสงบและมีความสุขได การออกกําลังกายจะชวยเพ่ิมการ ผลติ เอนดอรฟนของรา งกายดว ย เอนดอรฟนเปนสารเคมใี นรา งกายท่ีทาํ ใหเกดิ ความรสู กึ ดแี ละมีความสุข ตามธรรมชาติ โดยไมตองพงึ่ ยาเสพตดิ 7. รจู ักไตรต รอง แยกแยะ 8. ฟง เพลง งานวิจัยชนิ้ หนง่ึ พบวา จงั หวะของเสยี งเพลงชว ยจัดระเบียบความคิดและความรูสึก มนั่ คงภายในจิตใจ และชว ยลดความตึงเครียดของกลามเน้อื 9. โทรหาเพื่อน การขอความชว ยเหลือทําใหคนเรารสู ึกผกู พนั กบั คนอื่นและรสู ึกโดดเด่ยี วนอ ยลง 10. การโอบกอดชวยใหรางกายหล่ังฮอรโมนที่ทําใหรูสึกดีออกมา ซึ่งจะชวยใหเรารับมือกับ อารมณไ ด อยูทา มกลางคนทมี่ คี วามสุข อารมณดเี ปน โรคตดิ ตอ แนวทางในการจัดการกบั อารมณทางเพศของวัยรุน การจดั การกับอารมณท างเพศของวยั รนุ มแี นวทางการปฏบิ ตั ิทส่ี าํ คญั อยู 2 ลกั ษณะ ประกอบดวย แนวทางการปฏิบตั ิเพ่ือระงับอารมณท างเพศ และแนวทางการปฏบิ ัติเพ่ือผอนคลายความตอ งการทางเพศ แนวทางการปฏบิ ตั เิ พอื่ ระงับอารมณทางเพศ แนวทางการปฏบิ ัตเิ พอ่ื ระงับอารมณทางเพศ หมายถึง ความพยายามในการที่จะหลีกเลี่ยงตอส่ิง เราภายนอกท่มี ากระตุนใหเ กิดอารมณท างเพศท่เี พม่ิ มากขน้ึ 1. หลกี เล่ียงการดหู นังสอื หรือภาพยนตรห รอื สอื่ Internet ท่ีมีภาพหรอื ขอ ความที่แสดงออกทาง เพศ ซ่งึ เปน การยวั่ ยใุ หเกิดอารมณท างเพศ 2. หลกี เลี่ยงการปฏิบัติหรือทําตัวปลอยวางใหความสบายเกินไป เชน การนอนเลน ๆ โดยไม หลับ การน่ังฝนกลางวนั หรอื น่งั จินตนาการที่เกย่ี วขอ งกับเรื่องเพศ 3. หลีกเล่ียงสถานการณท่กี อใหเ กดิ โอกาสการถกู สมั ผัสในลกั ษณะตาง ๆ กบั เพศตรงขาม 4. ซ่งึ การกระทําดังกลา วมักกอใหเ กิดอารมณท างเพศได เชน การจบั มอื ถอื แขน (10%) การกอด จูบ (60%) การลบู คลาํ (80%) การเลาโลม (100%) 5. หลีกเลีย่ งและรจู ักปฏเิ สธเมอ่ื ถูกชกั ชวนใหเ ที่ยวเตรพกั ผอ นในแนวทางกระตุน ใหเกดิ อารมณ ทางเพศ เชน สถานทีท่ องเทย่ี วกลางคืน การดม่ื แอลกอฮอล เคร่ืองด่ืมมึนเมาตาง ๆ ซ่ึงสามารถนําพาไปสู การเกดิ อารมณทางเพศได

120 เร่ืองที่ 4 ทักษะการจดั การความเครยี ด ความเครียดคือ การหดตัวของกลามเน้ือสวนใดสวนหน่ึงหรือหลายสวนของรางกายน่ันเอง ซงึ่ ทุกคนจําเปนตองมีอยูเสมอในการดํารงชีวิต เชน การทรงตัวเคลื่อนไหวทั่ว ๆ ไป มีการศึกษาพบวา ทุกคร้ังที่เราคิดหรือมีอารมณบางอยางเกิดข้ึนจะตองมีการหดตัว เคล่ือนไหวของกลามเนื้อแหงใด แหง หน่งึ ในรา งกายเกิดข้นึ ควบคูเ สมอ ความเครียดมีท้ังประโยชนและโทษ แตความเครียดที่เปนโทษน้ัน เปนความเครียดชนิดที่เกิน ความจําเปน แทนทีจ่ ะเปนประโยชนกลับกลายเปนอุปสรรคและอันตรายตอชีวิต เมื่อคนเราอยูในภาวะ ตงึ เครียดรางกายจะเกดิ ความเตรยี มพรอมที่จะ “สู” หรอื “หนี” โดยท่รี า งกายมกี ารเปลี่ยนแปลงตา ง ๆ เชน หวั ใจเตนแรงและเร็วขึ้น เพ่ือฉีดเลือดซ่ึงจะนําออกซิเจนและสารอาหารตาง ๆ ไปเลี้ยงเซลลทั่วรางกาย พรอมกับขจัดของเสียออกจากกระแสเลือดอยางเร็ว การหายใจดีขึ้น แตเปนการหายใจต้ืน ๆ มีการขับ อดรนี าลนี และฮอรโมนอื่น ๆ เขาสูกระแสเลือด มานตาขยายเพ่ือใหไดรับแสงมากขึ้น กลามเนื้อหดเกร็ง เพอ่ื เตรียมการเคลอ่ื นไหว เสนเลือดบรเิ วณอวยั วะยอยอาหารหดตัว เหง่อื ออก เพราะมกี ารเผาผลาญอาหาร มากขึ้น ทําใหอุณหภูมิของรางกายเพ่ิมขึ้น เม่ือวิกฤติการณผานพนไปรางกายจะกลับสูสภาวะปกติ แตความเครยี ดที่เปนอันตราย คอื ความเครยี ดทีเ่ กิดข้ึนมากเกินความจําเปน เมื่อเกิดแลวคงอยูเปนประจํา ไมล ดหรือหายไปตามปกติ หรอื เกิดขึ้นโดยไมมีเหตกุ ารณทเี่ ปนการคกุ คามจริง ๆ

121 ผลของความเครยี ดตอ ชวี ิต ผลตอ สขุ ภาพทางกาย ไดแก อาการไมส บายทางกายตา ง ๆ เชน ปวดหัว ปวดเมื่อยตามสวนตาง ๆ ของรางกาย ความผดิ ปกติของหัวใจ ความดันโลหติ สูง โรคกระเพาะ อาการทอ งผกู ทอ งเสยี บอย นอนไมห ลบั หอบหืด เส่ือมสมรรถภาพทางเพศ ฯลฯ ผลตอสุขภาพจิตใจ นําไปสูความวิตกกังวล ซึมเศรา กลัวอยางไรเหตุผล อารมณไมมั่นคง เปลี่ยนแปลงงา ยหรอื โรคประสาทบางอยา ง สาเหตุของความเครียด - สภาพแวดลอ มทวั่ ไป เชน มลภาวะ ไดแก เสียงดังเกินไปจากเครื่องจักร เครื่องยนต อากาศ เสียจากควันทอไอเสยี น้าํ เสีย ฝุนละออง ยาฆา แมลง การอยูก นั อยา งเบียดเสยี ดยดั เยียด เปน ตน - สภาพเศรษฐกจิ ที่ไมนา พอใจ เชน รายไดนอยกวารายจา ย เปนตน - สภาพแวดลอมทางสังคม เชน การสอบแขงขันเขาเรียน เขาทํางาน เลื่อนขั้น เล่ือนตําแหนง เปนตน - มสี มั พนั ธภาพกับคนอ่นื ๆ ทีไ่ มร าบรน่ื มักมีขอ ขดั แยง ทะเลาะเบาะแวงกับคนอ่ืนเปน ปกติวสิ ยั - ความรูสกึ ตนเองตํ่าตอ ยกวา คนอืน่ ตอ งพยายามตอสเู อาชนะ - ตอ งการมีอํานาจเหนอื ผอู ่ืน วธิ ีลดความเครียด มหี ลายวธิ ี 1. วิธีแกไขที่ปลายเหตุ ไดแก การใชยา เชน ยาหมอง ยาดม ยาแกปวด ยาลดกรดในกระเพาะ ยากลอ มประสาท แตว ธิ กี ารดงั กลา วไมไดแ กไ ขความเครียดทต่ี นเหตุ อาจทําใหค วามเครยี ดนัน้ เกิดขึ้นไดอ กี 2. วิธแี กไขทต่ี นเหตุ ไดแก แกไ ขเปลีย่ นแปลงวถิ ชี วี ิตท่ีเอ้อื อาํ นวยตอการกอ ใหเกิดความเครียด เชน หางานอดิเรกทช่ี อบทําฝก ออกกาํ ลงั กาย บริหารรา งกายแบบงาย ๆ เปนตน 3. เปลี่ยนแปลงนิสัยและทัศนคติตอการดําเนินชีวิต เชน ลดการแขงขัน ผอนปรน ลดความ เขมงวดในเรื่องตา งๆ 4. หาความรูความเขา ใจเกย่ี วกับโภชนาการ 5. สาํ รวจและเปล่ยี นแปลงทศั นคติตอตัวเองและผูอ่ืน เชน มองตัวเองในแงดี มองผูอื่นในแงดี เปน ตน 6. สาํ รวจและปรับปรุงสัมพันธภาพตอ คนในครอบครวั และสังคมภายนอก 7. ฝก ผอนคลายโดยตรง เชน การฝกหายใจใหถ กู วิธี การฝก สมาธิ การออกกําลังกายแบบงายๆ การฝกผอนคลายกลามเนอ้ื การนวด การสาํ รวจทา นั่ง นอน ยนื เดนิ การใชจ ิตนาการ นกึ ภาพทรี่ นื่ รมย เมื่อเกดิ ความเครียดขึ้นมา ลองพยายามนึกทบทวนดูวา เกิดจากสาเหตุอะไร และเลือกใชวิธีลด ความเครียดดังกลาวท่ีกลาวมาวิธีใดวิธีหนึ่งหรือหลายวิธีรวมกัน อาจทําใหความเครียดผอนคลายหรือ ไมเ ครยี ดเลยกไ็ ด

122 กิจกรรม เขยี นตอบคําถามดานลางในกระดาษและนําเสนอในชัน้ เรียน 1. ความสาํ คญั ในการตระหนกั รูในตนเองมีผลตอ การดาํ เนนิ ชีวิตอยา งไร 2. เราสามารถจดั การกบั อารมณโ กรธไดอยางไร 3. ความเครยี ดสง ผลตอสุขภาพอยางไร และเราสามารถจดั การกับความเครยี ดทาํ ไดอยา งไร

123 บทท่ี 9 อาชีพจําหนา ยอาหารสําเร็จรปู ตามหลกั สุขาภิบาล ประเทศไทยมีผลผลิตจาการเกษตรกรรมประเภทอาหารท่ีหลากหลาย ซ่ึงขึ้นอยูกับศักยภาพ แตล ะภมู ิภาคทีแ่ ตกตา งกันไป การนําผลผลติ จาการเกษตรมาแปรรูปเปนผลิตภัณฑอาหารสําเร็จรูป แลว กระจายสินคา สูตลาดผบู รโิ ภคตลาดภายในประเทศ ตลาดอาเซียน และตลาดในภูมภิ าคอ่นื ท่วั โลก เปนอกี ชอ งทางหน่งึ ทที่ ําใหเ กดิ อาชีพสาํ หรับผทู สี่ นใจ การถนอมอาหารในปจ จุบันใชว ิวัฒนาการทางเทคโนโลยเี พอ่ื แปรรปู วตั ถดุ บิ จาํ นวนมากพรอม ๆ กนั เปน ผลติ ภณั ฑอ าหารสําเรจ็ รปู หรือก่งึ สําเรจ็ รปู หรือปรับปรุงกรรมวธิ กี ารถนอมอาหารสมัยโบราณให ไดผ ลติ ภณั ฑท ม่ี คี ุณภาพดขี ึ้น ทัง้ ในดา นความสะอาด สี กล่ิน รส เนื้อสัมผสั และเพื่อยืดอายุการเกบ็ อาหาร นั้นใหไดนาน เทคโนโลยีการถนอมผลิตผลการเกษตรตองอาศัยความรูทางวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน ความรู พนื้ ฐานทางสงั คมธรุ กจิ และการจดั การควบคูกับความรูใ นการแปรรปู ผลติ ผลการเกษตร ใหเปน ผลติ ภัณฑ ชนดิ ใหม หรอื ปรบั ปรุงของเดิมใหดียิ่งขึ้นท้ังในลักษณะท่ีมองเห็นหรือสัมผัสได เชน สี กล่ิน ความนุม ความเหนยี ว เปน ตน รวมท้ังสิง่ ท่ีมองไมเ หน็ เชน คณุ คาทางโภชนาการ เปน ตน ผลิตภัณฑอาหารสาํ เรจ็ รูป หมายถึง อาหารท่ีไดผ า นข้ันตอนการหงุ ตม หรือกระบวนการ แปรรูป ผลติ ผลการเกษตรโดยใชเทคโนโลยีเพอ่ื ใหอาหารน้ันสามารถเก็บไดเปน เวลานานพอสมควรโดยไม เนาเสีย สามารถดื่มหรือรับประทานไดทันทีเมื่อตองการจะอุนหรือไมอุนใหรอนกอนรับประทานก็ได ผลิตภณั ฑประเภทนี้ทีร่ จู กั กันแพรหลาย คอื อาหารบรรจุกระปอ ง เชน สับปะรดกระปอ ง หรอื บรรจุกลอง เชน นมสด เปนตน ผลิตภัณฑอาหารกึ่งสําเร็จรูป หมายถึง อาหารท่ีไดผานขั้นตอนการหุงตมหรือกระบวนการ แปรรูปแลว และสามารถเก็บไวไดน านเชน เดยี วกัน จะตองนาํ ไปหุงตม และปรุงรสหรอื ปรงุ แตงกอ นจึงจะ รบั ประทานได เชน นา้ํ ผลไมเขม ขน ซงึ่ ตอ งผสมนาํ้ กอ นดม่ื นาํ้ พรกิ แกง เปน ตน การแปรรูปหรือการถนอมอาหาร โดยหลักใหญ คือ การทําลายหรือฆาเช้ือจุลินทรียที่มีอยูหรือ อาจเกิดข้ึนในอาหาร และทําใหเกิดการเนาเสียใหหมดไป ปจจุบันผลิตผลการเกษตรมีมากขึ้น และ ประชากรมากข้ึนจึงไดมีการศึกษาคนควาและทดลองใชเทคโนโลยี เพ่ือถนอมผลิตผลการเกษตรให สามารถเกบ็ ไวไ ดนาน เชน การใชความรอ นจากไอนาํ้ เพื่อฆาเช้ือจุลินทรียในการทําอาหารกระปอง การ ใชร งั สแี กมมา เพอ่ื ยับยั้งหรือทําลายปฏิกิริยาของเอนไซมท ําใหการเปล่ียนแปลงทางเคมีชาลง และยังเปน การทาํ ลายการเจริญเติบโตของจลุ ินทรยี อ ีกดว ย ในที่นี้จะกลาวถึงกรรมวิธีการถนอมอาหารทใ่ี ชก นั มากใน ปจ จบุ ัน คือ  การถอมอาหารโดยใชค วามรอ นสงู เชน ผลิตภณั ฑอ าหารกระปอ ง เปน ตน  การถนอมอาหารโดยใชความเยน็ เชน ผลติ ภณั ฑอาหารเยอื กแขง็ เปนตน  การถนอมอาหารโดยการทําใหแหง เชน ปลาหยอง กาแฟผง เปนตน

124  การถนอมอาหารโดยการหมกั ดอง เชน ซอี ้วิ นํ้าสมสายชู เปนตน  การถนอมอาหารโดยใชรงั สี เชน หอมหัวใหญอ าบรงั สี เปนตน เรือ่ งท่ี 1 การถนอมอาหารโดยใชความรอนสงู ภาชนะบรรจไุ ดมีการปรับปรุงพัฒนามาโดยเฉพาะอยางย่ิงที่ทําจากดีบุก ตอมาดีบุกหายากและ แพงขนึ้ จงึ ใชก ระปอ งทท่ี ําดวยแผนเหลก็ เคลอื บผิวทงั้ สองดานดว ยดบี กุ ทําใหป ระหยดั ปรมิ าณของดีบกุ ที่ ใชไดมาก ขณะเดียวกันก็ไดมีการใชกระปองที่ทําจากอลูมิเนียมซ่ึงน้ําหนักเบาแตมีขอเสีย คือ บุบงาย สวนมากจึงใชท าํ กระปองเพอ่ื บรรจุนา้ํ ผลไม หรอื เครื่องด่ืม หรือ นมสด แตการใชก ระปองอลมู เิ นยี ม ไมแ พรห ลายเทา กับกระปองทีท่ ําจากแผน เหลก็ เคลอื บดีบกุ นอกเหนือจากภาชนะจะเปนสวนประกอบท่ี สํ า คั ญ ใ น ก า ร ถ น อม ผ ลิ ต ผ ล ก า ร เ ก ษ ต ร แ ล ว ป ร ะ เ ภ ท ข อ ง อา ห า ร ก็ มี ค ว า ม สํ า คั ญ ม า ก รวมถึงการใชความรอนก็มีความสําคัญซ่ึงตองรู วาจะใชความรอนสูงเทาใดในการฆาเชื้อจุลินทรียใน อาหารทตี่ อ งการเกบ็ รักษา เนื่องจากการถนอมผลิตผลทางการเกษตร โดยความรอนจะเปล่ียนสภาพของ อาหารจากสดเปนอาหารสุกท่ีพรอมจะรับประทานได ดังน้ัน จึงมีการเติมเคร่ืองปรุงตาง ๆ หรือเปลี่ยน สภาพเปนผลิตภัณฑอาหารชนดิ ใหม ซ่ึงในปจจบุ นั เรียกวา \"การแปรรปู อาหาร\" สวนประกอบอาจจะมีทั้ง เน้ือสัตว ผักและเครื่องเทศ สําหรับอาหารคาวหรือถาเปนอาหารหวาน เชน ผลไมบรรจุในนํ้าเช่ือม เปน ตน กรรมวิธกี ารผลิตอาหารกระปอ งหรืออาหารในขวดแกว จาํ เปน ตอ งใชความรอ น เพือ่ ทาํ ใหอ าหาร ทบี่ รรจุภายในสุก และเพอ่ื ทาํ ลายเชือ้ จลุ ลินทรีย ความรอนท่ีใชจะตองสัมพันธกันเพราะถาใชความรอน สูงเกินไป อาจจะทาํ ใหอาหารที่บรรจุในกระปอง/ขวดน่ิมและไมนารับประทาน ถาความรอนต่ําเกินไป อาจจะมีจลุ นิ ทรยี หลงเหลืออยซู งึ่ จะทาํ ใหอาหารนั้นเสยี เกดิ กระปอ งบวมและระเบดิ ไดในท่ีสุด การถนอม อาหารโดยใชความรอ น หมายถงึ การฆาเชอ้ื ในอาหารที่บรรจุในภาชนะท่ีปดสนิท เพื่อปองกันการเสื่อม สลายหรอื เนาเสยี ทีเ่ กดิ จากเช้อื จลุ ินทรียห รอื จากการปฏิกิรยิ าของเอ็นไซมในอาหาร การฆาเช้ือโดยความ รอนมี 3 ระดับ คือ การฆาเชื้อ (Sterilization) การฆาเชื้อระดับการคา (Commercially sterilization) และ การฆา เชอื้ แบบปาสเตอร (Pasteurization) การฆา เชอื้ หมายถงึ การถนอมอาหารโดยใชค วามรอนสงู ภายใตค วามดัน เพื่อใหจุลินทรียท่ีมีอยู ท้งั หมดถูกทําลาย การฆาเช้อื ระดับการคา หมายถึง การถนอมอาหารโดยใชค วามรอ นสูงเพ่ือทําลายจุลินทรียท่ีมีอยู ในอาหารเกือบทง้ั หมด เพ่อื ใหอ าหารนั้น ๆ สามารถบรโิ ภคไดโดยไมเปน อนั ตราย และสามารถเก็บไวได นานโดยไมเ นาเสียในภาวะปกติ การฆา เชอื้ แบบปาสเตอร หมายถึง การถนอมอาหารโดยใชความรอ นตา่ํ กวาอณุ หภูมิของนํ้าเดือด (ตา่ํ กวา 100o C) เพ่ือทําลายจุลนิ ทรยี บางสวน แตทั้งนีต้ อ งดาํ เนินควบคกู บั สภาวะอยางอื่น เชน ควรเก็บใน ตูเย็นภายหลงั การผลิตแลว หรอื อาหารน้ันมี พเี อชตํา่ หรอื มปี รมิ าณนาํ้ ตาล หรือเกลือสูง

125 นกั วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร ไดแบงกลุมอาหารท่ีบรรจุในภาชนะท่ีปดสนิทเปน กลมุ ใหญ ๆ ไว 2 กลุม คอื \\ 1. กลมุ อาหารท่ีเปนกรด (Acid foods) คือ อาหารท่ีมีคา PH ต่ํากวา 4.5 สวนมากเปนพวกผลไม เชน สบั ปะรด สม หรือผักท่มี ีรสเปรี้ยว เชน มะเขือเทศ กระเจี๊ยบแดง เปน ตน 2. กลุม อาหารทีเ่ ปน กรดตาํ่ (Low acid foods) คอื อาหารที่มคี า พีเอช 4.5 หรือสูงกวา สว นมากจะ เปน อาหารจําพวกเนื้อสัตวแ ละผักตาง ๆ เชน เนือ้ หมู ปลา ขา วโพดฝก ออ นและหนอ ไมฝร่งั เปน ตน กระปอ งใชบรรจุ โรงงานทําสบั ปะรดกระปอง

126 ตวั อยา งขั้นตอนการทําอาหารกระปอง 1. รบั ซอื้ วัตถดุ ิบ 2. ลา ง ตัดแตง 3. คดั เลอื กขนาด, จัดระดบั 4. ลวก 5. บรรจกุ ระปอ ง/ขวด 6. เติมน้ําบรรจุลงในกระปอ ง/ขวด <----- เตรียมเครอ่ื งปรงุ หรอื นํา้ บรรจุ 7. ไลอ ากาศ 8. ปด ผนึก 9. ฆา เชื้อดวยความรอน 10. ทาํ ใหก ระปอ งเย็น 11. ปดฉลาก 12. บรรจุหบี /กลอ ง 13. หอ งเก็บ 14. สง ขาย 15. ผูบริโภค 1.1 เคร่อื งมอื ทใ่ี ชเ กย่ี วกบั การผลิต โดยทั่วไปเคร่ืองมือเคร่ืองใชและเครื่องจักรเก่ียวกับกรรมวิธีการผลิตอาหารกระปองตองไมเปน อนั ตรายตอ สุขภาพ และตอ งอยูในสภาพท่สี ะอาดเสมอ ภาชนะท่ใี ชไดหลายครงั้ ตอ งทําดวยวัสดุที่ไมเปนพิษ และออกแบบใหทําความสะอาดไดงายเพ่ือปองกันมิใหมีส่ิงสกปรกตกคางอยู วัสดุที่ใชทําภาชนะตาง ๆ ควรเปนวัสดุท่มี ีผิวเรยี บ ไมม รี อยแตกหรือกะเทาะลอ น ไมเปนพิษ ไมทําปฏิกิริยากับอาหาร ควรเปนวัสดุที่ ลางและทาํ ความสะอาดไดงา ย ไมเ ปน วัสดทุ ีด่ ูดซึมงาย ยกเวนเพ่ือวัตถุประสงคบางประการที่จําเปนตองใช เชน ถังไมใ นการหมกั ไวน ในสถานท่ีผลิตอาหารสาํ เร็จรูปจะมีเครอื่ งมือ เครอื่ งใชแ ละเครื่องจักรแตกตางกัน ออกไปแลวแตป ระเภทและชนิดของผลิตภณั ฑ แตส ว นใหญแ ลวแบง ออกไดเปน 3 ประเภท คือ  เครือ่ งมือ เคร่อื งใชท จ่ี าํ เปนในกรรมวิธีการผลติ  เครื่องมอื เคร่ืองจกั รตามข้ันตอนของการผลิต  เครอื่ งมือ เครอื่ งจักรตามประเภทของผลิตภัณฑ 1.1.1 เคร่อื งมอื เคร่อื งใชท จ่ี าํ เปน ในกรรมวิธกี ารผลติ เครื่องมอื เครื่องใชนเ้ี ปน สง่ิ จําเปน ของผูป ระกอบกิจการการอุตสาหกรรมแปรรปู อาหารไมวา ขนาดเล็กหรอื ขนาดใหญ โดยเฉพาะอยา งย่งิ การผลิตอาหารกระปอ ง 1) เครอ่ื งชงั่ ตวง วัด ใชใ นการชง่ั นํา้ หนกั หรือปริมาตรของสิ่งตา ง ๆ เชน วตั ถุดิบ เครือ่ งปรงุ อาหาร เครื่องช่งั ตวง วดั ควรจะมีหลาย ๆ ขนาด

127 2) เคร่ืองวดั อุณหภูมิ เปนของจาํ เปน มากในการผลิต จะตองมีการควบคุมและตรวจสอบ อุณหภมู ิตามขน้ั ตอนตา ง ๆ ระหวา งผลิตอยตู ลอดเวลา 3) เคร่ืองมอื วัดปรมิ าณเกลอื 4) เครอื่ งมือวดั ปรมิ าณนํา้ ตาล 5) เครื่องมือวัดความเปนกรด-ดา ง 6) เคร่ืองมือวัดความรอนของอาหารที่บรรจุในกระปอง (Heat penetration equipment) เพอื่ คํานวณหาเวลาทจ่ี ะตองใชใ นการฆา เชอ้ื หลงั จากบรรจแุ ละปด ฝากระปอ งแลว เคร่ืองมือท่ีใชในการน้ี เรียกวา เทอรมอคัปเปล (Thermocouples) ซึ่งใชวดั อุณหภมู ิ ณ จดุ ทคี่ วามรอนเขา ถงึ ชา ทีส่ ดุ ของกระปอง 7) เครอ่ื งมือวดั ขนาดของตะเขบ็ กระปอ ง ลกั ษณะของการเก่ียวกันระหวางขอฝา (Cover hook) และขอของตัวกระปอ ง (Body hook) เปน ส่งิ สําคัญมาก ถา ไมเปนไปตามมาตรฐาน อาจจะทําใหกระปอง รั่วได 8) เครอื่ งมือตรวจความดันในกระปอ ง ทดสอบวา กระปอ งจะรวั่ หรือไม โดยสูบลมอัดเขา ไปในกระปอ งจนไดเปลงความดันที่ตองการแลวจุมกระปองลงในนํ้า ถากระปองรั่วจะมีฟองอากาศผุด ออกมาตามรอยตะเข็บซึง่ จะตอ งทาํ การปรับเครอื่ งปดฝากระปอ งใหเ ขาท่ี 1.1.2 เครอ่ื งมอื เครอื่ งจักรตามขั้นตอนของการผลิต เครอื่ งมือเครอ่ื งจักรท่ีใชใ นการทาํ อาหารกระปองแบง ออกตามขั้นตอนของการผลิต ประกอบดว ย  การลาง เตรียม และตดั แตง วัตถุดิบ  การลวก  การหงุ ตม  การบรรจุ  การไลอ ากาศ  การปดฝา  การทาํ ลายเช้อื จลุ ินทรีย 1.1.3 เครอ่ื งมอื เครอื่ งจกั รตามประเภทของผลติ ภัณฑ เครื่องมอื เครื่องจักรอาจแตกตา งกันไปตาม ประเภทของอาหารที่จะผลิต เชน เคร่ืองมือ เคร่ืองจักรสําหรับทําสับปะรดกระปองยอมจะแตกตางกับ เคร่ืองมือเครื่องจักรของโรงงานทาํ ปลากระปอง 1.2 การทําความสะอาดสถานทผ่ี ลิตอาหาร ในแงข อง \"สุขลักษณะ\" จะตองคํานึงถึงเช้ือจุลินทรียมากที่สุดเพราะจะทําใหเกิดอันตรายอยาง มากตอสขุ ภาพของผบู รโิ ภค จงึ ตองมีการควบคมุ ปรมิ าณจลุ นิ ทรยี ซ่ึงตอ งทาํ ทั้งกับคนและเคร่อื งมือ คอื 1) ปอ งกนั มิใหส ัตวและแมลงมโี อกาสสมั ผสั กับอาหาร 2) ควรใสเส้ือกันเปอน ซ่ึงเสื้อนี้จะปองกันส่ิงสกปรกตาง ๆ จากเส้ือผาหรือตัวผูทําอาหารหรือ เสิรฟ อาหาร และสวมหมวกหรือมีผา คลุมผมเพ่อื ปอ งกนั ไมใหผ มหลนลงในอาหาร

128 3) รักษาเคร่ืองจักร เครื่องมือ โตะเตรียมอาหาร อางน้ํา หองเตรียมอาหารใหสะอาดอยูเสมอ เพอ่ื ปอ งกันเศษอาหารหลงเหลอื อยู ซึง่ จะเปนอาหารเลี้ยงเชอ้ื จลุ นิ ทรยี ใหเ จริญเติบโตได 4) เศษอาหารควรทง้ิ ทกุ วนั 5) หอ งเก็บวัตถดุ บิ หองเก็บของ ตูเยน็ หองเยน็ ควรจะสะอาด 6) เครอื่ งจักร และเครอ่ื งมือตาง ๆ ควรวางหรอื เกบ็ ใหเปนที่เพอื่ จะทาํ งานสะดวกและปองกันการ เสยี หาย 7) มหี อ งนาํ้ พอเพยี งเพ่อื ปองกันความสกปรกของคนงาน 8) ตรวจสุขภาพของคนงานเปนประจําทุกป 9) ผผู ลิตควรจะรวมมือกับ \"ผตู รวจสอบ\" ของรัฐบาล เพอื่ คําแนะนาํ และความรว มมอื ท่ีดี 10) ควรจะแกไ ขจดุ ตาง ๆ ตามที่ \"ผูตรวจสอบ\" แนะนาํ 1.3 การทาํ ลายเศษอาหาร กาก และสว นท่เี หลอื จากโรงงาน การระบายน้ําเสียน้ัน เปนเรื่องทส่ี าํ คญั มาก เพราะนํ้าเสยี ยอมจะทาํ ใหเกดิ ผลเสยี ไดสองแง คือ 1) ความสะอาดและความปลอดภัยในการประกอบกิจ เพราะถาสิ่งแวดลอมสกปรกยอมจะเกิด การเจอื ปนขนึ้ ไดงา ย 2) ความปลอดภยั สาํ หรบั ผอู ยใู กลเคียง การระบายน้ําและมีเศษอาหารอยยู อมเปน ท่ีรบกวนแก ผูอาศยั ใกลเคียงได โดยเฉพาะการปลอยของเสียลงในน้ํายอมกอใหเกิดความลําบาก และยุงยากตอผูอยู ปลายทาง เรอื่ งที่ 2 การถนอมอาหารโดยใชค วามเย็น การใหค วามเยน็ (Refrigeration) หมายถงึ กรรมวิธีการกาํ จดั ความรอ นออกจากสงิ่ ของหรือพื้นท่ี ทีต่ อ งการทาํ ใหเ ย็นหรือตอ งการใหมอี ุณหภูมิลดลง ซงึ่ การทําใหเยน็ ลงนี้ แบง ออกเปน 2 ลกั ษณะ คือ การแชเยน็ (Chilling) หมายถึงการทําใหอุณหภูมิของส่ิงของนั้นลดลง แตอยูเหนือจุดเยือกแข็ง ของส่งิ นนั้ โดยของส่งิ นัน้ ยังคงสภาพเดิมอยู เชน การแชเ ยน็ อาหารจะเปน การลดอณุ หภูมิของอาหารต่ําลง แมท ่ี -1o C แตตองไมท าํ ใหน ้าํ หรือองคประกอบในอาหารนน้ั แปรสภาพหรือแขง็ เปน นํ้าแขง็ การแชแ ข็ง (Freezing) หมายถึงการทําใหอณุ หภมู ิของสงิ่ ของนน้ั ลดต่ําลงกวา จดุ เยือกแขง็ ของ ส่ิงน้ัน (-1 ถงึ -40o C) การแชแ ขง็ จะทาํ ใหเ กดิ การเปลีย่ นสภาพขององคประกอบในส่งิ ของ เชน ในกรณีท่ี เปนอาหาร ความเย็นจัดจะทําใหนํ้าในเน้ือเยื่อของอาหารแปรสภาพเปนน้ําแข็ง ทําใหจุลินทรียไมอาจ นาํ ไปใชไ ด แตค วามเย็นจัดไมไดทาํ ลายจุลินทรยี ใหตาย จุดเยือกแข็ง (Freezing point) คือ อุณหภูมิท่ีเกิดภาวะสมดุลระหวางของแข็งกับของเหลว ณ ความกดมาตรฐาน 1 บรรยากาศ หรอื อุณหภูมทิ ีข่ องเหลวเปลย่ี นสถานะเปน ของแขง็ ณ ความกดมาตรฐาน 1 บรรยากาศ

129 การถนอมอาหารดวยความเยน็ มหี ลายวธิ ี 1) การใชน ้าํ แขง็ ความเยน็ ของนาํ้ แข็งที่ใชใ นการแชอ าหารจะลดอณุ หภมู ขิ องอาหารไดเรว็ และ ถา มปี ริมาณนาํ้ แข็งเพยี งพอกจ็ ะทําใหอ าหารนนั้ เยน็ ลงจนมอี ณุ หภมู ิใกลเ คียงกบั 0o C 2) การใชส ารผสมแชแ ข็ง การใชน ํ้าแข็งผสมเกลือแกงหรือเกลืออนินทรยี อ่ืน ๆ จะทาํ ใหได สารผสมทีม่ ีอณุ หภูมิต่าํ กวา 0o C 3) การใชน ํ้าแข็งแหง นา้ํ แข็งแหง คอื คารบ อนไดออกไซดท เี่ ย็นจนแข็ง มอี ุณหภูมิ ประมาณ 80o C ใชในการเกบ็ รักษาอาหารทผี่ านการแชแขง็ มาแลว เหมาะสําหรับการขนสงในระยะเวลา 2-3 วนั 4) การใชไ นโตรเจนเหลว ไนโตรเจนเหลวที่ความดันปกติจะระเหยกลายเปน ไอที่ อุณหภูมิ 196o C ณ อุณหภูมินี้เปนอุณหภูมิตํ่าสุดที่สามารถทําใหอาหารเย็นลงไดอยางรวดเร็ว และ เน่ืองจากไนโตรเจนเปน แกสเฉือ่ ย ไมเ ปนอันตรายกบั อาหารและผูบริโภค 5) การใชเ คร่ืองทาํ ความเยน็ เครอ่ื งทาํ ความเย็นทใ่ี ชก นั โดยท่ัวไป โดยเฉพาะตามบา นเรอื น คอื ตูเย็น เร่ืองที่ 3 การถนอมอาหารโดยการทาํ แหง หลักการในการทําแหง มหี ลายวิธี คือ 1) ใชก ระแสลมรอ นสัมผสั กับอาหาร เชน ตูอ บแสงอาทิตย ตอู บลมรอน (Hot air dryer) เปน ตน 2) พนอาหารท่เี ปนของเหลวไปในลมรอน เครอ่ื งมือทใ่ี ชค อื เครอ่ื งอบแหง แบบพนฝอย (Spray dryer)

130 3) ใหอ าหารขน สัมผสั ผวิ หนาของลกู กลิง้ รอน เคร่อื งมอื ท่ีใชคอื เครือ่ งอบแหง แบบลกู กล้ิง (Drum dryer หรอื Roller dryer) 4) กําจัดความช้ืนในอาหารในสภาพที่ทํานํ้าใหเปนน้ําแข็งแลวกลายเปนไอในหองสุญญากาศ ซงึ่ เปนการทาํ ใหอ าหารแหงแบบเยอื กแขง็ โดยเครอื่ งอบแหง แบบเยอื กแข็ง (Freeze dryer) 5) ลดความชน้ื ในอาหารโดยใชไมโครเวฟ (Microwave) หลักในการทําอาหารใหแหง คือ จะตองไลน้ําหรือความชื้นที่มีอยูในผลิตผลการเกษตรออกไป แตจ ะยังมีความชื้นเหลอื อยใู นผลติ ภณั ฑม ากนอ ยแลวแตช นดิ ของอาหาร การถา ยเทความรอน จะเกดิ ตรงจุดท่ีมีความแตกตางของอุณหภมู ิ คือ อุณหภูมิของเครื่องมือท่ีใช ในการอบ และอาหารที่ตอ งการทาํ ใหแ หง การถา ยเทความรอนมี 3 แบบ คอื 1) การนําความรอ น เปน การถายเทความรอ นจากโมเลกุลหนึ่งไปยงั อกี โมเลกลุ หน่งึ ท่ีอยูขางเคียง ซึง่ จะเกดิ กบั อาหารท่ีมลี กั ษณะเปนของแขง็ 2) การพาความรอ น จะเกดิ กับอาหารทเี่ ปนของเหลว โดยกระแสความรอ นจะถูกพาผานชอ งวางที่ เปน อากาศหรือแกสจากของเหลวชนิดหนึ่งไปยงั ของเหลวอีกชนิดหนงึ่ 3) การแผร งั สี เปนการถา ยเทความรอนโดยการแผร งั สคี วามรอนไปยังอาหารซงึ่ จะเกดิ ขึ้นในกรณี อบอาหารในสญุ ญากาศ และการอบแหงแบบเยอื กแขง็ ในทางปฏิบัติ การถายเทความรอ นในการอบแหง อาจเกิดขน้ึ พรอ มกันท้งั 2 หรือ 3 แบบกไ็ ด ทั้งน้ี ขึ้นอยูกบั ลักษณะของอาหารที่นาํ ไปอบแหง การเคลื่อนที่ของน้าํ ในอาหาร น้ําหรอื ความชนื้ จะเคล่อื นทีม่ าท่ผี ิวหนาของอาหารเม่ือไดรับความ รอนในระหวางการอบ เครอ่ื งอบแหง เครื่องมอื ท่ีใชในการอบอาหารจาํ นวนมากในคราวเดยี วกันใหแ หง นัน้ มหี ลายแบบ แตละแบบก็มี หลายขนาด 1) ตูอบหรือโรงอบที่ใชความรอนจากแสงอาทิตย โดยมีหลักการทํางานคือ ตูหรือโรงอบ ประกอบดวยแผงรบั แสงอาทิตย ซงึ่ ทําดวยวสั ดใุ ส เม่ือแสงอาทิตยซ ง่ึ สว นใหญเปน รงั สคี ล่ืนส้ัน ตกลงบน แผงรับแสงนแี้ ลวจะทะลผุ า นไปยังวสั ดสุ ดี ํา ภายในตแู ละเปลีย่ นเปนรังสีความรอน ซึ่งความรอนนี้จะไป กระทบกับอาหารทําใหน ้าํ ในอาหารระเหยออกมา และผานออกไปทางชองระบายอากาศของตูอบ หรือ โรงอบ มผี ลทาํ ใหอาหารแหง ในระหวางการอบควรกลบั ผลิตภณั ฑน ้ัน วันละ 1-2 คร้ัง เพอ่ื ใหผิวหนาของ ผลติ ภัณฑท ุกสวนไดส ัมผัสกบั ความรอน ทําใหแหงเรว็ และสมํา่ เสมอ สวนมากตูอ บแสงอาทิตยนี้จะใชก บั พวกผัก ผลไม และธัญพชื ขอดสี าํ หรับการใชตอู บที่ใชค วามรอ นจากแสงอาทิตย คอื (1) ไดผลติ ภณั ฑสีสวย และสมาํ่ เสมอ (2) สะอาดเพราะสามารถควบคุมไมใหฝนุ ละอองหรือแมลงเขา ไปได

131 (3) ใชเวลานอยกวาการตากแดดตามธรรมชาติทําใหประหยัดเวลาในการตากได ประมาณหน่ึงในสาม (4) ประหยดั พนื้ ทใ่ี นการตาก เพราะในตอู บสามารถวางถาดที่จะใสผลผลิตไดหลายถาด หรอื หลายชั้น (5) ประหยัดแรงงาน เพราะไมตองเก็บอาหารท่ีกําลังตากเขาที่รมในตอนเย็นและ เอาออกตากในตอนเชา เหมอื นสมัยกอ น ซ่ึงมีผลทําใหต นทุนในการผลติ อาหารแหง ลดลง เครื่องอบแหง แบบลูกกลิ้ง เคร่ืองอบแหง ดว ยลมรอนแบบตหู รือถาด 2) เครอ่ื งอบแหง ทใี่ ชความรอ นจากแหลง อ่ืน ความรอนท่ีใชกับเครือ่ งอบประเภทน้สี วนมากจะได จากกระแสไฟฟา หรือแกส สวนมากใชในระดับอตุ สาหกรรมซึ่งมีหลายแบบหลายขนาด โดยใชหลักการ ทแี่ ตกตา งกันแลวแตประโยชนของการใชส อย เชน (1) เครื่องอบแหง ดว ยลมรอนแบบตูหรือถาด ตูอบบุดวยวัสดุที่เปนฉนวนมีถาดสําหรับ วางอาหารทีจ่ ะอบ เคร่อื งมือชนดิ น้ีจะใชอ บอาหารท่มี ปี รมิ าณนอ ย หรือสาํ หรับงานทดลอง (2) เครอ่ื งอบแหง ดวยลมรอนแบบตอเนื่อง มีลักษณะคลายอุโมงค นําอาหารที่ตองการ อบแหงวางบนสายพานที่เคลื่อนผานลมรอนในอุโมงค เม่ืออาหารเคลื่อนออกจากอุโมงคก็จะแหงพอดี ตวั อยา งอาหาร เชน ผกั หรือ ผลไมอบแหง เปน ตน (3) เคร่ืองอบแหงแบบพนฝอย การทํางานของเคร่ืองอบแบบนี้ คือ ตองฉีดของเหลวที่ ตองการทาํ ใหแ หง พนเปน ละอองเขาไปในตทู ่มี ลี มรอ นผา นเขามา เชน กาแฟผงสําเร็จรูป ไขผง นํ้าผลไม ผง ซบุ ผง เปน ตน (4) เครื่องอบแหงแบบลูกกลิ้งเคร่ืองทําแหงแบบนี้ใหความรอนแบบนําความรอน ซ่งึ ประกอบดว ยลกู กลิ้งทาํ ดวยเหล็กปลอดสนิม อาหารที่จะทําแหงตองมีลักษณะขนและปอนเขาเครื่อง ตรงผิวนอกของลกู กลงิ้ เปนแผนฟล ม บาง ๆ ความรอ นจะถา ยเทจากลูกกล้งิ ไปยงั อาหาร (5) เคร่ืองอบแหงแบบเยอื กแขง็ ประกอบดว ยเครื่องที่ทําใหอาหารเย็นจัด (freezer) แผน ใหความรอนและตูสุญญากาศ หลักการในการทําแหงแบบน้ี คือ การไลน้ําจากอาหารออกไปในสภาพ

132 สุญญากาศ การถา ยเทความรอนเปนแบบการนําความรอน ตัวอยางผลิตภัณฑที่ประสบความสําเร็จมาก ทส่ี ดุ คือ กาแฟผงสําเร็จรปู (6) ตูอบแหงแบบท่ีใชไมโครเวฟ ขณะน้ีไดมีการใชไมโครเวฟคลื่นความถ่ี 13x106 ไซเกิล เพื่อลดความชื้นของผกั เชน กะหล่าํ ปลแี ละผลติ ภณั ฑทไี่ ดจะมคี ณุ ภาพดี สสี วย ตัวอยางผลิตภัณฑ ท่ีใชตูอบแหงแบบไมโครเวฟรวมกับการใชสุญญากาศ คือ ผลิตภัณฑน้ําสมผง ซ่ึงยังคงคุณภาพของ สี กลน่ิ และรสของสม ไว เรือ่ งท่ี 4 การถนอมอาหารโดยการหมกั ดอง ปจจบุ นั ความกา วหนา ทางเทคโนโลยใี นดา นจุลชีววิทยามีมากข้ึน สามารถใชกระบวนการหมัก เพ่ือผลิตผลิตภัณฑใหม ๆ ไดมากขึ้น และมีการใชจุลินทรียบริสุทธิ์และสายพันธุที่มีประสิทธิภาพให ผลผลิตสูงสุด ซีอ้ิวและเตาเจี้ยว ผลิตภัณฑท้ัง 2 ชนิดนี้ มักจะผลิตพรอมกัน เนื่องจากใชวัตถุดิบอยาง เดยี วกัน ในปจจุบนั มีการใชสปอรเ ชอ้ื รา แอสเพอรจ ิลลัส ฟลาวสั โคลมั นารสิ เพอ่ื ผลติ ซีอ้ิว ทําใหไดซีอิ้ว ที่มคี ณุ ภาพสม่าํ เสมอตลอดป ซง่ึ เดมิ เคยมีปญหาเร่อื งการปนเปอ นจากเชอ้ื ราชนิดอ่ืน ๆ ในฤดฝู น ทําใหได ซีอ้ิวทมี่ ีคุณภาพไมด เี ทา ทีค่ วร และทส่ี ําคัญยง่ิ คือ สปอรเ ช้ือราท่ใี ชต อ งไมส รางสารอฟลาทอกซิน ซ่ึงเปน สารกอมะเร็ง เรอ่ื งท่ี 5 การถนอมอาหารโดยใชร งั สี รังสี หมายถึง คลื่นแสงหรือคลายกับแสง ซึ่งมีความยาวคลื่นท้ังสั้นและยาว การแผรังสีของ สารกัมมันตภาพมลี ักษณะคลา ยสายน้าํ ของอนุภาค หรอื คลนื่ ซง่ึ มาจากหนว ยเลก็ ท่สี ุดของสสารคือปรมาณู ธาตุชนิดหนึ่งประกอบดว ยปรมาณูชนดิ ตาง ๆ ซึง่ มลี กั ษณะทางเคมเี หมอื นกันแตม นี ้าํ หนกั ตางกนั ปรมาณู ชนิดตาง ๆ ของธาตุเดยี วกนั แตมีนํา้ หนักแตกตา งกันนีเ้ รียกวา ไอโซโทป รงั สีทใ่ี ชใ นการถนอมอาหารนัน้ อาจใชรงั สีใดรงั สหี นึง่ ดงั น้ี 1) รังสีแกมมา เปนรังสีที่นิยมใชมากในการถนอมอาหาร สารที่เปนตนกําเนิดรังสีน้ี คือ โคบอล-60 หรือซเี ซียม-137 2) รงั สีเอกซ ไดจ ากเคร่อื งผลติ รงั สเี อกซท ีท่ ํางานดวยระดับพลังงานท่ีตํ่ากวา หรือ เทากับ 5 ลาน อเิ ล็กตรอนโวลต 3) รังสีอิเล็กตรอน ไดจากเครื่องผลิตรังสีอิเล็กตรอนที่ทํางานดวยระดับพลังงานท่ีตํ่ากวาหรือ เทากับ 10 ลา น อิเล็กตรอนโวลต 5.1 หลกั การถนอมอาหารดวยรงั สี รังสีท่ีฉายลงไปในอาหารจะไปทําลายหรือยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรียหรือทําใหการ เปลยี่ นแปลงทางเคมีลดลง ซ่ึงมีผลทาํ ใหการเก็บรักษาอาหารน้ันมีอายุยืนนานโดยไมเนาเสีย ทั้งน้ีข้ึนอยู กบั ชนดิ ของอาหารและปรมิ าณรงั สที อ่ี าหารไดร ับและวตั ถุประสงคในการฉายรงั สี ซ่งึ พอจะสรุปไดดังนี้

133 1) ควบคุมการงอกของพืชผักในระหวางการเก็บรักษา ปริมาณรังสีท่ีฉายบนอาหาร ประมาณ 0.05-0.12 กโิ ลเกรย ซ่ึงกระทรวงสาธารณสุขอนุญาตใหอาหารนั้นมีปริมาณรังสีเฉลี่ยสูงสุดได ถงึ 0.15 กโิ ลเกรย เชน กระเทียม หอมใหญ มนั ฝรง่ั เปนตน ซึ่งสามารถควบคุมการงอกและลดการสูญเสีย น้าํ หนักในระหวา งการเกบ็ ในหอ งเย็นไดน านกวา 6 เดือน 2) การควบคุมการแพรพันธุของแมลงในระหวางการเก็บรักษา ปริมาณรังสีท่ีฉายบน อาหารประเภทนป้ี ระมาณ 0.2-0.7 กิโลเกรย และกระทรวงสาธารณสุขอนุญาตใหอ าหารน้นั มปี ริมาณรังสี เฉลยี่ สูงสุดได 1 กโิ ลเกรย เชน ขาว ถวั่ เครื่องเทศ ปลาแหง เปนตน ซง่ึ รงั สีจะทําลายไขแมลงและควบคุม การแพรพนั ธุข องแมลงและตวั หนอนในระหวางการเก็บรักษา หรอื ระหวา งรอการจาํ หนา ย 3) ยดื อายกุ ารเกบ็ รักษาอาหารสด การฉายรังสีอาหารทะเลและเนอ้ื สตั วดว ยรงั สีประมาณ 1-3 กิโลเกรย จะชวยลดปริมาณแบคทีเรียลงไดมาก ทาํ ใหสามารถเก็บรกั ษาไดนานข้ึน แตทั้งนี้ตองบรรจุ ในภาชนะและเก็บในหองเย็น สวนผลไม เชน มะมวง กลวย ถาฉายรังสีดวยปริมาณ 0.3-1 กิโลเกรย จะชะลอการสุกและควบคุมการแพรพันธุของแมลงในระหวางการเก็บรักษา ทําใหอายุการเก็บนานข้ึน สว นสตรอเบอร่ี ถาฉายรังสีดวยประมาณ 3 กิโลเกรย จะชวยทําลายจลุ นิ ทรียท่ีเปนสาเหตุทําใหเนาเสียลง บางสวน ทําใหย ดื อายกุ ารเกบ็ รักษาหรอื ในระหวางการจําหนายและการฉายรังสี ประมาณ 1-2 กิโลเกรย จะสามารถชะลอการบานของเห็ด ทําใหก ารจาํ หนา ยมรี ะยะนานข้นึ 4) ทําลายเชื้อโรคและพยาธิในอาหาร ผลิตภัณฑที่ทําจากเนื้อสัตวอาจมีพยาธิหรือเชื้อ โรคติดอยูได เชน พยาธิใบไมตับที่มีในปลาดิบ สามารถทําลายไดดวยรังสีต่ําประมาณ 0.15 กิโลเกรย แหนมซง่ึ เปน ผลิตภณั ฑจ ากหมูทค่ี นไทยนิยมรบั ประทานดิบ ๆ ถาฉายรังสีในประมาณ 2-3 กิโลเกรย จะ เพียงพอท่ีจะทําลายเชอื้ ซาลโมเนลลา ซงึ่ เปนสาเหตุทําใหเกิดทองรวงและทําลายพยาธิท่ีอาจจะติดมากับ เน้ือหมูกอ นทําแหนมก็ได 5.2 กระบวนการฉายรงั สี ในประเทศไทยการฉายรังสีอาหาร ควบคุม และดําเนินการโดย สํานักงานพลังงานปรมาณูเพ่ือ สันติ กระทรวงวทิ ยาศาสตรเทคโนโลยแี ละการพลังงาน สวนมาตรฐานเก่ียวกับปริมาณของรังสีที่ใชและ ความปลอดภัยตอ งเปนไปตามประกาศของกระทรวงสาธารณสขุ อาหารที่จะผานกระบวนการฉายรังสีมี ทงั้ ผลผลติ การเกษตรหลงั การเกบ็ เกี่ยว และผลิตภัณฑอาหารสําเร็จรูปและกึ่งสําเร็จรูป ดังน้ัน การบรรจุ หบี หอ อาจมคี วามจําเปน ตามชนดิ ของผลติ ภณั ฑ เชน แหนม หมูยอ ซึ่งหอหุมดวยใบตอง สวนหอมใหญ มนั ฝรงั่ ไมมีสงิ่ หอหมุ เปน ตน ในการฉายรงั สผี ลิตผลเหลาน้ีตองบรรจุในภาชนะหรือหีบหอท่ีเหมาะสม นําไปผานพลังงานคลื่นไฟฟาในรูปของรังสี ซ่ึงอยูในตึกแยกหางจากตึกกําเนิดรังสีและไดรับการ ออกแบบใหม่ันคงแข็งแรงไดมาตรฐานดานความปลอดภัย เปนหลักประกันวาจะไมเปนอันตรายหรือ กอ ใหเกิดปญ หาส่ิงแวดลอมตอ ชมุ ชนได

134 5.3 ปริมาณรังสที ี่ใชใ นการถนอมอาหาร หนว ยของรงั สีเรยี กวา เกรย อาหารใดกต็ ามเมอื่ ผานการฉายรงั สีแลว รังสไี ดคายหรอื ถา ยพลังงาน ใหเ ทา กบั 1 จลู ตอ อาหารจาํ นวน 1 กิโลกรัม เรยี กวา 1 เกรย หนวยของรงั สีวัดเปนแรด ซง่ึ 100 แรดเทา กับ 1 เกรย และ 1,000 เกรยเทากับ 1 กิโลเกรย องคการอนามัยโลก และทบวงการพลังงานปรมาณูระหวาง ประเทศ ไดสรปุ วา การฉายรังสีอาหารใดก็ตามดวยระดับรงั สี ไมเ กิน 10 กโิ ลเกรย จะมีความปลอดภัยใน การบริโภค และไมทําใหคุณคา ทางโภชนาการเปลย่ี นแปลงไป แตอ ยางไรก็ตามปริมาณของรังสีที่อาหาร ไดรับตองเปนไปตามประกาศของกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งแตกตางกันตามชนิดของอาหารและตาม วตั ถปุ ระสงควา ดว ยการถนอมอาหารในระดับตาง ๆ 5.4 การแสดงฉลาก อาหารอาบรังสตี อ งมฉี ลากแสดงขอ ความเพ่ือใหผ บู รโิ ภคไดร ับทราบขอ มูล ซึง่ เปนประโยชนใน การเลือกซือ้ อาหารมาบรโิ ภค โดยในฉลากจะตองระบุรายละเอียดดังตอไปนี้ 1) ชอื่ และทีต่ ้ังของสาํ นกั งานใหญของผผู ลิตและผูฉ ายรังสี 2) วัตถปุ ระสงคใ นการฉายรงั สี โดยแสดงขอ ความวา \"อาหารทไ่ี ดผ านการฉายรงั สเี พื่อ........แลว\" (ความทีเ่ วน ไวใ หร ะบวุ ตั ถุประสงคข องการฉายรังส)ี 3) วนั เดือนและปท ี่ทําการฉายรังสี 4) แสดงเครื่องหมายวาอาหารนัน้ ๆ ไดผ านการฉายรังสีแลว อาหารสําเร็จรูป หมายถึง อาหารท่ีผูขายปรุงไวเรียบรอยแลว ผูซ้ือสามารถนําไปอุนหรือ รบั ประทานไดท ันที อาหารสาํ เร็จรปู นร้ี วมถึงอาหารทผี่ บู รโิ ภคส่ังใหประกอบหรือปรุงใหม การเลือกซ้ือ ควรสงั เกตสถานทขี่ ายสะอาด ภาชนะใสอาหารมสี ่งิ ปกปด กันแมลงและฝุนละออง ผูขายแตงกายสะอาด ถกู หลักสขุ าภบิ าลอาหาร อาหารสําเร็จรูปที่พรอมบริโภคทันที หมายถึง อาหารท่ีผลิตเรียบรอยพรอมบริโภคที่บรรจุใน ภาชนะพรอมจําหนา ยไดท นั ที เชน น้ําพริกสําเร็จรปู (นาํ้ พริกเผา นํา้ พรกิ สวรรค น้าํ พริกตาแดง แจวบอง) ขนมตาง ๆ (ขนมรังแตน ขาวแตน กระยาสารท ทองมวน ทองตัน ทองพับ กรอบเค็ม กระหรี่ปป ขา วเกรียบทีท่ อดแลว ทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง ขนมปงกรอบ คุกกี้ เอแคร ขนมอบกรอบ ขนมขบ เค้ียว) พชื ผกั และผลไมแ ปรรูป (กลวยตาก กลวยฉาบ กลวยอบเนย กลวยกวน สับปะรดกวน มะมวงดอง ฝรัง่ ดอง มะยมหยี มะมวงหยี ฝรั่งหยี มะดันแชอิ่ม มะมวงแชอ่ิม) ผลิตภัณฑจากสัตว (ไขเค็มตมสุก หมู หยอง หมูทุบ หมแู ผน หมสู วรรค ปลาแผน หมูแผน เนอื้ สวรรค ฯลฯ) อาหารพรอ มปรงุ หมายถงึ อาหารที่ผูขายจัดเตรียมวัตถุดิบ พรอมเครื่องปรุงไวเปนชุดผูบริโภค สามารถซอื้ แลวนําไปประกอบเองท่บี าน ควรสงั เกตวนั เดือน ป ทผ่ี ลิตหรือวันหมดอายเุ พราะลักษณะของ อาหารยังไมไดผ า นความรอ น มโี อกาสบดู เสียหรอื เสือ่ มคุณภาพไดมากที่สุด

135 เร่ืองท่ี 6 อาชพี จาํ หนา ยอาหารสําเร็จรูปตามหลักสุขาภบิ าล อาชพี จาํ หนา ยอาหารสําเรจ็ รปู คือ กระบวนการเคล่ือนยา ยผลิตภัณฑจากผูผลิตอาหารสําเร็จรูป ไปยงั ผูบรโิ ภค โดยคํานึงหลกั สุขาภบิ าล ตั้งแตข้ันตอนการผลิต การบรรจุหีบหอ บรรจุภัณฑ การขนสง และการจัดเกบ็ เพอื่ รอจําหนาย กระท่งั ผลิตภณั ฑถ งึ ผบู ริโภค ดังรูป กระบวนการผลติ การขนสงและ ผูบ ริโภค และบรรจุภณั ฑ เก็บรักษา ชอ งทางการจัดจําหนาย ประกอบดวย ผูผลิต คนกลาง และผูบริโภค ซึ่งอาจจะใชชองทางตรง จากผูผ ลติ ไปยงั ผบู ริโภค และใชช อ งทางออ ม จากผผู ลิต ผา นคนกลาง ไปยงั ผูบ รโิ ภค ดงั รปู ผูผ ลติ ผบู รโิ ภค ผผู ลิต คนกลาง ผูบรโิ ภค ตลาดผลติ ภัณฑอ าหารสําเร็จรปู 1. ตลาดภายในประเทศ 2. ตลาดระหวางประเทศระดับอาเซียน 3. ตลาดระหวา งประเทศระดับภมู ภิ าคอน่ื ทว่ั โลก สวนประสมทางการตลาดสําหรับผลิตภัณฑอาหารสําเร็จรูป หมายถึง การดําเนินงานเก่ียวกับ การผลติ การจําหนา ย การกําหนดราคา และการสงเสรมิ การขายไดส ดั สวนกัน เหมาะสมกบั ความตองการ ของลกู คา สภาพการแขงขนั และสอดคลอ งกับความตอ งการของสงั คม (หรอื เรียกวา 4Ps)

136 1. Product หมายถึง ผลติ ภัณฑอ าหารสําเร็จรูปถูกหลกั สุขาภบิ าลและตรงตามความตองการของ ลกู คา 2. Price หมายถงึ ราคามีความเหมาะสม ลูกคาพงึ พอใจและยอมรับ 3. Place หมายถึง การจัดจาํ หนายโดยพิจารณาชองทางการจาํ หนาย หรือขายผานคนกลาง หรือ พจิ ารณาการขนสงวา มีบทบาทในการแจกตัวอยางสินคาไดอยางไร หรอื ขั้นตอนการเกบ็ รกั ษาเพื่อรอ จาํ หนา ย ท้งั น้ีตองคาํ นงึ ถงึ หลักสุขาภบิ าล 4. Promotion หมายถึง การสงเสริมการตลาด การใชส่ือตาง ๆ ใหเหมาะสมกับตลาดเปาหมาย หรือการส่อื สารใหลกู คาไดทราบสถานทจ่ี ดั จําหนา ยสินคา ราคา ซงึ่ ประกอบดวยกระบวนการ คอื การขายโดยใชพนกั งานขาย การสงเสริมการขายดวยวิธีการแจกของตัวอยาง แจกคูปอง ของแถม การใช แสตมปเพอ่ื แลกสินคา ตลอดจนการใหรางวัลตาง ๆ และการประชาสัมพันธ รูปแบบการขาย 1. การขายสง หมายถึง การขายสนิ คา ใหกบั ผซู อื้ โดยการขายแตล ะครั้งจะมีปริมาณ จํานวนมาก เพอื่ ใหราคาสินคา มรี าคาถกู มากพอท่ีจะนาํ ไปขายตอได 2. การขายปลีก หมายถึง การขายสินคาและบริการแกลูกคาท่ีซ้ือสินคาและบริการไปใชสนอง ความตอ งการของตนเองโดยตรง มิใชเ พือ่ ธุรกิจการขายตอ 3. การขายตรง หมายถึง การทําตลาดสินคาหรือบริการในลักษณะของการนําเสนอขายตอ ผูบริโภคโดยตรง ณ ท่ีอยูอาศัยหรือสถานท่ีทํางานของผูบริโภคหรือของผูอื่น หรือสถานที่อ่ืนที่มิใช สถานทปี่ ระกอบการคาเปน ปกติธุระ โดยผา นตัวแทนขายตรงหรอื ผูจาํ หนา ยอสิ ระชน้ั เดียวหรอื หลายชัน้ การเลอื กทําเลสาํ หรบั การประกอบอาชีพ สิ่งแรกที่ตองทํากอนคือ การหาทําเลท่ีดี เหมาะสมกับ ธุรกจิ โดยจะตองคํานึงถงึ แหลง ประกอบการหรอื ผผู ลติ ปรมิ าณลกู คา และการคมนาคมทีส่ ะดวก เร่อื งท่ี 7 การจดั ตกแตงรา นและการจัดวางสนิ คา อาหารสําเร็จรปู ตามหลักสุขาภบิ าล การจัดตกแตง รา นคา มีความสาํ คัญตอ งคาํ นึงถึงส่งิ ตอ ไปน้ี 1. แสงสวางภายในราน แสงสวางธรรมชาติมักไมเพียงพอและแสงแดดมักทําความเสียหาย ใหแ กสินคา การใชแสงไฟฟา แมจ ะมีคา ใชจา ยสูงแตก จ็ ูงใจลูกคา ใหเขา มาซื้อสินคาไดม ากกวารานที่ ดูมัว่ ซ่ัว ในรานควรเลอื กใชแสงจากหลอดฟลอู อเรสเซนต กอนตดั สินใจเร่อื งแสงสวา งควรรูว า คาไฟฟา จะเปนสกั เทาใด และตอ งใชจ าํ นวนก่ีดวงถงึ จะคุมคา กับการขายสนิ คาดว ย 2. การตกแตงสีภายนอกและภายในราน นอกจากการทาสีรานคาใหสดใสสวาง สวยงามแลว สขี องหบี หอ และตัวสนิ คาก็สามารถนํามาตกแตงใหรานคาดูดีข้ึนจะตองใหผูคนเห็นสินคา ชัดเจนและ สวยงาม

137 3. การจัดวางสินคาบริเวณทางเขาราน ใกล ๆ ทางเขาราน เปนที่เหมาะสําหรับจัดวางสินคาท่ี ตองการเสนอขายเปนพเิ ศษ เพราะเปนทีท่ ล่ี กู คา ทุกคนตอ งเดินผา นเขา ออก จงึ ตอ งจดั สินคา ไวบ รเิ วณนใี้ ห เตะตาจริง ๆ โดยเฉพาะบริเวณโตะชําระเงินที่ลูกคาเขาแถวรอท่ีจะชําระเงิน ควรหาของเล็ก ๆ นอย ๆ ทีล่ กู คาอาจลมื ซือ้ มาจัดวางไว 4. การจัดหมวดหมูของสินคา สินคาที่มีลักษณะคลายคลึงกัน หรือใชรวมกันจะตองจัดวางไว ดวยกนั เชน นาํ้ ดมื่ เครื่องด่มื ประเภทน้าํ อัดลม ประเภทขนมปง สดและเบเกอรี่ ขนมขบเคีย้ ว เปน ตน 5. การติดปายบอกประเภทของสินคา เพื่อใหรูวาสินคาอยูที่ใด เปนการติดปายบอกชนิดของ สินคาตามท่จี ัดไว เปนหมวดหมูแ ลว เพือ่ สะดวกในการคนหาสินคา ตามทลี่ กู คาตองการ อาจจะติดไวตาม ผนังหอง และก่ึงกลางเหนือช้ันวางของ สินคาใดวาง ณ จุดใด ควรวางอยูเปนประจํา และไมควร เปลีย่ นแปลงที่วางสนิ คาบอ ยเกนิ ไป เพราะจะทําใหลกู คา ตองเสียเวลาคนหาในคร้ังตอไปท่ีแวะเขามาซ้ือ สนิ คา ทร่ี า น 6. การตดิ ปายราคาสนิ คา ปจ จุบนั ลูกคาสวนใหญมักสนใจในรายละเอียดของสินคาเพิ่มมากขึ้น ท้ังรูปแบบของบรรจุภัณฑ ชื่อสินคา คําแนะนําการใชผลิตภัณฑน้ันๆ วันผลิตและวันหมดอายุ ดังน้ัน จะตอ งตดิ ปายบอกราคาเพมิ่ ใหก ับตัวสินคาซง่ึ เปน สง่ิ สําคญั ท่สี ดุ ลงไปดว ย คือ ตองติดราคาบอกไวบนตัว สินคาทุกช้ินให ชัดเจนพอท่ีลูกคาและพนักงานเก็บเงินจะอานได หรือ สินคาบางประเภทที่ขายกันเปน จาํ นวนมาก อาจจะตดิ ราคาในรปู ของแผน ปา ยหรอื โปสเตอร จะเปน การชว ยประหยดั แรงงานและเวลาได หากเปนสินคาชนิดเดียวกันแตตางย่ีหอกัน อาจจะติดราคาไวท่ีชั้นวางสินคาจะชวยใหลูกคาเห็นและ เปรียบเทียบราคากันได ถึงแมวาจะตองใชเวลาและแรงงานในการติดราคากันใหม เมื่อสินคามีราคา เปลี่ยนแปลงใหม แตก็เปนการใหประโยชนและรายละเอียดเพ่ิมเติมรวมถึงความสะดวกกับลูกคา ทง้ั ยงั เปน การสะดวกในการเรียกเกบ็ เงินคา สินคาอกี ดวย

138 การจดั วางสินคา มคี วามสําคญั ตอการจูงใจลูกคาใหเลือกซ้ือสินคา เพื่อใหสะดวกและเกิดความ พงึ พอใจควรคาํ นึงถึงสง่ิ ตอไปนี้ 1. ความพงึ พอใจของลกู คา 2. จดั สนิ คาไวในบริเวณทีเ่ ราจะขาย 3. จดั สินคาไวใ นระดบั สายตาใหมากที่สุด 4. จดั สนิ คา ดานหนาบนช้นั ใหเ ตม็ อยูเสมอ 5. ช้นั ปรับระดับไดต ามขนาดของสินคาจะเปน การดี 6. การใชกลอ งหนุนสินคา ใหด ูงดงามแมจ ะมีสินคาไมมากนกั 7. ความเปนระเบียบเรียบรอย สินคาบางชนิด มีหลายแบบ หลายขนาด ควรจัดใหเปนระเบียบ สะดวกในการเปรียบเทียบของลูกคา ดังนั้น สินคาที่เหมือน ๆ กันควรเอาไวดวยกัน และควรจัดตาม แนวนอนอยูใ นระดับเดยี วกนั หรือจะจดั ในแนวดิง่ ดว ยกไ็ ด 8. สินคา มากอ นตองขายกอน เราตอ งขายสินคาเกา กอนสนิ คาใหมเสมอ พยายามวางสินคา มากอ น ไวแ ถวหนา เสมอ ควรทําสนิ คาทมี่ ากอนใหดูสดใสสะอาดเหมอื นสินคาใหม 9. ปองกนั หลีกเลี่ยงการรวั่ ไหลของสนิ คา โดยการจดั วางผังทางเดนิ ภายในรานใหล ูกคา เดินไปมา ไดสะดวก คือ หยิบก็งา ย หายก็รู สนิ คาบบุ ชํารุด ใกลห มดอายุควรจัดเปนสินคาลดราคาพิเศษ ลางสต็อก ดว ยการจัดแยกขายไวตา งหาก การจดั การและดูแลคลงั สินคาตามหลักสขุ าภบิ าล การจัดการคลังสินคา เปนการจัดการในการรับ การจัดเก็บ หมายถึง การจัดสงสินคาใหผูรับ เพ่ือกิจกรรมการขาย เปาหมายหลักในการบริหาร ดําเนินธุรกิจ ในสวนที่เกี่ยวของกับคลังสินคา กเ็ พือ่ ใหเกิดการดําเนนิ การเปน ระบบใหค ุม กบั การลงทนุ การควบคมุ คุณภาพของการเก็บ การหยิบสินคา การปอ งกนั ลดการสญู เสียจากการดาํ เนนิ งานเพือ่ ใหต น ทุนการดําเนินงานต่ําที่สุด และการใชประโยชน เตม็ ทีจ่ ากพนื้ ท่ี คณุ ลักษณะเพอื่ ความเปนเลิศในงานขาย การบรกิ ารทดี่ จี ะเกดิ ขึ้นจากตัวบคุ คล โดยอาศัยทักษะ ประสบการณ เทคนิคตาง ๆ ท่ีจะทําให ผูรบั บริการเกดิ ความพงึ พอใจ และอยากกลับเขา มาใชบรกิ ารอีก มีดงั ตอไปน้ี  ตองมีจิตใจรักในงานดานบริการ (Service Mind) ผูใหบริการตองมีความสมัครใจทุมเทท้ัง แรงกายและแรงใจ มคี วามเสยี สละ ผทู จี่ ะปฏบิ ัตหิ นาทไ่ี ดต อ งมใี จรกั และชอบในงานบริการ  ตอ งมีความรูใ นงานท่ใี หบริการ (Knowledge) ผูใหบ ริการตองมคี วามรูใ นงานทีต่ นรับผิดชอบ ที่สามารถตอบขอซักถามจากผูรับบริการไดอยางถูกตองและแมนยํา ในเรื่องของสินคาที่นําเสนอ เพ่ือมิใหเกิดความผิดพลาด เสียหายและตองขวนขวายหาความรูจาก เทคโนโลยีใหม ๆ เพ่ิมข้ึนอยาง สมา่ํ เสมอ

139  มีความชางสังเกต (Observe) ผูทํางานบริการจะตองมีลักษณะเฉพาะตัวเปนคนมีความชาง สังเกต เพราะหากมีการรบั รูวาบรกิ ารอยา งไรจงึ จะเปนท่ีพอใจของผรู ับบรกิ ารกจ็ ะพยายามนํามา คิดสรางสรรค ใหเกิดบริการที่ดียิ่งขึ้น เกิดความพอใจและตอบสนองความตองการของลูกคาหรือ ผรู ับบรกิ ารได มากยิง่ ขึน้  ตองมีความกระตอื รือรน (Enthusiasm) พฤตกิ รรมความกระตือรือรน จะแสดงถึงความมจี ติ ใจ ในการตอนรบั ใหช วยเหลือแสดงความหว งใย จะทําใหเกดิ ภาพลกั ษณท ่ดี ี ในการชว ยเหลือผรู บั บริการ  ตอ งมกี ริ ิยาวาจาสภุ าพ (Manner) กริ ยิ าวาจาเปนสิ่งที่แสดงออกจากความคิด ความรูสึกและ สงผลใหเกดิ บุคลกิ ภาพท่ีดี ดังนัน้ เพ่อื ใหล กู คา หรือผรู ับบรกิ ารมีความสบายใจทีจ่ ะตดิ ตอ ขอรบั บริการ  ตอ งมคี วามคิดรเิ รม่ิ สรางสรรค (Creative) ผูใ หบ ริการควรมีความคิดใหม ๆ ไมควรยึดติดกับ ประสบการณหรือบริการท่ีทําอยู เคยปฏิบัติมาอยางไรก็ทําไปอยางนั้นไมมีการปรับเปล่ียนวิธีการ ใหบ ริการ จึงควรมีความคิดใหม ๆ ในการปฏิรปู งานบริการใหดีขึ้น  ตอ งสามารถควบคุมอารมณได (Emotional control) งานบริการเปนงานที่ใหความชวยเหลือ จากผูอ่ืน ตองพบปะผูคนมากมายหลายชนชนั้ มีการศกึ ษาทีต่ างกัน ดังน้ัน กิริยามารยาทจากผูรับบริการ จะแตกตางกัน เมอ่ื ผูรับบรกิ ารไมไดด ังใจ อาจจะถูกตําหนิ พูดจากาวรา ว กริ ิยามารยาทไมดี ซงึ่ ผใู หบ รกิ าร ตอ งสามารถควบคุมสตอิ ารมณไ ดเปน อยางดี  ตองมีสติในการแกปญหาที่เกิดข้ึน (Calmness) ผูรับบริการสวนใหญจะติดตอขอความ ชวยเหลอื ตามปกติ แตบ างกรณีลกู คาทม่ี ีปญ หาเรงดวน ผใู หบ รกิ ารจะตองสามารถวเิ คราะหถึงสาเหตุและ คดิ หาวธิ ีในการแกไขปญหาอยา งมสี ติ อาจจะเลอื กทางเลอื กที่ดีที่สุดจากหลายทางเลือกในการใหบริการ แกลูกคา  มีทศั นคติตองานบรกิ ารดี (Attitude) การบรกิ ารเปน การชว ยเหลอื ผูทํางานบริการเปนผูให จึงตองมีความคิดความรูสึกตองานบริการในทางท่ีชอบ และเต็มใจที่จะใหบริการ ถาผูใดมีความคิด ความรูส กึ ไมชอบงานบริการ แมจ ะพอใจในการรบั บริการจากผูอ นื่ กไ็ มอาจจะทํางานบริการใหเปนผลดี ได ถาบุคคลใดมีทัศนคติตองานบริการดี ก็จะใหความสําคัญตองานบริการ และปฏิบัติงานอยางเต็มที่ เปน ผลใหงานบรกิ ารมคี ณุ คา และนําไปสคู วามเปน เลิศ  มีความรับผิดชอบตอลูกคาหรือผูรับบริการ (Responsibility) ในดานงานทางการตลาด และ การขาย และงานบริการ การปลกู ฝง ทัศนคติใหเหน็ ความสําคัญของลกู คา หรือผูรับบริการดวยการยกยอง วา “ลูกคาคือบุคคลท่ีสําคัญท่ีสุด” และ “ลูกคาเปนฝายถูกเสมอ” ท้ังนี้ก็เพื่อใหผูใหบริการมีความ รบั ผดิ ชอบตอ ลกู คาอยางดีทส่ี ุด

140 เร่อื งที่ 8 พฤตกิ รรมผบู รโิ ภคกบั ชองทางการจําหนา ยอาหารสาํ เร็จรปู พฤติกรรมของผูบริโภค (Consumer behavior) หมายถึง การแสดงออกรวมทั้งกระบวนการในการ ตดั สินใจของแตล ะบุคคลทีเ่ กีย่ วขอ งโดยตรงกับการใชส ินคาและบริการ ประโยชนของการศึกษาพฤตกิ รรมผูบรโิ ภค 1. ชว ยใหน กั การตลาดเขา ใจถึงปจจัยทีม่ ีอิทธิพลตอ การตัดสินใจซ้อื สนิ คาของผบู รโิ ภค 2. ชวยใหผูเก่ียวขอ งสามารถหาหนทางแกไ ขพฤตกิ รรมในการตดั สนิ ใจซ้ือสินคาของผูบรโิ ภคใน สงั คมไดถูกตองและสอดคลอ งกับความสามารถในการตอบสนองของธุรกจิ มากยง่ิ ข้นึ 3. ชว ยใหก ารพฒั นาตลาดและการพัฒนาผลิตภัณฑส ามารถทาํ ไดดีขนึ้ 4. เพื่อประโยชนในการแบง สวนตลาด เพ่อื การตอบสนองความตอ งการของผูบริโภค ใหตรงกับ ชนิดของสินคา ที่ตอ งการ 5. ชว ยในการปรบั ปรุงกลยุทธก ารตลาดของธุรกจิ ตาง ๆ เพ่อื ความไดเปรยี บคแู ขงขัน การประเมนิ ความพงึ พอใจของผบู ริโภค ความพงึ พอใจ หมายถงึ ความรูสึกภายในจติ ใจของมนษุ ยซึ่งจะไมเหมือนกัน ซ่ึงข้ึนอยูกับแตละ บคุ คลวาจะคาดหมายกบั สิ่งหน่ึงสิง่ ใด ถา คาดหวังหรือมคี วามตงั้ ใจมากเมื่อไดรบั การตอบสนองดว ยดีจะมี ความพงึ พอใจมาก แตใ นทางตรงขา มอาจผดิ หวังหรือไมพ ึงพอใจเปนอยางยง่ิ เม่ือไมไดรับการตอบสนอง ตามท่ีคาดหวังไวห รือไดร ับนอยกวา ทค่ี าดหวังไว ทัง้ นีข้ น้ึ อยกู บั สิ่งทตี่ ง้ั ใจไวว าจะมีมากหรือมีนอย ปจ จัยสาํ คัญเพื่อประเมินคุณภาพของการบริการ 1. ความสะดวก หมายถึง ความสะดวกในการเขาพบหรือติดตอกับผูใหบริการ ซึ่งครอบคลุม ท้ังเวลาท่ีเปดดําเนินการ สถานท่ีต้ังและวิธีการท่ีจะสามารถอํานวยความสะดวกใหแกผูบริโภคในการ เขาพบหรือติดตอกบั ผใู หบ ริการ เชน สถานท่ีใหบ รกิ ารต้ังอยใู นทที่ ี่สะดวกแกก ารไปตดิ ตอ เปน ตน 2. การติดตอสอ่ื สาร หมายถงึ การส่อื สารและใหข อมูลแกลูกคาดวยภาษาท่ีงายตอการเขาใจและ การรับฟงความคิดเห็น ตลอดจนขอเสนอแนะ หรือคําติชมของลูกคาในเร่ืองตาง ๆ ท่ีเก่ียวของกับการ ใหบรกิ ารขององคการ 3. ความสามารถ หมายถึง การท่ีผูใหบริการมีความรูความสามารถและทักษะที่จะปฏิบัติงาน บรกิ ารไดเ ปน อยา งดี เชน ความรูแ ละทักษะใหข อ มูลผลติ ภณั ฑ เปนตน 4. ความสุภาพ หมายถึง การท่ีผูใหบริการมีความสุภาพเรียบรอย มีความนับถือในตัวลูกคา รอบคอบ และเปนมิตรตอผูบริโภค เชน การใหบริการดวยใบหนาที่ย้ิมแยมแจมใสและการสื่อสารดวย ความสภุ าพ เปนตน 5. ความนาเชื่อถือ หมายถึง ความเชื่อถือไดและความซ่ือสัตยของผูใหบริการ ช่ือเสียงและ ภาพลักษณท ่ีดี 6. ความคงเสนคงวา หมายถึง ความสามารถในการปฏิบัติงานท่ีไดสัญญาไวอยางแนนอนและ แมนยํา เชน การใหบริการตามท่ีไดแจงไวกับแกล กู คา เปน ตน

141 7. การตอบสนองอยา งรวดเร็ว หมายถึง ความเต็มใจของผูใหบริการที่จะใหบริการอยางรวดเร็ว เชน การใหบ รกิ ารแกผ รู บั บรกิ าร ณ เคานเตอรจ ายเงิน แบบทันทีทันใด เปนตน การสาํ รวจความพงึ พอใจ การสาํ รวจความพึงพอใจลกู คาเปนเครื่องมือทสี่ าํ คัญและมบี ทบาทในการพฒั นาและปรับปรุงการ ทาํ งานในองคก ารอยา งมาก ขอ มูลทีไ่ ดจ ากการสาํ รวจเปน ขอมลู ปอนกลับไปสูหนวยงานท่ีแสดงใหเห็น ถงึ พฤตกิ รรมและความตองการของลกู คา เชน พฤติกรรมการเลอื กซ้ือ/ใชบริการ และเปนตัวช้ีวัดผลการ ปฏิบัติงานขององคการที่แมนยํา เทคนิคการวัดความพึงพอใจ อาจเร่ิมจาก การสังเกต การสัมภาษณ แบบสอบถาม จนถงึ กระบวนการทําวิจยั มหาตมะ คานธีกลา วไวว า “ลูกคา คือ แขกคนสําคัญท่ีสุด ที่ไดมาเยือนเรา ณ สถานท่ีแหงนี้ เขามิไดมาเพ่ือพึ่งพิงเรา เรา ตา งหาก ท่ีตอ งพ่ึงพาอาศัยเขา เขามใิ ชบ ุคคลท่มี าขดั จงั หวะการปฏบิ ตั ิงานของพวกเรา หากแตวา การรับใช เขาคอื วตั ถุประสงคแ หงงานของพวกเรา เขามิใชบ คุ คลแปลกหนาแตเขา คือ สวนหน่ึงของสถานท่ีแหงน้ี บรกิ ารจากพวกเรา มใิ ชก ารสงเคราะหเขา เขาตา งหากทกี่ ําลงั สงเคราะหพวกเรา ดว ยการยอมใหพวกเรามี โอกาสไดร บั ใชเ ขา” การสงเสริมการขาย การสงเสรมิ การขายเปน กิจกรรมทก่ี ระตุนการตัดสนิ ใจซ้ือสินคา หรือบรกิ าร โดยการจัดกิจกรรม การตลาดและสงเสริมการขายตา ง ๆ เชน การเสนอของแถม การแสดงสนิ คา และการจัดวางสินคา การลด ราคา การตลาดทางไกล การตลาดทางไปรษณีย และวธิ กี ารอื่น ๆ เพ่อื ชวยกระตุนยอดขาย วิธกี ารสง เสรมิ การขาย  การสง เสริมการขายดานลดราคาสว นใหญเปนการลดราคาสินคา โดยอาจจะลดจากราคาขาย ปกติ เชน การจัดโปรโมช่นั ตาง ๆ เปน ชวงเวลา การลดราคา 25% ทกุ วนั พธุ เปน ตน หรอื การเพ่ิมปริมาณ สินคา โดยขายราคาเทา เดิม เชน แลกตาซอย เอ็กตรา 300 เพ่ิมปริมาณแตไมเพิ่มราคา เปนตน ยอดขายที่ เพิม่ ข้นึ จากการลดราคานี้ จะมตี นทนุ จากกาํ ไรทลี่ ดลง การตดั สินใจใชก ลยุทธน้ีจึงควรตองพิจารณาอยาง รอบคอบ และควรคาํ นงึ ถึงผลกระทบตอ ชอ่ื เสียงของตราสนิ คาดวย  การสง เสรมิ การขายโดยการใชคปู อง คูปอง เปน อกี วิธกี ารหนงึ่ ในการลดราคา วัตถุประสงคห ลกั ของการใชก ารสงเสรมิ การขายโดย ใชคูปอง คือ การกระตุนใหลูกคาใชค ูปองใหมากทส่ี ดุ โดยมีเทคนิคการแจกคูปองหลายอยา ง ตัวอยางเชน - การตดิ คูปองไวบนบรรจภุ ณั ฑเพื่อกระตุนการซื้อซ้าํ - การแจกคปู องในหนงั สือพิมพ หรือนติ ยสารเพื่อใหผ บู รโิ ภคไปใชซ ื้อสนิ คา  การสงเสริมการขายโดยการใหของแถมเปนวิธีท่ีมีใชกันมาก โดยลูกคาจะไดรับของแถม เมอื่ ซ้ือครบตามท่กี ําหนด เชน ซอื้ สนิ คาครบสิบชน้ิ ก็จะไดร ับของแถมหน่งึ ชนิ้ เปนตน

142  การสงเสริมการขายโดยการแขงขันและใหรางวัลเปนอีกวิธีหนึ่งที่มีใชกันมากในปจจุบัน โดยเฉพาะตามงานแสดงสนิ คา ตาง ๆ ก็จะมสี าวสวย (Pretty) แตงตัวนารัก มากลาวแนะนาํ ถงึ สรรพคณุ ทีด่ ี ของสนิ คา และจดั เกมสต อบคาํ ถามงา ย ๆ พรอมของรางวลั เล็ก ๆ นอ ย ๆ เพือ่ เรยี กรองความสนใจของลูกคา ที่เดินผานไปมาและมกี ารแจกของชาํ รว ยเลก็ ใหกบั ผทู ่ีเขา รวมกจิ กรรมและตอบคําถามไดถ กู ตอง เปนตน  การสงเสรมิ การขายโดยการชิงโชค ซ่งึ วิธนี ้กี ็อาจจะมีหลายวิธี แตท่ีนิยมกันก็คือ การแนบใบ ลนุ รางวลั มาพรอมกับสินคา หรือใหตัดชิน้ สวน หรือ ปายฉลาก สติ๊กเกอร อยางใดอยางหน่ึง สงไปรวม ชิงโชค ซง่ึ วธิ ีการน้ีก็จะตองระมดั ระวงั เร่อื งความสะดวกในการท่จี ะสงชิ้นสว น หรือชิ้นสวนจะตองไมถ กู แอบแกะอานดูกอ นท่ีผซู อ้ื จะเปนผูแ กะคนแรก  การสงเสรมิ การขายสาํ หรับลกู คาประจํา เปนการกระตุนใหลูกคาประจํามาซื้อสินคาหรือใช บริการบอย ๆ เชน สายการบิน มีการสะสมไมลเพื่อแลกเปนตั๋วเครื่องบินฟรี เมื่อสะสมไมลได ตามทก่ี าํ หนด หรอื รานอาหารญปี่ นุ ฟูจิ หรอื เซน มกี ารประทับตราเมอื่ รับประทานอาหารครบทุก 300 บาท และนาํ มาแลกเปน บัตรสวนลด หรืออาหาร 1 จานเมื่อครบตามที่กําหนด เปนการกระตุนใหลูกคามาซื้อ สินคา หรอื ใชบ รกิ ารบอย ๆ หรือปม น้ํามนั มีการทําบตั รสมาชิกแลวใหสวนลดพิเศษสาํ หรับสมาชกิ เปนตน  การสง เสรมิ การขาย ณ จุดวางสินคามีผลการวิจยั พฤตกิ รรมผูบริโภคในรานคาปลีกออกมาวา ยอดขายจะเพิ่มข้ึนถาลูกคาสามารถเห็นสินคา ณ จุดวางสินคา การจัดวางสินคาที่นาสนใจ ใหขอมูล เหมาะสม และวางในตําแหนงที่สังเกตไดงาย จะชวยใหลูกคาซ้ือสินคามากข้ึน ในปจจุบันจะเห็นไดวา สินคา อุปโภคบริโภคท่ีวางจําหนายในซุปเปอรม ารเ ก็ต มกี ารจดั เรยี งเปนแถวอยางเปน ระเบยี บ ถาตองการ ใหส นิ คาเปน ทีส่ งั เกตไดง าย พ้ืนทีว่ างสินคา ตอ งอยใู นระดับสายตา และตั้งวางสินคาเปนแถวอยางชัดเจน และเปนระเบยี บ  การสง เสรมิ การขายโดยการแจกสนิ คา ตวั อยางใหท ดลองใช วิธนี ี้ใหลูกคาไดทดลองใชสินคา ดูกอน กอนท่ีจะตัดสินใจซ้ือ ซึ่งวิธีนี้ก็อาจสามารถดึงลูกคาท่ีใชสินคาของคูแขงอยูใหหันมาทดลอง ของใหมโ ดยท่ไี มต องเสยี เงินซ้ือ เพราะบางคร้ังลูกคามีความคิดวาของท่ีใชอยูเดิมก็ดีท่ีสุดอยูแลว ทําไม ตอ งไปเสยี เงินซอ้ื สนิ คาอื่นมาทดลองใช อยา งไรก็ตาม การสงเสรมิ การขาย ควรยึดหลักทวี่ า ทาํ ส่ิงทงี่ า ย ๆ ทไี่ มใหลกู คา รสู กึ ยงุ ยาก ในการทีจ่ ะเขารวมกิจกรรมทเ่ี ราวางไว เทคโนโลยเี พิม่ ชอ งทางการจําหนา ย E-Commerce การพาณิชยอิเลก็ ทรอนิกส คือ การดําเนินธุรกิจการคาหรือการซ้ือขายบนระบบ เครือขายอินเทอรเนต โดยผูซ้ือ (Customer) สามารถดําเนินการ เลือกสินคา คํานวนเงิน ตัดสินใจซื้อ สินคา โดยใชว งเงนิ ในบัตรเครดิต ไดโ ดยอัตโนมัติ ผูขาย (Business) สามารถนําเสนอสินคา ตรวจสอบ วงเงินบตั รเครดติ ของลกู คา รับเงนิ ชาํ ระคาสนิ คา ตดั สินคา จากคลังสินคา และประสานงานไปยังผูจัดสง สนิ คา โดยอัตโนมตั ิ กระบวนการดงั กลาวจะดาํ เนนิ การเสร็จสิ้นบนระบบเครอื ขา ย Internet