คํ า นํ า เนื่องในโอกาสปีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และครบรอบ ๑๒ ปี ท่ีสำนักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ได้รับพระบรมราชานุญาต เมื่อวันท่ี ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๒ ให้นำพระบรมราโชวาทท่ีประมวลนำข้ึนทูลเกล้า ทูลกระหม่อมถวายและทรงพระกรุณาปรับปรุงแก้ไขเผยแพร่เป็นแนวปฏิบัติของปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงแก่ประชาชนไทยโดยทั่วกัน สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาประเทศตามปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง (มพพ.) และ สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ สำนึกใน พระมหากรุณาธิคุณที่มีพระบรมราชานุญาตให้เผยแพร่แนวปฏิบัติ จึงได้รวบรวมผลการ ขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในกรอบเวลาระหว่างปี ๒๕๔๒ - ๒๕๕๔ เพื่อสะท้อนความหลากหลายของการนำไปประยุกต์ใช้โดยภาคส่วนต่างๆ ตลอดช่วงระยะ เวลาดังกล่าว หนังสือ “จากปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ... กว่า ๑ ทศวรรษ” เล่มนี้ เรียบเรยี งเก่ียวกับขบวนการขบั เคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงในรอบ ๑๒ ปี การประยุกต์ใช้ของแต่ละภาคส่วน การสร้างบรรทัดฐานการ ประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในบริบทต่างประเทศ และก้าวต่อไปของการ ขับเคลอ่ื นปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งใหเ้ ป็นรากฐานของชีวติ ท่มี น่ั คง 2
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) มูลนิธิ สถาบันวิจัยและพัฒนาประเทศตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (มพพ.) และสำนักงาน ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ หวังเป็นอย่างย่ิงว่า หนังสือเล่มนี้จะช่วยเสริมสร้าง ความเข้าใจในความสำเร็จของการน้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ให้เกิด ประโยชน์ต่อตนเองและส่วนรวมอย่างถ่องแท้ ส่งผลให้ประชาชนเห็นคุณค่า และ เกิดศรัทธาในการปฏิบัติ อันจะเป็นประโยชน์ในการดำเนินชีวิต ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดล้อม วัฒนธรรมและเทคโนโลยี เพื่อมุ่งให้ประเทศเข้าสู่ “สังคมอยู่ร่วมกัน อย่างมคี วามสุข ด้วยความเสมอภาค เปน็ ธรรม และมภี ูมคิ ุ้มกัน ตอ่ การเปลีย่ นแปลง” สำนกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ (สศช.) มูลนธิ ิสถาบันวิจยั และพัฒนาประเทศตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (มพพ.) สำนกั งานทรัพยส์ นิ ส่วนพระมหากษตั รยิ ์ มีนาคม ๒๕๕๕ 3
๑๒ ๖๗ ๑๘ ๕๖ ๗๑ 4
ส า ร บั ญ ๖ เกรนิ่ นำ ๑๐ ขบวนการขบั เคลอ่ื นปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในรอบ ๑๒ ป ี ๑๖ จากปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสกู่ ารประยกุ ตใ์ ชข้ องแตล่ ะภาคสว่ น ๕๔ การสรา้ งบรรทดั ฐานการประยกุ ตใ์ ชป้ รชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๖๖๘๒ (พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๕๔) ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในบรบิ ทตา่ งประเทศ กา้ วตอ่ ไปปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเปน็ รากฐานของชวี ติ ทม่ี น่ั คง 5
คนไทยเร่ิมเรียนรู้เกี่ยวกับสาระสำคัญหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๑๗ จากการท ี่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงเตือนล่วงหน้าให้มีความระมัดระวัง เกี่ยวกับความสมดุลด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ และทรงแนะ “แนวทางการพัฒนาประเทศอย่าง “เป็นลำดับขั้น” ดังตอนหน่ึงใน พระราชดำรสั ความว่า ...การพัฒนาประเทศนั้นจำเป็นต้องทำตามลำดับข้ัน เริ่มด้วยการสร้างพื้นฐาน คือความมีกินมีใช้ของประชาชนก่อนด้วยวิธีการ ท่ีประหยัดระมัดระวัง แต่ถูกต้องตามหลักวิชา เมื่อพื้นฐานเกิดข้ึน มั่นคงพอควรแล้ว จึงค่อยสร้างเสริมความเจริญข้ันที่สูงข้ึนตามลำดับต่อไป... ด้วยความรอบคอบระมัดระวังและประหยัดน้ัน ก็เพื่อป้องกัน ความผิดพลาดล้มเหลว และเพ่ือให้บรรลุผลสำเร็จได้แน่นอนบริบูรณ์... พระบรมราโชวาทในพธิ พี ระราชทานปริญญาบตั ร ”ของมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๑๗ 6
“...การท่ีจะทำโครงการอะไร จะต้องทำด้วยความรอบคอบ และอย่าตาโตเกินไป...แต่ข้อ 7 สำคัญที่อยากจะพูดถึงคือ ถ้าเราทำโครงการท่ีเหมาะสม ขนาดที่เหมาะสมอาจจะไม่ดู หรูหรา แต่จะไม่ล้ม หรือถ้ามีอันเป็นไป ก็ไม่เสียมาก...มาเร็วๆ น้ี โครงการต่างๆ โรงงาน เกิดข้ึนมามาก จนกระทงั่ คนนกึ วา่ ประเทศไทยนี้ จะเป็นเสือตัวเล็กๆ แลว้ กเ็ ปน็ เสือตัวโตข้นึ . เราไปเห่อว่าจะเป็นเสือ...การจะเป็นเสือนั้นไม่สำคัญ. สำคัญอยู่ที่เรามีเศรษฐกิจแบบ พอมีพอกิน. แบบพอมีพอกินนั้นหมายความว่า อุ้มชูตัวเองได้ ให้มีพอเพียงกับตัวเอง... ” พระราชดำรัสเนือ่ งในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา : ๔ ธันวาคม ๒๕๔๐ การตระหนักอย่างจริงจังถึงความหมายของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้ เริ่มเกิดขึน้ ภายหลังวกิ ฤตเศรษฐกจิ ใน พ.ศ. ๒๕๔๐ ซ่ึงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ทรงยำ้ ใหเ้ หน็ ความสำคญั ทม่ี เี ศรษฐกจิ แบบ “พอมพี อกนิ ” พฒั นาคนให้สามารถ “อมุ้ ชูตัวเองได้” และได้ทรงอธิบายความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง “...พอเพียง นี้ก็หมายความว่า มีกินมีอยู่ ไม่ฟุ่มเฟือย ไม่หรูหราก็ได้ แต่ว่า พอ ...คนเราถ้าพอในความต้องการ ก็มีความโลภน้อย เม่ือมีความโลภน้อย ก็เบียดเบียนคนอื่นน้อย ถ้าทุกประเทศมีความคิด-อันนี้ไม่ใช่เศรษฐกิจ-มีความคิดว่าทำอะไร ต้องพอเพียง หมายความว่าพอประมาณ ไม่สุดโต่ง ไม่โลภอย่างมาก คนเราก็อยู่เป็นสุข พอเพียงน้ีอาจจะมีมาก อาจจะมีของหรูหราก็ได้ แต่ว่าต้องไม่ไปเบียดเบียนคนอื่น ต้องให้ พอประมาณตามอัตภาพ พูดจาก็พอเพียง ทำอะไรก็พอเพียง ปฏิบัติตนก็พอเพียง... ”พระราชดำรัสเนื่องในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา : ๔ ธนั วาคม ๒๕๔๑
ต่อมา เมื่อวันที่ ๒๒ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ สำนักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้นำความข้ึนกราบบังคมทูลขอพระราชทาน พระบรมราชวินิจฉัยและขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตท่ีจะเผยแพร่บทความ ท่ีอธิบาย “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ที่ได้มาจากการเชิญผู้ทรงคุณวุฒิ ในทางเศรษฐกจิ และสาขาอื่นๆ จำนวนหนงึ่ มารว่ มกันประมวลพระราชดำรสั เรื่องเศรษฐกิจ พอเพียงและพระราชดำรัสอ่ืนที่เกี่ยวข้อง และเม่ือวันท่ี ๒๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๒ สำนักราชเลขาธิการได้มีหนังสือถึงประธานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติแจ้งว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาปรับปรุงแก้ไขพระราชทาน และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้นำบทความดังกล่าว ไปเผยแพร่ได้ เพ่ือเป็นหลักคิดและแนวทางปฏิบัติแก่สำนักงานฯ เจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี นกั ธุรกิจ ตลอดจนประชาชนทวั่ ไป พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเน้นย้ำถึงความหมายของเศรษฐกิจ พอเพียง (Sufficiency Economy) อกี ครงั้ ในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา : ๔ ธนั วาคม ๒๕๔๓ ...หมายความวา่ ประหยัด แต่ไมใ่ ชข่ ้ีเหนียว ทำอะไรดว้ ยความอะลุ่มอล่วยกัน ทำอะไรดว้ ยเหตแุ ละผล “ ”จะเป็นเศรษฐกจิ พอเพยี ง แลว้ ทุกคนจะมคี วามสุข... 8
9
๑ ขบวนการขบั เคลอ่ื น ปเรพศัชอรญษเพฐาียกขงอิจง ในรอบ ๑๒ ปี ช่วงเริม่ ตน้ ระหวา่ ง พ.ศ. ๒๕๔๒ - ๒๕๔๗ นบั ตงั้ แต่ พ.ศ. ๒๕๔๒ ทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงแก่ปวงชนชาวไทย โดยพระราชทานให้ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาตินำไปขับเคลื่อนในกระบวนการพัฒนา ประเทศ ในช่วงเริ่มต้นเป็นช่วงเวลาท่ีมุ่งสร้างความรู้ การนำปรัชญาของ ความเข้าใจในความหมายของปรัชญาของเศรษฐกิจ เศรษฐกิจพอเพยี ง พอเพยี ง ไปเผยแพรแ่ ละส่งเสรมิ กลมุ่ ผนู้ ำทางความคดิ ซงึ่ สว่ นใหญเ่ ปน็ นกั วชิ าการ ให้นำไปปฏบิ ัติ มีการรวมกลุ่มกันในระดับประเทศ เพื่อวิเคราะห์ ป รั ช ญ า จ า ก บ ท ค ว า ม ท่ี ไ ด้ รั บ พ ร ะ ร า ช ท า น หรือ “ขับเคลอ่ื น” พระบรมราชานุญาตอย่างละเอียดและเช่ือมโยงกับ แนวความคิดและทฤษฎีอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวเนื่องกัน ได้สรุป ตลอดระยะเวลา สาระหลักและทำให้เข้าใจง่ายเป็นภาพ ๓ ห่วง ๒ เง่อื นไข ซ่ึงไดน้ ำไปใชเ้ ผยแพร่ควบคไู่ ปกับบทความ ๑๒ ปี มกี ารดำเนินงาน ท่ีได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ใน ๓ ช่วงเวลาทส่ี ำคญั ดังนี้ ทำให้ประชาชนท่ัวไปสามารถจดจำและมีความเข้าใจ ที่ชดั เจนมากขึ้น 10
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ประเทศชาติ ประชาชน สมดลุ ยง่ั ยืน พร้อมรบั ตอ่ การเปลี่ยนแปลง ภมู คิ มุ้ กนั ในดา้ นวัตถุ / สังคม / สงิ่ แวดลอ้ ม / วัฒนธรรม นำสู่ สายกลาง พอประมาณ ความพอเพยี ง มเี หตุผล มีภมู คิ ุม้ กนั ในตัวที่ดี ความรอบรู้ บนพ้นื ฐาน คณุ ธรรม ความรอบคอบ ซือ่ สตั ย์สจุ ริต อดทน ความระมัดระวัง ความเพียร มสี ติ ปัญญา นอกจากน้ี ยังมีหน่วยงานและภาควิชาการอ่ืนได ้ การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงซ่ึง จัดสัมมนาและจัดประชุมระดมความคิดเห็น ได้มีการเรียนรู้ แลกเปล่ียนประสบการณ์ และร่วมกัน เกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เช่น สถาบัน จัดทำเป้าหมายของเศรษฐกิจพอเพียงของแต่ละภาค วิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) และ ในระยะเวลา ๓ ปี นับเป็นการขับเคล่ือนสู่ผู้นำชุมชน การสัมมนาผู้นำชุมชนท่ีจังหวัดกาญจนบุรี ระหว่าง อย่างเข้มข้นเป็นครั้งแรก วันที่ ๒๘ - ๓๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๕ เก่ียวกับ 11
จากความเห็นของประชาชนทุกภาคส่วนนำมาซ่ึงการจัดทำแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ซ่งึ อยู่บนพ้นื ฐานของปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ชว่ งทส่ี องระหวา่ ง พ.ศ. ๒๕๔๗ - ๑ ผนู้ ำทางความคดิ ๒๕๕๑ โดยในช่วงปลาย พ.ศ. ๒๕๔๖ สำนักงาน ๒ นักวชิ าการในระดับอุดมศกึ ษา คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม ๓ สถาบนั การศกึ ษา แห่งชาติได้ตั้งคณะอนุกรรมการขับเคล่ือน ๔ สถาบันการเมือง เศรษฐกิจพอเพียงข้ึน เพ่ือเป็นกลไกหลักในการ ๕ องคก์ รภาครัฐ ประสานเครือข่ายทั้งในระดับนโยบายและระดับ ๖ ส่ือมวลชนและประชาชน ป ฏิ บั ติ ใ ห้ น ำ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง ไ ป ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ ๗ ภาคธรุ กิจ ๘ ชมุ ชนและประชาสังคม 12 ครอบคลมุ ๘ ภาคสว่ น ไดแ้ ก่
พอเพียงเป็นหัวข้อสำคัญในการสร้างการรับรู้และ ทำความเข้าใจเก่ียวกับสาเหตุของวิกฤตเศรษฐกิจ พ.ศ. ๒๕๔๐ รวมท้ังเตือนสติให้มีการดำเนินชีวิต ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ง ในความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน สามารถ ชาติ ฉบับท่ี ๙ (พ.ศ. ๒๕๔๕ - ๒๕๔๙) รองรับผลกระทบของความเปล่ียนแปลง บนพ้ืนฐาน ของความรู้และคุณธรรม เปิดโอกาสให้ประชาชนได้ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ รว่ มแสดงความคิดเหน็ และตอ่ เนื่อง ใน พ.ศ. ๒๕๕๐ สังคมแห่งชาติได้นำแนวการปฏิบัติตามปรัชญาของ รัฐบาลขณะน้ันได้กำหนดเป็นนโยบายการพัฒนา เศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นปรัชญานำทาง โดยเริ่ม ประเทศโดยให้ทุกแผนงาน / โครงการต้องใช้หลัก ต้ังแต่กระบวนการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๙ สำนักงานฯ ได้จัดให้มีการ รับฟังความคิดเห็นจากทุกภาคส่วนของสังคมในทุก จังหวัดทั่วประเทศ มีประชาชนเข้าร่วมประมาณ ๒๐,๐๐๐ คน สาระตามปรัชญาของเศรษฐกิจ 13
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๑ นอ้ มนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาปฏบิ ตั ิ สูก่ ารสรา้ งภูมิคมุ้ กนั และแนวคิดเศรษฐกจิ สร้างสรรค์ ชว่ งท่สี ามระหวา่ ง พ.ศ. ๒๕๕๑ ด้านอาหาร พลังงาน จึงเป็นความเส่ียงที่ต้อง – ๒๕๕๔ เป็นช่วงการขับเคล่ือนแผนพัฒนา เร่งสร้างภูมิคุ้มกันให้กับประชาชนและประเทศชาติ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๐ พร้อมทั้ง ในกระบวนการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม การเตรียมจัดทำแผนพัฒนาเศรษกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ จึงได้ประเมินศักยภาพของ แห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙) โดยจาก ประเทศและสร้างการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน การประเมินสถานการณ์ของประเทศทั้งท่ีเป็นผลจาก ในทกุ ภมู ภิ าค ตามหลกั ปฏิบตั พิ ้นื ฐานของการนอ้ มนำ วิกฤตเศรษฐกิจ วิกฤตจากภัยธรรมชาติ และปัจจัย ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช ้ โดยได้วิเคราะห์ ในการเปล่ียนแปลงในอนาคตท้ังการเปล่ียนแปลง ทุนของประเทศใน ๖ ทุน ท้ังทุนทรัพยากรธรรมชาติ ด้านเทคโนโลยี และการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ คาดว่า ทุนทางสังคม ทุนมนุษย์ ทุนโครงสรา้ งพ้นื ฐาน ทุนทาง การเปล่ียนแปลงทั้งจากสถานการณ์ภายในและ วัฒนธรรม และทุนทางการเงินของประเทศเพ่ือ ภายนอกประเทศเป็นไปอย่างรวดเร็วและรุนแรงยิ่งข้ึน นำไปสู่การกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ซ่ึงส่งผลกระทบกับคุณภาพชีวิต ความม่ันคง ท่ีมุ่งสู่ “สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข 14
นายอาคม เตมิ พทิ ยาไพสิฐ เลขาธกิ าร สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ (สศช.) บรรยายเพอื่ สรา้ งความรูค้ วามเข้าใจ ในการขบั เคล่ือนแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ซง่ึ น้อมนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเป็นหลักคิดในการจัดทำแผน สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินไปทรงรับฟงั บรรยายสรปุ แผนพฒั นา เศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙) และทอดพระเนตรพพิ ิธภัณฑส์ รุ ิยานวุ ตั ร เพ่อื การพฒั นาประเทศ ณ สำนักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ด้วยความเสมอภาค เป็นธรรม และมี องค์กร สถาบัน สังคม และประเทศ สง่ เสริมการสร้าง ภมู คิ มุ้ กันตอ่ การเปล่ียนแปลง” เครือข่ายในทุกภาคส่วนและระหว่างภาคส่วนต่างๆ นอกจากนั้นสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการ ทั้งภายในและภายนอกประเทศในการขับเคล่ือน เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้จัดตั้งมู ลนิธิ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การติดตามความ สถาบันวิจัยและพัฒนาประเทศตาม ก้าวหน้าและแลกเปล่ียนเรียนรู้จากประสบการณ ์ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงขึ้น เพื่อเป็น การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงระหว่าง กลไกหลักในการพัฒนาและต่อยอดองค์ความรู้ ชุมชน องค์กร สถาบัน ในภาคส่วนต่างๆ และระหวา่ ง ให้เป็นบรรทัดฐานท่ีพัฒนาไปสู่มาตรฐานการปฏิบัติ ภาคส่วนตา่ งๆ ตลอดท้งั การเผยแพร่สสู่ าธารณะ ของทุกระดับ ตั้งแต่ระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน 15
๒ จากปรชั ญา ภาคชมุ ชน ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และประชาสงั คม สกู่ ารประยกุ ต์ใช้ ของแตล่ ะภาคสว่ น จากการสัมมนาผู้นำชุมชนจาก ผลจากการดำเนนิ งาน ทุ ก ภ า ค ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ที่ จั ง ห วั ด ทง้ั สามชว่ งเวลาดงั กลา่ ว กาญจนบุรี เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๕ ซ่งึ ได้มีการจดั ทำเปา้ หมายของเศรษฐกจิ มผี ลการขับเคลอื่ น ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงรายภาคนั้น ได้มีการติดตามไปศึกษา พอเพยี งส่กู ารปฏิบตั ิ กรณีที่ชาวบ้านนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปใช้ในชีวิตและอาชีพ โดยเฉพาะทางด้าน อย่างหลากหลาย พรอ้ มทง้ั เกษตรกรรม พบว่ามีความสำเร็จเป็นอย่างดี แนวทางการขับเคลอื่ น ในชุมชนที่มีผู้นำเข้มแข็ง และชุมชนเองมีความ ในอนาคต โดยสรปุ ดงั น้ี ต้องการและความพร้อมท่ีจะพัฒนาพ้ืนท่ีทำกิน ร่วมกันอย่างยั่งยืน หรือมีการ “ระเบิดจาก ข้างใน” ในการพ่ึงตนเอง และเพ่ิมความสมดุล ในการดำรงชวี ิต 16
ตัวอยา่ งความกา้ วหนา้ ในการประยกุ ต์ใช้ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งในระดบั ชมุ ชน นายประยงค์ รณรงค์ ปราชญช์ าวบา้ นจากตำบลไมเ้ รยี ง อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรธี รรมราช ไ ด้รับรางวัลแมกไซไซในฐานะผู้นำเศรษฐกิจ ชุมชน เมื่อวันที่ ๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ จากการเป็น ผู้นำทางปัญญาให้แก่ชุมชนในการเรียนรู้การจัดระบบ เศรษฐกิจท้องถ่ินด้วยชุมชนเอง จนทำให้ชุมชนตำบล ไม้เรียงเป็นชุมชนแรกในประเทศไทยที่สร้างโรงงาน แปรรูปยางด้วยทุนของตนเอง และได้กลายเป็นต้นแบบ ทางความคิดให้รัฐบาลและหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐ และเอกชน ตลอดจนสถาบันการศึกษานำไปใช้เป็น เครอื่ งมอื ในการต่อสูเ้ อาชนะความยากจน 17
ภาคการเกษตร ภาคการเกษตรไดม้ กี ารประยกุ ต์ใช้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงอย่างกว้างขวาง และพัฒนาสูก่ ารเปน็ เกษตรอนิ ทรีย์และเกษตรยง่ั ยืน นับเป็นภาคท่ีสำคัญนำไปสู่การสร้าง อาหาร ลดรายจ่าย พ่ึงตนเองได้ และแก้ปัญหาความ ความพออยู่พอกินให้กับชุมชนท้องถิ่น ยากจน ภาคครัวเรือนและภาคชุมชน เกษตรกรท ่ี และเป็นต้นธารของการพัฒนาทุกๆ สาขา น้อมนำปรัชญาฯ ไปประยุกต์ใช้มีความก้าวหน้า ที่มีความสำคัญต่อความม่ันคงของชาติ ภายหลังเกิด แตกตา่ งกันไป ตงั้ แต่ขั้นตน้ ข้ันกลาง และขน้ั กา้ วหน้า วิกฤตเศรษฐกิจ พ.ศ. ๒๕๔๐ มีการตื่นตัวนำหลัก เช่น เกษตรกรท่ีตำบลหนองสาหร่าย อำเภอพนมทวน การเกษตรทฤษฎีใหม่ ซึ่งเป็นแนวปฏิบัติตามหลัก จังหวัดกาญจนบุรี ปลูกมันสำปะหลังมาร่วม ๒๐ ป ี ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการเกษตร มีแต่หน้ี ย่ิงปลูกมากยิ่งมีหนี้มากตาม เพราะหมดเงิน ไปประยุกต์ใช้ในทุกระดับอย่างกว้างขวาง นำไปสู่ ไปกับค่าปุ๋ยไร่ละ ๕๐๐ บาท เกษตรกรได้ใช้หลักการ ความพออยู่พอกิน มีความม่ันคงและปลอดภัยด้าน ระเบิดจากข้างใน ค้นหาผู้นำที่แท้จริงในชุมชน 18
ตัวอยา่ งพน้ื ที่เกษตรผสมผสาน ที่สามารถพูดชักชวนให้ชุมชนเชื่อถือ สร้างแรงกระตุ้น ตนเองได้มากขึ้น มีผลเชิงประจักษ์ท่ีพบว่าเกษตรกร ให้ชาวบ้านทำบัญชีครัวเรือน สำรวจรายได้รายจ่าย หลายรายมีพออยู่พอกิน ปรับตัวได้เร็ว สามารถ ของตัวเองมาคิดหาวิธีลดรายจ่าย โดยเลิกใช้ปุ๋ยเคมี ปลดหน้ีสินและสร้างรายได้อย่างค่อยเป็นค่อยไป และนำมูลสัตว์มาหมักเป็นปุ๋ยน้ำชีวภาพทดแทน มกี ารจดั ทำบญั ชีครวั เรอื น เป็นเกษตรกรตัวอยา่ ง อาทิ ใชจ้ า่ ยไร่ละประมาณ ๓๐ บาท ไม่เพยี งลดรายจ่ายลง นายจันทร์ที ประทุมภา เกษตรกรบ้านโนนวัง อำเภอ ยังมีผลผลิตต่อไร่เพิ่มข้ึน เป็นแรงจูงใจให้มีพลังคิดหา ชุมพวง จังหวัดนครราชสีมา เป็นต้น นอกจากน้ัน วิธีพ่ึงพาตนเอง เกษตรกรหนองสาหร่ายใช้เวลาเพียง ๔ ปี ใชห้ นห้ี มด คณุ ภาพชีวิตดขี ึ้น มีภมู ิคุ้มกนั ตอ่ การ ยังได้นำไปสู่กระแสการทำเกษตรอินทรีย์และ เปลี่ยนแปลงมากข้ึน เป็นตัวอย่างการฟ้ืนฟูภาค เกษตรย่ังยืน มีการเช่ือมโยงต่อยอดองค์ความรู้ เกษตรของประเทศหลังวิกฤตเศรษฐกิจ พ.ศ. ๒๕๔๐ และสร้างภูมิคุ้มกันแก่เกษตรกร เกษตรกรพ่ึงพา สู่การแปรรูปผลิตภัณฑ์การเกษตรให้มีมูลค่าเพ่ิมขึ้น อยา่ งหลากหลาย 19
การเชอื่ มโยงระหว่างความสามารถด้านการตลาดของกลุ่มธรุ กจิ กับภมู ิปญั ญาทอ้ งถิน่ ของชุมชน สามารถพฒั นาสู่การร่วมทนุ สรา้ งผลิตภณั ฑ์ท้องถ่ินคณุ ภาพแก่สาธารณะ นอกจากนี ้ ยังมีการเช่ือมโยงบทบาทภาค และภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ เชอื่ มโยงกบั เทคโนโลยีการผลิต ธรุ กจิ และภาคชมุ ชนทอ้ งถน่ิ ใหม้ กี ารรว่ มทนุ ปัจจุบันการส่งออกสินค้ากลุ่มนี้มีแนวโน้มเพ่ิมข้ึน เช่น โดยนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เครื่องสำอาง สบู่ ผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพร ซ่ึง ไปประยุกต์ใช้ ท้ังในมิติการผลิต การลงทุนท่ีใช้ ผลกำไรมีการกระจายสู่ชุมชนมากขึ้น ทั้งในเชิง รายได้และการผลิตสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ศักยภาพของประเทศเป็นหลัก ใช้วัตถุดิบในประเทศ 20
ผลติ ภัณฑ์จากพืชสมุนไพรพ้นื บ้านและผ้าท่ถี ักทอจากภมู ิปัญญาท้องถิน่ ลว้ นสามารถพฒั นาเพมิ่ มลู ค่าใหเ้ ป็นสนิ คา้ คณุ ภาพได้ จนเปน็ ทต่ี ้องการของตลาดไดอ้ ย่างดี ภาคธุรกิจขนาดกลาง ขนาดย่อม และวิสาหกิจชุมชน ซึ่งมีการบริหารธุรกิจบนฐานของการสร้างกลุ่มท ่ี อีกจำนวนไม่น้อยเป็นองค์กรตัวอย่าง เช่น กลุ่ม เข้มแข็ง ศึกษาศักยภาพของทุนในชุมชนท้ังทุนท่ีเป็น มัดย้อมสีธรรมชาติคีรีวง อำเภอลานสกา จังหวัด วัตถุดิบ องค์ความรู้พื้นฐาน และการตลาด เพ่ือสร้าง นครศรีธรรมราช กลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิตบ้าน สินค้าที่มีเอกลักษณ์เป็นของตนเอง ขณะเดียวกันก็ ธาราทิพย์ อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม แบ่งผลกำไรคืนสู่สมาชิกและชุมชนอยา่ งมคี ณุ ธรรม 21
มูลนธิ ิปดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำริ พัฒนาพ้นื ท่ตี น้ แบบจนประสบผลสำเร็จในจังหวดั น่าน เพ่ือสะท้อนความหลากหลายของแนวปฏิบัติ มีการนำร่องจากโครงการขนาดเล็กในพ้ื น ที่ ไ ด้ มี ก า ร ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ ห ลั ก ป รั ช ญ า ข อ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ต้นแบบท่ีอำเภอสองแคว อำเภอท่าวังผา พอเพียงในระดับพื้นท่ี (Area-based) เพ่ือช่วยเหลือ และอำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดน่าน๑ ผู้ยากไร้ในชนบท โดยได้เริ่มโครงการปิดทองหลัง ใน พ.ศ. ๒๕๕๒ โดยไดน้ ำเกษตรทฤษฎใี หม่ การพฒั นา พระ สบื สานแนวพระราชดำริ ดว้ ยความรว่ มมอื ระบบชลประทาน รวมทั้งการจัดตั้งกองทุนพันธุ์พืช พนั ธสุ์ ตั ว์ และปุ๋ยชีวภาพ ไปให้ชาวบ้านได้เรียนรู้และ ของภาคีเครือข่ายต่างๆ ท้ังหน่วยงานด้านองค์ความร ู้ ลงมอื ปฏบิ ตั ดิ ว้ ยตนเองจนเปน็ ผลสำเรจ็ ชว่ ยใหช้ าวบา้ น จากโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ หน่วยงาน ท่ีเคยประสบปัญหาความยากจนจากการปลูกพืช ภาครัฐ หน่วยงานภาคประชาสังคม และหน่วยงาน เชิงเดีย่ วมีรายไดเ้ พ่มิ มากข้ึนและมีหนล้ี ดลง รวมท้ังยงั เอกชน โดยมี “ชุมชนเป็นศูนย์กลาง” ซ่ึงชาวบ้าน ช่วยแก้ปัญหาสุขภาพจากการใช้สารเคมีในการ ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ตามลักษณะเฉพาะของ เพาะปลูกมากเกินไป ปัจจุบันชาวบ้านสามารถ แต่ละภูมิสังคมและความต้องการท่ีแท้จริงของชุมชน 22 ๑ ภายใตช้ ่อื การพัฒนาระบบต้นแบบบูรณาการการแก้ไขปัญหาและพัฒนาพน้ื ทลี่ ุ่มน้ำน่านอย่างยงั่ ยืนตามแนวพระราชดำร ิ
จากการพฒั นาในพน้ื ทเ่ี ขาสงู แหง่ ตน้ นำ้ นา่ น ไดข้ ยายผลสกู่ ารพฒั นาในพนื้ ทรี่ าบของจงั หวดั อดุ รธานี มลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำร ิ ไดป้ รับเปลี่ยนแนวการพัฒนาให้เหมาะสมตามภมู ิสงั คมจนประสบความสำเรจ็ และมเี ป้าหมายทจ่ี ะพฒั นาพื้นทใ่ี ห้ครอบคลมุ ทกุ ภาคทว่ั ประเทศ พึ่งตนเองได้ และมีความตั้งใจท่ีจะใช้ชีวิตบนพื้นฐาน ปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริได้นำรูป ของความพอเพยี งอยา่ งตอ่ เนอื่ งในระยะยาว แบบการพัฒนาจากผลสำเร็จของ ๒ โครงการแรก ต่อมาใน พ.ศ. ๒๕๕๓ ได้มีการขยายผลส่ ู ไปขยายผลใน ๑๘ หมู่บ้านซ่ึงกระจายอยู่ใน ๑๐ จังหวัดท่ัวประเทศท่ีชุมชนมีความ อ่างเก็บน้ำห้วยคล้าย จังหวัดอุดรธานี ด้วย เข้มแข็ง โดยมีกระทรวงมหาดไทยและกระทรวง การพัฒนาอ่างเก็บน้ำตามแนวพระราชดำริท่ียังใช้ เกษตรและสหกรณ์เป็นแกนหลัก ทำหน้าที่เป็น ประโยชน์ได้ไม่เต็มที่ให้เต็มศักยภาพ เพื่อให้สามารถ พี่เลี้ยงและร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ ในพื้นท่ี และ บรหิ ารจดั การนำ้ ไดด้ ขี นึ้ สามารถเพม่ิ พนื้ ทเ่ี กษตรกรรม พ.ศ. ๒๕๕๕ ได้ขยายครอบคลุมเป็น ๕๐ หมู่บ้าน ได้เป็นจำนวนมาก ทำให้ชาวบ้านมีรายได้และความ ซึ่งคาดหมายว่าหากประสบผลสำเร็จและมีความ เป็นอยู่ที่ดีขึ้น เป็นการใช้งบประมาณอย่างคุ้มค่าและ ยั่งยืน ชุมชนอื่นๆ จะนำไปปฏิบัติตามจนเกิดความ ประหยัด แตไ่ ดป้ ระโยชน์อย่างเต็มที่ ปจั จบุ นั โครงการ มน่ั คงในระดบั ประเทศต่อไป 23
บริษทั ปนู ซเิ มนตไ์ ทย จำกัด (มหาชน) หนึง่ ในองค์กรธรุ กจิ ท่คี ำนึงถึงสงั คมและส่ิงแวดล้อม ภ าคธรุ กจิ การประกอบกิจการของภาคธุรกิจ จะมี ในการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป้าหมายอยู่ที่การสร้างผลกำไรเพื่อ ในภาคธุรกิจอย่างจริงจัง ต่อเน่ือง ภายใต้กลไก ตอบแทนเจ้าของหรือผู้ถือหุ้นเป็นสำคัญ คณะอนุกรรมการขับเคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกิจ โดยไม่ได้คำนึงถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) พอเพยี ง ทมี่ อบให้ ดร.อาชว์ เตาลานนท์ เปน็ ผนู้ ำ และสังคมส่วนรวม แต่เม่ือเกิดวิกฤตเศรษฐกิจใน พ.ศ. การเปลี่ยนแปลง ผลักดันการขับเคลื่อนในภาคธุรกิจ ๒๕๔๐ สง่ ผลใหภ้ าคธรุ กจิ ไดเ้ รยี นรู้ ปรบั ตวั ปรบั แนวคดิ สง่ ผลใหภ้ าคเี ครือขา่ ยสถาบนั องค์กรภาคธรุ กจิ รวมทงั้ มาให้ความสำคัญกับการน้อมนำหลักปรัชญาของ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สภาอุตสาหกรรม เศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการดำเนินธุรกิจ แหง่ ประเทศไทย สมาคมธนาคารไทย ตลาดหลกั ทรพั ย์ อยา่ งกวา้ งขวางมากขน้ึ นบั ตงั้ แต่ พ.ศ. ๒๕๔๒ เปน็ ตน้ แห่งประเทศไทยได้ตระหนักรู้เกิดความเข้าใจ และ มา โดยในระยะแรกมงุ่ เนน้ การสรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ นำไปปฏบิ ตั ิเพื่อให้เข้าถงึ ดว้ ยความเช่อื มนั่ ว่า 24
บงึ ประดิษฐ์ ของบรษิ ทั บางจากไบโอฟูเอล จำกดั 25 หนงึ่ ในผลการดำเนินงานที่ผสมผสานด้านเศรษฐกจิ และสงิ่ แวดล้อม . . . ป รั ช ญ า ข อ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง กำลังทุนและศักยภาพความถนัดของตน บนพ้ืนฐาน ไม่ขัดกับหลักการทำกำไร แต่การได้มาซึ่งกำไรของ การใช้ความรู้ คุณธรรม และดำเนินการด้วยความ ธุรกิจต้องไม่เอาเปรียบผู้อื่น แสวงหากำไรจนเกินตัว รอบคอบระมัดระวัง... ไม่เบียดเบียนประโยชน์ของสังคม และทำลาย จากฐานความรู้ท่ีมีและการนำไปปฏิบัติ จึงมีการ สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจพอเพียงจึงเป็นแนวทาง ศึกษาวิเคราะห์ สังเคราะห์ถอดบทเรียนประสบการณ์ การประกอบธุรกิจที่มุ่งสร้างความสมดุลให้เกิดข้ึน การดำเนินธุรกิจท่ีหลากหลายมากข้ึน ท้ังธุรกิจ ใน ๓ มิติ คอื เศรษฐกจิ - สงั คม - สง่ิ แวดล้อม ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดย่อม ท่ีนำหลัก เป็นแนวคิดการพัฒนาธุรกิจให้พร้อมรับการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ จัดทำ เปลี่ยนแปลง ทั้งด้านต้นทุน ปัจจัยการผลิต สังคม เป็นองค์ความรู้เผยแพร่สู่สาธารณะและกลุ่มภาค ี สภาพแวดล้อม และวัฒนธรรม โดยเน้นให้มีการ เครือข่ายภาคธุรกิจ เพ่ือสร้างกระบวนการเรียนรู ้ บริหารความเสี่ยง ด้วยการสร้างภูมิคุ้มกันในตัวที่ด ี ให้เกิดการต่อยอดขยายผลต่อเน่ืองต่อไป ซึ่งจากการ ไม่ประมาท ไม่โลภเกินไป ขยายธรุ กจิ ให้เหมาะสมกบั สงั เคราะหบ์ ทเรียนได้ข้อสรุปรว่ มทบ่ี ่งชถี้ ึง...
คุณลักษณะสำคญั ของการดำเนินธรุ กจิ ในปัจจบุ นั คือการแบง่ ปันสง่ิ ทด่ี ใี ห้แกส่ งั คมโดยรวม ...คุณลักษณะของการดำเนินธุรกิจ พรอ้ มรบั ตอ่ การเปลยี่ นแปลง สามารถกเู้ งนิ มาลงทนุ ได้ ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พบว่า มีลักษณะ เพื่อทำให้มีรายได้และต้องสามารถใช้หนี้ได้ ต้องมี ที่ยอมรับการมีกำไรในระดับพอประมาณ คณุ ธรรม ซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ พากเพยี ร อดทน และรบั ผดิ ชอบ และมีเหตุมีผลที่พอเพียงต่อนักธุรกิจท่ีลงทุนหรือ ต่อสังคม พัฒนาประสิทธิภาพการผลิต รักษาความ ผู้ถือหุ้น และต้องไม่เป็นการแสวงหากำไรโดยการ สมดุลในการแบ่งปันผลประโยชน์ของธุรกิจในระหว่าง เอาเปรียบผู้บริโภคหรือผิดกฎหมาย ไม่ปฏิเสธการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ พนักงาน บริษัท ส่งออก แต่ต้องมีการสร้างภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี เพ่ือให้ ผ้บู รโิ ภค และสงั คมโดยรวม 26
การสรา้ งฝายชะลอนำ้ ท่เี กิดจากความรว่ มแรงรว่ มใจและจติ อาสาของภาคธรุ กจิ เพอ่ื คนื กำไรส่สู งั คม 27
ชมรมอนรุ ักษ์ส่งิ แวดลอ้ มทตี่ ้งั ข้นึ ในองคก์ รธรุ กิจหน่วยงานต่างๆ เกดิ จากความตงั้ ใจอนั ดี เพอ่ื สร้างสรรค์ใหเ้ กดิ สงั คมคุณภาพ ...แนวปฏิบัติในการดำเนินธุรกิจอย่าง อย่างเป็นรูปธรรม นำเทคโนโลยีมาใช้และพัฒนา ยั่งยืนตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงพบว่า นวัตกรรมในทุกมิติอย่างต่อเน่ือง รักษาผลประโยชน์ ในระดบั ขน้ั พน้ื ฐาน เปน็ แนวปฏบิ ตั ริ ว่ มทที่ กุ องคก์ ร ของผู้มีส่วนได้และส่วนเสียของธุรกิจ (ลูกค้า คู่ค้า ภาคธุรกิจมีการดำเนินการอยู่แล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผู้ถือหุ้น พนักงาน ส่ิงแวดล้อม และสังคม) และ ธุรกิจท่ีจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ประกอบด้วย ที่สำคัญคือ การมีวัฒนธรรมองค์กรที่มีความเข้มแข็ง ปจั จยั การใชท้ รพั ยากรอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธผิ ล มีจริยธรรม คุณธรรม ความเพียร และการแบ่งปัน และการบริหารความเสี่ยง สำหรับในระดับข้ัน ความรู้เป็นค่านิยมร่วมขององค์กร ธุรกิจท่ีดำเนิน กา้ วหนา้ เป็นแนวปฏบิ ัตทิ ่คี รอบคลุมปจั จัย การมอง กิจการโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ การณ์ไกลในการบริหารจัดการและตัดสินใจเชิง พอเพียงเป็นพื้นฐาน ไม่มีเป้าหมายสุดท้าย นโยบาย คิดถึงผลในระยะยาวมากกว่าระยะสั้น ทผี่ ลกำไร แตอ่ ยทู่ ก่ี ารแบง่ ปนั กนั เพอ่ื ใหส้ งั คม ขยายธุรกิจอย่างค่อยเป็นค่อยไป ให้ความสำคัญกับ ดีขึ้น จะมองตนเองว่าเป็นส่วนหน่ึงของชุมชน สังคม การพัฒนากำลังคน / พนักงาน / ผู้บริหารทุกระดับ หากชมุ ชน สงั คมอยไู่ มไ่ ด้ ธรุ กจิ ของตนกอ็ ยไู่ มไ่ ดเ้ ชน่ กนั 28
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง จะช่วยส่งเสริมหรือขดั แยง้ กบั เป้าหมาย การดำเนนิ ธุรกจิ ดงั กล่าวหรือไม่ อยา่ งไร ขดั แยง้ ๑๘๒%% ไมแ่ นใ่ จ ไมข่ ดั แยง้ ๘๐ % ทา่ นคดิ ว่า ท่านคดิ ว่า การดำเนนิ ธุรกิจตามแนวปรัชญาของ การดำเนินธุรกจิ ตามแนวปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงจะช่วยให้บริษทั สามารถ เศรษฐกิจพอเพยี ง ดึงดดู ผ้ลู งทุนได้ดขี ้นึ หรือไม่ อย่างไร จะมผี ลต่อมูลคา่ ห้นุ ของบรษิ ัทหรือไมอ่ ย่างไร ไมแ่ นใ่ จ ๕ % ไไตมมำ่ มแ่่ลนผีงใ่ลจ๐๙๕%%% ตไมำ่ ม่ลผีงล๒๙%% ดขี น้ึ ๘๔ % ดขี น้ึ ๘๘ % ผลการสำรวจของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย เก่ยี วกบั ทศั นคติของผูบ้ ริหารระดบั สงู ที่เป็นสมาชิกสมาคมฯ ตอ่ การนำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาประยุกตใ์ ช้ในภาคธุรกจิ เม่ือแนวปฏิบัติเริ่มชัดเจนมากขึ้น ได้สร้าง การบรหิ ารธรุ กจิ สง่ เสรมิ ใหธ้ รุ กจิ กา้ วหนา้ ในระยะยาว การยอมรับ ให้เกิดความศรัทธาและเช่ือม่ันในการนำ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการ ก้าวตามทันกระแสโลกาภิวัตน์ได้ โดยร้อยละ ๘๐ ดำเนินธุรกิจ ดังจะเห็นได้จากผลสำรวจทัศนคติของ ผู้บริหารระดับสูงท่ีเป็นสมาชิกสมาคมส่งเสริม ของผลสำรวจเห็นว่า ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สถาบันกรรมการบริษัทไทย เมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๙ ไม่ขัดแย้งกับเป้าหมายการดำเนินธุรกิจ และมีผลให ้ ที่ยืนยันชัดเจนว่า องค์กรต่างๆ ล้วนเชื่อม่ันในการนำ การระดมทุนง่ายข้ึนและแข่งขันกับบริษัทอื่นในตลาด ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้กับ ได้ ขณะท่ีร้อยละ ๘๔ เห็นว่า จะมีผลให้มูลค่าหุ้น ดีขึ้น และร้อยละ ๘๘ เห็นว่า จะช่วยให้บริษัท สามารถดึงดูดผู้ลงทุนได้ดีข้ึน 29
จากวิกฤตเศรษฐกจิ พ.ศ. ๒๕๔๐ ประเทศไทยนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาประยกุ ตใ์ ช้จนทำให้วิกฤตเศรษฐกจิ ใน พ.ศ. ๒๕๕๐ ไมส่ ่งผลกระทบตอ่ ประเทศมากนัก บทเรียนจากวิกฤตเศรษฐกิจ พ.ศ. ๒๕๔๐ ภาค ทำตามความสามารถท่ีมีอยู่ ไม่ทุ่มจนสุดตัว คำนึงถึง ธุรกิจขนาดใหญ่หลายแห่งได้มีการทบทวนและ คำว่า “พอ” ตามกำลังของธุรกิจและกิจการมีความ ปรับกลยุทธ์การลงทุนให้กิจการมีภูมิคุ้มกัน เจรญิ กา้ วหนา้ ด้วย และหากมีวิกฤตการณ์ใดๆ เกิดขนึ้ ต่อความเส่ียงอันเกิดจากความผันผวนของ ซ่ึงอาจเกิดข้ึนได้ตลอดเวลาโดยที่คาดไม่ถึง กิจการ เศรษฐกิจโลกอย่างกว้างขวาง เช่น เครือ ต้องอยู่ได้โดยไม่ทำให้พนักงาน ผู้ถือหุ้น สถาบัน ซเิ มนต์ไทย หรอื SCG เครือเจรญิ โภคภัณฑ์ หรอื CP การเงินที่ให้กู้ และสังคมเดือดร้อน นอกจากน้ัน Group และ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) เป็น ในช่วง ๒ - ๓ ปีท่ีผ่านมา ตลาดหลักทรัพย์แห่ง ตัวอย่างของกิจการขนาดใหญ่ที่มีการประยุกต์ใช้ ประเทศไทยรายงานว่ามีหลายองค์กรธุรกิจและหลาย หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยการปรับ บริษัทในประเทศไทยมีความต่ืนตัวในเรื่องของ กลยุทธห์ ลายประการ ท้งั การปรับลดจำนวนบริษทั ใน การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม และนำ เครือเม่ือวิเคราะห์ความเส่ียงในอนาคตด้วยความรู้ ไปเชื่อมโยงกับการพัฒนาทรัพยากร ตามหลักวิชาการ มีการพัฒนาและเตรียมทรัพยากร มนุษย์ การพัฒนาชุมชน และการอนุรักษ์ บุคคลอย่างเป็นระบบ ประเมินตัวเองด้านความ ส่ิงแวดล้อมมากข้ึน ดังจะเห็นได้จากโครงการ สามารถในการลงทุนไม่ทำให้มีภาระมากจนเกินไป ตา่ งๆ ท่ที ำร่วมกับชมุ ชนของหลายองคก์ ร 30
การนอ้ มนำหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงมาประยุกต์ใช้ใน การดำเนนิ กจิ การ ทำใหก้ ลุม่ ธรุ กจิ ย่งิ มุ่งมั่นในการดำเนินธรุ กจิ อยา่ งมบี รรษทั ภิบาลมากข้ึน ผลจากการน้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจ มีการลงทุนในตลาดระหว่างประเทศในสัดส่วนท่ ี พอเพียงมาประยุกต์ใช้ ได้ทำให้องค์กรภาคธุรกิจ พอประมาณและสมเหตุสมผลมากข้ึน โดยที่ผ่านมา สามารถผ่านช่วงเวลาแห่งความยากลำบากน้ันมาได้ สถาบันการเงินไทยท้ังระบบซ่ึงถือครองสินทรัพย์ ตลอดจนเป็นสิ่งท่ีช่วยเสริมให้ภาคธุรกิจท่ีมีระบบ ต่างประเทศเพียงสัดส่วนประมาณร้อยละ ๘ เมื่อ บรรษัทภิบาลท่ีกำหนดให้องค์กรควบคุมกิจการให้ ประกอบกับการวางแผนอย่างรอบคอบของธนาคาร มีความรับผิดชอบตามหน้าที่ด้วยความโปร่งใสภายใต้ แห่งประเทศไทย และหน่วยงานด้านวางแผนพัฒนา กรอบของจริยธรรมท่ีดี โดยคำนึงถึงผู้มีส่วนได้ เศรษฐกิจท่ียกเครื่องการบริหารด้านการเงินระดับ ส่วนเสียอย่างรอบด้าน สามารถดำเนินการด้วยความ มหภาค จึงสามารถป้องกันมิให้ประเทศ รบั ผิดชอบ ยตุ ิธรรม และโปร่งใสยงิ่ ขน้ึ ตลอดจนมีการ เผชิญวิกฤตการเงินซ้ำรอย เป็นผลให้วิกฤต บริหารความเสี่ยงที่รัดกุมมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง เศรษฐกิจ พ.ศ. ๒๕๕๐ ไม่กระทบประเทศ มีมาตรการและกฎกติกาในการสร้างความเข้มแข็ง ไทยมากนัก ทางธุรกิจมากข้ึน เพื่อเป็นภูมิคุ้มกันในตนเอง เช่น 31
นโยบายการบรหิ ารความเสี่ยง นโยบายสำคัญที่สร้างภูมคิ ุม้ กนั ทีด่ ีให้แกอ่ งคก์ รธรุ กจิ ในอนาคตท่ีอาจส่งผลทางลบและกระทบต่อการบรรลุ วัตถุประสงค์ พันธกิจ และวิสัยทัศนข์ ององค์กร เพ่อื ให้ ในขณะเดียวกัน กว่า ๑,๐๐๐ บริษัทมีการตั้ง ผู้บริหารที่เกี่ยวข้องหาแนวทางป้องกันและการบริหาร กรรมการบริหารความเสี่ยง โดยเฉพาะอย่างย่ิงมีการ จัดการที่มีประสิทธิภาพ เพ่ิมโอกาสความสำเร็จ กำหนดเป็นคุณสมบัติสำคัญของบริษัทที่ต้องการเป็น ลดโอกาสความล้มเหลว และลดความไม่แน่นอน สมาชิกของกลุ่มตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในผลประกอบการ ว่า ต้องมีนโยบายด้านการบริหารความเส่ียง ท่ีชัดเจน เพ่ือพิจารณาปัจจัยความเสี่ยงต่างๆ 32
เมอื่ มีผลประกอบการมากพอ องคก์ รธุรกิจกน็ ำมาแบง่ ปันท้งั ในรปู ขององค์ความรู้ และจิตอาสาทพ่ี ร้อมรบั ผดิ ชอบต่อสังคม มากย่งิ ข้ึน ตลอดจนมีการรวมกล่มุ กันระหวา่ งองคก์ รธุรกจิ ในนามของ CSR Club เพื่อให้เกิดเปน็ พลังท่เี ข้มแขง็ มากย่ิงข้นึ นอกจากน้ี ภาคธุรกิจจำนวนมากยังได้ร่วมแสดง การก่อต้ัง CSR Club จากการรวมตัวของ ๒๗ ความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social บริษัทในตลาดหลักทรัพย์ เพื่อร่วมกันจัดกิจกรรมที่ Responsibility) ในการแกไ้ ขปัญหาความยากจนและ ช่วยสร้างสมดุลระหว่างสังคมเมืองและชนบท ลดความเหลื่อมล้ำของประชาชนในชนบท นอกเหนือ ซึ่งถือว่าเป็นเรี่ยวแรงสำคัญในการร่วมขับเคล่ือน จากกลไกบรรษัทภิบาลและการบริหารความเสี่ยง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้กว้างขวางย่ิงขึ้น จนกลายเป็นส่วนหน่ึงของวัฒนธรรมองค์กร และได้มี องค์กรธุรกิจหลายแห่ง ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการ 33
ตัวอย่างหนงึ่ ของการคนื กำไรสู่สงั คมของบริษทั ปตท. จำกดั (มหาชน) ท่มี ่งุ สร้างตำบลต้นแบบ ทมี่ ีความเข้มแข็งผา่ นโครงการรกั ษ์ปา่ สร้างคน ๘๔ ตำบล วถิ พี อเพยี ง แก้ปัญหาความยากจนและพัฒนาชนบท ตัวอย่าง มีเป้าหมายสร้างเสริมศูนย์เรียนรู้การพัฒนาชุมชนใน หนึ่งที่สำคัญ คือ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ๘๔ ตำบลทกุ ภมู ภิ าคทั่วประเทศ ทั้งในด้านองค์ความ ร่วมกับมหาวิทยาลัยหอการค้าไทยได้ริเร่ิมจัดทำ รู้ ทักษะอาชพี การรวมกลุ่มทางดา้ นเศรษฐกจิ วิถชี วี ิต โครงการ ๑ ไร่ ๑ แสน และโครงการ ท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม จิตอาสา รวมถึงจริยธรรม หน่ึงบริษัทหน่ึงตำบล ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๕๔ เพ่ือให้เป็นตำบลต้นแบบท่ีเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ ท่ีมุ่งไปเสริมสร้างศักยภาพของเกษตรกรหรือ พลังงาน สังคม ทรัพยากร และส่ิงแวดล้อม ซ่ึงการ ประชาชนฐานรากให้เข้มแข็งด้วยตัวเองตามหลัก ดำเนินงานได้ผลสำเร็จเกินคาดหมาย สามารถพัฒนา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปัจจุบันมีผลงานเป็นที่ ตำบลวิถีพอเพียงได้ถึง ๘๗ ตำบล ๙๒๐ หมู่บ้าน ประจักษ์ในหลายพ้ืนท่ีและได้ขยายผลกว้างขวางข้ึน ครัวเรือนพอเพียงอาสา ๙,๒๔๔ ครัวเรือน และ ทุกปี การดำเนนิ โครงการรักษ์ป่า สร้างคน ๘๔ คนต้นแบบกว่า ๖๐๐ คน และได้ต้ังเป้าหมายการ ตำบล วถิ ีพอเพียง โดย บริษทั ปตท. จำกดั ขยายผลให้เป็นตำบลต้นแบบเพื่อการเรียนรู้ดูงาน (มหาชน) ซ่ึงเริ่มดำเนินการต้ังแต่ พ.ศ. ๒๕๕๐ ในระดบั ประเทศต่อไป 34
เด็กและเยาวชน พลังสำคัญของการขบั เคลอื่ นหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงใหก้ า้ วหนา้ อยา่ งยั่งยนื พัฒนาการของการขับเคลื่อนประยุกต์ ความเพียรพยายาม และความพร้อมของพลังความ ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาค ร่วมมือของภาคีภาคธุรกิจท่ีมีประสบการณ์ เป็น ธุรกิจได้ก้าวหน้า และขยายผลมากขึ้น มีการ ต้นแบบและตัวอย่างที่ประสบความสำเร็จ จะเป็น เครือข่ายและกลไกสำคัญท่จี ะช่วยผลกั ดันขยายผลให้ ย ก ร ะ ดั บ ร่ ว ม กั น จั ด ท ำ ตั ว บ่ ง ชี้ ห รื อ เ ก ณ ฑ์ ชี้ วั ด ภาคธุรกิจสามารถเดินบนเส้นทางแห่งความย่ังยืน การดำเนินธุรกิจตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไดอ้ ยา่ งสัมฤทธิผล เพ่ือเป็นประโยชน์ต่อผู้ประกอบการธุรกิจสามารถ เรียนรู้พัฒนาตนเองได้ ประกอบกับความมุ่งมั่น 35
นน สือ่กักั เรสข้อายี งรน มวดลาชรนา แนลักะค ิด การขับเคล่ือนของปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ได้รับ ความรว่ มมอื เปน็ อยา่ งดจี ากสอ่ื ต่างๆ ทั้งสื่อหนังสือพิมพ์ นิตยสาร วิทยุ และโทรทัศน์ ทำให้มีพื้นท่ีในการ เผยแพร่หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ นริ ตุ ติ์ ศริ จิ รรยา ตก๊ิ เจษฎาภรณ์ ผลดี พอเพยี งไปสสู่ าธารณชนอยา่ งกวา้ งขวาง เม่ือมีเวลาว่างจากการเป็น นักแสดงที่รักษ์ธรรมชาติ นักแสดง จะใช้ชีวิตเรียบง่ายอยู่ แ ล ะ มุ่ ง ม่ั น ท่ี จ ะ ผ ลิ ต ร า ย ก า ร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การนำเสนอกรณี กับธรรมชาติและทำสวนผลไม้ที่ โทรทัศน์ด้านสิ่งแวดล้อม เพ่ือ ตัวอย่างที่ประสบความสำเร็จ ซ่ึงได้ จังหวดั จนั ทบุรี “ณ วันนี้ผมมาถึง ปลูกจิตสำนึกให้คนไทยรักษ์ สร้างการรับรู้เก่ียวกับปรัชญาให้มีความ จุดท่ีตัวเองเพียงพอแล้ว ได้ และหวงแหนทรพั ยากรธรรมชาติ แพร่หลายมากขึ้น และยังได้สร้างความ ทำงานที่ชอบและได้มีชีวิตอยู่ใน “รู้สึกว่าทำไมเราอยู่ในป่ากับ บนั ดาลใจใหก้ ลมุ่ บคุ คลตา่ งๆ สนใจทจ่ี ะ สิ่งแวดล้อมท่ีตัวเองรัก เสร็จงาน ธรรมชาติแลว้ สบายใจ อยากอยู่ นำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตและ กลับบ้านสวนที่จันทบุรี อยู่กับ ตรงนนั้ นานๆ ไมอ่ ยากกลบั ออกมา อาชีพมากขึ้น นอกจากน้ันมีส่ือมวลชน ความเรียบง่ายของธรรมชาติ แ ต่ พ อ อ ยู่ ใ น เ มื อ ง ต า ม ป ก ติ ทง้ั ทเี่ ปน็ ผผู้ ลติ สอ่ื นกั คดิ นกั เขยี น ดารา อยู่กับการปลดปล่อย” กลับรู้สึกวุ่นวาย เธคผับผมเคย และนักร้องอีกส่วนหนึ่งท่ีได้เดินตาม ไปมาหมดแลว้ รสู้ ึกอึดอัด อย่ไู ด้ แนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไมน่ านต้องรบี กลับ” ข อ ง พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ จ้ า อ ยู่ หั ว ซ่ึงแต่ละคนก็มีแนวทางเป็นของตัวเอง แตกต่างกนั ไป ได้แก ่ 36
นติ ยสารสุดสัปดาห์ กก๊ิ มยรุ ญิ ผอ่ งผดุ พนั ธ์ ปอ๊ ด โมเดริ น์ ดอ็ ก อดี๊ วงฟลาย นักแสดงหญิงท่ีได้รับรางวัลบุคคล หรอื ธนชยั อชุ ชนิ หรอื สำราญ ชว่ ยจำแนก ตน้ แบบ พ.ศ. ๒๕๕๔ ดา้ นความโปรง่ ใส นักร้องแนว Alternative ที่ และซ่ือตรง ประกอบอาชีพตามหลัก เรียนรู้การใช้ชีวิตตามแนวทาง ท่ีเสยี สละ และอุทศิ ตนทำงาน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และยัง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อสังคม อาทิ อาสาสมัครของ ดำเนินชีวิตโดยยึดหลักธรรมะ ใช้ชีวิต ควบคู่ไปกับการศึกษาธรรมะและ สภากาชาดไทยฯ มูลนิธิพระดาบสฯ อย่างพอเพียงและเชิญชวนนักแสดง ฝกึ สมาธิ “เรยี นธรรมะกค็ ลา้ ยๆ กับ ถ่ายทอดเน้ือหาของหลักปรัชญาฯ อ่ืนๆ รว่ มปฏบิ ตั ธิ รรม “แมเ้ ราจะมคี วาม การเรียนว่ายน้ำ ตอนนั้นเราได้แต่ ผ่ า น เ พ ล ง อ ยู่ อ ย่ า ง พ อ เ พี ย ง สนใจทางธรรมแต่กับเรื่องทางโลก อ่านหนังสือธรรมะ ไม่ได้ปฏิบัต ิ “ประเทศไทยเจอวิกฤตมาตลอดใน การมีสัมมาอาชีพเพื่อหล่อเลี้ยงชีวิต ก็คิดว่าน่าจะลงว่ายน้ำในสระ ทุกด้านโดยเฉพาะด้านเศรษฐกิจ ยังเป็นส่ิงสำคัญ อีกทั้ง “กำลังทรัพย์” ได้แล้ว เลยบวชเป็นพระป่าหน่ึง ยำ่ แย่ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ก็ยังเป็นปัจจัยท่ีจะช่วยให้การเผยแผ่ พรรษา การบวชทำให้เราปฏิบัติ ท่ีทรงห่วงใยพสกนิกรของพระองค์ ธรรมะแผ่ขยายไปในวงกว้างมากข้ึน ไม่ว่าการน่ังสมาธิหรือการเดิน ทรงห่วงใยชาติบ้านเมือง ได้ทรง เช่น การรว่ มเปน็ เจา้ ภาพเชิญชวนใหค้ น จงกรม ทำให้เราเข้าใจคำว่า สติ ทุ่มเทคิดทดลองทรงสรุปผลแล้ว ท่ัวไปมาปฏิบัติธรรม เรียนรู้พระพุทธ ซ่ึงเป็นแก่นของชีวิต เม่ือก่อนเรา พระราชทา น เ ป็ น แ น ว ท า ง ใ ห้ ศาสนาฟรี เพื่อถวายเป็นธรรมทาน ไม่รู้ว่า จิต หรือ สติ แปลว่าอะไร ประชาชนคนไทยทั้งประเทศเดิน ทุกวันนี้หากกิ๊กทำได้เพียงคร่ึงหน่ึงของ เราไมร่ หู้ นา้ ทข่ี องมนั เมอื่ เราปฏบิ ตั ิ ตามรอยพระยุคลบาท อย่างเช่น คณุ แม่ ก็นับเป็นสง่ิ ทก่ี ๊กิ ภูมใิ จทสี่ ุดแล้ว” ก็เลยเข้าใจและช่วยให้เราปรับ พ ร ะ ร า ช ท า น แ น ว พ ร ะ ร า ช ด ำ ร ิ สมดุลของชวี ติ ได”้ การดำเนินชีวิตตามแนวเศรษฐกิจ พอเพียง เป็นต้น จนเป็นเคร่ือง ยนื ยนั ไดว้ า่ วถิ แี หง่ เศรษฐกจิ พอเพยี ง 37 นแ่ี หละทจ่ี ะทำใหค้ นไทย สงั คมไทย ประเทศไทยแขง็ แรงในทกุ ดา้ น”
ศุ บญุ เลย้ี ง ศิลปนิ นักคิด นกั เขียน นักร้อง นักแตง่ เพลง เจา้ ของ หนึง่ ในผลงานทแี่ สดงความนึกคิด เพลง “อม่ิ อุน่ ” ผู้มีวถิ ีชีวิตสุขแบบพอดี ระยะหลัง แมจ้ ะไม่ได้ ของ ศุ บุญเลีย้ ง พบเห็นเขาตามสื่อต่างๆ บ่อยนัก แต่เขายังคงสร้างงานอย่าง ต่อเน่ือง พร้อมกับบทบาทใหม่ในชีวิตและงานท่ีลงตัวย่ิง คือ เพลง “รกั ษ์หาดบา้ นพ่อ” การรับเป็นวิทยากรบรรยายให้ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ฟัง หาดทรายแห่งน้ี เป็นวิทยากรท่ีพูดสนุกและสร้างแรงบันดาลใจให้คนฟังได้ ทพี่ อ่ เคยวางเท้า มากมาย สอนเกย่ี วกับเรอื่ งกระบวนการคดิ กระบวนการเขียน ทุกคราวท่กี า้ วเม็ดทรายยินด ี “เราชอบเร่ืองกระบวนการ ชอบเรื่องการนำเสนอ พอ่ คงหวงแหนทะเลแหง่ นี้ ยิ่งเป็นการถ่ายถอดความรู้ ไม่ได้ถ่ายทอดผ่านการพูดเท่าน้ัน พักพิงท่ีน่ี พอ่ ไกลกังวล แต่ต้องผ่านกระบวนการเรียนรู้ ท่ีถูกออกแบบมาแล้ว ไม่ใช่ ลกู ตระหนกั รู ้ เป็นเร่ืองแค่การมาฟังบรรยายเท่านั้น ฟังแล้วอาจต้องฝึก พอ่ เหนื่อยพ่ออดทน ฝกึ ใหเ้ กดิ การคดิ นอกกรอบแตต่ อบโจทย ์ การคดิ ตา่ งแตส่ รา้ งได”้ เหงื่อหยดไหลรินหล่น “บางคร้ังเช่ือเร่ืองความพอดีมากกว่าความดีเสียอีก ลงบนผนื ทราย ไม่ต้องเลือกหาสิ่งที่ดีที่สุด แต่เป็นส่ิงที่พอดีท่ีสุด เราว่า รักษ์หาดบ้านพอ่ ขอตามรอยพอ่ นี่แหละดีกว่า เราเลือกกินกาแฟดีๆ หอมถึงข้ันหลงเลยนะ สอนใหเ้ พยี งพอ ใหร้ ู้คณุ แผน่ ดนิ แต่ถึงวันหน่ึงทำให้เราปวดหัว ปวดร้าวเหลือเกิน ก็ต้องถอย รักษ์หาดบ้านพ่อ รักษ์ทะเลหวั หนิ ออกมา ไม่ใช่จมลงไปในความลุ่มหลงอันน้ัน” ฝากหัวใจไว้บนผนื ดนิ 38 ใต้ฝ่าละอองธุลพี ระบาท
สราวธุ เฮง้ สวสั ดิ์ นกั เขยี นชอื่ ดงั (นามปากกา : นวิ้ กลม) กจ็ ะไมม่ คี วามอดุ มสมบรู ณ์ เปน็ ตน้ แท้จริงแล้วการทำให้โลกน่าอยู่ข้ึน อาจ …ท่านบอกเร่ืองเศรษฐกิจพอเพียง ไมไ่ ดห้ มายความวา่ จะตอ้ งไปเปน็ นายกรฐั มนตรี มาเป็นสิบๆ ปีแล้ว แต่เราเพิ่งมา หรอื ประธานาธบิ ดปี ระเทศมหาอำนาจ แตล่ ำพงั เริ่มทำกัน ถามว่ามันช้าไปไหม เป็นแค่เจ้าของร้านคุกก้ี นักร้อง พนักงาน ก็ไม่ช้าหรอก ถ้าตราบใดท่ีเราม ี ธนาคาร พนักงานทำความสะอาด ยาม ลมหายใจและเรายงั มที ่านอยู่” มอเตอร์ไซค์วินหน้าปากซอย พ่อค้าแม่ขาย แอนด้ี เขมพมิ กุ คุณหมอ คุณครู ภารโรง ทนายความ หรือ นกั รอ้ ง นกั แสดง และพธิ กี รรายการ อยา่ งไรกด็ บี รโิ ภคนยิ มในสงั คม นักเขียนตัวเล็กๆ สักคน ก็สามารถทำให้ ฉันรักเมืองไทย ท่ีนำเสนอมุมมองของ ยคเสกคศั งวื่อาวมราารสษีมคขมาตวฐั บรเาอ่ กพมมเเิจคนียวรุพอน่ืลลรงแอ่ือชอรีกคเนนงพวมจอปาียยึงามรงู่ มตกั ชมผา้อญงุ่่าตกงมลนอาน่ั ดอกาขแัดงลศอนลจุ่มัยั้ะนนง โลกใบน้ีน่าอยู่ขึ้นได้ ถ้าใส่ใจ เห็นคุณค่าของ ชาวต่างชาติที่ใช้ชีวิตอยู่ในเมืองไทย หน้าทีน่ ัน้ และทำมันให้ดีทส่ี ุด อย่างมีความสุข “ผมมคี วามประทับใจ ถ้าพ่อหนุ่มวินมอเตอร์ไซค์ขับรถอย่าง หลายๆ อย่างมาก โดยเฉพาะปรัชญา นิ่มนวลและหยิบย่ืนรอยย้ิมส่งให้กับผู้โดยสาร ของเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวง พรอ้ มๆ กบั เงนิ ทอน แคน่ นั้ โลกกน็ า่ อยขู่ นึ้ แลว้ บางคนอาจทำไม่ได้และคิดว่าคำว่า ใครบางคนเคยบอกไว้ว่า “โลกของเรามี เศรษฐกิจพอเพียงอาจหมายถงึ งก ผม การสนับสนุนจากภาคส่วนอื่นๆ ขนาดเท่ากับผู้คนที่รายล้อม” นน่ั หมายความ จะบอกว่าภารกิจท่ีพระองค์ท่านได้ทำ ที่เข้าถึง เข้าใจ ศรัทธา และมี ว่า ถ้าเราทำให้คนท่ีรายล้อมมีความสุขและ เพ่ือคนไทยมากมายนับไม่ถ้วนนั้น ผม ประสบการณ์จากปรัชญาของ มรี อยยมิ้ โลกของเรากน็ า่ จะนา่ อยไู่ มใ่ ชน่ อ้ ย มองว่าทุกสิ่งทุกอย่างมีประโยชน์หมด เศรษฐกิจพอเพียง เป็นทั้งต้นแบบ และสดุ ทา้ ย โลกใบเลก็ ๆ ของแตล่ ะคนกจ็ ะ อย่างแนวทางท่ีท่านบอกให้เราปลูก และกระบอกเสียงท่ีจะถ่ายทอดสู่ คอ่ ยๆ ขยายตวั ออกไปเปน็ โลกใบใหญใ่ นทสี่ ดุ ต้นไม้คนละ ๑ ต้น ๖๐ ล้านคนก็ ๖๐ สาธารณชนใหก้ วา้ งขวางยงิ่ ขนึ้ ตอ่ ไป เพราะผคู้ นทรี่ ายรอบตวั ของคนหนงึ่ คนนน้ั ยอ่ ม ล้านต้น เพื่อสิ่งแวดล้อมเพ่ือธรรมชาติ แตกต่างหลากหลาย ความสุขจึงแผ่กระจาย ของเรา ธรรมชาติกค็ อื มนุษย์ เราหนั มา ออกไปไดเ้ รอ่ื ยๆ เอาใจใส่บ้าง หรือเรื่องน้ำในหลวงบอก จากหนงั สอื “อาจารยใ์ นรา้ นคกุ ก”ี้ โดย นวิ้ กลม น้ำคือทุกสิ่งทุกอย่าง ถ้าคนไทยขาดน้ำ 39
สถาบนั การเมอื ง ความคืบหน้าสำคัญในการขับเคล่ือน นอกจากนน้ั มกี ารกำหนดใหป้ รชั ญาของเศรษฐกจิ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาค พอเพียงปรากฏอยู่ในบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ สถาบนั การเมอื ง คอื การตราพระราชกฤษฎกี า แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ และ ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร กำหนดทิศทางให้นำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กิจการบา้ นเมอื งทด่ี ี พ.ศ. ๒๕๔๖ ซงึ่ กำหนดให ้ ไปเป็นนโยบายพ้ืนฐานท้ังด้านบริหารราชการแผ่นดิน คณะรฐั บาลวางแผนนโยบาย จัดทำงบประมาณให้ และด้านเศรษฐกิจ และเร่ิมมีการกำหนดเป็นนโยบาย เกิดผลสัมฤทธ์ิและคุ้มค่า ตลอดจนอำนวยความ รัฐบาลอย่างชัดเจนใน พ.ศ. ๒๕๕๐ เพ่ือให้องค์กร สะดวกและตอบสนองความต้องการของประชาชน ของรัฐนำไปปฏิบัติ ทั้งในกระบวนการกล่ันกรอง อย่างมีประสิทธิภาพ ในขณะเดียวกัน ยังได้มีการ งบประมาณผ่านกรรมาธิการงบประมาณของสมาชิก สร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการ รัฐสภาได้ให้การสนับสนุนโครงการที่นำไปสู่การ บ้านเมืองที่ดีให้แก่นักบริหารในระดับต่างๆ ของ ขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงท่ีส่วนราชการ ภาครัฐและเอกชนโดยสถาบันพระปกเกล้า ซ่ึง ต่างๆ เสนอขอการจัดสรรงบประมาณประจำปี โดยมี เป็นองค์กรอิสระทางวิชาการ ครอบคลุมทั้งงานวิจัย ความพยายามให้มีการบูรณาการโครงการต่างๆ การจัดการศึกษาอบรม และการเผยแพร่ให้ความรู้ เพื่อให้เกิดผลที่เป็นรูปธรรมมากขึ้น กล่าวได้ว่า และข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการพัฒนาประชาธิปไตย ธรรมาภบิ าลและการกำกบั ดแู ลกจิ การทดี่ ี สทิ ธมิ นษุ ยชน ภาคการเมืองเป็นกลไกท่ีสำคัญย่ิงในการ สิทธิหน้าท่ีของพลเมือง รวมไปถึงการมีส่วนร่วมของ ขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในระดับมหภาค และหากสมาชิกรัฐสภาได้มีการ ประชาชนทั้งในระดับชาติและท้องถิ่น รวมท้ังมีการ ปฏิบัติแบบวิถีพอเพียงอย่างจริงจังท้ังในระดับปัจเจก ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานในประเทศและ ครอบครัว และชุมชนท้องถิ่น จะเป็นการหนุนเสริมให้ ระหว่างประเทศ เพ่ือการพัฒนาการปกครองระบอบ องคก์ รภาครฐั และภาคสว่ นอน่ื ๆ ของสงั คมพรอ้ มใจกนั ประชาธิปไตย ขับเคลื่อนไปสู่ความสำเร็จให้เป็นภูมิคุ้มกันพร้อมรับ การเปล่ยี นแปลงในอนาคตตอ่ ไป 40
จากการบรหิ ารนโยบายระดบั ชาติ สู่ท้องถิ่นท่ีอยบู่ นพ้นื ฐานของหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ย่อมนำมาซงึ่ ความปกตสิ ุขของประชาชน 41
องค์กรภาครฐั การบรหิ ารงบประมาณแผ่นดินทีร่ ัดกุม นำมาซ่ึงการขยายโครงการพฒั นาชมุ ชน ใหม้ คี วามเขม้ แขง็ ได้อย่างกว้างขวาง นโยบายของรัฐบาลย้อนหลังไปกว่า มีประสิทธิภาพ เช่น การสร้างเขื่อนป่าสักชลสิทธ์ ิ ๕ รัฐบาล ได้มีการน้อมนำปรัชญาของ และการลงทุนในโครงการขนาดใหญ่ของรัฐท่ีได้ริเริ่ม เศรษฐกิจพอเพียงไปขับเคล่ือนนโยบายสู่ ออกแบบให้มีการกระจายการลงทุนอย่างสมดุล การปฏบิ ตั ิ เพอื่ เสรมิ สรา้ งภมู คิ มุ้ กนั และความสมดลุ ครอบคลุมทุกสาขา โดยใน พ.ศ. ๒๕๕๓ ได้เพิ่ม ท้ังด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมทั้ง การลงทุนขนาดใหญ่ในสาขาการพัฒนาชุมชนที่มุ่ง ป้องกันความเส่ียงจากความผันผวนของสถานการณ์ ทงั้ จากภายนอกและภายในประเทศ ดงั ทีป่ รากฏทง้ั ใน เสริมสรา้ งความเข้มแขง็ ของชมุ ชน สาขาการศกึ ษา และการเรียนรู้ที่มุ่งยกระดับคุณภาพมาตรฐาน กฎหมายสูงสุด แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ การศึกษาในชนบทและเมืองท้ังระบบ และสาขา สังคมแห่งชาติ ตลอดจนการแถลงนโยบาย สาธารณสขุ ทเี่ นน้ การปรบั เปลย่ี นพฤติกรรมสุขภาพ การบริหารแผ่นดินของรัฐบาลที่เสนอต่อ ซึ่งเป็นการลงทุนที่ลดความเส่ียงแกภ่ าระทางการคลงั รัฐสภา ภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของรัฐระยะยาว และมผี ลตอบแทนของการลงทุนสูง รัฐบาลสามารถลงทุนในโครงการขนาดใหญ่ได้อย่าง มี เ ห ตุ ผ ล แ ล ะ มี ก า ร บ ริ ห า ร ค ว า ม เ ส่ี ย ง อ ย่ า ง 42
การนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็น การพฒั นาใหเ้ กดิ ความสมดลุ และใหค้ วามสำคญั มากขน้ึ พื้นฐานในการวางแผนและกำหนดนโยบายการ กับการพัฒนาภาคชุมชนซ่ึงเป็นฐานรากของสังคม พัฒนาในด้านต่างๆ ของประเทศ เรม่ิ ตน้ จากแผน และเป็นการกระจายการพัฒนาและสร้างโอกาส พฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๙ ให้เศรษฐกิจฐานรากมีความเข้มแข็ง และมีการ (พ.ศ. ๒๕๔๕ - ๒๕๔๙) ท่ีมุ่งสร้างความเข้าใจ ต่อยอดและขยายผลต่อไปในแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๐ เก่ียวกับเศรษฐกิจพอเพียงในสังคมไทย และเป็น และ ๑๑ อยา่ งเขม้ ขน้ ยง่ิ ขน้ึ ความพยายามท่ีจะนำหลักปรัชญาไปประยุกต์ใช้กับ การดำเนินชีวิตในทุกระดับและทุกภาคส่วนของสังคม 43
การกำกบั ดูแลด้านการเงินอยา่ งเข้มข้นของธนาคารแหง่ ประเทศไทย เปน็ หนึ่งในแนวทางการสรา้ งภูมิคุ้มกันทด่ี ขี องประเทศ ภายหลังการเผชิญวิกฤตเศรษฐกิจ พ.ศ. ๒๕๔๐ ๒๕๕๐ ได้เป็นอย่างดี ขณะเดียวกัน ในแผนการ ธนาคารแห่งประเทศไทยได้น้อมนำหลักปรัชญา บริหารราชการแผ่นดินได้มีการประยุกต์ใช้ ของเศรษฐกิจพอเพียงไปกำหนดมาตรการอย่าง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงซึ่งเป็นผลจากนโยบาย เข้มข้นในการกำกับดูแลการเงินของชาติ ตลอดจน ของรัฐบาลที่กำหนดไว้ มีการจัดทำแผนบริหาร ออกกฎเกณฑ์และควบคุมสถาบันการเงิน รวมถึง ความเสี่ยง เพ่ือลดผลกระทบจากความผันผวนจาก ควบคุมการถ่ายโอนเงินตราระหว่างประเทศ และเฝ้า ภายนอกประเทศ ไปจนถึงการกำหนดแผนงานและ ระวังอัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทอย่างใกล้ชิด จึงทำให้ โครงการต่างๆ ภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ ประเทศไทยมีภูมิคุ้มกันต่อวิกฤตเศรษฐกิจใน พ.ศ. พอเพียงอยา่ งกว้างขวาง 44
ข้าราชการทุกหมู่เหล่า ทัง้ ข้าราชการพลเรือน ทหาร ตำรวจ ต่างน้อมนำปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง มาใชใ้ นการดำรงชีวิตและการปฏิบัตหิ น้าท ่ี นอกจากนี้ สำนักงานข้าราชการพลเรือน ระบบราชการ (ก.พ.ร.) ซงึ่ เป็นองคก์ รหลักในการ (กพ.) ซึ่งเป็นหน่วยงานหลักในการกำกับนโยบาย กำกับดูแลการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี รวมถึง การบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คลภาครฐั ไดก้ ำหนดคณุ สมบตั ิ หน่วยงานราชการอีกหลายแห่ง ยังได้จัดให้มีการ ของขา้ ราชการ ทงั้ ตำรวจ ทหาร และพลเรอื น ตลอดจน ฝึกอบรมด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนตามแนวทาง จัดการฝึกอบรมด้านคุณธรรมและจริยธรรมท้ังใน ของเศรษฐกิจพอเพียงให้แก่ข้าราชการ บุคลากรของ หน้าท่ีการงานและการดำเนินชีวิต เพื่อส่งเสริม ภาครฐั ภาคเอกชน และประชาชนทวั่ ไป เพอ่ื เสรมิ สรา้ ง ให้ข้าราชการเป็นคนดีและมีความสามารถสูง องค์ความรู้ในการเผชิญกับการเปล่ียนแปลงทั้งจาก เช่นเดียวกับสำนักงานคณะกรรมการพัฒนา ปจั จยั ภายในและภายนอกประเทศอยา่ งมภี มู คิ มุ้ กนั ตอ่ ไป 45
สถาบนั การศกึ ษา ...Sufficiency Economy นน้ั ไมม่ ใี นตำรา เพราะหมายความวา่ เรามคี วามคดิ ใหม่ และโดยทท่ี า่ นผเู้ ชย่ี วชาญสนใจ กห็ มายความวา่ เรากส็ ามารถทจ่ี ะไปปรบั ปรงุ หรอื ไปใชห้ ลกั การ “ เพอ่ื ทจ่ี ะใหเ้ ศรษฐกจิ ของประเทศและของโลกพฒั นาดขี น้ึ ... ”พระราชดำรสั เนอ่ื งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ๒๒ ธนั วาคม ๒๕๔๒ สถานศึกษาพอเพียง แหลง่ บ่มเพาะเยาวชนคณุ ภาพ ทม่ี อี ุปนิสัยอยู่อยา่ งพอเพียง การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ปรัชญาของ ด้านการศึกษา เน้นท่ีการปลูกฝังให้เด็กและเยาวชน เศรษฐกิจพอเพยี งได้ถกู บรรจุอย่ใู นหลกั สูตรการศึกษา ในทุกระดับ น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ ขั้นพื้นฐานของชาติ ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๔ แต่การ พอเพียง มาใช้เป็นหลักใจหรือหลักคิด หลักการ ขับเคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเข้าสู ่ ทำงานและหลักปฏิบัติในชีวิตประจำวัน จนกระทั่ง สถานศึกษาได้เริม่ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๘ โดยมีการนำร่อง จัดกิจกรรมการเรียนการสอนและการบริหารจัดการ มีอุปนิสัย “อยู่อย่างพอเพียง” เพ่ือให้สามารถ รักษาสมดุลในการดำเนินชีวิต และพร้อมรับการ โรงเรียนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปลยี่ นแปลงทเ่ี กดิ ขนึ้ ตลอดเวลาไดอ้ ยา่ งมสี ติ ตลอดจน ในโรงเรียนท่ีสมัครใจ ๙ แห่ง เพื่อเรียนรู้แนวทางการ ใชป้ ญั ญาความรใู้ นทางทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ ตนเอง ขับเคล่ือนและปูพื้นฐานการนำหลักปรัชญาของ และส่วนรวม ทัง้ ในปัจจบุ นั และอนาคต 46
เดก็ และเยาวชน กำลังสำคญั ในการพฒั นาประเทศ จงึ มคี วามพยายามนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง สู่ระบบการศกึ ษา เพ่ือพฒั นาเด็กคุณภาพท่มี ีอุปนิสัยแห่งความพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียงเข้าสู่สถานศึกษาอย่างเป็นระบบ พอเพียงจนเห็นผลกับผู้เรียน และผ่านเกณฑ์การ และมีการฝึกอบรมครูผู้สอน ผู้บริหารสถานศึกษา บคุ ลากรดา้ นการศกึ ษา โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ศกึ ษานิเทศก์ ประเมนิ เปน็ “สถานศกึ ษาพอเพยี งแบบอยา่ ง” ให้มีความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้องและชัดเจนในการนำ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้เป็นแนวทาง ๑๓๕ แห่ง ในปี พ.ศ. ๒๕๕๐ และเพิ่มเป็น ๑,๒๖๑ ในการจัดการศึกษาทุกระดับ จนกระทั่งมีสถานศึกษา แห่ง ในปี พ.ศ. ๒๕๕๒ ท้ังน้ี กระทรวงศึกษาธิการมี ที่จัดการศึกษาโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ เปา้ หมายทจ่ี ะขยายเป็น ๙,๙๙๙ แหง่ ภายในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ 47
ขน้ั ตอนการพฒั นาศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการศกึ ษา สมคั ร เข้ากระบวนการ ประเมินผลภายใน ประเมินผลขั้นสดุ ท้ายกอ่ นเปน็ ศนู ยก์ ารเรียนรฯู้ ๘๔ เสรมิ ศกั ยภาพโดย มลู นิธิสยามกมั มาจล สถานศกึ ษา ๖๑๕ รร. มหาวิทยาลัย ศูนย์การเรียนรัฯู ๑๓๕มลู นธิ ิสยามกมั มาจล โรงเรียน (๑๓ แห่ง ๑,๒พอ๖เพ๑ยี ง แหง่ รร. พ.ศ. ๒๕๕๔) Input ของโครงการ คณะกรรมการโดย สร า้ งความเขา้ ใจในหลัก กระทรวงศกึ ษาธิการ ปรัชญา วา่ เป็นหลกั คดิ สำนักงานทรพั ย์สนิ ฯ หลักปฏิบัติ และมูลนธิ สิ ยามกมั มาจล พัฒนาครใู ห้สามารถออกแบบ การเรยี นรู้เพือ่ ใหผ้ ู้เรียน รู้ เข้าใจ นำไปใชไ้ ด้จนเกิดทกั ษะ เกณฑ์ จากการลงมอื ปฏิบตั ิ ผอ. ครู นร. รู้ เขา้ ใจ นำไปใช้ สร้างเครือขา่ ยการทำงาน จนเป็นนิสยั ในพนื้ ท่ีโดยมมี หาวิทยาลัย สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ เปน็ ผปู้ ระสาน กระบวนการใช้ฐาน + แหล่ง เรยี นร้ใู นการจัดการเรียนรู้ สื่อ การใชส้ ือ่ เพอ่ื สร้าง การเรยี นรใู้ ห้ นร. ความสมั พนั ธ์กับภายนอก กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานทรัพย์สินส่วน ในโรงเรียนให้เอื้อต่อการเรียนรู้ท่ีจะอยู่อย่างพอเพียง พระมหากษตั รยิ ์ ธนาคารไทยพาณชิ ยจ์ ำกดั (มหาชน) และเสริมพลังครูให้ดำรงตนเป็นแบบอย่างและ และมลู นธิ สิ ยามกมั มาจล ไดส้ นบั สนนุ ให้ “สถานศกึ ษา สามารถออกแบบการเรียนรู้โดยเน้นให้ผู้เรียนนำ พอเพียงแบบอย่าง” ท่ีสมัครเข้าร่วมโครงการจำนวน หลักปรัชญาฯ ไปใช้ในการทำงานและกิจกรรมต่างๆ ใหส้ ำเร็จ ซึ่งจะทำใหน้ ักเรยี นตระหนักถึงคุณประโยชน์ ๑๓๕ แหง่ พฒั นาตนเองสกู่ ารเปน็ “ศนู ยก์ ารเรยี นรู้ ของการนำหลักปรัชญาฯ ไปใช้ในวิถีชีวิต ศูนย์การ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เรียนรฯู้ ทีม่ คี วามเขม้ แขง็ ๘๔ แห่งท่วั ประเทศ จะเปน็ ด้านการศึกษา” ด้วยการเสริมสร้างการเรียนรู้ให้ บคุ ลากรของโรงเรยี นมคี วามเขา้ ใจหลกั ปรชั ญาฯ อยา่ ง แกนนำในการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ ถกู ตอ้ ง และสามารถนำไปใชล้ งมอื ปฏบิ ตั ิ โดยผูบ้ รหิ ารเปน็ พอเพียงสู่สถานศึกษาอ่ืนๆ ร่วมกับมหาวิทยาลัยใน ผนู้ ำในการสรา้ งบรรยากาศและวฒั นธรรมการอยรู่ ว่ มกนั ทอ้ งถิ่น และเครอื ขา่ ยโรงเรียนในพื้นท่ี 48
พธิ ีมอบเกียรตบิ ตั รแก่สถานศึกษาพอเพยี งทผี่ ่านการประเมินอยา่ งเข้มข้น จนสามารถพัฒนาเป็นศนู ยก์ ารเรยี นรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดา้ นการศกึ ษา พัฒนาการสำคัญอีกประการหนึ่ง คือ หลักสูตร เหมาะสมกับสภาพวัย ภูมิสังคมและบริบทของ แกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ ไดก้ ำหนด โรงเรียน รวมทั้งมีการประเมินคุณภาพการจัดการ ให้คุณลักษณะ “อยู่อย่างพอเพียง” เป็นจุดเน้น เรียนรู้โดยสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพผู้เรียน ทำให้เยาวชนในโรงเรียนระดับข้ัน คุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. พ้ืนฐานกว่า ๓๔,๐๐๐ แห่งท่ัวประเทศ ตั้งแต่ช้ัน ซ่ึงจะตรวจสอบคุณภาพผู้เรียนตามหลักสูตรอย่าง ประถมศึกษาปีท่ี ๑ ถึงมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ได้เรียนรู้ เคร่งครัด เพ่ือประกันคุณภาพการจัดการศึกษา ด้วยการคิดพิจารณาและการปฏิบัติจริง จนกระทั่ง ของชาติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถเข้าใจและเห็นคุณค่าของปรัชญาของ ในระยะยาว เศรษฐกจิ พอเพยี ง ผา่ นกจิ กรรมการเรยี นรทู้ หี่ ลากหลาย 49
Search