Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การพัฒนาการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์

การพัฒนาการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์

Published by เอกวิทย์ สุระโคตร, 2021-09-17 07:18:03

Description: การพัฒนาการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์

Search

Read the Text Version

วจิ ยั ในชน้ั เรียน การพัฒนาการเรยี นร้วู ิชาวิทยาศาสตร์ เรอ่ื ง การจดั จาแนกความสมั พนั ธร์ ะหว่างสิ่งมชี ีวติ กบั สิง่ มีชีวติ สาหรับนกั เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรยี นวดั ดอนยอ โดยใชบ้ ัตรภาพ นางสาวพัชรีภรณ์ มณีเล็ก ครู โรงเรียนวัดดอนยอ สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษานครนายก สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

รายงานการวจิ ัยในช้ันเรียน เร่อื ง การพัฒนาการเรียนรู้วชิ าวิทยาศาสตร์ เรอื่ ง การจัดจาแนกความสมั พันธร์ ะหวา่ งสิ่งมีชีวติ กบั สง่ิ มีชวี ิต สาหรับนักเรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 โรงเรยี นวดั ดอนยอ โดยใช้บตั รภาพ ผู้วิจยั นางสาวพชั รภี รณ์ มณเี ลก็ ความสาคัญและท่ีมาของปัญหา วิทยาศาสตร์เป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้หลักในโครงสร้างหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้มีความสาคัญอย่างยิ่งในการ วางรากฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของผู้เรียนแต่ละระดับช้ันให้ต่อเน่ืองเชื่อมโยงตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ถึง มัธยมศึกษาปที ี่ 6 กระบวนการจดั การเรียนรู้วิทยาศาสตร์จาเป็นต้องจัดลาดับความยากง่ายของเนื้อหาสาระแต่ละ ระดับช้ัน เร่ิมต้ังแต่การเช่ือมโยงความรู้กับกระบวนการ การจัดกิจกรรมเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนพัฒนาความคิดทั้ง ความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์มีทักษะสาคัญในการค้นคว้าและองค์ประกอบความรู้ ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลหลากหลาย และประจกั ษพ์ ยานท่ตี รวจสอบได้ รวมถงึ มที กั ษะในการใช้เทคโนโลยีในการสบื ค้นขอ้ มูลและการจดั การ ผู้วิจัยเป็นครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 พบว่าหน่วยการ เรียนรบู้ างหน่วยนักเรียนเรียนไม่เข้าใจ ทาให้ไม่สามารถทาแบบทดสอบผา่ นเกณฑ์ ผู้วิจัยได้นาคะแนนแตล่ ะหน่วย การเรยี นรู้มาพิจารณา และด้วยการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์นั้น เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนท่ีมีประสิทธิภาพ ผู้เรยี นตอ้ งมกี ารเรียนร้เู พอื่ หาคาตอบด้วยการลงมือปฏบิ ัตจิ ริง รู้จักการสังเกต การต้งั ปัญหา และวิธกี ารทดลอง จึง จะสามารถเกิดการเรียนรู้ท่ีมีประสิทธิภาพแก่ผู้เรียน ด้วยเหตุผลดังกล่าว ผู้วิจัยจึงมีแนวคิดที่จะนาวิธีการจัดการ เรยี นรู้แบบกิจกรรมโดยใชบ้ ัตรภาพ ทสี่ ามารถทาให้ผ้เู รยี นได้มีเหน็ ภาพจรงิ เข้าใจเนื้อหามากข้ึน และสนุกสนาน กับกิจกรรมการเรียนการสอน โดยเน้ือหาสาระท่ีผู้วิจัยนามาจัดทาเป็นแบบกิจกรรมการใช้บัตรภาพ คือ บทเรียน เร่ือง การจัดจาแนกประเภทของสัตว์ในท้องถ่ิน ซ่ึงผู้เรียนจะได้ทากิจกรรมโดยการทากิจกรรมจากบตั รภาพ ทาให้ ผ้เู รียนมีความสามารถในการจัดจาแนกประเภทของสัตว์ออกเป็นหมวดหมู่ได้ชัดเจนยิ่งขึ้นและฝึกการคิดวิเคราะห์ ของผู้เรียน จงึ เปน็ ประโยชนอ์ ย่างยิ่งสาหรับผ้เู รียน

แนวความคิดและทฤษฎีทีใ่ ช้ในการวจิ ยั ในการวิจยั ครั้งน้ีไดศ้ ึกษาเอกสารท่ีเก่ยี วขอ้ งกับการทดลองวทิ ยาศาสตร์ ดงั มีสาระสาคญั ท่สี ามารถสรุปได้ ดงั นี้ เอกสารทเี่ กีย่ วขอ้ งกับการทดลองวิทยาศาสตร์ การทดลองทางวิทยาศาสตร์ (Science experiment) หมายถึง การจัดกิจกรรมให้เด็กปฐมวัยได้เรียนรู้ ความคิดรวบยอดในเรื่องที่เรียนรู้ ด้วยการเปิดโอกาสให้เด็กได้ค้นหาคาตอบจากการปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเอง ผ่านประสบการณ์ตรงทเี่ ป็นรูป ธรรม เน้นข้ันตอนการคิด การคน้ ควา้ การทดลอง และการสรุปผล จากการเรียนรู้ การใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้าอย่างเป็นกระ บวนการจนพบความรู้ ทาให้เด็กได้รับการพัฒนาทักษะพ้ืนฐานทาง วิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นทักษะที่มีความจาเป็นในการแสวง หาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คือ มีพฤติกรรมท่ีแสดงถึง ความสามารถหรือความชานาญที่เกิดจากการปฏิบัติหรือฝึกฝนกระ บวนการคิดอย่างเป็นระบบ โดยใช้ประสาท สัมผัสทั้งหา้ ในการรบั รู้ การค้นหาความรู้และแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นทักษะเบ้ืองต้นท่ีมี ความเรียบง่าย ไม่ซับซ้อน และมีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกันเหมาะสมกับเด็กในช่วงปฐมวัย ได้แก่ ทักษะการสังเกต ทักษะการจาแนกประเภท ทกั ษะการวดั ทักษะการสอ่ื สาร ทกั ษะการลงความเห็น และทกั ษะการพยากรณ์ การทดลองทางวิทยาศาสตร์ (Science experiment) เป็นกิจกรรมที่ตอบสนองต่อธรรมชาติการเรียนรู้ ของเด็กปฐมวยั ทั้งน้เี นอื่ งจากเด็กปฐมวัยจะเรียนรจู้ ากการเล่น การปฏิบตั ิกิจกรรมดว้ ยตนเอง การมีปฏิสัมพนั ธ์กับ สง่ิ แวดล้อม และจากการได้ใช้ประสาทสมั ผัสในการเรียนรู้ เช่น การฟัง การเห็น การชิมรส การดมกล่ิน การสัมผัส จับต้องสิ่งต่างๆ กิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์ เป็นการจัดกิจกรรมท่ีสามารถส่งเสริมและพัฒนาทักษะ พ้ืนฐานทางวิทยาศาสตร์ให้กับเด็กปฐมวัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์เป็น ความสามารถทางด้านสติปัญญาที่สามารถฝึกฝนให้กับเด็กปฐมวัยได้ด้วย การจัดประสบการณ์ให้เด็กได้โอกาส ปฏิสมั พันธ์กับส่ิงแวดล้อม ดังที่ ฌอง เพียเจท์ (Jean Piaget) กล่าวว่า พัฒนาการทางสติปัญญาเป็นผลมาจากการ ท่ีเด็กได้มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม เด็กจะเรียนรู้สิ่งท่ีเป็นรูปธรรมก่อนเข้าสู่การเรียนรู้ท่ีเป็นนามธรรม และ พัฒนาการทางสติปัญญาจะเป็นไปตามลาดับขั้น และสอดคล้องกับแนวคิดของ จอห์น ดิวอี้ (John Dewey) ที่ กล่าวว่า ประสบการณ์สาหรับเด็กเกิดขึ้นได้ต้องใช้ความคิดและการลงมือปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ การทดลอง และ การค้นพบด้วยตนเอง ดังน้ัน รูปแบบการจัดกิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัยจึงคานึงถึง พัฒนาและธรรมชาติการเรียนรู้ของเด็ก โดยเฉพาะวุฒิภาวะ ความพร้อม และการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับ ความสามารถทางสมองของเด็ก เป็นส่ิงที่มีความสาคัญที่ควรนามาพิจารณาเป็นอันดับแรก สาหรับทักษะพ้ืนฐาน ทางวิทยาศาสตร์หรือทักษะกระ บวนการทางวทิ ยาศาสตร์ เป็นความสามารถในการปฏิบตั ิและฝึกฝนกระบวนการ คิดในการแสวงหาความรู้ ตลอดจนการแก้ ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ได้อย่างคล่องแคล่วชานาญ ทักษะพื้นฐานทาง วิทยาศาสตร์ (Basic Science skills) ทค่ี วรฝึกฝนใหเ้ กิดกับเด็กปฐมวยั สามารถแยกไดเ้ ปน็ 6 ประเภทดังนี้  ทักษะการสังเกต (Observing) หมายถึง ความสามารถในการใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่งหรือ หลายอย่างรวมกันเข้าสัมผัสโดยตรงกับวัตถุหรือปรากฏการณ์ โดยมีจุดประสงค์เพื่อหารายละเอียดน้ันๆ เชน่ o การใหเ้ ดก็ สังเกตสขี องผลไมแ้ ละบอกครวู ่ามสี ีอะไรบา้ ง o การให้เด็กฟงั เสียงร้องของนกชนิดตา่ งๆแล้วบอกว่าเป็นเสียงนกอะไรบา้ ง o หรอื การให้เด็กชมิ รสชาตขิ องน้าผลไมแ้ ละบอกวา่ เปน็ รสชาติของผลไม้ใดบ้าง เป็นตน้

 ทกั ษะการวัด (Measuring) หมายถึง ความสามารถในการใช้เคร่ืองมือวัดหาปริมาณของส่ิงต่างๆได้อยา่ ง ถูกต้องโดยมีหน่วยกากับและรวมไปถึงการใช้เครื่องมืออย่างถูกต้อง เช่น การวัดความยาวของโต๊ะเรียน การวัดความสูงของเก้าอี้ การวัดความหนาของหนังสือ สาหรับเด็กปฐมวัยหน่วยการวัดเด็กอาจจะเลือก เอง เชน่ เด็กอาจจะวัดความยาวของโต๊ะโดยใช้เชือกผูกรองเทา้ แลว้ บอกวา่ โตะ๊ เรียนตัวนี้ยาวเท่ากับเชือก ผกู รองเท้า 2 เส้น เปน็ ตน้  ทักษะการจาแนกประเภท (Classifying) หมายถึง ความสามารถในการจัดจาแนกหรือเรียงลาดับวัตถุ หรือส่ิงที่อยู่ในปรากฏการณ์ต่างๆออกมาเป็นหมวดหมู่โดยมีเกณฑ์ท่ีใช้ในการพิจารณา 3 ประการ คือ ความเหมอื น ความตา่ ง และความ สมั พันธ์ เช่น การใหเ้ ดก็ จาแนกผักด้วยเกณฑ์ตา่ งๆ เช่น ใช้สเี ป็นเกณฑ์ ใช้รูปรา่ งเปน็ เกณฑ์ หรือใชผ้ ิวสมั ผัสเป็นเกณฑ์ เป็นตน้  ทกั ษะการสอ่ื สาร (Communicating) หมายถึง ความสามารถในการแสดงผลข้อมลู จากการสังเกต การ ทดลอง นามาจา แนก เรียงลาดับ และนาเสนอด้วยการเขียน แผนภาพ แผนผัง แผนท่ี เช่น การให้เด็ก ปฐมวัยสารวจจานวนผักชนิดต่างๆที่อยู่ในตะกร้า และเด็กอาจจะสื่อสารด้วยการนาเสนอออกมาเป็น ภาพวาดผักท่ีแสดงจานวนผักแต่ละชนิด เด็กอาจจะวาดรูปมะเขือ 5 ผล แตงกวา 7 ผล ผักชี 4 ต้น ลกั ษณะของการนาเสนอจะขึ้นอยู่กับระดับความสามารถและความต้องการของเด็ก ทกั ษะการสื่อสารและ วิธีการนาเสนอจะมีความซับซอ้ นมากข้ึนตามระดบั อายุและสติปญั ญาของเดก็  ทักษะการลงความเห็น (Inferring) หมายถึง ความสามารถในการนาเสนออธิบายข้อมูลท่ีมีอยู่ซ่ึงได้มา จากการสังเกต การวดั การทดลอง โดยเช่ือมโยงกับความรู้เดมิ หรอื ประสบการณ์เดิมเพอื่ สรปุ ลงความเห็น เกยี่ วกบั ขอ้ มูลน้ันๆ เช่น การจัดกจิ กรรมใหเ้ ด็กสารวจพืชน้า จากการที่เด็กได้ไปสังเกตลกั ษณะของพืชนา้ แล้วสรุปลงความเห็นว่า พืชน้ามีลักษณะต้นกลวง นิ่ม มีท่ออยู่ในลาต้น มีรากเป็นกระจุก เช่น ผักตบชวา ผักกะเฉด ผกั บ้งุ จอก แหน เป็นต้น  ทักษะการพยากรณ์ (Predicting) หมายถึง ความสามารถในการทานายหรือคาดคะเนสิ่งที่จะเกิดข้ึน ลว่ งหน้า โดยอาศัยการสังเกตปรากฏการณ์ซา้ ๆ และนาความรทู้ ่ีเป็นหลักการ กฎ หรอื ทฤษฎีในเร่ืองนน้ั ๆ มาช่วยในการทานายภายในขอบเขตของข้อมูล (Interpolating) และภายนอกขอบเขตของข้อมูล (Extrapolating) เช่น จากการท่ีเด็กสังเกตว่าก่อนฝนตกจะมีเมฆมากและท้องฟ้ามืดครึ้ม มีลมพัดและ เสียงฟ้าร้อง ซึ่งเปน็ ประสบการณ์ท่ีเดก็ รับรู้มาก่อน ดังน้ัน เม่ือมีปรากฏการณ์ดังกลา่ วร่วมกันในครงั้ ต่อมา เด็กจะพยากรณ์ได้ว่าถ้ามีลักษณะดังกล่าวเกิดขึ้น เหตุการณ์ท่ีจะเกิดข้ึนต่อมาคือฝนตก เป็นต้น สาหรับ ทักษะพน้ื ฐานทางวทิ ยาศาสตร์อ่ืนๆท่มี คี วามยากและซับซ้อนจะนาไปสอนในระดับทสี่ งู ขน้ึ เชน่ ทักษะการ ตัง้ สมมติฐาน ทักษะการคิดคานวณ ทักษะการกาหนดและควบคมุ ตวั แปร เป็นต้น วัตถปุ ระสงคข์ องการวิจัย เพ่ือพัฒนาการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง การจัดจาแนกความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต สาหรับ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนวัดดอนยอ สานักงานเขตพ้ืนที่ประถมศึกษา นครนายก สมมุติฐานการวิจัย กจิ กรรมการใช้บตั รภาพ เรือ่ ง การจัดจาแนกความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชวี ิตกับส่ิงมีชีวิต ส่งผลให้นักเรยี น ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ปกี ารศึกษา 2561 โรงเรยี นวดั ดอนยอ มผี ลสมั ฤทธ์ใิ นการเรยี นสงู ขน้ึ

วิธีการดาเนินการวิจัย ในการดาเนนิ การวจิ ยั ได้มีข้นั ตอนในการดาเนนิ การดังน้ี 1. ข้นั เตรยี มการ 1.1 ศึกษาปัญหาด้านผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน 1.2 วิเคราะห์ปัญหาและสรา้ งทางเลือกทจ่ี ะแกป้ ญั หาโดยการสรา้ งนวตั กรรมการเรียนคือ กจิ กรรม การใช้บัตรภาพ เรื่อง การจัดจาแนกประเภทของสัตวใ์ นท้องถน่ิ 1.3 สรา้ งแบบกจิ กรรมการใช้บตั รภาพ โดย 1.3.1 ศึกษาวธิ ีการสร้าง 1.3.2 เลอื กหน่วยการเรียนรู้ทจ่ี ะเขยี น 1.3.3 ศกึ ษาลักษณะของนักเรียนไดแ้ ก่ อายุ ระดบั ชัน้ เรยี น พ้นื ฐานความรเู้ ดิม 1.3.4 ต้งั จุดมุง่ หมายสาหรับแบบกิจกรรมการทดลองที่จะเขยี น 1.3.5 วางโครงเรอ่ื งท่ีจะเขียนเปน็ ลาดับก่อนหลัง 1.3.6 ลงมือสรา้ งแบบกิจกรรมการใช้บตั รภาพตามจดุ มุ่งหมายท่วี างไว้ 2. ขน้ั ดาเนนิ การ 2.1 ทดลองกับกลุ่มตัวอย่างคือนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6 โรงเรยี นบา้ นประตง จานวน 33คน ดาเนนิ การรวบรวมคะแนนทัง้ คะแนนแบบทดสอบก่อนเรียน คะแนนแบบฝึก และแบบทดสอบ หลงั เรียน 3. ขั้นประเมินผล 3.1 นาข้อมลู ท่ีได้มาหาผลการพฒั นาความแตกต่างระหวา่ งการทดสอบก่อนเรยี นและ หลงั เรยี นดว้ ยสถิติรอ้ ยละ 3.2 นาผลทีไ่ ด้มาวิเคราะหแ์ ละรายงานผล กลุ่มตวั อย่าง กลมุ่ ตัวอย่าง คอื นักเรยี นประถมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนวดั ดอนยอ สานักงานเขต พ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครนายก จานวน 33 คน โดยใช้วธิ ีแบบเจาะจง ตัวแปรต้น คอื แบบกิจกรรมการใช้บตั รภาพ เร่ือง การจัดจาแนกความสัมพนั ธ์ระหว่างสิ่งมชี วี ิตกับ ส่งิ มชี วี ติ ตัวแปรตาม คอื ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น เครือ่ งมอื ในการวิจัย 1. แผนการจัดการเรียนรู้ เรอื่ ง การจดั จาแนกความสัมพันธร์ ะหว่างสงิ่ มีชีวติ กบั ส่ิงมชี ีวติ 2. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรยี น 3. บตั รภาพ การรวบรวมขอ้ มูล การเกบ็ รวบรวมข้อมูลมีข้นั ตอนในการดาเนินการดังน้ี 1. ทดสอบก่อนเรยี น 2. ดาเนินการใช้แบบกจิ กรรมการทดลองกับนักเรียนกล่มุ ตัวอย่าง คอื นกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 6 ปี การศึกษา 2561 โรงเรียนวัดดอนยอ

3. ทดสอบหลังเรยี น การวิเคราะห์ข้อมลู นาคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนท่ีนักเรยี นในกล่มุ ตวั อย่างทาไดม้ าหาผลการพัฒนาโดยการใช้ ค่าสถิติรอ้ ยละ สรุปผลการวจิ ัย จากการวจิ ัยพบว่าแบบกิจกรรมการใช้บตั รภาพ เร่ือง การจัดจาแนกความสัมพนั ธ์ระหว่างสงิ่ มชี วี ติ กับ สง่ิ มีชีวิต สามารถพัฒนาการเรยี นรู้วิชาวทิ ยาศาสตรช์ ั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ได้ ดังหลกั ฐานจากผลวเิ คราะห์การ ทดสอบความแตกตา่ งของเฉล่ียของคะแนนทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรียนโดยใช้คา่ สถติ ิรอ้ ยละ ซึ่งค่าคะแนนการทดสอบก่อนเรยี นอยู่ทรี่ อ้ ยละ 45.15และผลทดสอบหลังเรียนอยู่ทีร่ อ้ ยละ 83.33 ผลการ ประเมินก่อนเรยี นมีคา่ เฉล่ยี ต่ากว่าผลการประเมินหลังเรียนโดยแทจ้ รงิ อภิปรายผล จากผลการวิจัยที่พบว่า นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนวัดดอนยอ ท่ีเรียน ด้วยกิจกรรมการใช้บัตรภาพ เรื่อง การจัดจาแนกความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตและส่ิงมีชีวิต มีการพัฒนา ผลสัมฤทธ์ิของคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน ตามผลการวิเคราะห์ค่าคะแนนด้วยค่าร้อยละ ปรากฏว่ามีผลการ พัฒนาการร้อยละ 38.18 ด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงอาจกล่าวได้ว่า กิจกรรมการใช้บัตรภาพ เร่ือง การจัดจาแนก ความสัมพันธ์ระหว่างส่งิ มีชวี ิตและสงิ่ มชี วี ติ เปน็ นวตั กรรมทม่ี ีคุณค่าในการพัฒนาการเรียนรู้ ขอ้ เสนอแนะ 1. ขอ้ เสนอแนะในด้านกิจกรรมการเรยี นรู้ 1.1 ครผู ้สู อนควรทาความเขา้ ใจในการเรยี นดว้ ยกจิ กรรมการทดลองทางวทิ ยาศาสตร์ดว้ ยวธิ กี ารท่ี ถูกต้อง 1.2 ครผู ูส้ อนควรมีการพัฒนาส่ือ / นวตั กรรมในรูปแบบตา่ งๆ อยู่เสมอเพ่ือให้ทนั กบั การ เปลย่ี นแปลงของการจดั กระบวนการเรียนรู้ในยุคโลกาวิวัฒน์ 2. ข้อเสนอแนะเพ่ือทาวิจัยคร้ังต่อไป 2.1 ควรมกี ารวิจัยเพื่อพฒั นาสื่อและนวัตกรรมในรปู แบบอน่ื ๆ 2.2 ควรมีการวิจยั เรื่องการเรยี นด้วยกิจกรรมการทดลองทางวทิ ยาศาสตร์กบั เน้ือหาอืน่ ๆ หรือ ระดบั ชั้นอื่น ๆ

บรรณนุกรม กุลยา ตนั ตผิ ลาชวี ะ. (2551). การจดั กจิ กรรมการเรียนร้สู าหรบั เดก็ ปฐมวัย. กรงุ เทพฯ : เบรนเบสบคุ๊ . ลัดดาวัลย์ กณั หสวุ รรณ; และคณะ. (2540). กิจกรรมวิทยาศาสตรส์ ิง่ แวดล้อมมลพิษทางนา. กรงุ เทพฯ: นานมีบคุ ส์. นติ ธิ ร ปลิ วาสน์. (2556). การทดลองทางวทิ ยาศาสตร์ (Science experiments). สื่อออนไลน์ : www. taamkru.com -----------. (2545). คมู่ ือการจัดการเรยี นร้กู ลุ่มสาระวิทยาศาสตร์. กรงุ เทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ. ศิรกิ าญจน์ โกสุมภ์; และดารณี คาวัจนงั . (2545). สอนเดก็ ให้คิดเปน็ . กรงุ เทพฯ: ห้างห้นุ สว่ นจากดั เสริมสนิ พรีเพรสวิสเท็ม.

ภาคผนวก

แบบบันทึกการประเมินความกา้ วหนา้ ก่อนเรียน – หลังเรียน กิจกรรมการใชบ้ ตั รภาพ เรื่อง การจดั จาแนกความสัมพันธ์ระหวา่ งส่ิงมีชีวติ และส่ิงมีชีวิต ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ปกี ารศกึ ษา 2561 โรงเรียนวดั ดอนยอ เลขท่ี ชื่อ - สกุล คะแนนการประเมนิ ความกา้ วหนา้ กอ่ นเรียน หลังเรยี น 1 เดก็ ชายฉตั รชยั นยิ มบรรเลง 36 3 2 เด็กชายณฐั ภมู ิ ยังดี 58 3 3 เด็กชายธนวัฒน์ ขาลอย 59 4 4 เดก็ ชายธรี พฒั น์ ทับคง 46 2 5 เดก็ ชายนัฐพล โพธเิ์ จรญิ 58 3 6 เด็กชายบรพิ ตั ร มากสุวรรณ 48 4 7 เด็กชายปฐวี สุมณฑา 58 3 8 เด็กชายพีรพัฒน์ สาริกา 47 3 9 เดก็ ชายทินกร ทองประสม 48 4 10 เด็กชายศรันย์ ชุมคา 59 4 11 เด็กชายศิรวิ ฒุ ิ สวา่ งแกว้ 37 4 12 เด็กชายสรายุทธ เลศิ วริ ิยะ 4 10 6 13 เดก็ ชายสธุ ากร เกิดศิริ 38 5 14 เดก็ ชายอรรถพล ศิริมงคล 5 10 5 15 เดก็ หญิงเจนจริ า จวนเจริญ 46 2 16 เด็กหญงิ ณฐั ธิดา เดชดา่ น 69 3 17 เด็กหญิงฑิฆัมพร นาคบุญ 48 4 18 เด็กหญิงนวิ ารนิ ดเี ส็ง 37 4 19 เดก็ หญงิ พิชชาพร เอย่ี มเทียน 4 10 6 20 เด็กหญิงรัตนาวดี บญุ มาก 67 1 21 เด็กหญิงลลิตา กลิน่ หอม 48 4 22 เดก็ หญงิ วริ ดา แซจ่ ่ัน 5 10 5 23 เดก็ หญงิ อญั ญาดา จันทร์เพ็ญ 48 4 24 เดก็ หญิงอารรี ตั น์ ปญั จจอม 3 10 7 25 เดก็ หญิงอุบลพรรณ วงษ์วิเชียร 5 10 5 26 เด็กหญงิ ชลธชิ า วงศจ์ ันทร์ 48 4 27 เด็กชายพฤษภา รามภกั ดี 68 2 28 เดก็ หญิงวรรณิษา ผ่องสกุล 5 10 5 29 เด็กหญงิ ภัทธริดา ทนั จติ ร์ 6 10 4 30 เด็กชายรัฐภมู ิ ช้างเจริญ 58 3 31 เด็กชายณฐั วัฒน์ ชูหิรญั 69 3 32 เด็กหญิงไอยาดา นาคอ่อน 59 4

เลขที่ ชือ่ – สกุล คะแนนการประเมนิ ความก้าวหน้า 33 เดก็ ชายภรู ิภทั ร สังขะวนิ ิจ กอ่ นเรียน หลังเรียน 3 รวมคะแนน 126 คา่ เฉล่ีย 58 3.81 ร้อยละเฉลยี่ 38.18 149 275 4.51 8.33 45.15 83.33 บันทกึ ผล นักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 ท่เี รยี นดว้ ยแบบกจิ กรรมวิทยาศาสตรผ์ ่านเกณฑ์การประเมินหลงั เรยี น และมีผลสัมฤทธทิ์ ีส่ ูงขึ้น ลงชือ่ ...................................................ครูผ้สู อน (นางสาวพชั รีภรณ์ มณเี ลก็ )


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook