Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Juthamas Kongkwan

Juthamas Kongkwan

Published by epalateh, 2021-07-09 08:10:22

Description: Juthamas Kongkwan

Search

Read the Text Version

ครวั เรอื นสมั มาชพี ชมุ ชนตวั อยา่ ง ประจาปี ๒๕๖๔ อาเภอศรสี าคร จงั หวดั นราธวิ าส https://online.pubhtml5.com/mzsf/fbmn/ https://online.pubhtml5.com/mzsf/fbmn ชอื่ เจา้ ของผลงาน นางจฑุ ามาศ คงขวัญ ทอี่ ยู่ บา้ นเลขท่ี ๒๘/๓๒ บา้ นประชานิมติ ร หมทู่ ี่ ๔ ตาบลกาหลง อาเภอศรสี าคร จงั หวดั นราธวิ าส สนบั สนนุ โดย สานกั งานพฒั นาชมุ ชนอาเภอศรสี าคร โทร.081-821-1376

คำนำ กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย ได้ขับเคล่ือนภารกิจสาคัญภายใต้แผนงาน ยุทธศาสตร์สร้างความมั่นคงและลดความเหล่ือมลาทางด้านเศรษฐกิจและสังคม มหี ลักการและแนวคิด ในการสร้างและพัฒนาอาชีพให้ประชาชนตามแนวทางสัมมาชีพชุมชม โดยใช้ทุนชุมชน ขับเคลื่อนการ ดาเนินงานโดยผู้นา/ปราชญ์ชุมชนด้านอาชีพ ใช้แผนชุมชนเป็นเคร่ืองมือภายใต้ประชารัฐ ซึ่งกาหนด วัตถุประสงค์สาคัญเพ่ือส่งเสริมการใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางในการพัฒนา หมู่บ้าน ให้มีระบบการบริหารจัดการชุมชนแบบบูรณาการที่เข้มแข็ง และพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนให้ ม่ันคง โดยใช้ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนในแต่ละหมู่บ้านและทีมสนับสนุนการขับเคลื่อนสัมมาชีพ ชุมชนในพืนท่ี จัดทาแผนปฏิบัติการติดตามสนับสนุนการประกอบอาชีพของครัวเรือนเป้าหมายที่ผ่าน การอบรมอาชีพ ซ่ึงเรียกว่า “ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน” ให้สามารถประกอบอาชีพได้อย่างต่อเน่ือง สรา้ งรายไดใ้ ห้ครัวเรอื นไดจ้ ริง สามารถทาให้ประชาชนได้รบั การพฒั นาอาชีพและมีรายได้เพ่ิมขึน เอกสารฉบับนีเป็นเอกสารประกอบการคัดเลือกครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน ในระดับ จงั หวดั นราธวิ าสประจาปี 2564 ของครัวเรอื นสัมมาชพี ตน้ แบบ นางจุฑามาศ คงขวญั โดยได้รบั การ สนับสนุนจากสานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอศรีสาคร ในการดาเนินงานการพัฒนาทักษะการให้ความรู้ ความเข้าใจในการดาเนินงานตามแนวทางของสัมมาชีพอย่างเห็นผลเป็นรูปธรรมและสามารถเป็น แบบอยา่ งแก่ ครวั เรือขยายผลอ่ืนไดอ้ ย่างเหมาะสมต่อไป สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอศรีสาคร พฤษภาคม 2564

สำรบัญ เรื่อง หน้ำ สว่ นท่ี 1 บทนำ 1 สว่ นท่ี 2 ขอ้ มูลครวั เรือนสมั มำชพี 2 ส่วนที่ 3 กำรประเมินครัวเรอื นสัมมำชีพชุมชน 4 1 .สรำ้ งควำมมัน่ คงทำงอำหำร 4 1.1 ปลกู พืชผักสวนครัวบริเวณบา้ นพกั /พนื ทือ่ ื่นๆ 5 1.2 เกบ็ เมลด็ พันธ์เุ พ่ือขยายผล 11 1.3 มีการแปรรูปอาหาร 2. สรำ้ งสง่ิ แวดลอ้ มให้ย่งั ยืน 18 2.1 มีการคดั แยกขยะ 21 2.2 ทาปยุ๋ ชีวภาพ ปุย๋ หมัก ปุ๋ยนา 24 2.3 มีการจดั บา้ นเรือนเป็นระเบียบ สะอาด ถูกสขุ ลกั ษณะ 2.4 มีสว่ นรว่ มในกจิ กรรมอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ 26 สงิ่ แวดลอ้ มหรือสาธารณะประโยชน์ 3. สรำ้ งภมู คิ ุ้มกันทำงสังคม 27 3.1 ร่วมกิจกรรมจิตอาสา 29 3.2 สมาชกิ ในครัวเรือนไมย่ ่งุ เกย่ี วกบั ส่ิงเสพตดิ และอบายมุขต่างๆ 32 3.3 สมาชกิ ในครัวเรือนเป็นสมาชกิ กลมุ่ องคก์ รในชุมชน 41 3.4 สมาชกิ ในครัวเรือนมีวถิ ีชีวิตประชาธิปไตย 42 3.5 สมาชิกในครัวเรือนไมม่ ีการใชค้ วามรุนแรง 4. สรำ้ งควำมมนั่ คงทำงอำชีพ/รำยได้ 46 4.1 ครัวเรอื นมกี ารออม 47 4.2 ครวั เรือนประสบผลสาเรจ็ ในการประกอบสัมมาชพี 48 4.3 ครัวเรือนมีการทาบัญชีครัวเรือน 49 4.4 ครวั เรือนไมม่ ีหนสี นิ นอกระบบ 50 4.5 รายไดข้ องครัวเรอื นสัมมาชพี ชมุ ชน 52 แบบบนั ทกึ ข้อมลู และองค์ควำมรูค้ รวั เรอื นสมั มำชพี ชุมชนตัวอย่ำง ภำคผนวก

1 สว่ นที่ 1 บทนำ ************************************************* ควำมเปน็ มำ กระบวนการ “สร้างสัมมาชีพชุมชน”เร่ิมต้นด้วยการพัฒนาทักษะการถ่ายทอดองค์ความรู้ ให้กับปราชญ์ชุมชนด้านอาชีพ จากนั้นปราชญ์ชุมชนกลับไปสร้างทีมและจัดการฝึกอบรมอาชีพให้กับ ครัวเรือนที่ต้องการฝึกอาชีพในหมู่บ้าน ติดตาม และสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ครัวเรือนท่ีเข้ารับการ ฝึกอาชพี สามารถปฏิบตั อิ าชพี ได้จริง จนพฒั นาเปน็ อาชพี ท่สี รา้ งรายได้ใหก้ บั ครวั เรือนได้อยา่ งมัน่ คง กรมการพัฒนาชุมชน ได้ให้ความสาคัญในการเสริมสร้างผู้นาชุมชน โดยการพัฒ นา ศักยภาพผู้นาชุมชน เพ่ือเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในระดับต่างๆ ให้ผู้นาชุมชนมีความรู้ คู่ คณุ ธรรม สามารถบริหารจัดการชุมชนของตนเอง เปน็ กาลังหลกั ในการขบั เคลื่อนงานอยา่ งตอ่ เนื่อง โดยมี การจัดประกวดแข่งขัน เสริมสร้างและพัฒนาผู้นาการเปล่ียนแปลง เพ่ือเชิดชูเกียรติ สร้างแรงจูงใจต่อ การขับเคล่ือนงาน นาไปสู่การเปล่ยี นแปลงที่ดีข้ึน Change for Good สร้างชมุ ชนเข้มแข็งและพ่งึ ตนเอง ได้ โดยน้อมนาแนวพระราชดาริของกรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สร้างความ มั่นคงทางอาหารสู่ปฏิบัติการ 90 วัน ปลูกผักสวนครัว เพื่อสร้างความม่ันคงทางอาหาร แก่พ่ีน้อง ประชาชน เช่น ตาบลโก่งธนู จังหวัดลพบุรี ภายใต้โครงการ “บ้านนี้มีรัก ปลูกผักกินเอง” รณรงค์ให้ทุก หลังคาเรือนมีการคัดแยกขยะ สร้างความรู้ ความเขา้ ใจในการบริหารจดั การขยะเปียก ดูแลรักษาภูมิทัศน์ สง่ิ แวดลอ้ ม เพิ่มพ้นื ท่ีสีเขยี วให้กบั ชุมชน การปลกู ผักสวนครวั สร้างคลงั ทางอาหาร ประชาชนในพ้ืนท่ีตาบลกาหลงได้น้อมนามาเป็นแนวทางปฏิบัติ ซึ่งเป็นรูปแบบการ ขับเคลื่อนเชิงคุณภาพ เพื่อให้เกิดผลสาเร็จฝังรากลึกทางวัฒนธรรมให้อยู่ในจิตสานึกแก่ประชาชนอย่าง ย่งั ยืน และสามารถขับเคล่ือนให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชนอยา่ งท่ัวถึง เป็นการเพ่ิมขีดความสามารถของ ผู้นาชุมชนให้สามารถบูรณาการงานพัฒนาชุมชน นาไปสู่การพึ่งพาตนเองได้ ในพื้นท่ีมีผู้นาระดับท้องที่ เช่น ผู้ใหญ่บ้าน กานัน นายกองค์การบริหารส่วนตาบล ผู้นาธรรมชาติ เช่น พระสงฆ์ ผู้ที่มีคนนับถือใน ชุมชน รวมถึง ผู้นาท่ีเป็นราชการ เช่น นายอาเภอ หัวหน้าส่วนราชการต่างๆ ร่วมเข้ามาขับเคล่ือนการ ดาเนินงานร่วมกัน โดยการปฏิบัติผู้นาต้องทาก่อน ให้พี่น้องประชาชนปฏิบัติตาม ด้วยการปลูกพืชผักสวน ครวั ในครัวเรือน และพ้ืนที่ส่วนรวม วัด โรงเรียน ถนนหนทางในหม่บู ้าน ให้เป็นพ้ืนที่ทสี่ ร้างความสวยงาม และสรา้ งความมั่นคงทางอาหารไดอ้ ย่างเป็นรูปธรรม ครวั เรือนสมั มาชีพชุมชน ประจาปี 2564

2 สว่ นท่ี 2 ข้อมลู ครัวเรอื นสมั มำชพี ชุมชน ประจำปี 2564 ************************************************* 1. ชื่อ นางจฑุ ามาศ นามสกุล คงขวญั วันเดอื นปเี กิด 16 กนั ยายน พ.ศ. 2529 ปจั จบุ นั อายุ 35 ปี สถานที่อยู่บ้านเลขที่ 28/32 หมู่ที่ 4 หมู่บ้านประชานิมิต ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส รหสั ไปรษณยี ์ 96210 โทรศพั ท์ 061 - 2023099 โทรสาร..............-............. Facebook : จุฑามาศ คงขวัญ E –Mail ….……….......................-................................... สถานทท่ี างาน ช่ือหนว่ ยงาน....................................................................................-.............................. เลขท่ี...-........หม่ทู .่ี ...-......ตาบล..........-......................อาภอ.........-......................จังหวดั ..........-............. รหสั ไปรษณีย์...............-................โทรศัพท์..........-...................โทรสาร..............-.................................. อาชีพ....................เกษตรกร (ชาวสวน).......................... จานวนสมาชกิ ในครวั เรือน 6 คน 2.1 ช่ือ นางจุฑามาศ สกุล คงขวญั อายุ 35 ปี ปี การศกึ ษา มัธยมศึกษาปีที่ 6 เก่ียวขอ้ งเป็น หัวหนา้ ครวั เรอื น . ปี ปี 2.2 ชือ่ นายสกุ ฤษฏ์ สกลุ คงขวัญ อายุ 45 ปี ปี การศึกษา อนปุ ริญญาตรี เกย่ี วข้องเป็น สามี . 2.3 ชอื่ นางมาลี สกลุ คงขวัญ อายุ 63 การศกึ ษา - เก่ยี วข้องเปน็ มารดาของสามี . 2.4 ชื่อ นางสาวสริ ปิ ระภา สกลุ ศรรี ะวรรณ์ อายุ 15 การศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 เกย่ี วข้องเป็น บตุ รสาว . 2.5 ชอื่ เด็กชายธนกร สกุล พรมเตม็ อายุ 8 การศกึ ษา ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 เก่ยี วข้องเปน็ บตุ รชาย . 2.6 ชือ่ เด็กหญิงณัชชา สกลุ คงขวัญ อายุ 5 การศึกษา อนบุ าล 1 เก่ียวข้องเปน็ บตุ รสาว . ครัวเรือนสมั มาชีพชุมชน ประจาปี 2564

3 2. ประวตั สิ ว่ นตัว/การศกึ ษาและการฝึกอบรม จบการศึกษาช้ันสูงสุด มัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนธารโตวัฑฒนวิทย์ อาเภอธารโต จังหวัด ยะลา ปีการศึกษา2547 ผำ่ นกำรฝึกอบรมในดำ้ นต่ำง ๆดังน้ี 1. ผา่ นเกณฑป์ ระเมนิ การพัฒนาระบบมาตรฐานงานชมุ ชน ปี 2564 2. อบรมทาป๋ยุ จุลินทรีย์สังเคราะหแ์ สง ป๋ยุ คอก เพาะกลา้ ชาต้นมลั เบอรี่ และฝายชะลอนา้ 3. อบรมหลกั สูตรการกรดี ยางอย่างถูกวธิ ี ประจาปี 2563 4. อบรมการทาปุ๋ยหมกั ปุ๋ยคอก (วทิ ยากร นายพรเทพ พัสมุณี) ปี 2563 5. อบรมการปลกู ดาวเรืองตดั ดอก (จากวิทยากรนายธารงศักดิ์ ชุมนุมมณ)ี ปี 2562 6. อบรมการเล้ียงผง้ึ ชนั โรง (วทิ ยากรยงั สมาทฟาเมอร์ อ.ธารโต จ.ยะลา) ปี 2562 7. อบรมการทาทุเรียนอนิ ทรยี ์ (วทิ ยากร นายวฒุ ิชัย พรมทอง เจ้าของทรพั ย์เกษตร จ.พัทลุง) 3. หน้าที่การงาน/อาชพี (อดีต/ปจั จบุ ัน) - ทาการเกษตร (สวนยาง/สวนกาแฟ) 4. รางวัลที่เคยได้รบั (ระบุปที ไ่ี ดร้ ับ) 4.1 ช่ือรางวัล รองชนะเลิศ อันดับ 2 การแข่งขันกรีดยาง หลักสูตร การกรีดยางอย่างถูกวิธี ประจาปี 2563 กจิ กรรมถา่ ยทอดเทคโนโลยีด้านการผลิตยาง ประจาปี 2563 ชือ่ หน่วยงาน การยางแหง่ ประเทศไทยจังหวดั นราธวิ าส ปี่ท่ีไดร้ บั 2563 5. ผลงานดีเด่นที่ได้รับการยอมรับและเป็นประโยชน์ต่อสังคม (เป็นผลงานท่ีมีความต่อเน่ืองและยัง ดาเนนิ การจนถงึ ปัจจุบนั ) 1. จิตอาสาพระราชทาน 2. กรรมการกลุ่มกาแฟอาราบีก้า 3. กรรมการศูนย์เรยี นรู้ไรท่ องผาภูมิ 4. กรรมการกลมุ่ ไม้ตัดดอก (ดาวเรือง,มะล)ิ 5. สมาชกิ ครวั เรอื นสมั มาชพี ชมุ ชน 6. สมาชกิ กองทนุ พฒั นาบทบาทสตรี 7. สมาชิกกลมุ่ ออมทรัพยเ์ พ่อื การผลติ บ้านประชานิมติ ร 8. สมาชกิ กลมุ่ เคร่อื งแกง หมบู่ า้ นประชานิมติ ร 9. สมาชกิ ศูนย์จัดการกองทุนชมุ ชนบ้านประชานิมิตร ครวั เรอื นสมั มาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564

4 ส่วนท่ี 3 กำรประเมินครัวเรือนสัมมำชีพชมุ ชน ในการประเมินครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน กรมการพัฒนาชุมชนได้กาหนดหลักเกณฑ์ในการ พจิ ารณาคดั เลือกครวั เรือนสัมมาชีพ ตามรายละเอยี ดกิจกรรมตามแบบประเมนิ 4 ดา้ นดงั น้ี 1. สร้ำงควำมมัน่ คงทำงอำหำร 2. สรำ้ งสง่ิ แวดล้อมใหย้ งั่ ยนื 3. สรำ้ งภูมิคุ้มกนั ทำงสังคม 4. สร้ำงควำมมัน่ คงทำงอำชพี /รำยได้ ผลกำรดำเนนิ งำนของครัวเรือนสัมมำชีพ (นำงจุฑำมำศ คงขวัญ) 1. สรำ้ งควำมม่ันคงทำงอำหำร 1.1 มกี ำรปลูกพชื ผักสวนครวั บริเวณบ้ำนพกั /พื้นทอ่ี นื่ ๆ อย่ำงนอ้ ย 10 ชนดิ ครัวเรือนสัมมาชีพชมุ ชน ประจาปี 2564

5 สมาชิกในครัวเรือน ร่วมกันปลูกผักสวนครัว มากกว่า 10 ชนิดในบริเวณบ้านพักอาศัย เพื่อได้กิน เอง และแบ่งปัน พร้อมกับขยายผลต่อยอดสร้างรายได้ในชว่ งวิกฤตหนัก โควิด 19 ประหยัดรายจา่ ย เป็น การเพิ่มรายได้ ลดรายจ่ายภายในเรือน ได้แก่ ขิง ข่า มะนาว ผักชี ฝรั่ง กะเพรา พริก มะกรูด ตะไคร้ มะละกอ มะเขือเทศ ฝกั เขียว มะเขือเปราะ ใบเหลยี ง มะเขอื พวง ใบชะพลู พรกิ ไทย โหระพา ฯลฯ 1.2 กำรเกบ็ เมลด็ พันธ์ุเพอื่ ขยำยผล ช่วงวิกฤต COVID-19 น้ี ส่ิงหน่ึงที่ชัดเจนขึ้นคือ ความสาคัญของความม่ันคงทางอาหารและเมล็ด พนั ธุ์ หลายคนเรมิ่ หันมาเปน็ มือปลูก และแบง่ ปันเมล็ดพันธ์แุ ละผลผลติ ใหก้ ันและกนั ครัวเรือนสัมมาชีพต้นแบบ (นางจุฑามาศ คงขวัญ) มีการเพาะกล้าไม้ต่างๆเพื่อขยายพันธุ์ และ จาหน่ายเป็นรายได้เสริมให้แก่ครัวเรือน ได้แก่ 1. ผักเหลียง 2. มัลเบอรี่ 3.กะเพรา 4. ยางพารา 5. กาแฟอาราบิกา้ 6.มะเขอื เทศ 7. ดาวเรอื ง 8. มะนาว 9. ตะไคร้ 10. พริก ครัวเรือนสัมมาชีพชมุ ชน ประจาปี 2564

6 1.ผกั เหลยี ง สมาชิกในครวั เรือนเล็งเห็นถงึ ช่องทางการสรา้ งรายได้ จึงมีการเพาะกล้าผกั เห ลียง และตัดยอดผักเหลียงเพื่อจาหน่ายเพิ่มรายได้ให้ครัวเรือนทาให้มีรายได้ต่อสัปดาห์ประมาณ 500 บาท ครัวเรือนมีการเพาะกล้าต้นผักเหลียงเพ่ือขยายพันธุ์ แบ่งปนั ใหค้ รัวเรือนในหมู่บา้ น และจาหน่ายเปน็ รายได้เสริมให้แก่ครัวเรอื น 2.มัลเบอรี่ ครัวเรือนมีการขยายพนั ธ์เุ พื่อจาหน่าย เปน็ หนทางเพิ่มรายได้ โดยเพาะกิ่งพนั ธุ์ ตน้ หม่อน โดยวิธปี กั ชากง่ิ โดยจาหน่ายกิง่ ละ 10 บาท ขนาดกิ่งยาว 20 ซม. ครวั เรอื นสัมมาชีพชุมชน ประจาปี 2564

7 3. กะเพรำ กะเพรามีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิด คือ กะเพราแดงและกะเพราขาว ขยายพันธโ์ุ ดย การเก็บเมล็ดพนั ธ์ุและปกั ชากิ่ง 4. ยำงพำรำ การขยายพันธ์ุยางพารานิยมใช้วิธีการ ติดตาเขียว ติดตาสีน้าตาล แต่ส่วน ใหญ่นิยมติดตาเขียว มากกว่า เพราะทาได้ง่าย สะดวก รวดเร็ว มีเปอร์เซ็นต์การติดสูงมากกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ การขยายพันธุ์วิธีดังกล่าวมีวิธีการดาเนินงาน 3 ขั้นตอนคือ การสร้างแปลงกล้ายาง การสร้าง แปลงกิง่ ตา และวิธกี ารตดิ ตาเขียว โดยจาหนา่ ยตน้ กล้าขนาดสูง 80 เซนตเิ มตร ต้นละ 20 บาท ครวั เรอื นสัมมาชพี ชุมชน ประจาปี 2564

8 5. กำแฟอรำบิก้ำ กาแฟพันธุ์อราบิก้า วิธีการขยายพันธุ์นิยมนาเมล็ดมาขยายพันธุ์ เนื่องจาก วา่ กาแฟราบกิ า้ น้นั ผสมกันภายในต้นเดยี วกัน เวลานาเมล็ดจากตน้ นัน้ ไปปลกู ต่อ คณุ สมบตั ิจะไม่ แตกตา่ งจากต้นแมม่ ากนัก ต้นกลา้ กาแฟ กาแฟทพี่ รอ้ มเกบ็ เกยี่ ว 6. มะเขือเทศ มะเขือเทศขยายพันธ์ุง่ายดว้ ยการเพาะเมล็ด นาเมล็ดจากผลท่ีสุกเต็มที่มาลา้ งเมือก ลื่นออกให้หมด ผึ่งในที่ร่มให้แห้งแล้วหว่านเมล็ดลงในกระบะเพาะ ประมาณ 10 วันเมล็ดจะเรมิ่ งอกและ แตกใบจรงิ หรอื ใช้เมลด็ พันธ์ทุ ี่บรรจุซองจาหนา่ ยก็ได้ ครัวเรอื นสัมมาชพี ชุมชน ประจาปี 2564

9 7.ดำวเรือง การขยายพันธุ์ดาวเรืองสามารถทาได้ 2 วิธี ทั้งวิธีเพาะเมล็ด และการปักชา การปลูกด้วยเมล็ดเป็นท่ีนิยมมากกว่า เพราะปลูกได้ในปริมาณมากกว่าการปลูกด้วยวิธีปักชา การเพาะ เมลด็ อาจเพาะลงในแปลงภายใต้โรงเรือน หรืออาจเพาะลงในกระบะ สว่ นวิธีการปกั ชา เกิดจากผลพลอย ได้เมื่อถงึ ระยะเด็ดยอด เพ่ือใหแ้ ตกก่ิงออกดา้ นข้างเปน็ การเพิ่มจานวนดอกในระยะต้นสูง 8.มะนำว การขยายพันธุ์มะนาวสามารถทาได้หลายวิธี ได้แก่การตอนก่ิง การติดตา การ ทาบก่ิง และการขยายพันธุ์ด้วยใบ ซ่ึงเป็นภูมิปัญญาของชาวบ้าน วิธีนี้จะได้ผลผลิตจานวนมากในแต่ละ ฤดูกาล ครวั เรือนสมั มาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564

10 9. ตะไคร้ การขยายพันธุ์ตะไคร้ ตะไคร้สามารถขยายพันธ์ุได้ด้วยการปักชาต้นเหง้า โดย ตัดใบออกให้เหลอื ตอนโคนประมาณหนง่ึ คบื นามาปักชาไว้สกั หน่ึงสปั ดาหก์ ็จะมีรากงอกออกมา แลว้ นาไป ลงแปลงดินทีเ่ ตรียมไว้ 10.พรกิ ขีห้ นู การขยายพันธ์พุ รกิ โดยการเพาะเมล็ดถอื เปน็ วธิ ีเดยี วทท่ี าให้ผลผลิตไดผ้ ลดี เพยี งแคเ่ ตรยี มดิน เตรยี มแปลงใหพ้ รอ้ ม แลว้ หว่านเมล็ดพริกลงดนิ ครวั เรือนสมั มาชีพชุมชน ประจาปี 2564

11 1.3 มกี ำรแปรรปู อำหำร การถนอมหรือการแปรรูป จึงเป็นส่ิงที่สามารถยืดระยะเวลาของอาหารได้นานยิ่งขึ้น การถนอม อาหารหรือการแปรรูปอาหารเองก็มีหลากหลายวิธี ได้แก่ การเก็บในสภาพสด การทาให้แห้ง การทอด หรือการคั่ว การหมักเกลือ และการหมักดอง ครวั เรือนนางจฑุ ามาศ คงขวัญ เปน็ ครวั เรือนประกอบอาชพี ทาสวนกาแฟ จาหนา่ ยทัง้ ชาดอก กาแฟ เมล็ดกาแฟสด และผงกาแฟสดแบบสาเรจ็ รปู การแปรรูปส่วนใหญค่ รัวเรือนจะเลือกใช้วธิ ีการ อบแหง้ และการคัว่ เพ่อื เก็บรักษากาแฟโดยยดื ระยะเวลาใหอ้ ยู่ไดน้ าน ดอกกำแฟสด กำรตำกดอกกำแฟ เพอ่ื ทำเปน็ ชำ ครัวเรือนสัมมาชีพชมุ ชน ประจาปี 2564

12 ชำดอกกำแฟ พรอ้ มชงดม่ื ดอกกาแฟ อาจจะเคยเปน็ ดอกไม้เล็กๆ ที่สง่ กลิ่นหอมฟงุ้ ไปทว่ั บริเวณสวนกาแฟ และถูกมองผ่าน ไปอย่างไม่มีคา่ อะไร ครัวเรอื นได้นาไปส่กู ารแปรรูปเพ่มิ มูลค่าใหก้ บั กลุม่ กาแฟ จงึ ได้ผลิตภัณฑ์ใหมท่ ่ีเรียก กันว่า “ชำดอกกำแฟ”ซึ่งสร้างรายได้ใหก้ บั ครวั เรอื น โดยขายในกโิ ลกรัมละ 2,000 บาท รวมรายได้ปีละ 10,000 บาท พฒั นาการอาเภอศรีสาคร หน่วยเฉพาะกจิ กรมทหารพรานท่ี 4912 ครัวเรอื นสมั มาชีพชุมชน ประจาปี 2564

13 เกษตรอาเภอศรสี าคร ผอ.กศน.อาเภอศรสี าคร ผ้แู ทนวทิ ยาลัยการอาชพี ตัวแทนผปู้ กครองนิคมสร้างตนเองกาหลง หั วห น้ าส่ วน ราช ก ารต รวจ เย่ี ย ม ติ ด ต าม ผ ล ผ ลิ ต ข อ งค รัวเรือ น สั ม ม าชี พ ต้ น แ บ บ (นางจุฑามาศ คงขวญั ) เมล็ดกาแฟสด เกบ็ เกี่ยวจากต้นกาแฟ กะเทาะเปลือกเมลด็ กาแฟโดยการตา แลว้ นาไปตากแดด จนเมล็ดกาแฟแห้ง ครวั เรือนสัมมาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564

14 นาเมลด็ กาแฟท่ผี ่านการตากแหง้ มาคั่วให้เกดิ กลิ่นหอม ก่อนนาไปบดเพื่อทาผงกาแฟ ครัวเรือนสมั มาชีพ เก็บเมลด็ กาแฟทีถ่ ึงกาหนดระยะเวลาสกุ นามาตากแห้ง คั่ว พร้อมบดจาหน่ายเป็นกาแฟสด เพอื่ สร้างรายไดใ้ ห้แกค่ รวั เรือน ปีละ 40,000 – 80,000 บาท ครัวเรือนสมั มาชพี ชุมชน ประจาปี 2564

15 ครวั เรือนสมั มาชพี ซงึ่ เป็นสมาชิกของกล่มุ เครื่องแกงในหมู่บา้ น มกี ารปลูกตะไคร้แซมระหวา่ งต้นยางพารา เพือ่ สง่ เปน็ วัตถดุ ิบใหแ้ กก่ ลุ่มเคร่ืองแกงในหมู่บ้านประชานมิ ิตร ไดน้ ามาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑช์ มุ ชน มีรายไดจ้ ากการส่งวตั ถุดบิ ให้กบั กลุ่มเครื่องแกง ปีละ 20,000 บาท ครวั เรือนสมั มาชีพชมุ ชน ประจาปี 2564

16 ครวั เรอื นมีการแปรรูปไข่เคม็ เอง เนอื่ งจากในชุมชนมกี ารเลย้ี งเป็ด เลีย้ งไก่ จงึ มปี ริมาณไขเ่ ปด็ และไขไ่ ก่จานวนมาก จึงคิดทจี่ ะแปรรปู เพอื่ ถนอมไขใ่ ห้สามารถเกบ็ ไว้นานๆได้ โดยเรมิ่ ทาจากครัวเรอื น ตนเองก่อน แล้วจึงขยายผลไปยงั ครัวเรือนอนื่ ๆในชุมชนเดยี วกัน หากมีจานวนมากก็จะเก็บไปขายในตลาด นัดชมุ ชน ทกุ วนั จันทร์ จาหนา่ ยฟองละ 5 บาท สามารถสรา้ งรายได้ ปลี ะ 4,000 – 5,000 บาท ครัวเรือนสมั มาชีพชมุ ชน ประจาปี 2564

17 สมาชิกในครัวเรือน ช่วยกันทาสะตอดองไว้รับประทาน เมื่อถึงฤดูกาลของสะตอ ทาให้ผลผลิตมี จานวนมาก ราคาจึงตกต่า ครัวเรือนจึงคิดหาวิธีแปรรูปเพ่ือเพ่ิมมูลค่า เพิ่มรายได้ให้ครัวเรือน และเก็บไว้ รบั ประทานในครวั เรือนเอง โดยใช้วิธีการแปรรปู สะตอในรปู แบบการดองเกลือผสมส้มแขก เป็นการถนอม อาหารในรูปแบบหนึง่ มีวธิ ีการดองดังนี้ 1. ลวกสะตอพอสกุ แล้วนาไปแชน่ ้าเย็น ปอกเปลอื กออกลา้ งน้าให้สะอาด 2. นาสะตอที่สะอาดแลว้ มาคลุกเคลา้ กบั เกลือหมกั ไว้ 3. เมอ่ื ต้องการจะจาหน่ายนาสะตอท่ีหมกั ไวม้ าลา้ งนา้ พกั ไว้ 4. ตม้ นา้ เกลือความเคม็ 20% ต้งั ไวใ้ ห้เย็นบรรจสุ ะตอในภาชนะทสี่ ะอาดและฆา่ เช้ือแลว้ ใส่ นา้ เกลอื ให้ท่วมสะตอ ( ต้องการให้ขาวใส่สม้ แขกเล็กนอ้ ย) ครวั เรือนสัมมาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564

18 2. สร้ำงสงิ่ แวดลอ้ มใหย้ งั่ ยืน 2.1 มีกำรคัดแยกขยะ กำรคัดแยกขยะ เป็นวิธีการหนึ่งในกระบวนการลดปริมาณขยะมูลฝอย ซึ่งเป็นตัวการของปัญหามลพิษของ ส่ิงแวดล้อมในปัจจุบัน ขยะมูลฝอยท่ีเกิดจากการละเลยการคัดแยกขยะในชีวิตประจาวันของเรา เป็นห่วง โซ่หน่ึงที่นาพาให้คุณภาพของสิ่งแวดลอ้ ม สุขภาพร่างกายและชีวติ โดยรวมแย่ลง และสามารถสร้างรายได้ ใหก้ บั ครัวเรอื นไดอ้ กี ทางหน่งึ เมื่อทาการแยกขยะแล้ว นาไปขายให้กับกลมุ่ เยาวชนรับซ้อื ขยะในหมบู่ า้ น แม้จะสร้างรายไดเ้ พียง เล็กนอ้ ยใหก้ ับครัวเรือน แตป่ ระโยชนท์ สี่ าคัญ คอื ในครวั เรอื นได้มีการบริหารจัดการขยะ ซ่ึงเปน็ ผลดตี ่อ สิ่งแวดลอ้ มภายในบา้ นและในชมุ ชน ครวั เรือนสมั มาชีพชุมชน ประจาปี 2564

19 ครัวเรือนสัมมาชีพจึงตระหนักและเห็นความสาคัญของการักษาสิ่งแวดล้อมทาให้ สมาชิกใน ครัวเรือน แห่งบ้านประชานิมิตร ท่ีบ้านมีถังขยะอยู่ 4 ถัง แบ่งตามประเภทชนิดของขยะ เหตุน้ีทุกคนจึง ยึดมั่นต่อหน้าที่ในการจัดการขยะ ชว่ ยกันรบั ผิดชอบ เพื่อรกั ษาส่ิงแวดล้อมท่ีน่าอยู่ เร่ิมจากการคัดแยกใน ครัวเรือน เพื่อให้เหลือขยะทิ้งน้อยท่ีสุด ก่อนที่ขยะแต่ละประเภทจะถูกส่งต่อไปตามเส้นทางสายใหม่ท่ีไม่ กอ่ ใหเ้ กดิ มลภาวะเหมือนเช่นในอดตี ครวั เรอื นสมั มาชีพมีการคัดแยกขยะอยา่ งเป็นระบบ เช่น การแยกขยะพลาสติก ขยะรีไซเคลิ และ ขยะทว่ั ไป สาหรับขยะท่ีเป็นพลาสติกทางครัวเรอื นสัมมาชีพจะนาไปขายร้านรับซ้อื ของเกา่ ทาใหม้ ีรายได้ เสรมิ เพิ่มขน้ึ และสาหรับขยะท่ัวไป หรือขยะเปียกทางครวั เรอื นจะนามาทาเป็นป๋ยุ อนิ ทรีย์ ครัวเรือนมีการนาเศษอาหารไปหมักไว้ในถังปุ๋ยก่อน แล้วฝังไว้ในดิน และจัดการขยะประเภทใบไม้ ใบหญ้า โดยหากเป็น ขยะประเภทเศษอำหำร ใบไม้ ใบหญำ้ จะถูกนามาทิง้ ไวใ้ นหลุมทาเปน็ ปุ๋ยหมักตาม ธรรมชาติ สามารถสร้างความชุ่มชื้นให้กับดิน จึงไม่จาเป็นต้องรดน้าต้นไม้บ่อยๆ นาขยะพลาสติกกลับมาใช้ใหม่ได้อย่างคุ้มค่า ในส่วน ขยะประเภทรีไซเคิล อย่างขวดพลาสติก ประเภทต่างๆ นามาขายกับโครงการธนาคารขยะ และใช้ความคิดสร้างสรรค์เพิ่มมูลค่าแปรเป็นผลิตภณั ฑ์ ได้แก่ ตะกร้า พัด หมวก หรือผ้ากันเป้ือน ท่ีนอกจากจะนามาใช้งานในชีวิตประจาวันได้แล้ว ยังสามารถ จาหนา่ ยและสร้างรายได้เสรมิ ให้กบั ชาวชมุ ชนอกี ดว้ ย ครัวเรอื นสมั มาชีพชุมชน ประจาปี 2564

20 ขยะอนั ตราย สาหรับประเภท ขยะอันตรำย อย่าง ถ่านไฟฉาย หลอดไฟฟ้า และกระป๋องสารเคมี ต่างๆ ชาวบ้านในชุมชนสามารถเกบ็ รวบรวมเพ่ือนามาแลกเปน็ ไขไ่ ก่กบั ทาง อบต. ทพ่ี ร้อมให้ความรว่ มมือ เป็นอย่างดี นอกจากเร่อื งการแยกขยะทั้งหมดแลว้ อีกหนงึ่ สิง่ สาคัญที่ครวั เรือนและหมูบ่ ้านได้ดาเนินการควบคู่ ไปด้วยนน่ั คอื การปลกู ฝังจติ สานกึ แนวคดิ เศรษฐกจิ หมุนเวยี นใหก้ บั เยาวชน และคนในพื้นทอ่ี ย่างเตม็ กาลัง ความสามารถ ไมว่ ่าจะเป็น การสอนให้เด็กนกั เรียนคดั แยกกลอ่ งนม หลงั จากดื่มเสรจ็ แลว้ นามาล้างทา ความสะอาดใหเ้ รียบร้อยก่อนทงิ้ หรอื การทช่ี าวบ้านนาขยะท่ีคัดแยกและล้างจนสะอาดมาทาเปน็ ผ้าป่ารี ไซเคลิ ให้กับวดั ในแตล่ ะปี จะเห็นได้วา่ วิธีการคัดแยกขยะในครัวเรือนเปน็ เรอื่ งง่ายๆ ท่ีใครๆ ก็ทาได้ เพยี งแค่มีความตั้งใจ มองเห็นมูลค่าจากสิ่งของรอบตวั พรอ้ มกับความมุ่งมั่น ได้รบั ความรว่ มมอื จากทุกคนในชุมชนและทกุ ฝ่าย ที่เกีย่ วข้องเพยี งเท่าน้ัน นอกจากจะชว่ ยลดปริมาณขยะและชว่ ยจดั การขยะอย่างถกู ต้องแลว้ ธนาคารขยะยงั เป็น โครงการทชี่ ว่ ยปลูกฝังนิสยั การออม ปลูกจติ สานกึ รกั ษโ์ ลก ช่วยสรา้ งรายได้เสริมให้กับครอบครวั และ ชว่ ยเพมิ่ มูลค่าใหก้ ับของเหลือใชไ้ ด้ดว้ ย ฉะนนั้ ต่อไปน้ีแทนทจ่ี ะทิ้งขยะรวมกนั จนทาใหเ้ กดิ ปญั หา ตามมา มาคัดแยกขยะและนาไปขายใหเ้ กิดประโยชน์สงู สดุ กัน ขยะเปยี กมาทาปุย๋ น้าหมักชีวภาพ เพื่อแบ่งปนั ให้กบั ชาวบ้านในหมู่บา้ น เปน็ การลดต้นทุนในการ ซ้ือปยุ๋ เคมแี ละไม่เป็นอันตรายตอ่ สุขภาพรา่ งกาย และเป็นมติ รตอ่ สิ่งแวดล้อมชุมชน ครัวเรือนสมั มาชีพชุมชน ประจาปี 2564

21 2.2 ทำปยุ๋ ชีวภำพ ปยุ๋ หมกั ปุย๋ น้ำ ฯลฯ สมาชิกในครัวเรือนช่วยกันทาปุ๋ย เพ่ือแบ่งปันให้กับชาวบ้านและเกษตรกรของหมู่บ้าน ประชานิมิตร หลังจากที่ได้ร่วมทากิจกรรมศูนย์เรียนรู้การทาปุ๋ยชีวิตภาพจากการไปฝึกอบรม ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยน้า ปุ๋ยแห้ง โดยมีหน่วยงานภาครัฐ ได้แก่ สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอศรีสาคร สานักงานเกษตร อาเภอศรีสาคร ตลอดจนปราชญ์สัมมาชีพชุมชน มาให้ความรู้ในการทาปุ๋ยหมักแบบแห้งชาม-น้าชาม อย่างถูกตอ้ ง เพอ่ื เอาไว้ใช้เองและสามารถแบง่ ปนั ครัวเรอื นอ่ืนในหมู่บา้ นได้ ปุ๋ยมูลไสเ้ ดือน ป๋ยุ มลู สตั ว์ ป๋ยุ ฮอรโ์ มนไข่ ครัวเรอื นสัมมาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564

22 ป๋ยุ นำ้ หมกั ชีวภำพ เพือ่ แบ่งปันครัวเรอื นใกล้เคียง การทาปุ๋ยไว้ใช้เองโดยที่ไม่พึ่งพาสารเคมีทาให้เรามั่นใจได้ว่าปุ๋ยท่ีเราใส่บารุงพืชผักที่เราปลูกจะ ปลอดภัยแน่นอน ซึ่งการทาปุ๋ยนี้นอกจากจะได้ปุ๋ยอินทรีย์ที่ปลอดภัยแล้วเรายังสามารถนามาใช้เป็น กิจกรรมยามว่างร่วมกันภายในครอบครัว หรือ ในชุมชนได้อีกด้วย การทาปุ๋ยโดยมีหลักการคือ เล้ียงดิน ใหด้ นิ เลีย้ งพืช และ ใหพ้ ืชเลีย้ งเรา ครวั เรือนสมั มาชีพชุมชน ประจาปี 2564

23 วธิ ีกำรทำปยุ๋ นำ้ ส่วนผสม 1. ผลไม้ หรือ ผกั 3 ส่วน 2. กากนา้ ตาล หรอื นา้ ตาลทรายแดง 1 ส่วน 3. หวั เช้ือจลุ นิ ทรีย์ 1 ส่วน 4. น้าสะอาด 10 ส่วน วิธีทำ 1. ใส่ผลไมล้ งในภาชนะทบึ แสงมีฝาปดิ 2. ละลายน้าและกากน้าตาลหรอื น้าตาลทรายแดงให้เข้ากนั และเตมิ ลงในภาชนะใสผ่ ลไม้ท่เี ตรียม ไวค้ ลุกเคลา้ ให้เขา้ กัน 3. เตมิ หัวเช้ือจุลินทรีย์ คนให้ทัว่ 4. ปดิ ฝาใหส้ นิทเกบ็ ให้มดิ ชดิ ในท่รี ม่ 5. ทงิ้ ไว้ 3 เดือน และเปิดใช้งาน วิธีกำรทำป๋ยุ แห้ง ส่วนผสม 1. ใบไม้ หญา้ ฟาง 4 สว่ น 2. มลู สัตวห์ รอื ปุ๋ยคอก 1 ส่วน 3. รา (ถา้ มี) 4. น้าสะอาด + ป๋ยุ น้า วิธที ำ 1. คลุกเคลา้ ใบไม้แหง้ กบั มลู สตั ว์หรือปุย๋ คอก 2. โรยรา (ถ้ามี) และปุ๋ยน้าผสมน้า (1/200) คลุกเคล้าให้เขา้ กัน แคพ่ อช้ืนๆไมต่ อ้ งแฉะ 3. ปดิ คลุมทง้ิ ไว้ 3 สัปดาห์ 4. กลับกองปุ๋ย ทา 3ครงั้ 5. เมอ่ื ครั้งที่ นาเขา้ พกั ไวใ้ นที่ร่มเพอ่ื คลายความร้อน ครัวเรอื นสมั มาชีพชมุ ชน ประจาปี 2564

24 ๒.๓ มกี ำรจัดบำ้ นเรอื นเปน็ ระเบียบ สะอำด ถูกสขุ ลักษณะ ครัวเรอื นสัมมาชีพ มกี ารจัดทาป้ายครัวเรอื น แสดงช่อื ที่อยู่ อยา่ งชัดเจน ยังมีการนากิจกรรม 5 ส มาปรับใช้ในครัวเรือน เช่น การคัดแยกขยะ การจัดเก็บเอกสาร การจัดพ้ืนที่ใช้สอยให้เป็นระเบียบ เรยี บรอ้ ย เพ่ือให้ง่ายในการค้นหา เพ่ือให้ครัวเรอื นตระหนักความสาคัญของสิ่งทอี่ ยู่ใกล้ตัวเรามากท่ีสุดก็คอื “บ้าน” ช่วยกนั ปรับปรุง สภาพแวดล้อมภายในบ้าน และบริเวณบ้านให้ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล ปรับปรุงพฤติกรรมอนามัย สิ่งแวดล้อมของสมาชิกทุกคนในบ้านรวมท้ังมีส่วนร่วมพัฒนาชุมชน ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีของการพัฒนา ดา้ นอ่นื ๆ ในสังคมอยา่ งตอ่ เน่อื งการทาบ้านใหน้ า่ อย่สู ง่ ผลดหี ลายประการ ได้แก่ 1. สภาพแวดลอ้ มที่เออื้ ต่อการมีสุขภาพทีด่ ี ท้ังร่างกายและจิตใจ 2. สุขนิสยั ท่ีดีในเร่อื งสขุ าภบิ าลสง่ิ แวดลอ้ มและพฤติกรรมอนามัยส่ิงแวดลอ้ ม 3. ป้องกันและลดอัตราการเกิดโรค อุบัติเหตุ ปัญหาสุขภาพจิต รวมท้ังอาชญากรรมใน สังคม 4.. ครอบครัวอบอุ่น มีความรกั เออื้ อาทรตอ่ กนั ซึง่ เป็นหัวใจสาคญั ของการพฒั นาชุมชน 5. ชุมชนเข้มแข็ง มีความรัก / สามัคคี ร่วมแรงร่วมใจพัฒนาสังคมให้ดีย่ิงข้ึน นาไปสู่การ เป็นบ้านเมืองน่าอยู่และเมืองไทยแข็งแรง (Healthy Thailand) จะทาบ้านให้น่าอยู่ได้อย่างไร การจัด ครวั เรือนสมั มาชีพชุมชน ประจาปี 2564

25 สภาพบ้านเรือนให้น่าอยู่ น่าอาศัย ให้ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล พึงควรคานึงถึง ตัวบ้าน บริเวณบ้าน ภายในบ้าน สขุ ภาวะในครอบครวั ตวั บ้านม่นั คงแขง็ แรง 6. สะอาด ร่มรื่น เป็นระเบียบ จัดเกบ็ สิ่งของเป็นสัดสว่ น 7. ในกรณีท่ีมีการเล้ียงสัตว์ เช่น วัว ควาย ไก่ เป็นต้น ต้องจัดคอกสัตว์ให้ไกล อยู่นอก ตัวบ้าน ล้างทาความสะอาดสม่าเสมอ (ไมค่ วรมคี อกสัตว์ใต้ถนุ บา้ น) 8. ไม่มีขยะทุกชนิด ป้องกันไม่ให้เกิดแหล่งเพาะพันธุ์แมลงวัน แมลงสาบ และแหล่ง อาหารหนู แยกขยะก่อนท้ิง มีที่รองรับขยะ ท้ิง / กาจัดขยะสม่าเสมอ (ไม่ควรมีขยะตกค้างในบ้านและ บรเิ วณบา้ น) 9. ไม่มีน้าขังในหลุมบ่อ หรอื ภาชนะตา่ งๆ เพอ่ื ป้องกันไมใ่ ห้เกดิ แหล่งเพาะพนั ธยุ์ ุง 10. ปลูกต้นไมใ้ ห้ร่มรืน่ ภายในบา้ น มีแสงสว่างเพียงพอ 11. อากาศถา่ ยเทสะดวก กาจัดแหล่งยงุ ในบา้ น 12. จดั หอ้ ง / พืน้ ที่ใชส้ อยเปน็ สดั ส่วน จัดเก็บข้าวของเครือ่ งใช้เปน็ ระเบียบ ทาความ สะอาดประจาสมา่ เสมออย่างน้อยสปั ดาห์ละ 1 คร้งั 13. มีน้าดม่ื น้าใชส้ ะอาด (นา้ ประปา น้ากรอง นา้ ตม้ เปน็ ตน้ ) เพียงพอ 14. อาหารปรงุ สุก มภี าชนะปกปิด (เช่นฝาชีครอบหรือใสต่ ้กู บั ข้าว หรอื ตูเ้ ย็น) 15. ออกกาลังกายอยา่ งสม่าเสมอ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วนั ๆละ 30 นาที ครัวเรอื นสมั มาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564

26 2.4 มสี ่วนรว่ มในกจิ กรรมอนรุ ักษ์ทรพั ยำกรธรรมชำติและสง่ิ แวดลอ้ มหรือสำธำรณะประโยชน์ ร่วมกบั หนว่ ยงานพฒั นาชุมชนอาเภอศรีสาคร ทาฝายชะลอน้าภายในหมู่บ้าน ครวั เรอื นสมั มาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564

27 สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอศรีสาคร ร่วมกับชาวบ้าน ม.4 บ้านประชานิมิตร และครัวเรือน สัมมาชีพ ร่วมกันทาฝายชะลอน้าชุมชนบ้านประชานิมิตร อาเภอศรีสาคร เป็นอีกหน่ึงชุมชนในพ้ืนท่ี จังหวดั นราธวิ าส ทปี่ ระสบปัญหาพน้ื ท่ีแหง้ แล้งน้าไมเ่ พียงพอกบั ความตอ้ งการของคนในชุมชน ชุมชนจึงได้ ร่วมกับสานักงานพัฒนาชมุ ชนอาเภอศรสี าคร สรา้ งฝายชะลอน้า เพ่ือแกป้ ัญหา และหวังคืนความช่มุ ชน่ื ให้ ผืนดิน จนปจั จบุ ัน เห็นผลแล้ววา่ นอกจากความสมบูรณ์ของระบบนิเวศที่กลับคนื มา ฝายยงั ช่วยฟน้ื สภาพ พ้ืนที่ให้เป็นแหล่งอาหาร และสร้างรายได้ให้กับชุมชน ผลิตผลทั้งหน่อไม้ ทุเรียน และพืชผลทางการ เกษตร สรา้ งรายได้เปน็ กอบเป็นกาให้ชุมชน “ชุมชนได้เข้าไปร่วมกิจกรรมสร้างฝายชะลอน้ากับเจ้าหน้าท่ี เพียงไม่กี่เดือน ก็เร่ิมเห็นความ เปล่ียนแปลงเกิดข้ึนในพ้ืนที่ ฝายช่วยคืนความสมดุลให้กับป่า และป่ายังเปรียบเสมือนซุปเปอร์มาเก็ตท่ี ชมุ ชนสามารถเข้าไปหาของป่าสาหรบั นามาใชท้ าอาหารใหค้ รอบครัว และแบ่งขายสร้างรายได้เพม่ิ มากข้ึน แค่คนในชุมชน 1 คน เดินเข้าป่าไปเก็บหน่อไม้เพียง 2 กระสอบปุ๋ย สามารถสร้างรายได้ใหถ้ ึง 300 บาท ตอ่ วัน หรือประมาณ 5,000 – 6,000 บาทต่อเดือน ส่วนรายได้ของชุมชนท่ีมาจากการขายหน่อไม้ พืช สมุนไพร ไมใ้ ช้สอยในครวั เรอื น 3. สร้ำงภมู ิคมุ้ กนั ทำงสงั คม 3.1 รว่ มกจิ กรรมจติ อำสำ ครวั เรือนสัมมาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564

28 ครอบครัวของนางจุฑามาศ คงขวัญเป็นครอบครัวที่มีจิตอาสา รับผิดชอบต่อสังคม มีส่วนร่วมใน กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตในชุมชน และมีจิตสานึกรับผิดชอบต่อประโยชน์สาธารณะ มีจิตอาสา มีส่วน รับผิดชอบต่อสงั คม มีส่วนร่วมในกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตในชุมชน โดยการประสานงานกบั หน่วยงาน ในการดแู ลเก่ยี วดับความจาเปน็ พน้ื ฐานของคนในชมุ ชน เช่น น้าประปา ไฟฟ้า ถนน เป็นต้น ได้แก่ 1. การพฒั นาแหลง่ ตน้ น้าของหมูบ่ ้าน รว่ มกันทาฝายชะลอน้า 2. การอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตใิ นชุมชนการทาฝายมชี ีวติ 3. แปลงเพาะกลา้ ไม้เพื่อแจกจา่ ยให้ประชาชนในหมบู่ า้ นและผู้มาดงู านในศูนย์ 4. จดั ทาปุ๋ยอินทรีย์แบบน้าและแบบแห้ง เพ่อื แบง่ ปันใหก้ บั ครวั เรอื นในหมู่บ้าน 5. ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐร่วมกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาหมู่บ้าน เดือนละ 1 คร้ัง ได้แก่ ชรบ., อบต., หน่วยงานราชการในพนื้ ที่ ครวั เรอื นสัมมาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564

29 3.2 สมำชกิ ในครวั เรอื นไม่ยุ่งเก่ยี วกบั ส่งิ เสพตดิ และอบำยมุขตำ่ งๆ ครวั เรือนป้องกนั เรือ่ งยาเสพติดโดย • สรา้ งความรัก ความอบอนุ่ และความสัมพนั ธ์อนั ดีระหว่างสมาชกิ ในครอบครัว • รแู้ ละปฏิบัติตามบทบาทหน้าท่ขี องตนเอง • ดแู ลสมาชิกในครอบครัว ไมใ่ หข้ ้องเกี่ยวกบั ยาเสพติด • ให้กาลงั ใจและหาทางแก้ไข หากพบวา่ สมาชกิ ในครอบครวั ตดิ ยาเสพติด ครอบครัวเป็นหัวใจสาคัญท่ีจะเป็นเกราะป้องกัน และทาให้เยาวชนผ่านพ้นปัญหาต่างๆ ไปได้ ทุกคนต่างรับรู้ว่ายาเสพติดน้ันส่งผลกระทบร้ายแรงเพียงใด ดังน้ัน จึงไม่ควรเข้าไปเก่ียวข้องไม่ว่าจะใน กรณใี ดกต็ าม ครัวเรอื นสัมมาชีพชมุ ชน ประจาปี 2564

30 ส่ิงท่ีจะช่วยเป็นภูมิคุ้มกันให้เยาวชนพ้นภัยยาเสพติดท่ีดีท่ีสุด คือ วัคซีนทางสังคมไม่ว่าจะเป็น ครอบครัว สถาบันการศึกษา ชุมชน สิ่งแวดล้อม จะต้องร่วมมือร่วมใจสร้างพื้นที่ปลอดภัยและมีคุณภาพ ให้กับเยาวชน รับฟังปัญหาและความรู้สึกของพวกเขาอย่างเข้าใจและไม่ตัดสิน ทาให้พวกเขาตระหนักถึง คุณค่าของตัวเอง ลงมือสร้างอนาคตด้วยมือของเขาเอง โดยมีความรัก ความเข้าใจจากครอบครัวและ สังคมรอบข้างคอยผลักดันและสนับสนุนให้พวกเขาเติบโตอย่างมีคุณภาพและมีความสขุ บนเส้นทางท่ีพวก เขาตอ้ งการ เสริมสร้างการรับรู้คุณค่าในตนเองให้กับเด็กผ่านการให้ความรักและความเอาใจใส่ เพื่อให้เด็กเกิด ความม่ันใจในตนเองและรับรู้ว่าคนในครอบครัวพร้อมที่จะอยู่เคียงข้างตนเองเสมอยามเมื่อเกิดปัญหาใน ชีวิต เสริมสร้างทักษะการตัดสินใจและการรู้จักปฏิเสธสิ่งท่ีไม่ดีให้กับเด็ก เพ่ือไม่ให้หว่ันไหวไปกับการชัก จงู ไปในทางทไ่ี ม่ดจี ากกลุม่ เพอื่ นหรือสภาพแวดลอ้ มอ่ืนๆ คอยสังเกตพฤติกรรมของเด็กอย่างสม่าเสมอ ท้ังในเรื่องการใช้ชีวิตประจาวัน การเรียน การคบ หาเพ่ือน นอกจากนี้ การสนับสนุนให้เด็กเข้าร่วมทากิจกรรมที่ จะช่วยให้เด็กใช้เวลาอย่างมีคุณค่าและได้ เข้าสังคมที่หลากหลาย และเป็นเร่ืองดีหากได้รู้จักใกล้ชิดกับเพ่ือนของเด็กและผู้ปกครองอื่นเพื่อช่วยกัน สอดสอ่ งดแู ลพฤตกิ รรมทไ่ี มเ่ หมาะสม ครัวเรือนสัมมาชีพ สมาชิกในครัวเครือนไม่เคยมีประวัติการเสพยา ติดสุรา และไม่เคยเก่ียวข้อง กับอบายมุข ครัวเรือนมีการประกาศเป็นครัวเรือนปลอดภัยและรับมอบธงสัญลักษณ์ (ปปส.) เพ่ือรณรงค์ การป้องกันยาเสพติด มีการประชุมร่วมกับชาวบ้านหาแนวทางแก้ไขป้องกันการแพร่ระบาดในท่ีประชุม ประจาเดอื นของหมู่บ้านเป็นประจาทุกเดือน ครวั เรือนสัมมาชีพชุมชน ประจาปี 2564

31 เมอื่ ครวั เรือนไมย่ ่งุ เก่ยี วกับสำรเสพตดิ และอบำยมุขตำ่ ง ๆแล้วผลทไ่ี ดค้ อื - ครอบครวั สามารถอยู่ได้อยา่ งอบอนุ่ และมเี งนิ เก็บไว้ใช้จา่ ยอยา่ งเป็นได้ - เกิดความสัมพันธ์ที่ดีและยั่งยืนระหว่างผู้ปกครองและเด็กจาเป็นต้องเริ่มตั้งแต่ช่วงก่อนวัยเรียน ซ่ึงเป็นช่วงที่สาคัญท่ีสุดในการวางรากฐานความคิดและการดาเนินชวี ิตต่อไปในอนาคต แม้เด็กวัยน้ีจะยัง ไม่ได้เข้าไปเก่ียวข้องกับยาเสพติด แต่เมื่อปลูกฝังเรื่องการกินอยู่อย่างมีสุขภาพดี แนะนาการรับประทาน อาหารที่มีประโยชน์ การดูแลรักษาความสะอาดของร่างกาย การเล่นและออกกาลังกายเพ่ือพัฒนาทักษะ ในด้านต่างๆอยา่ งเหมาะสม ทงั้ ในเรอ่ื งการคดิ การตัดสินใจ และการรบั ผดิ ชอบในเรอื่ งตา่ งๆ สมาชิกในครัวเรือนไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดและอบายมุขที่ผิดกฎหมายทุกชนิด โดยเฉพาะ การสูบบุหรี่ ส่งผลใหบ้ ุตรหลานไม่ยุ่งเก่ียวกบั ยาเสพติด เพราะมีตน้ แบบที่ดีจากผู้นาในครวั เรือน ครัวเรือน น้ีไม่มีใครสูบบุหรี่ ทั้งตัวหัวหน้าครัวเรือนและบุตรหลานที่อาศัยอยู่ และยังมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อ สุขภาพ กิจกรรมสานสัมพันธ์ในชมุชนและนอกชุมชน เป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ หลีกเลี่ยงการ ใกล้ชิดกับสิ่งย่วั ยุทั้งหลาย ครวั เรือนสมั มาชพี ชุมชน ประจาปี 2564

32 3.3 สมำชกิ ในครวั เรือนเป็นสมำชิกกลุ ม่ องค์กรในชมุ ชน จำนวน 10 กลุ่ม ดงั นี้ 1. กรรมกำรกลมุ่ กำแฟอำรำบกิ ้ำ หมทู่ ่ี 4 บ้ำนประชำนิมติ ร สมาชิกของครัวเรือนสัมมาชีพเป็นกรรมการของกลุ่มกาแฟในหมู่บ้าน หมู่ที่ 4 บ้านประชานิมิตร ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร ซ่ึงกลุ่มกาแฟได้เกิดจากการรวมกลุ่มของชาวบ้านท่ีสนใจในเร่ืองของกาแฟ เริ่มจากการทดลองปลูกในสวนยางของชาวบ้านเอง จนได้เป็นสายพันธ์ุเมล็ดกาแฟท่ีมีคุณภาพ กลุ่มจึง ส่งเสริมการปลูกกาแฟสายพันธุ์อาราบิก้าซ่ึงเป็นท่ีนิยม ด้วยเป็นสายพันธุ์ท่ีให้กล่ินรสที่นุ่มนวล กล่ินหอม เหมาะสาหรับการดื่มในลักษณะกาแฟสด ตลาดส่วนใหญ่จึงเป็น ร้านอาหารหรือร้านกาแฟสด เป็นต้น ดังน้ันเพื่อให้ได้เมล็ดกาแฟคุณภาพดี ให้ผลผลิตสูง จึงจาเป็นต้องปลูกในท่ีมีอากาศที่ค่อนข้างเย็น ด้วย สภาพภูมิอากาศของหมู่บ้านประชานิมิตร อยู่บนเขาสูงและมีอากาศเย็นตลอดปี ทาให้กาแฟสายพันธ์ุน้ี เติบโตและให้ผลผลิตดตี ลอดฤดกู าล ครัวเรอื นสัมมาชีพชุมชน ประจาปี 2564

33 2. เปน็ กรรมกำรศนู ยเ์ รยี นรู้ไรท่ องผำภูมิ หมู่ที่ 4 บำ้ นประชำนิมติ ร ตำบลกำหลง นายบญุ พาศ รกั นุ้ย รองผวู้ า่ ราชการจังหวัดนราธิวาส การทาน้าส้มควนั ไม้ ตรวจเย่ียมครวั เรือนสมั มาชพี ชมุ ชนตัวอยา่ ง ครัวเรือนและสมาชิกในครัวเรือนเป็นสมาชิกของศูนย์เรียนรู้ไร่ทองผาภูมิ ซ่ึงมีกิจกรรม ภายในศูนย์ ได้แก่ การปลูกกาแฟ การทาชาดอกกาแฟ การเลี้ยงผ้ึงชันโรง กาทาชาดอกเก็กฮวย การทานา้ ส้มควันไม้ การปลูกหญ้าหวาน การปลกู ดอกดาวเรอื ง การทาปุ๋ยหมกั ปยุ๋ ชวี ภาพ การทา ปุ๋ยไส้เดือน และการขยายพันธ์ุต้นกล้า อาทิเช่น กาแฟ พริกกระเหรี่ยง ดาวเรือง มัลเบอรี่ ฯลฯ เพือ่ แบ่งปนั ใหช้ าวบา้ นทส่ี นใจ และบุคคลภายนอกเขา้ มาศกึ ษาท่ีศนู ยเ์ รยี นร้ไู รท่ องผาภูมิ ครัวเรือนสัมมาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564

34 3. เป็นกรรมกำรกลุ่มไมต้ ดั ดอก หมู่ที่ 4 บำ้ นประชำนมิ ติ ร ครัวเรือนได้เป็นกรรมการของกลุ่มไม้ตัดดอก หมู่ท่ี 4 บ้านประชานิมิตร ตาบลกาหลง อันได้แก่ “ดาวเรือง” ซึ่งดอกไม้เป็นดอกไม้มงคลที่ชาวไทยนิยมนามาใช้ ในกิจกรรมในเกือบทุกเทศกาล ประกอบมี ความต้องการของตลาดตลอดท้ังปี ทาให้ขณะน้ีเริ่มมีกลุ่มเกษตรกรในหมู่บ้าน หันมาปลูกดาวเรือง ออก ดอกเหลืองบานสะพรั่ง ยิ่งใกล้วันพระ วันอาสาฬหบูชา และ วันเข้าพรรษา เท่าไร ก็ยิ่งทาให้เกษตรใน พ้ืนที่ ต่างเร่งตัดดอกดาวเรืองนับพันดอก ส่งให้กับร้านค้าในอาเภอ ส่งให้หน่วยราชการต่าง ๆท่ีผูกขาดกับ กล่มุ และยังมลี กู คา้ ท่เี ดนิ ทางมารบั ซ้อื ถงึ พน้ื ที่ สร้างรายไดเ้ สรมิ ใหก้ ับกลมุ่ ไดต้ ลอดท้งั ปี ครวั เรือนสัมมาชพี ชุมชน ประจาปี 2564

35 4. เป็นสมำชิกกลุ่มเครื่องแกง หมทู่ ่ี 4 บำ้ นประชำนมิ ิตร ภายใต้โครงการตามรอยเท้าพ่อ ภายใต้รม่ พระบารมี เพ่ือการพัฒนาการเกษตรอยา่ งยง่ั ยืน ก่อเกิด กลมุ่ การผลติ เครือ่ งแกงขึน้ มาในหมู่บ้านประชานิมิตร หมทู่ ี่ 4 ตาบลกาหลง จากการรวมตัวกันของแม่บา้ น เกษตรบ้านประชานิมิตร ใช้หลักการง่าย ๆ ด้วยการมีวัตถุดิบในชุมชน ข่า ขมนิ้ ตะไคร้ พริกช้ฟี ้า กอ่ เกิด ไอเดียการผลิตเครือ่ งแกงเผ็ด แกงสม้ แกงกะทิ เน้นการสรา้ งงาน สร้างรายไดใ้ ห้คนในชุมชน ขายได้ กนิ ได้ คนในชุมชนมีงานทา เครื่องแกงมีคุณภาพ รสชาติอร่อย ถุงละ 10 บาท ราคาย่อมเยา แวะซื้อเป็นของ ฝากได้ ครัวเรอื นสัมมาชีพชุมชน ประจาปี 2564

36 5. เป็นสมำชกิ ครวั เรอื นสมั มำชีพชุมชนตัวอยำ่ ง หมูท่ ี่ 4 บ้ำนประชำนิมติ ร ครัวเรือนสัมมาชีพ นางจุฑามาศ คงขวัญ (พ่ีบุ๋ม) เป็น ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน ต้ังแต่ปี 2562 โดยได้ พัฒนาตนเองและครอบครัว น้อมนาหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดารงชีวิต และพัฒนา ทักษะอาชีพด้านการเกษตรของตนเองให้สามารถสร้าง รายได้ที่เพียงพอกับค่าใช้จ่ายภายครอบครัวไม่เป็น หนี้สิน ทาให้มีเงินออมซ่ึงเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับ ครอบครัวอย่างยงั่ ยืน ครวั เรอื นสัมมาชพี ชุมชน ประจาปี 2564

37 6. สมำชิกกองทุนพัฒนำบทบำทสตรี หมู่ท่ี 4 บ้ำนประชำนมิ ติ ร ครัวเรอื นสัมมาชีพเป็นอาสาสมัครผู้ประสานงาน ขับเคล่ือนงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ในหมู่บ้าน ประชาสมั พันธ์ในการสมัครสมาชิก และร่วมบูรณาการกับโครงการสตรีแบง่ รกั ปลูกผัก กับ พช.” โดยแบ่งปันต้นกล้า เป็นครัวเรือนสัมมาชีพท่ีสอนให้ครัวเรือนอ่ืน ปลูกผักด้วยเกษตร อินทรยี ์ 7. สมำชิกกลุ่มออมทรัพยเ์ พอื่ กำรผลิตบำ้ นประชำนมิ ิตร ตำบลกำหลง ผลทไ่ี ด้จำกกำรทำงำนของกลุม่ ออมทรพั ยเ์ พื่อกำรผลิต 1. ช่วยให้การทางานเป็นระบบที่ดี มีการแบ่งงานตามหน้าที่และความรับผิดชอบทาให้ งานบรรลเุ ป้าหมายตามท่ีกลมุ่ และทมี งานรบั ผดิ ชอบ 2. ช่วยให้มีการนาหลักมนุษย์สัมพันธ์มาใช้ในกลุ่มและทีมงาน เช่น การรู้เรา รู้เขา เอา ใจเขามาใส่ใจเรา งานของกลมุ่ และทีมงานจะดาเนินไปด้วยดี ครวั เรือนสัมมาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564

38 3. ช่วยให้เกิดรู้รักสามัคคีระหว่างสมาชิกของกลุ่มและทีมงาน ในการทางานให้ประสาน สัมพันธ์ทดี่ ตี ่อกัน 4. ช่วยสรา้ งขวญั และกาลังใจในการทางานกลุ่มและทมี งาน 5. ช่วยให้เกิดความม่ันคงในอาชีพเนื่องจากการทางานเป็นกลุ่มหรือทีมงาน จะก่อให้เกิด ความเป็นปึกแผ่นของมวลสมาชิกในกลุ่มหรือทีมงาน อันจะก่อให้เกิดความเกรงใจของคณะผู้บริหารท่ีมี ต่อกลมุ่ หรอื ทีมงาน 6. ช่วยให้เกิดความรู้สึกการยอมรับนับถือของสมาชิกในทีมงานที่เรียกว่า คารวธรรม มี การเคารพนบั ถอื เปน็ พีเ่ ป็นนอ้ ง ก่อให้เกิดการถ้อยทีถ้อยอาศัย 8. สมำชกิ ศนู ยจ์ ัดกำรกองทนุ ชมุ ชนบำ้ นประชำนมิ ิตร ตำบลกำหลง ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้านประชานิมิตร ประกอบด้วยโครงสร้างคณะกรรมการ 11 คน มีระเบียบข้อบังคับของกลุ่ม และจานวนสมาชิกกลุ่ม 122 คน โดยมีกิจกรรมของกลุ่มดังนี้ ฝึกอบรม คณะกรรมการกลุ่ม เพ่ือเตรียมความพร้อมเข้าสู่ระบบการจัดทาบัญชีอิเลคทรอนิกส์ จัดให้มีการระดมทุน เงินฝากพิเศษ ในกองทุนต่าง ๆ เพื่อเพ่ิมเงินทุนให้มากยิ่งขึ้น เพื่อเป็นแหล่งในการช่วยเหลือครัวเรือน สมาชิก สู่หนึ่งครัวเรือน หน่ึงสัญญา และศึกษาดูงาน ณ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านบันนัง กระแจะ ตาบลธารโต อาเภอธารโต จงั หวัดยะลา ครวั เรือนสมั มาชีพชุมชน ประจาปี 2564

39 9. เป็นสมำชิกกลุม่ นำ้ ยำงก้อนถ้วยบำ้ นประชำนิมติ ร ตำบลกำหลง สมาชิกครัวเรือนสัมมาชีพ นางจุฑามาศ คงขวัญ เป็นสมาชิกกลุ่มน้ายางก้อนถ้วยบ้าน ประชานิมิตร ทาการส่งขายน้ายางสดและยางก้อนถ้วยให้กับทางกลุ่มทุกวัน ทาให้มีรายได้ หมุนเวียนเพอื่ ใช้จ่ายในครัวเรือน เพิ่มข้ึนถึงวันละ 500 – 1,000 บาท และแบ่งสาหรับเก็บออม กับกลุม่ ออมทรัพย์หมู่บา้ น ครัวเรือนสัมมาชีพชมุ ชน ประจาปี 2564

40 10. เป็นสมำชิกกองทนุ แมข่ องแผ่นดินบ้ำนประชำนิมติ ร ตำบลกำหลง มีการรณรงค์ให้ความรู้กับเยาชนในหมู่บ้าน ไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด และสอนลูกหลานใน ครอบครัวให้ห่างไกลยาเสพติด โดยมีกิจกรรมทาร่วมกันเช่น ปลูกผกั สวนครัว ทากิจกรรมจิตอาสา การเข้า วัดทาบุญ ครวั เรอื นสมั มาชีพชมุ ชน ประจาปี 2564

41 3.4 สมำชิกในครวั เรือนมีวถิ ชี วี ิตประชำธิปไตย ทำกจิ กรรมรว่ มกันอย่ำงสม่ำเสมอ สมาชกิ ในครอบครัวมีความประพฤติดีมีศีลธรรม มีคุณธรรม และจริยธรรมนาทางในการดารงชีวิต มีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และเลื่อมใสการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ ทุกคนในครอบครัวร่วมกันปฏิบัติความดี หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในวิถีชีวิต ร่วม กจิ กรรมเกี่ยวกบั ประเพณีและวันสาคัญของไทย ได้แก่ มคี วามพอเพยี ง ปลูกผักสวนครัวในหมบู่ ้าน และสมาชิกในครวั เรือนมคี วามเอ้ือเฟือ้ เผือ่ แผ่และมีนา้ ใจตอ่ กนั  กำรยึดมั่นในหลักธรรมของศำสนำท่ีตนเองนับถือ ทุกศาสนามีหลักศีลธรรมท่ีช่วยสร้างจิตใจของคน ให้กระทาดี ไม่เบียดเบียนกัน มีใจเอื้อเฟ้ือเผื่อแผ่แก่กัน สมาชิกในสังคมสมควรศรัทธาในศาสนาที่ตน นบั ถือ แลว้ ปฏิบตั ิตามหลกั ศีลธรรมของศาสนาทีต่ นนบั ถืออยา่ งสม่าเสมอ ครวั เรือนสมั มาชีพชุมชน ประจาปี 2564

42  ควำมซื่อสัตย์ หมายถึง การกระทาที่ถูกต้อง ตรงไปตรงมา ไม่ยึดเอาส่ิงของผู้อ่ืนมาเป็นของตน บุคคล ควรซือ่ สตั ยต์ ่อตนเอง คอื กระทาตนใหเ้ ปน็ คนดี และบุคคลควรซ่ือสัตย์ต่อบุคคลอน่ื ๆ หมายถึงกระทา ดแี ละถกู ต้องตามหนา้ ท่ีตอ่ ผ้อู ่ืน  ควำมเสียสละ หมายถงึ การคานึงถึงประโยชน์ของสังคมส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน และยอม เสยี สละประโยชนส์ ่วนตนเพื่อประโยชนแ์ กผ่ อู้ ื่นและส่วนรวม  ควำมรับผิดชอบ หมายถึง การยอมรับการกระทาของตนเองหรือการทางานตามหน้าท่ีท่ีได้รับ มอบหมายใหส้ าเรจ็ ลลุ ่วง  กำรมีระเบยี บวนิ ยั หมายถึง การกระทาที่ถูกต้องตามกฏเกณฑท์ สี่ งั คมกาหนดไว้  กำรตรงต่อเวลำ หมายถงึ การทางานหรือทาหน้าท่ีท่ีไดร้ ับมอบหมายใหส้ าเร็จลุลว่ งทันตรงตามเวลาท่ี กาหนดโดยใช้เวลาอยา่ งคมุ้ คา่  ควำมกล้ำหำญทำงจริยธรรม หมายถึง การกระทาที่แสดงออกในทางที่ถูกท่ีควรโดยไม่เกรงกลัว อทิ ธพิ ลใดๆ ความกล้านไ้ี มใ่ ชก่ ารอวดดี แต่เปน็ การแสดงออกอยา่ งมีเหตุผล เพ่อื ความถกู ต้อง 3.5 สมำชกิ ในครัวเรอื นไม่มกี ำรใช้ควำมรนุ แรง การเกิดวิกฤตโิ รคระบาด ‘โควิด-19’ ส่งผลใหเ้ กดิ มาตรการการกักตัวอยู่ท่ีบ้านเพื่อลดและป้องกัน การติดเชอ้ื ไวรัสนัน้ แต่อกี ดา้ นหน่งึ คอื การเพมิ่ ความรุนแรงที่เกิดข้นึ ภายในครอบครวั อย่างนา่ กังวล กำรแก้ไขปญั หำครอบครัว - เปิดใจและรับฟัง คอยหม่ันสังเกตว่าสมาชิกในครัวเรือนมีท่าทีที่แปลกไป มีการสอบถามถึงความ ผิดปกติและพูดคุยกันถึงปัญหาที่เกิดข้ึน ซึ่งการเปิดใจคุยกันกับสมาชิกในครอบครัวจะช่วยให้เข้าใจ ความรู้สึกของกันและกันได้ดีย่ิงขึ้น ร่วมถึงการเป็นผู้รับฟังท่ีดี การใช้วาจาสุภาพ นุ่มนวล ปฏิกิริยาที่ไม่ ก้าวรา้ ว และรวมถึงการไม่ว่ากล่าวสและไมใ่ ช่วาจาตาหนิอกี ฝ่ายหน่ึงอย่างรนุ แรง - การรู้จักประนีประนอม เพราะการดารงชีวิตแต่ต้องอาศัยเข้ามาอยู่ร่วมกัน ทาให้เกิดความคิด และปฏิบัติท่ีแตกต่าง ดังน้ันบุคลภายในครอบครัวควรต้องหาจุดก่ึงกลางในการปฏิบัติ เพื่อการอยู่ร่วมกัน อย่างมคี วามสุข - การให้ความรักต่อกัน ปัญหาครอบครัวมักเกิดความไม่เข้าใจกันทั้งด้านความคิดและการปฏิบัติ สิง่ เหล่านีจ้ ะสรา้ งความแตกแยกใหก้ ับครอบครัว ดงั นั้นหากบุคลใช้ความรักที่ต่อกนั กจ็ ะสามารถยุติปญั หา ตา่ งได้ - การทาหน้าท่ีของตนเองให้สมบูรณ์ การทาหน้าที่ท่ีได้รับหมอบหมาย หรือการทาหน้าที่ตาม บทบาทหน้าท่ีของสมาชิกในรอบครัวได้ดี มีการแบ่งงานบ้านต่างๆ เช่นการกวาดบ้าน การถูบ้าน การเก็บ ขยะ การท้ิงขยะ ฯลฯ จะทาให้สมาชิกทุกคนในครอบครัวสามารถช่วยเหลือตนได้เมื่อเติบโตข้ึน และ สามารถสร้างความสขุ ใหก้ ับตนเองและครอบครวั ไดอ้ ย่างสมบรู ณ์ ครวั เรอื นสมั มาชพี ชุมชน ประจาปี 2564

43 - การทากิจกรรมร่วมกัน การใช้เวลาร่วมกันแม้เพียงเล็กน้อยก็ช่วยสร้างความสัมพันธ์ท่ีดี ซ่ึงเป็น พื้นฐานสาคัญของการพัฒนาครอบครัวที่มีคุณภาพ โดยอาจทากิจกรรมออกกาลังกายด้วยกัน การไปจ่าย ตลาดด้วยกัน หรอื การท่องเทีย่ วร่วมกนั ในวันหยดุ สุดสัปดาห์ สมาชิกในครอบครวั มีความรักสามัคคีกลมเกลียวกัน เอื้ออาทรชว่ ยเหลือซึ่งกันและกนั ในครอบครัว ไม่เคยมีข้อพิพาทหรือฟ้องคดีกันในระหว่างสมาชิกในครอบครัว และไม่เคยถูกศากพิพากษาว่ามีความผิด ทัง้ ทางแพ่งหรอื ทางอาญา ส่งเสริมให้ลูกๆ รู้จักการออม - ไม่เคยมีข้อพิพาทหรือฟ้องร้องคดี และไม่เคยถูกศาลพิพากษาว่ามีความผิดทางแพ่งและ อาญาในคดีทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั สมาชกิ ในครอบครัว ครัวเรือนสัมมาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564

44 ไม่มีพฤติกรรมในการใช้ความรุนแรงในครอบครัว และไม่เคยถูกดาเนินการอ่ืนใดอันเนื่องมาจาก การกระทาความรนุ แรงตอ่ เด็ก สตรี หรือบคุ คลในครอบครวั - ไม่เคยมีพฤติกรรมการใช้ความรุนแรงต่อเด็ก สตรี และบุคคลในครอบครัว และไม่เคย ได้รับโทษทางคดี และทางสังคมเกี่ยวกับความรุนแรง เพราะส่งเสริมให้บุคคลในครอบครัวมีการทากิจกรรมร่วมกัน เช่น 1. การปลูกผักสวนครัว 2. การรดน้าพชื ผัก ตน้ ไม้ 3. การรว่ มกนั รบั ประทานอาหาร 4. การไปเที่ยวดว้ ยกันทั้งครอบครวั 5. การสอนการบ้านลกู ๆ 6. การสอนแนะฝึกใหล้ ูกๆ รว่ มกันเก็บเก่ียวผลผลิตทางการเกษตร เช่น ไม้ตัดดอก (ดาวเรือง) ดอกกาแฟสาหรับทาชาดอกกาแฟ เมล็ดกาแฟ เปน็ ต้น กิจกรรมทท่ี ำร่วมกันของคนในครอบครัวครัวเรือนสัมมำชพี การปรับพื้นท่ีสาธารณะและสองข้างทาง ให้เป็นคลังอาหารชุมชน เพื่อแบ่งปันผลผลิต ให้กบั ชาวบา้ นในหมู่บา้ นประชานมิ ติ ร ครัวเรือนสมั มาชีพชุมชน ประจาปี 2564

45 เม่ือไม่มีความรุนแรง เพราะอยู่แบบพอเพียง มีความเมตตา เอื้อเฟื้อ เสียสละให้อภัยและเอ้ือ อาทรต่อสมาชิกในครอบครัวทุกคน ไม่ลงโทษต่อสมาชิกในครอบครัวโดยวิธีที่รุนแรงไม่แสดงกิริยาข่มขู่ หรือทาให้บุคคลในครอบครวั อับอาย เม่ือรักแล้วควรแสดงออกทางกาย ทางวาจาด้วย เช่น บอกรกั กันทุก วนั โอบกอด จูบแสดงความห่วงใย ฯลฯ สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นการกระชับสายสัมพันธ์ระหว่าง พ่อ แม่ ลูก ใหแ้ นน่ แฟน้ มากยงิ่ ขึ้น มีการพดู คยุ ถามไถ่สารทุกขส์ ุกดบิ กนั ทุกวัน ครวั เรือนสมั มาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564

46 ครอบครวั รู้จักยอมรับฟังความคิดเห็นซงึ่ กนั และกัน สมาชกิ ในครอบครัวมีความรักใคร่สามัคคี ไม่ ทะเลาะเบาะแวง้ มคี วามเห็นอกเห็นใจกัน ให้การชว่ ยเหลือซง่ึ กนั และกัน 4. สร้ำงควำมมน่ั คงทำงอำชพี /รำยได้ 4.1 ครวั เรอื นมีกำรออม การจัดการบริหารเงินเป็นสิ่งสาคัญสาหรับเราทุกครัวเรือน เหมือนจะเป็นส่ิงที่ทาให้เห็นผลลัพธ์ได้ ยากเย็น พอจะเก็บเงิน ก็มีเรื่องต้องใช้จ่าย พอเก็บเงินได้ก้อนหนึ่ง ก็เหมือนจะมีเหตุฉุกเฉินรุมเร้าทาให้ ต้องนาเงินท่ีเกบ็ แทบตายออกมาใช้ เทา่ กับเรม่ิ ใหม่หมด ครัวเรือนสมั มาชพี ชุมชน ประจาปี 2564

47 ครัวเรือนมีการออม ครัวเรือนนางจุฑามาศ คงขวัญ มีการออมเงนิ โดยแบ่งส่วนหนึ่งที่ เกิดจากรายได้เข้าฝากออมเงินกับ ธกส. สาขาศรีสาครเป็นประจาทุกสัปดาห์ และฝากเงินกับกลุ่มออม ทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านประชานิมิตร ทุกเดือน ๆละ 1,500 บาท แบ่งเป็นของทุกคนในครัวเรือน คนละ 300 บาท และเงินสจั จะกองทุนหมบู่ า้ นอีกด้วย 1. ครัวเรอื นมีเงินออม มภี มู ิค้มุ กนั เรือ่ งรายได้ 2. ครวั เรอื นไม่ตกเกณฑ์ดา้ นรายได้ และการออม (จปฐ. ปี 62) 3. ครัวเรือนมคี วามมนั่ คงด้านสถานะการเงนิ 4.2 ครวั เรอื นประสบควำมสำเร็จในกำรประกอบสมั มำชีพสำมำรถเป็นแบบอยำ่ งได้ เปน็ ที่รจู้ กั และยอมรับของคนในชุมชน ทัง้ หมูบ่ ้านหรือตาบล วา่ เป็นครอบครวั ท่ีมีคณุ งามความดี มี ความโอบออ้ มอารีแก่คนทัว่ ไป และเปน็ ผนู้ าครอบครัวต้นแบบท่ีดีในชุมชน  ส่งเสริม สนับสนุนการจัดกิจกรรมในชุมชน โดยเน้นกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกคน ทุกช่วงวัยของครอบครัวในการเข้าร่วมกิจกรรม เพ่ือสานสัมพันธ์ระหว่างคนในครอบครัว กับชุมชน และ ตาบล ได้แก่ 1. กิจกรรมกองทนุ แม่ของแผน่ ดิน 2. กจิ กรรมส่งเสริมสนับสนนุ การจดั ต้งั กลมุ่ อาชพี 3. ดาเนินโครงการพัฒนาและเสริมสร้างผู้นาการเปล่ียนแปลงบ้านประชานิมิตร สร้างความมั่นคง ทางอาหาร 4. การดาเนนิ งานหม่บู ้านเศรษฐกิจพอเพยี ง 5. การประยุกตใ์ ช้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาดาเนนิ จนเป็นวถิ ีชีวิต 6. การดาเนนิ ศูนยเ์ รียนร้ชู มุ ชนทองผาภูมิ 7. การปลูกพชื ผักสวนครวั ถนนกินได้ เป็นครอบครวั ท่ียดึ ถือและปฏิบตั ิตามหลกั เศรษฐกิจพอเพยี งจนเปน็ ท่ีประจักษ์และเป็นแบบอยา่ งท่ี ดขี องคนในชมุ ชนท้ังหมู่บา้ น ตาบล อาเภอ หรือจงั หวัด  เป็นแบบอย่างท่ีดีในการดารงชีวิตครอบครัว และในอาชีพการงาน โดยเห็นได้จาก ครอบครัวท่ีมีความสุขและมีงานที่คนนับหน้าถือตา จนสามารถเป็นแบบอย่างให้คนในครอบครัวและชุมชนได้ ไดแ้ ก่ 1. การปฏบิ ัตหิ นา้ ทีด่ ้วยความสุจรติ 2. มีความรับผดิ ชอบ ยึดมัน่ ในคุณธรรม ครวั เรอื นสมั มาชีพชมุ ชน ประจาปี 2564


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook