Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SAMMASHEEP64

SAMMASHEEP64

Published by epalateh, 2021-07-06 05:53:03

Description: 5

Search

Read the Text Version

ครวั เรอื นสมั มาชพี ชมุ ชนตวั อยา่ ง ประจาปี ๒๕๖๔ อาเภอศรสี าคร จงั หวดั นราธวิ าส https://online.pubhtml5.com/mzsf/fbmn/ https://online.pubhtml5.com/mzsf/fbmn ช่ือเจา้ ของผลงาน นางจฑุ ามาศ คงขวัญ ท่ีอยู่ บา้ นเลขท่ี ๒๘/๓๒ บา้ นประชานิมติ ร หมทู่ ี่ ๔ ตาบลกาหลง อาเภอศรสี าคร จงั หวดั นราธวิ าส https://online.pubhtml5.com/mzsf/fbmn/ สนบั สนนุ โดย สานกั งานพฒั นาชมุ ชนอาเภอศรสี าคร โทร.081-821-1376

คำนำ กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย ได้ขับเคล่ือนภารกิจสาคัญภายใต้แผนงาน ยุทธศาสตร์สร้างความมั่นคงและลดความเหล่ือมลาทางด้านเศรษฐกิจและสังคม มหี ลักการและแนวคิด ในการสร้างและพัฒนาอาชีพให้ประชาชนตามแนวทางสัมมาชีพชุมชม โดยใช้ทุนชุมชน ขับเคลื่อนการ ดาเนินงานโดยผู้นา/ปราชญ์ชุมชนด้านอาชีพ ใช้แผนชุมชนเป็นเคร่ืองมือภายใต้ประชารัฐ ซึ่งกาหนด วัตถุประสงค์สาคัญเพ่ือส่งเสริมการใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางในการพัฒนา หมู่บ้าน ให้มีระบบการบริหารจัดการชุมชนแบบบูรณาการที่เข้มแข็ง และพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนให้ ม่ันคง โดยใช้ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนในแต่ละหมู่บ้านและทีมสนับสนุนการขับเคลื่อนสัมมาชีพ ชุมชนในพืนท่ี จัดทาแผนปฏิบัติการติดตามสนับสนุนการประกอบอาชีพของครัวเรือนเป้าหมายที่ผ่าน การอบรมอาชีพ ซ่ึงเรียกว่า “ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน” ให้สามารถประกอบอาชีพได้อย่างต่อเน่ือง สรา้ งรายไดใ้ ห้ครัวเรอื นไดจ้ ริง สามารถทาให้ประชาชนได้รบั การพฒั นาอาชีพและมีรายได้เพ่ิมขึน เอกสารฉบับนีเป็นเอกสารประกอบการคัดเลือกครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน ในระดับ จงั หวดั นราธวิ าสประจาปี 2564 ของครัวเรอื นสัมมาชพี ตน้ แบบ นางจุฑามาศ คงขวญั โดยได้รบั การ สนับสนุนจากสานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอศรีสาคร ในการดาเนินงานการพัฒนาทักษะการให้ความรู้ ความเข้าใจในการดาเนินงานตามแนวทางของสัมมาชีพอย่างเห็นผลเป็นรูปธรรมและสามารถเป็น แบบอยา่ งแก่ ครวั เรือขยายผลอ่ืนไดอ้ ย่างเหมาะสมต่อไป สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอศรีสาคร พฤษภาคม 2564

สำรบัญ เรื่อง หน้ำ สว่ นที่ 1 บทนำ 1 สว่ นที่ 2 ขอ้ มูลครัวเรือนสัมมำชีพ 4 ส่วนท่ี 3 กำรประเมินครัวเรอื นสมั มำชีพชุมชน 6 1 .สร้ำงควำมมน่ั คงทำงอำหำร 1.1 ปลกู พชื ผกั สวนครัวบริเวณบา้ นพัก/พืนท่ือ่ืนๆ 7 1.2 เกบ็ เมล็ดพนั ธ์ุเพื่อขยายผล 9 1.3 มีการแปรรูปอาหาร 18 2. สร้ำงส่ิงแวดล้อมให้ย่งั ยืน 2.1 มกี ารคดั แยกขยะ 26 2.2 ทาปุย๋ ชีวภาพ ป๋ยุ หมัก ปยุ๋ นา 30 2.3 มีการจัดบา้ นเรอื นเป็นระเบยี บ สะอาด ถกู สุขลกั ษณะ 34 2.4 มีส่วนรว่ มในกจิ กรรมอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ สง่ิ แวดลอ้ มหรอื สาธารณะประโยชน์ 37 3. สร้ำงภูมคิ ุ้มกนั ทำงสังคม 3.1 ร่วมกิจกรรมจิตอาสา 41 3.2 สมาชิกในครัวเรือนไมย่ ุ่งเกย่ี วกบั สิ่งเสพตดิ และอบายมขุ ต่างๆ 44 3.3 สมาชกิ ในครัวเรือนเป็นสมาชกิ กลุ่มองค์กรในชมุ ชน 46 3.4 สมาชิกในครัวเรือนมีวถิ ีชวี ติ ประชาธปิ ไตย 51 3.5 สมาชกิ ในครัวเรือนไม่มีการใช้ความรนุ แรง 53 4. สร้ำงควำมมนั่ คงทำงอำชีพ/รำยได้ 4.1 ครวั เรือนมีการออม 57 4.2 ครวั เรือนประสบผลสาเร็จในการประกอบสมั มาชพี 59 4.3 ครัวเรือนมกี ารทาบญั ชีครวั เรอื น 61 4.4 ครวั เรอื นไม่มหี นีสินนอกระบบ 62 4.5 รายไดข้ องครวั เรือนสัมมาชพี ชุมชน 63 ภำคผนวก รายงานผลการพัฒนาตนเองตามระบบมาตรฐานการพฒั นาชุมชน (มชช.)

1 สว่ นท่ี 1 บทนำ ************************************************* ควำมเปน็ มำ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับบที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) กาหนดให้การสร้าง ความเป็นธรรมลดความเหลอ่ื มลาในสังคม เป็น 1 ใน 10 ยุทธศาสาตร์ ท่ีมุง่ ลดปัญหาความเหลื่อมลาด้าน รายได้ของกลุ่มคนท่ีมีฐานะทางเศรษฐกิจสังคมที่แตกต่างกัน แก้ไขปัญหาความยากจน เพ่ิมโอกาสการ เข้าถึงบริการพืนฐานทางสังคมของภาครัฐ รวมทังเพิ่มศักยภาพชุมชนและเศรษฐกิจฐานรากให้มีความ เขม้ แขง็ เพื่อใหช้ ุมชนพ่งึ พาตนเองและไดร้ บั สว่ นแบง่ ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจมากขึน นโยบายการบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาล (พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี) กาหนดให้การลดความเหล่ือมลาของสังคมและการสร้างโอกาสการเข้าถึงบริการของรัฐ เป็น 1 ใน 11 ด้าน ที่มุ่งแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับปากท้องของประชาชนในระดับล่างท่ีเป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศ โดยมี แผนงานท่ีสาคัญ คือ แผนงานการพัฒ นาเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนเข้มแข็ง ซึ่ งได้มอบให้ กระทรวงมหาดไทยท่ีมีกรมการพัฒนาชุมชนเป็นหน่วยงานหลักบูรณาการไปสู่การปฏิบัติ และเพ่ือให้การ ดาเนินการตามนโยบายรัฐบาลและข้อสั่งการของนายกรัฐมนตรีเห็นผลเป็นรูปธรรมโดยเร็วและมีความ ยั่งยืน กระทรวงมหาดไทยกาหนดโครงการ“ลดความเหลื่อมลา แบ่งปันความสุข”เป็น 1 ใน 8 กลุ่ม โครงการเน้นหนักท่ีให้ความความสาคัญเป็นพิเศษในเชิงผลสัมฤทธิ์ โดยโครงการดังกล่าวเน้นการส่งเสริม เศรษฐกิจฐานรากแก้ปัญหาหนีสินนอกระบบ ความยากจนระดับครัวเรือน พัฒนาคุณภาพชีวิตและขยาย โอกาสคนยากจนในการเขา้ ถงึ ทรัพยากรและการใหบ้ ริการของรัฐ เพื่อขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลและนโยบายกระทรวงมหาดไทยข้างต้น กรมการพัฒนาชุมชน กาหนดให้การพัฒนาอาชพี ครวั เรือน มุ่งผลให้ “เศรษฐกิจครัวเรือนมคี วามมนั่ นคง ประชาชน ใชช้ ีวิตอยใู่ น ชุมชนอย่างมีความสุข” และดาเนินการภายใต้ “โครงการสร้างสัมมาชีพชุมชนตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง”เพื่อยกระดับเศรษฐกิจฐานราก คอื “รำยได้”ทาให้ประชาชนในชุมชนมรี ายได้เพม่ิ ขนึ มี ความม่ันคงและยั่งยืน สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ด้วยการสร้างอาชีพผ่านกระบวนการ”สร้ำง สมั มำชีพชุมชน”ภายใต้แนวคิด “ชำวบ้ำนสอนชำวบ้ำน”สอนอาชีพที่เขาต้องการอยากทา ประกอบกับ การนอ้ มนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาเปน็ แนวทาง กระบวนการ “สร้างสัมมาชีพชุมชน”เริ่มต้นด้วยการพัฒนาทักษะการถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับ ปราชญ์ชุมชนด้านอาชีพ จากนันปราชญ์ชุมชนกลับไปสร้างทีมและจัดการฝึกอบรมอาชีพให้กับครวั เรือนท่ี ต้องการฝึกอาชีพในหมู่บ้าน ติดตาม และสนับสนุนอย่างต่อเน่ือง เพ่ือให้ครัวเรือนที่เข้ารับการฝึกอาชีพ สามารถปฏบิ ตั ิอาชพี ได้จรงิ จนพัฒนาเปน็ อาชพี ทีส่ ร้างรายไดใ้ ห้กบั ครวั เรือนไดอ้ ยา่ งมั่นคง ครัวเรอื นสัมมาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564

2 พระรำชดำรวิ ำ่ ดว้ ยเศรษฐกิจพอเพียง “...การพัฒนาประเทศจาเป็นต้องทาตามลาดับขัน ต้องสร้างพืนฐานคือ ความพอมี พอกิน พอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่เบืองต้นก่อน โดยใช้วิธีการและอุปกรณ์ท่ีประหยัดแต่ถูกต้องตามหลัก วิชาการ เมื่อได้พืนฐานความมั่นคงพร้อมพอสมควร และปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญ และฐานะทางเศรษฐกิจขนั ทส่ี งู ขนึ โดยลาดบั ต่อไป...” (๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗) “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นแนวพระราชดาริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ พระราชทานมานานกว่า ๓๐ ปี เป็นแนวคิดท่ีตั้งอยู่บนรำกฐำนของวัฒนธรรมไทย เป็นแนวทางการ พัฒนาท่ีตังบนพืนฐานของทางสายกลาง และความไม่ประมาท คานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันในตัวเอง ตลอดจนใช้ความร้แู ละคุณธรรม เป็นพืนฐานในการดารงชีวิต ที่สาคญั จะต้อง มี “สติ ปญั ญำ และควำมเพยี ร” ซึง่ จะนาไปสู่ “ควำมสุข” ในการดาเนนิ ชวี ติ อยา่ งแทจ้ ริง กรมการพัฒนาชุมชน ได้ให้ความสาคัญในการเสริมสร้างผู้นาชุมชน โดยการพัฒนา ศักยภาพผู้นาชุมชน เพ่ือเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในระดับต่างๆ ให้ผู้นาชุมชนมีความรู้ คู่ คุณธรรม สามารถบรหิ ารจัดการชุมชนของตนเอง เป็นกาลังหลกั ในการขบั เคลื่อนงานอย่างต่อเน่ือง โดยมี การจัดประกวดแข่งขัน เสริมสร้างและพัฒนาผู้นาการเปลี่ยนแปลง เพื่อเชิดชูเกียรติ สร้างแรงจูงใจต่อ การขับเคลื่อนงาน นาไปสู่การเปล่ยี นแปลงทดี่ ีขึน Change for Good สร้างชุมชนเขม้ แข็งและพ่งึ ตนเอง ได้ โดยน้อมนาแนวพระราชดาริของกรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สร้างความ มั่นคงทางอาหารสู่ปฏิบัติการ 90 วัน ปลูกผักสวนครัว เพื่อสร้างความม่ันคงทางอาหาร แก่พ่ีน้อง ประชาชน เช่น ตาบลโก่งธนู จังหวัดลพบุรี ภายใต้โครงการ “บ้านนีมีรัก ปลูกผักกินเอง” รณรงค์ให้ทุก หลังคาเรือนมีการคัดแยกขยะ สร้างความรู้ ความเขา้ ใจในการบริหารจัดการขยะเปียก ดูแลรักษาภูมิทัศน์ สงิ่ แวดลอ้ ม เพ่ิมพืนทส่ี ีเขียวใหก้ บั ชุมชน การปลูกผักสวนครัวสร้างคลงั ทางอาหาร ประชาชนในพืนที่ตาบลกาหลงได้น้อมนามาเป็นแนวทางปฏิบัติ ซ่ึงเป็นรูปแบบการ ขับเคล่ือนเชิงคุณภาพ เพ่ือให้เกิดผลสาเร็จฝังรากลึกทางวัฒนธรรมให้อยู่ในจิตสานึกแก่ประชาชนอย่าง ยงั่ ยนื และสามารถขับเคล่ือนให้เกิดประโยชน์ตอ่ ประชาชนอยา่ งทั่วถึง เป็นการเพ่ิมขีดความสามารถของ ผู้นาชุมชนให้สามารถบูรณาการงานพัฒนาชุมชน นาไปสู่การพึ่งพาตนเองได้ ในพืนที่มีผู้นาระดับท้องท่ี เช่น ผู้ใหญ่บ้าน กานัน นายกองค์การบริหารส่วนตาบล ผู้นาธรรมชาติ เช่น พระสงฆ์ ผู้ที่มีคนนับถือใน ชุมชน รวมถึง ผู้นาท่ีเป็นราชการ เช่น นายอาเภอ หัวหน้าส่วนราชการต่างๆ ร่วมเข้ามาขับเคลื่อนการ ดาเนินงานร่วมกัน โดยการปฏิบัติผู้นาต้องทาก่อน ให้พี่น้องประชาชนปฏิบตั ิตาม ด้วยการปลูกพืชผักสวน ครวั เรอื นสัมมาชพี ชุมชน ประจาปี 2564

3 ครัว ในครัวเรือน และพืนท่ีสว่ นรวม วัด โรงเรียน ถนนหนทางในหม่บู ้าน ให้เป็นพืนที่ท่สี รา้ งความสวยงาม และสร้างความม่นั คงทางอาหารได้อย่างเป็นรูปธรรม กิจกรรมครังนีจะทาให้ 1 หมู่บ้าน สามารถดูแลได้ทังตาบล สร้างความมั่นคงทางด้านอาหาร ด้วย หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มุ่งเน้นผู้นาทางความคิด ตามแนวทางของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีสอดคล้องกับเป้าหมายท่ียั่งยืนของ UN (องค์การ สหประชาชาติ) เป้าหมายที่ 2 ยุติความหิวโหย บรรลุความมั่นคงทางอาหาร ยกระดับโภชนาการ ส่งเสริมการเกษตรกรรมที่ยั่งยืน และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่พระองค์พระราชทานให้พี่น้อง ประชาชน ซ่ึงกระตุ้นให้ผู้นาภาคส่วนต่างๆ เข้ามามีส่วนร่วมในการขับเคล่ือนในระดับพืนที่ ในการสืบสาน รักษา และต่อยอด ตามพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถ บพิตร สู่พี่น้องประชาชน อย่างเป็นรูปธรรม โดยได้ดาเนินการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ ความยั่งยืนโลก (SEP to SDGs) และมีเป้าหมายเดียวกัน น่ันคือ การมุ่งพัฒนา สร้างความสมดุลในมิติ สังคม เศรษฐกิจ และส่ิงแวดล้อม พัฒนาประเทศไปสู่ความยั่งยืน เราต้องลงมือปฏิบัติอย่างจริงจัง ศึกษา อย่างถ่องแท้และน้อมนาศาสตร์พระราชา “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” มาเป็นกระบวนทัศน์ในการทางาน อาทิ โครงการบ้านนีมีรัก ปลูกผักกินเอง ในพระราชดาริของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มาขยายต่อยอดสู่กิจกรรมตามแผนปฏิบัติการ 90 วัน ปลูก ผักสวนครัว เพื่อสร้างความมั่นคงทางอาหาร ให้ผู้นาในท้องท่ีต้องทาก่อน สร้างวัฒนธรรมปลูกพืชผักสวน ครัว ให้เต็มพืนที่ นาไปสู่ 1 หมู่บ้านสามารถดูแลได้ 1 ตาบล 1 ตาบลดูแลได้ 1 อาเภอ เป็นแหล่ง ของอาหารได้อย่างย่ังยืน ครัวเรือนสมั มาชีพชมุ ชน ประจาปี 2564

4 สว่ นท่ี 2 ข้อมลู ครัวเรอื นสมั มำชีพชุมชน ประจำปี 2564 ************************************************* 1. ชื่อ นางจฑุ ามาศ นามสกุล คงขวญั วันเดอื นปเี กิด 16 กนั ยายน พ.ศ. 2529 ปจั จบุ นั อายุ 35 ปี สถานที่อยู่บ้านเลขที่ 28/32 หมู่ที่ 4 หมู่บ้านประชานิมิต ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส รหสั ไปรษณยี ์ 96210 โทรศพั ท์ 061 - 2023099 โทรสาร..............-............. Facebook : จุฑามาศ คงขวัญ E –Mail ….……….......................-................................... สถานทีท่ างาน ช่ือหนว่ ยงาน....................................................................................-.............................. เลขท.ี่ ..-........หม่ทู .่ี ...-......ตาบล..........-......................อาภอ.........-......................จังหวดั ..........-............. รหัสไปรษณีย์...............-................โทรศัพท์..........-...................โทรสาร..............-.................................. อาชีพ....................เกษตรกร (ชาวสวน).......................... จานวนสมาชกิ ในครวั เรือน 6 คน 2.1 ช่ือ นางจุฑามาศ สกุล คงขวัญ อายุ 35 ปี ปี การศกึ ษา มัธยมศึกษาปีที่ 6 เก่ียวขอ้ งเป็น หัวหนา้ ครวั เรอื น . ปี ปี 2.2 ช่อื นายสกุ ฤษฏ์ สกลุ คงขวัญ อายุ 45 ปี ปี การศึกษา อนปุ ริญญาตรี เกย่ี วข้องเปน็ สามี . 2.3 ชอ่ื นางมาลี สกลุ คงขวัญ อายุ 63 การศกึ ษา - เก่ยี วข้องเปน็ มารดาของสามี . 2.4 ชอื่ นางสาวสริ ปิ ระภา สกลุ ศรรี ะวรรณ์ อายุ 15 การศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 เกย่ี วข้องเปน็ บตุ รสาว . 2.5 ชื่อ เด็กชายธนกร สกุล พรมเต็ม อายุ 8 การศกึ ษา ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 เก่ยี วข้องเป็น บุตรชาย . 2.6 ชือ่ เด็กหญิงณัชชา สกลุ คงขวัญ อายุ 5 การศึกษา อนบุ าล 1 เก่ียวข้องเป็น บตุ รสาว . ครวั เรือนสมั มาชีพชุมชน ประจาปี 2564

5 2. ประวัตสิ ่วนตวั /การศึกษาและการฝกึ อบรม จบการศึกษาชันสูงสุด มัธยมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนธารโตวัฑฒนวิทย์ อาเภอธารโต จังหวัด ยะลา ปีการศึกษา2547 ผ่ำนกำรฝกึ อบรมในด้ำนตำ่ ง ๆดังนี้ 1. ผา่ นเกณฑ์ประเมินการพัฒนาระบบมาตรฐานงานชมุ ชน ปี 2564 2. อบรมทาป๋ยุ จุลนิ ทรีย์สงั เคราะห์แสง ปุ๋ยคอก เพาะกลา้ ชาต้นมัลเบอรี่ และฝายชะลอนา 3. อบรมหลกั สูตรการกรีดยางอย่างถูกวธิ ี ประจาปี 2563 4. อบรมการทาปุ๋ยหมกั ปุ๋ยคอก (วทิ ยากร นายพรเทพ พัสมุณี) ปี 2563 5. อบรมการปลกู ดาวเรอื งตัดดอก (จากวทิ ยากรนายธารงศักดิ์ ชมุ นุมมณี) ปี 2562 6. อบรมการเลยี งผึงชนั โรง (วทิ ยากรยังสมาทฟาเมอร์ อ.ธารโต จ.ยะลา) ปี 2562 7. อบรมการทาทุเรยี นอินทรีย์ (วทิ ยากร นายวฒุ ิชัย พรมทอง เจา้ ของทรพั ยเ์ กษตร จ.พัทลุง) 3. หนา้ ท่ีการงาน/อาชีพ (อดตี /ปจั จุบนั ) - ทาการเกษตร (สวนยาง/สวนกาแฟ) 4. รางวัลท่เี คยได้รบั (ระบุปที ่ไี ด้รับ) 4.1 ชื่อรางวัล รองชนะเลิศ อันดับ 2 การแข่งขันกรีดยาง หลักสูตร การกรีดยางอย่างถูกวิธี ประจาปี 2563 กจิ กรรมถ่ายทอดเทคโนโลยดี ้านการผลติ ยาง ประจาปี 2563 ชื่อหนว่ ยงาน การยางแห่งประเทศไทยจงั หวัดนราธวิ าส ปที่ ไ่ี ด้รับ 2563 5. ผลงานดีเด่นท่ีได้รับการยอมรับและเป็นประโยชน์ต่อสังคม (เป็นผลงานท่ีมีความต่อเน่ืองและยัง ดาเนนิ การจนถึงปจั จุบนั ) 1. จติ อาสาพระราชทาน 2. กรรมการกลุ่มกาแฟอาราบกี ้า 3. กรรมการศนู ยเ์ รยี นรู้ไร่ทองผาภมู ิ 4. กรรมการกลุม่ ไมต้ ัดดอก (ดาวเรือง,มะล)ิ 5. สมาชิกครวั เรือนสัมมาชพี ชมุ ชน 6. สมาชิกกองทุนพฒั นาบทบาทสตรี 7. สมาชิกกลุ่มออมทรพั ยเ์ พื่อการผลิตบ้านประชานิมติ ร 8. สมาชกิ กลมุ่ เคร่ืองแกง หมบู่ ้านประชานิมติ ร 9. สมาชิกศูนยจ์ ัดการกองทุนชมุ ชนบ้านประชานมิ ิตร ครวั เรอื นสมั มาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564

6 ส่วนท่ี 3 กำรประเมินครัวเรอื นสมั มำชีพชุมชน สัมมำชีพ หมายถึง อาชีพท่ีไม่เบียดเบียนตนเอง ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ไม่เบียดเบียน สิ่งแวดล้อม และมีรายจ่ายน้อยกว่ารายได้ เป็นการทามาหากินโดยไม่ได้เอากาไรสูงสุดเป็นตัวตัง หรือ เป็นเป้าหมายสุดท้าย และต้องคานึงถึงความเป็นธรรมทางสังคม กล่าวคือ ความสุขของตน และ คนทางาน รวมถงึ ประโยชน์ของผู้บรโิ ภค และผูร้ ับบริการหลัก สัมมำชีพชุมชน หมายถึง ชุมชนโดยประชาชนมีการประกอบอาชีพโดยชอบ ซ่ึงมีรายได้มากกว่า รายจ่าย และนารายได้ไปออมเพิ่มขึน ลดการเบียดเบียนตนเอง ผู้อื่นและสิ่งแวดล้อม มีการดารงชีวิตของ ประชาชนในชุมชนต้องสอดคล้องกับวิถีของชุมชนเพ่ือความมุ่งหมายในการสร้างระบบเศรษฐกิจ ฐาน รากในชมุ ชน ในการประเมินครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน กรมการพัฒนาชุมชนได้กาหนดหลักเกณฑ์ในการ พิจารณาคัดเลือกครวั เรอื นสัมมาชพี ตามรายละเอียดกิจกรรมตามแบบประเมิน 4 ดา้ นดงั นี 1. สรำ้ งควำมมัน่ คงทำงอำหำร 2. สร้ำงส่งิ แวดลอ้ มใหย้ ง่ั ยนื 3. สรำ้ งภูมิคมุ้ กันทำงสังคม 4. สร้ำงควำมมน่ั คงทำงอำชพี /รำยได้ ผลกำรดำเนนิ งำนของครวั เรือนสัมมำชพี (นำงจฑุ ำมำศ คงขวญั ) 1. สรำ้ งควำมมัน่ คงทำงอำหำร ความมั่นคงทางอาหาร ประชาชนทกุ คนสามารถเข้าถึงอาหารทสี่ ะอาดและปลอดภยั อย่างเพยี งพอ ตามความเหมาะสมของแต่ละพืนที่ เพ่ือเพ่ิมผลผลิตให้ประชาชนมีอาหารบริโภคที่เพียงพอมีคุณภาพ และ ปลอดภยั และมีคณุ ค่าทางโภชนาการ ครัวเรอื นสัมมาชีพชมุ ชน ประจาปี 2564

7 1. ความพอเพียงของอาหาร หมายถึงการมีอาหารที่มีคุณภาพในปริมาณท่ีเพียงพอและเหมาะสม ทงั ระดับครวั เรอื น และชุมชน 2. การเข้าถึงอาหาร หมายถึงการเข้าถึงอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ รวมถึงการเข้าถึงแหล่ง ทรพั ยากรทนี่ ามาซงึ่ อาหารได้ดว้ ย เช่นปา่ ชมุ ชน 3. การใช้ประโยชน์จากอาหาร หมายถึงการใช้ประโยชน์จากอาหารในการบริโภคอย่างถูกต้อง รวมถึงการใช้องคค์ วามรู้ต่างๆ เพ่ือให้เกดิ ประโยชน์จากกิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับการผลิตอาหารทังหมด เช่น มีการใช้ภูมปิ ัญญาทอ้ งถิน่ 4. ความมีเสถียรภาพด้านอาหารหมายถึง ประชาชนหรือครัวเรือนหรือบุคคลต้องเข้าถึงอาหาร อย่างเพียงพอตลอดเวลา ไมม่ ีความเสี่ยงในการเขา้ ถงึ อาหารเมอื่ เกิดความขาดแคลนขนึ มาอย่างกระทันหัน ยกตวั อย่างเชน่ เมอ่ื เกดิ วิกฤตการณจ์ ากโควดิ -19 แล้วยังสามารถมีอาหารได้อยา่ งเพียงพอไมข่ าดแคลน ซงึ่ ถา้ สามารถสร้างองค์ประกอบใหค้ รบได้ท้ัง 4 ดา้ น กจ็ ะทาใหเ้ กดิ กลไกในการกากบั ดูแลและ ควบคมุ การสรา้ งความมั่นคงทางอาหารไดอ้ ยา่ งย่ังยืน กรมการพัฒนาชุมชน ได้ส่งเสริมให้ประชาชน “น้อมนาแนวพระราชดาริของสมเด็จพระกนิษฐาธิ ราชเจา้ กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี สู่แผนปฏบิ ัตกิ าร 90 วัน ปลูกผักสวนครัว เพ่ือสร้างความมั่นคงทางอาหาร” เพ่ือสร้างความม่ันคงทางอาหารในระดับครัวเรือน ลดรายจ่าย สร้าง รายไดร้ ะยะสนั ทงั ในระดบั ครัวเรือน และระดบั กลุ่มอาชีพ 1.1 มีกำรปลกู พืชผกั สวนครวั บริเวณบ้ำนพกั /พนื้ ทอ่ี ื่น ๆ อย่ำงนอ้ ย 10 ชนิด ดว้ ยกรมการพัฒนาชมุ ชน ได้น้อมนาแนวพระราชดาริของสมเดจ็ พระกนิษฐาธิราชเจ้า กรม สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สู่แผนปฏิบัติการ 90 วัน ปลูกผักสวนครัวเพ่ือสร้าง ความมั่นคงทางอาหาร” ประกาศเป็นปฏิบัติการ Quick Win 90 วัน ในช่วงวิกฤตการณ์การแพร่ระบาด ของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้รับความร่วมมือในการเข้าร่วมปฏิบัติการครังนีแสดงให้เห็นว่า ประชาชนที่ร่วมปลูกผักสวนครัวได้รับประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม ทาให้มีผักกินเองในบ้าน โดยที่ไม่ต้อง ซือหาจากข้างนอก “ปลูกผกั ท่กี ิน กนิ ผักท่ีปลกู ” ประหยดั รายจ่าย เท่ากับเพ่มิ รายได้ หากมมี ากกแ็ บ่งปัน กนั ระหว่างเพ่ือนบา้ น ระหว่างคนในชุมชน และเมอ่ื เป็นผักที่ปลูกเองเราจะระมัดระวงั เรือ่ งสารเคมีตา่ งๆได้ กลายเป็นพืชผักปลอดภัย ที่เสริมสร้างสุขภาพร่างกายให้แข็งแรง ทังนียังส่งเสริมการปลูกพืชผักที่ปลูกอยู่ แล้วให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง และปลูกพืชผักเพิ่มเติมจากเดิม รวม 10 ชนิด “ทาเป็นบ้านสานเป็นกลุ่ม” ส่งเสริมการปลูกผักสวนครัวแบบเข้าถึงทุกครัวเรือน และสร้างเครือข่ายขยายผล ซึ่งเป็นแนวทางขับ เคลื่อนท่ีเข้มแข็งและประสบผลสาเร็จ จนท้ายท่ีสุดทุกครัวเรือนในประเทศไทยได้รับประโยชน์และเช่ือว่า ครัวเรอื นสมั มาชีพชมุ ชน ประจาปี 2564

8 จะเป็นทางรอดท่ีย่ังยืน ตลอดถึงมีกิจกรรมสร้างความรัก ความสามัคคี ความอบอุ่นภายในครอบครัวได้ อย่างยัง่ ยนื จากพลังของประชาชนสะท้อนออกมาเป็นตัวเลขความสาเร็จของกรม กรมจึงได้ ตังเป้าหมายเอาไว้ที่ร้อยละ 90 ของครัวเรือนในหมู่บ้านปลูกพืชผักสวนครัวอย่างน้อยคนละ 10 ชนิด มี กลุ่มผลิตหรือแปรรูปหรือจาหน่ายพืชผักอย่างน้อยตาบลละ 1 กลุ่ม รวมไปถึงร้อยละ 90 ของครัวเรือนที่ ปลูกพืชผักทาถังขยะเปียกลดโลกร้อน มีกิจกรรมเชิงนวัตกรรมและศูนย์ขยายเมล็ดพันธุ์ทุกตาบล การ ขับเคล่ือนครังนีมุ่งหวังให้เกิดความม่ันคงทางอาหารอย่างแท้จริงในทุกชุมชนทั่วประเทศ ทาให้พ่ีน้อง ประชาชนมพี ืชผกั ปลอดภัยไว้กนิ เอง และแบง่ ปนั รวมถงึ ขยายผลต่อยอดสร้างรายได้ และสิ่งสาคญั คือเพ่ือ ตอบสนองต่อเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ยุติความหิวโหย บรรลุความมั่นคงทางอาหาร ยกระดับ โภชนาการ ส่งเสริมการเกษตรกรรมท่ีย่ังยืน ขององค์การสหประชาชาติ และสร้างความมั่นคงทางอาหาร ซ่งึ เช่ือม่นั วา่ จะเกิดขึนได้อยา่ งแน่นอนในประเทศไทยของเรา ครวั เรอื นสัมมาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564

9 สมาชิกในครัวเรือน ร่วมกันปลูกผักสวนครัว มากกว่า 10 ชนิดในบริเวณบ้านพักอาศัย เพ่ือได้กิน เอง และแบ่งปัน พร้อมกับขยายผลตอ่ ยอดสร้างรายไดใ้ นช่วงวกิ ฤตหนกั โควิด 19 ประหยัดรายจา่ ย เป็น การเพ่ิมรายได้ ลดรายจ่ายภายในเรอื น ไดแ้ ก่ ผักบุ้ง ขิง ข่า มะนาว ผกั ชี ผักกาดขาว พริก มะกรูด ตะไคร้ มะละกอ มะเขือเทศ ฝกั เขียว มะเขอื เปราะ ใบเหลยี ง มะเขอื พวง ใบชะพลู พรกิ ไทย โหระพา 1.2 กำรเกบ็ เมลด็ พันธุ์เพอื่ ขยำยผล “เมล็ดพันธุ์คืออาหาร อาหารคือชีวิต ไม่มีอาหารก็ไม่มีชีวิต เมล็ดพันธุ์จึงเป็นส่วนหน่ึงของชีวิต อย่างแยกกนั ไม่ได้ หากเมล็ดพันธุห์ ายไป ชวี ติ เราก็จะแย่ลง” แนวทางการพัฒนาเมล็ดพันธุ์ท่ีเราสามารถทาได้เอง ด้วยการศึกษาเรียนรู้และพัฒนาด้วยตนเอง โดยผลของการพัฒนาด้วยวิธีการที่ไม่พ่ึงพาการดัดแปลงพันธุกรรม คือความหลากหลายของสายพันธ์ุ เน่ืองจากแตล่ ะคนพัฒนาเมล็ดพันธุอ์ อกมาไดแ้ ตกต่างกัน และปจั จุบันเมลด็ พันธุ์มีราคาสูงมาก การมเี มล็ด พนั ธ์ุจงึ ช่วยลดต้นทุนได้มหาศาล “พืชแต่ละพันธ์ุจะมีการทนทานโรคระบาด ฝนแล้ง สภาพอากาศอื่นๆ ท่ี แตกต่างกันออกไป หากเนน้ พัฒนาเพียงแค่สายพันธุ์เดียว เม่ือเผชิญกับวกิ ฤตอะไรสักอย่าง ก็จะจบ ความ ม่ันคงก็จะลดน้อยลง การหายไปของเมล็ดพันธ์ุนันเช่ือมโยงกับสุขภาพ เศรษฐกิจ และความม่ันคงทาง อาหาร ครัวเรือนสัมมาชีพชมุ ชน ประจาปี 2564

10 “เมล็ดพนั ธ”์ุ นบั เปน็ ปัจจัยสาคัญในการเพาะปลูก ซ่ึงเมล็ดพันธเุ์ พียง 1 เมล็ดสามารถเจรญิ เติบโต ให้ผลผลิต พร้อมทังขยายพันธุ์ต่อไปได้อย่างไม่รู้จบ แต่ทว่าในการผลิตหรือเก็บเมล็ดพันธุ์เกษตรกร ส่วนมากกลับมองเป็นเรื่องยากและหลายคนก็ยังไม่เข้าใจ ทาให้การใช้เมล็ดพันธ์ุเพ่ือเพาะปลูกครังต่อ ๆ ไปจาเป็นต้องซือใหม่อยู่เสมอ ซ่ึงก็เท่ากับทิงโอกาสในการลดต้นทุนลงไป แม้เป็นต้นทุนท่ีไม่สูงมากก็ตาม แต่ท่ีสาคัญพืชผักหลากหลายชนิดหาเมล็ดพันธุ์ได้ยากและบางชนิดก็ไม่มีจาหน่าย โดยเฉพาะพืชพันธ์ุ พืนเมือง ดังนันหากเกษตรกรไม่รู้จักผลิตและเก็บเมล็ดพันธ์ุไว้เอง ก็ทาให้การผลิตพืชผักชนิดนัน ๆ ขาด ตอนไปได้ จะเห็นได้ว่าการเก็บเมล็ดพันธม์ุ าปลูกในรุ่นต่อ ๆ ไป ไม่ใช่เร่ืองยากเลย เกษตรกรท่ีปลูกพืชผัก อยู่แล้วสามารถทาได้ หากแต่ต้องศึกษาเพิ่มเติมเล็กน้อยเกี่ยวกับธรรมชาติของพืชชนิดนัน ๆ ว่าเริ่มออก ดอกและติดเมลด็ เม่ือไร เพราะพืชแต่ละชนิดใช้เวลาติดดอกช้าเรว็ แตกต่างกนั และหลายชนดิ เกษตรกรใช้ ประโยชน์ตังแต่ต้นอ่อนโดยไม่ให้โอกาสติดดอกออกเมล็ด ซึ่งต้องศึกษาเร่ืองเหล่านีเพิ่มเติม ที่สาคัญ ต้องทาความเข้าใจกับสายพันธุ์พืชท่ีเป็นพันธ์ุแท้และพันธุ์ลูกผสมด้วย พืชที่เป็นพันธุ์แท้สามารถเก็บเมล็ด พันธุ์ปลูกต่อได้เร่ือย ๆ ขณะท่ีหากเป็นพืชลูกผสม เมล็ดพันธ์ุที่นาไปปลูกต่อจะให้ผลผลิตได้ไม่ดีเท่าเดิม หากเกษตรกรเข้าใจเร่อื งเหล่านีก็สามารถผลติ หรอื เกบ็ เมลด็ พันธไ์ุ ว้ใช้ได้ ช่วงวิกฤต COVID-19 นี ส่ิงหน่ึงท่ีชัดเจนขึนคือ ความสาคัญของความม่ันคงทางอาหารและเมล็ด พันธ์ุ หลายคนเริ่มหันมาเป็นมือปลูก และแบ่งปันเมล็ดพันธุ์และผลผลิตให้กันและกัน ความหลากหลาย ทางพืชพรรณธัญญาหารเป็นเอกลักษณ์ของประเทศไทย และการเก็บเมล็ดพันธุ์เพื่อปลูกต่อและส่งต่อกัน เช่นนีเป็นวิถีชีวิตของเกษตรกรไทยมาช้านาน เมล็ดพันธุ์สัมพันธ์กับชีวิตของคนมาตังแต่อดีตกาล ตังแต่ การปลูก กิน เก็บ และแลกเปล่ียน เมล็ดพันธ์ุเป็นทรัพย์สินของทุกชีวิตบนโลก หรือเป็นภูมิปัญญาในการ คัดเลือกสืบทอดกันมาของบรรพบุรุษของเรา ผลไม้ของมะม่วงต้นไหนหวานอร่อย ก็เก็บเมล็ดมาปลูกต่อ กระเพราต้นไหนหอมอร่อยก็เก็บเมล็ดมาปลูกต่อ เป็นการคัดเลือกพันธ์ุท่ีแข็งแรงท่ีสุด อร่อยท่ีสุด กลิ่น หอมทส่ี ุด ต้านทานโรคได้ดที สี่ ดุ ผลผลิตสงู และส่งต่อมาเรื่อย ๆ จนถงึ รุน่ เรา ครัวเรอื นสัมมาชีพชมุ ชน ประจาปี 2564

11 กำรเก็บรักษำเมล็ดพันธุ์ เมล็ดพันธุ์เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีวัฎจักรของชีพจรคล้ายกับส่ิงมีชีวิตอ่ืนๆ คือ มีจุดกาเนิด มีการ เจริญเติบโต มีความเสื่อมและตายในที่สดุ แตล่ ักษณะการมีชีวติ ของเมล็ดพนั ธนุ์ ันต่างกบั การมีชีวติ ของคน หรือสัตว์คือ คนหรือสัตว์เม่ือเกิดการเจ็บไข้หรือป่วย อาจรักษาให้หายดังเดิมได้หรือสามารถบารุงรักษา สุขภาพให้ดีขนึ ได้ แต่ในเมล็ดพันธุ์นัน หากเกิดการเส่อื มหรือเสียหายขึน แม้จุดใดจุดหน่ึงก็ไม่อาจจะรกั ษา ใหค้ งสภาพเดมิ ได้ และในปจั จุบนั ก็ยังไม่มวี ธิ ใี ดท่จี ะบารุงรกั ษาคุณภาพดา้ นสรรี ะของเมลด็ ให้ดีขึนได้ เมล็ด นนั เมื่อถึงจดุ ทเี่ จริญเติบโตเต็มท่แี ล้วกจ็ ะเริม่ เข้าสู่ความเส่ือมและตายไปในที่สดุ อัตราการเส่ือมคุณภาพจะ เร็วหรือช้าขึนอยู่กับปัจจัยหลายประการ เช่น สภาพการเก็บเกี่ยว การนวด การทาความสะอาดและ สภาพแวดล้อมในการเก็บรักษา เป็นต้น ดังนัน หลังจากเมล็ดผ่านกระบวนการต่างๆ จนพร้อมท่ีจะเก็บ รักษาแล้ว สิ่งเดียวท่ีจะทาให้เมล็ดชะลอการเส่ือมคุณภาพในช้าท่ีสุดเท่าท่ีจะทาได้คือ การ ปรับปรุงสภาพแวดลอ้ มการเกบ็ รักษาใหเ้ หมาะกับสภาพเมลด็ พันธ์ุ ปจั จยั ทม่ี ีผลต่อกำรเกบ็ รกั ษำเมลด็ พนั ธุ์ เมล็ดพันธุ์ (seed) เป็นสงิ่ มีชีวติ การเก็บ รกั ษาเมล็ดพนั ธก์ุ ็คอื การดารงไวซ้ ง่ึ ความมีชวี ิต ของเมลด็ ใหย้ าวนานออกไป ฉะนนั ในการเก็บ รกั ษาเมล็ดพนั ธ์ุ จงึ มีปัจจัยตา่ งๆ ทเี่ ก่ยี วข้องหลาย ประการ แตโ่ ดยทั่วไปอาจสรปุ ได้ 2 ประการ คือ 1.ปจั จยั ภำยใน - ชนิดของเมล็ดพันธุ์ (species) เมล็ดแต่ละชนิดมีอายุการเก็บรักษาแตกต่างกันไปตาม พันธกุ รรม เช่น ขา้ วเกบ็ ได้นานกว่าถวั่ เหลอื ง - โครงสรา้ งและองค์ประกอบทางเคมีของเมล็ดพันธุ์ เช่น เมลด็ ท่มี อี งคป์ ระกอบของแป้งจะ เก็บไวไ้ ดน้ านกวา่ เมลด็ ที่มอี งค์ประกอบของไขมนั 2.ปัจจัยภำยนอก - อุณหภูมิความชืนสัมพัทธ์ของสภาพการเก็บและความชืนของเมล็ด เมล็ดจะเก็บรักษาไว้ ได้อย่างปลอดภัยจะต้องมีความชืนต่า เมล็ดที่มีความชืนสูงจะมีขบวนการเมตาโบลิซึมสูง นอกจากนีโรค และแมลงจะเข้าทาลายได้ง่าย ทาให้เสื่อมสภาพเร็ว เก็บไว้ไม่ได้นานและเน่ืองจากเมล็ดเป็นสิ่งท่ีมี คุณสมบัติท่ีเรียกว่า “ไฮโกรสโคปิก” (hygroscopic) คือ สามารถรับหรือถ่ายเทความชืนของตัวเองให้ สมดุลกบั บรรยากาศภายนอก ครวั เรือนสมั มาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564

12 - การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว ควรเก็บเก่ียวเม่ือถึงระยะแก่ตัวทางสรีรวิทยาแล้วเท่านัน และอย่าปล่อยให้ไว้ในไรน่ า เพราะจะกระทบกับสภาพความชืนที่แปรปรวน การนวดและการกะเทาะต้อง กระทาด้วยความระมัดระวังอย่าให้แตกร้าว และต้องลดความชืน โดยการตากแดด และควรทาความ สะอาด แล้วบรรจุถาชนะโดยเร็ว การปฏิบัติหรือการเก็บเก่ียวที่ถูกต้องช่วยชะลอการเสื่อมคุณภาพของ เมล็ดพนั ธทุ์ ่เี ก็บรกั ษา ข้อหำ้ ม 7 ประกำรของกำรเก็บรักษำเมลด็ พันธุ์ การเก็บรักษาเมล็ดพันธ์ุท่ีถูกวิธีนันคือ การปฏิบัติต่อเมล็ดพันธ์ุเพื่อรักษาหรือชะลอความเสื่อม คุณภาพ ซง่ึ คุณภาพดังกล่าวมีหลายลกั ษณะ ขอกลา่ วถงึ ขอ้ หา้ ม 7 ประการ ดงั นี 1. อย่าเก็บเมล็ดพันธ์ทุ ีค่ วามชนื สงู เพราะเมล็ดพนั ธุ์สามารถดดู ความชืนจากอากาศได้ 2. อย่าเก็บเมล็ดพันธุ์ไว้ใกล้กับปุ๋ยหรือสารเคมี เพราะจะเกิดอันตรายโดยตรงต่อความงอกของ เมลด็ พนั ธุ์ 3. อย่าเก็บเมล็ดพันธ์ุไว้ใกล้กับแหล่งนา หรือสถานที่ชืนแฉะ เพราะมีความชืนสูง ซ่ึงจะทาให้ เมลด็ พนั ธุ์มีอายสุ นั เพราะดูดความชืน 4. อย่าเก็บเมลด็ พนั ธ์ุบนพืนโดยตรง เพราะพืนจะถ่ายเทความชืนสเู่ มล็ด เพราะกันความชืนไม่ได้ อากาศถ่ายเทไมด่ ี เมลด็ จะเน่าเสียหายเร็ว 5. อย่าใหม้ ศี ัตรูโรคแมลงขณะเกบ็ รักษาเพราะจะทาลายเมล็ดโดยตรง 6. อยา่ เกบ็ เมลด็ ท่ตี ายแล้ว เพราะเสยี เวลาทนุ แรงงาน และสถานท่ี 7. อย่าละเลยการตรวจสอบเมล็ดพันธุ์ขณะเก็บรักษาเพราะการตรวจสอบจะทาให้ทราบสภาพ ของคณุ ภาพเมลด็ พนั ธุ์ เพ่อื การวางแผนการปฏิบัตกิ ารตา่ งๆ ท่เี กีย่ วข้องกบั เมลด็ พนั ธุ์ “พ่งึ ระลึกเสมอว่าเมล็ดพนั ธุเ์ ป็นสิ่งมชี ีวติ และมีคณุ คา่ การใชเ้ มลด็ พันธุท์ ี่มีคุณภาพดีเพาะปลูก หมายถึงความสาเร็จของเกษตรกรจึงไม่ควรปล่อยปะละเลย เมล็ดพันธุ์ไม่สามารถมีชีวิตอยู่รอดได้ใน สภาพทไี่ มเ่ หมาะสม ดงั นั้น การใหก้ ารดูแลทถี่ กู ตอ้ งเทา่ นั้นจะรกั ษาคณุ ภาพเมล็ดพนั ธุ์ไว้ได้นาน ครัวเรือนสัมมาชีพต้นแบบ (นางจุฑามาศ คงขวัญ) มีการเพาะกล้าไม้ต่างๆเพ่ือขยายพันธุ์ และ จาหน่ายเป็นรายได้เสริมให้แก่ครัวเรือน ได้แก่ 1. ผักเหลียง 2. มัลเบอร่ี 3.กะเพรา 4. ยางพารา 5. กาแฟอาราบกิ ้า 6.มะเขอื เทศ 7. ดาวเรือง 8. มะนาว 9. ตะไคร้ 10. พรกิ 1.ผักเหลียง (Baegu) จัดเป็นผักเศรษฐกิจหลักของภาคใต้ นิยมใช้ใบอ่อนประกอบอาหาร อาทิ ผัดผักเหลยี ง แกงเหลยี ง ผัดใสไ่ ข่ แกงจืด ห่อหมก ลวกจมิ นาพรกิ หรอื รบั ประทานสดค่กู ับกับข้าว ผัก เหลียงเป็นผักท่ีมีคุณค่าทางโภชนาการสูง สมาชิกในครัวเรือนเล็งเห็นถึงช่องทางการสร้างรายได้ จึงมีการ เพาะกล้าผักเหลียง และตัดยอดผักเหลยี งเพือ่ จาหน่ายเพมิ่ รายไดใ้ ห้ครัวเรอื น ครวั เรอื นสมั มาชีพชุมชน ประจาปี 2564

13 ครัวเรอื นมีการเพาะกลา้ ต้นผกั เหลียงเพ่ือขยายพันธุ์ แบ่งปันใหค้ รวั เรอื นในหมู่บา้ น และจาหนา่ ยเป็นรายไดเ้ สริมใหแ้ กค่ รัวเรอื น 2.มัลเบอรี่ (Mulberry) หรือลูกหม่อน เป็นผลไม้รสหวานลูกเล็ก ๆ ที่เป่ียมไปด้วยคุณค่า ทางสารอาหาร ทังยังเช่ือกันว่ามีคณุ ประโยชนต์ ่อสุขภาพสารพดั จึงเปน็ ทน่ี ิยมในการบริโภคมากขนึ เร่อื ย ๆ ครัวเรอื นจึงคดิ ขยายพันธ์เุ พื่อจาหน่าย เปน็ หนทางเพม่ิ รายได้ ครัวเรือนสมั มาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564

14 3. กะเพรำ กะเพรามีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิด คือ กะเพราแดงและกะเพราขาว โดยกะเพรา แดงจะมีฤทธท์ิ ี่แรงกว่ากะเพราขาว ในสรรพคุณทางยาจึงนิยมใชก้ ะเพราแดง โดยส่วนท่ีนามาใช้ทาเป็นยา สมุนไพรก็ได้แก่ ส่วนของใบ ยอดกะเพรา (ทังสดและแห้ง) และทังต้น แต่ถ้านามาใช้ประกอบอาหารจะ นยิ มใช้กะเพราขาวเป็นหลัก 4. ยำงพำรำ สวนยางของประเทศไทยที่ปลูกอยู่ในปัจจุบันนี ส่วนใหญ่เป็นสวนยางพันธุ์ เลว เพราะใช้เมล็ดท่ีเก็บจากโคนต้นทาพันธ์ุปลูกต่อๆ กันมาเป็นเวลาหลายสิบปี แม้จะกระท่ังปัจจุบันนี ก็ยังมีเจ้าของสวนยางอีกจานวนมากยังปลูกด้วยเมล็ด หรือต้นกล้าที่เก็บมาจากใต้ต้นยาง ต้นยางพันธ์ุเลว ให้ผลน้อยกว่าหลายเท่าถ้าเทียบกับต้นยางพันธ์ุดี ฉะนัน ในการปลูกสร้างสวนยางพารา จะต้องปลูกด้วย ยางพนั ธ์ทุ ่ีดี ครวั เรอื นสัมมาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564

15 5. กำแฟอรำบิก้ำ Arabica ลักษณะของเมล็ดจะเป็นเมล็ดที่ค่อนข้างเรียวและส่วนผ่าตรง กลางนันจะเป็นเหมือนรูปตัว S ในภาษาอังกฤษ พืนท่ีท่ีใช้ปลูกอราบิก้าให้ได้ผลผลิตท่ีดีมีคุณภาพควรจะ เป็นท่ีสูง อากาศเย็น เพราะสายพันธุ์นีเขาชอบและจะเจริญเติบโตได้ดี และด้วยเอกลกั ษณ์ของกล่นิ ท่ีหอม อย่างพอดี พร้อมกับรสชาติที่ออกไปทางกลมกล่อมนุ่มนวล อีกทังยังมีปริมาณของคาเฟอีนท่ีต่ามากไม่ถึง 2% นี่เอง ที่ส่งผลให้สายพันธ์ุกาแฟอราบิก้าเป็นที่นิยมและขายได้มากที่สุดในโลก เฉลี่ยถึง 80% กันเลย ทเี ดียว ตน้ กล้ากาแฟ กาแฟท่พี รอ้ มเกบ็ เกี่ยว 6. มะเขือเทศ ประโยชน์ของมะเขือเทศยังมีอยมู่ ากมาย อุดมไปด้วยวติ ามินและแร่ธาตุหลายชนิด ท่ีมีประโยชน์ต่อร่างกาย เช่น วิตามินซี วิตามิเอ วิตามินเค วิตามินพี วิตามินบี 1 วิตามินบี 2 ธาตุ แคลเซียม ธาตุฟอสฟอรัส และธาตุเหล็ก โดยมะเขือเทศขนาดปานกลางนันจะมีปริมาณของวิตามินซี ครึง่ หน่ึงของส้มโอทง้ั ลูก และมะเขือเทศหน่งึ ผลมีปริมาณวติ ามินเอที่ร่างกายต้องการจานวน 1 ใน 3 ของ วติ ามินเอทีร่ า่ งกายต้องการตอ่ วนั และมะเขอื เทศยงั จัดวา่ เป็นผลไมท้ ี่มีสรรพคณุ เป็นยารกั ษาโรคไดอ้ ีกด้วย เช่น ชว่ ยปอ้ งกันการแขง็ ตัวของหลอดเลอื ด ขบั ปัสสาวะ รักษาความดัน ครัวเรือนสมั มาชีพชมุ ชน ประจาปี 2564

16 7.ดำวเรือง ดอกไม้ที่มีกลีบดอกสีเหลืองทองอร่ามซ้อนตัวอัดแน่นอยู่ด้วยกันเป็นชันความ เหลืองทองอร่ามของดอกดาวเรืองทาให้เป็นที่นิยมกันในเทศกาล หรือพิธีมงคลทางศาสนาของไทย ไม่ว่า จะใช้ร้อยพวงมาลัยสาหรับถวายพระ หรือส่ิงศักด์ิสิทธ์ิตามความเช่ือของตน บ้างก็ปลูกไว้เป็นดอกไม้ ประดับสวนในบ้าน 8.มะนำว (Lime) หนึ่งในผลไม้ตระกูลส้ม นามาปรุงอาหารเพิ่มรสเปรียวแล้ว ยังมีการใช้ ผล เปลือก นา และนามันจากมะนาวเพื่อประโยชน์ในการรกั ษาโรคนานาชนิด เช่น บรรเทาอาการคลื่นไส้ รกั ษาสิว ป้องกนั นวิ่ ในไต โรคหวัด ครวั เรอื นสมั มาชีพชุมชน ประจาปี 2564

17 9. ตะไคร้ Lemon Grass ประโยชน์ของตะไคร้ ใช้เป็นวัตถุดิบประกอบอาหาร เพราะมี เกลือแร่จาเป็นหลายชนิด ได้แก่ แคลเซียม ฟอสฟอรัส เหล็ก และวิตามิน นาตะไคร้มาสกัดกลั่นกล่ินใช้ เป็นนามันหอมระเหย รวมถึงตะไคร้หอมมีคุณสมบัติกันยุงได้ด้วย สรรพคุณทางยาของตะไคร้ ช่วยแก้ อาการตา่ งๆมากมาย ทังใบ และลาตน้ 10.พรกิ ขี้หนู ถอื เปน็ อกี หนึง่ พชื ผกั สวนครับทท่ี กุ ครอบครัวต้องมีไวใ้ ชใ้ นครัวเรือน พรกิ ขหี นสู ามารถปลูกได้ดีในดนิ แทบทกุ ชนดิ แต่ดนิ ทีเ่ หมาะสมทีส่ ดุ คือ ดนิ รว่ นปนทราย ทม่ี กี ารระบายนาได้ ดี ปลูกได้ตลอดปี แตห่ ากบริเวณบ้านไม่มพี ืนที่ สามารถปลูกในกระถางหรอื ภาชนะอนื่ ไดเ้ ช่นกัน ครัวเรอื นสมั มาชพี ชุมชน ประจาปี 2564

18 1.3 มีกำรแปรรูปอำหำร ท่ามกลางวิกฤตโรคระบาดโควิด-19 ประเทศไทยเองก็ได้รับผลกระทบไปไม่น้อย เพราะจานวน ผู้ป่วยเพ่ิมขึนเร่ือย ๆ โรคระบาดครังนีทาให้ประชาชนตื่นตัวและอยู่ในบ้านเพิ่มมากขึน เพ่ือลดความเส่ียง ของการติดเชือโควิด-19 บางองค์กรก็ให้พนักงานทางานท่ีบ้าน และบางท่านกลับจากต่างประเทศกลุ่ม เส่ียง หรือ อยู่ในกลุ่มเสี่ยงท่ีใกล้ชิดกับผู้ป่วยโรคโควิด-19 จะต้องทาการกักตัวอยู่บ้าน 14 วัน ดังนัน ทา ให้ประชาชนตา่ งพากันซือของและตนุ อาหารในช่วง 14 วันนี การเก็บตุนอาหาร ไม่ว่าจะเป็นอาหารสด หรือ อาหารแห้ง เรำควรจะรู้วิธีเก็บและควรจะรู้ว่ำ อำหำรแต่ละชนิดมีระยะเวลำในกำรเก็บเท่ำไหร่? ทังนีอาหารแห้ง ควรเก็บให้มิดชิด ระวังมด หนู แมลงสาบ ส่วนพวกเคร่ืองปรุงรสต่าง ๆ ควรซือแต่พอดี หากใช้ไม่ทันเก็บไว้นานสีและรสชาติก็จะเปลี่ยน อาหารสด หากเก็บในอุณหภูมิและระยะเวลาที่ไม่ถูกต้อง อาหารก็จะเสียและเป็นอันตรายต่อสุขภาพ อาหารสดท่ีแช่แข็งนัน เม่ือนาออกมาใช้ ควรใช้ทีเดียวให้หมด ไม่ควรนาส่วนที่เหลือกลับเข้าช่องแข็งซา ส่วนผักบางชนิดลวกแล้วเก็บเข้าช่องแข็งไว้ได้ ผักเนือบางให้ห่อกระดาษโดยไม่ต้องล้าง แล้วห่อด้วย พลาสติกอีกชนั แลว้ นาเข้าต้เู ยน็ การถนอมหรือการแปรรูป จึงเป็นส่ิงท่ีสามารถยืดระยะเวลาของอาหารได้นานยิ่งขึน การถนอม อาหารหรอื การแปรรูปอาหารเองก็มหี ลากหลายวิธี ดังนี กำรเกบ็ ในสภำพสด ประเภทผกั ถา้ รู้วิธีเกบ็ จะสามารถเก็บไว้ไดน้ าน เช่น หอม กระเทยี ม ควรแขวนไว้ในทีท่ ่ีมีอากาศ ถ่ายเทสะดวก ฟักเขยี ว ฟักทอง เก็บในที่รม่ และอากาศถ่ายเท มะนาวสด ใชว้ ิธีฝงั ทรายที่พรมนาเลก็ นอ้ ย จะปอ้ งกนั ไมใ่ หผ้ ิวของเปลือกมะนาวสมั ผัสอากาศ เป็นการปอ้ งกนั การเหย่ี ว ทาใหส้ ามารถเก็บมะนาวได้ เป็นเวลาหลายเดอื น กำรทำใหแ้ ห้ง การตากแดดและการผ่ึงลม สามารถนาผกั ผลไม้ และเนอื สัตว์ มาตากให้แห้ง เพื่อปอ้ งกันการเน่า เสียและสามารถยืดอายุอาหารได้ เชน่ ปลาตากแห้ง หมกึ ตากแหง้ กงุ้ แห้ง เนอื แดดเดยี ว หมูแดดเดียว ผลไม้ตากแห้งต่าง ๆ กำรรมควนั การรมควัน มกั จะนิยมทากับปลา ปลารมควันถา้ เก็บโดยแขวนผ่ึงลมและมีอากาศถา่ ยเท จะ สามารถเก็บไว้ได้ประมาณ 2-3 เดอื น ปลาท่นี ิยมนามาทาปลารมควัน ได้แก่ ปลาเนืออ่อน ปลาช่อน ปลากดทะเล ฯลฯ ครวั เรือนสัมมาชพี ชุมชน ประจาปี 2564

19 กำรแชอ่ มิ่ การแชอ่ ิม่ สามารถใชผ้ ักและผลไม้บางชนิด โดยแช่ในเชื่อม นาตาลจะชว่ ยดึงนาออกจากผักและ ผลไม้ ทาให้ผักหรอื ผลไม้นัน มีรสหวานขึน ผลไมแ้ ละผกั ทนี่ าไปแช่อิม่ เช่น มะมว่ งแชอ่ ่ิม มะละกอแช่อิม่ ฟักแชอ่ ่มิ เปลือกส้มแช่อ่มิ ฯลฯ กำรทอดหรอื กำรคัว่ การทอด ก็เป็นอกี วิธีทสี่ ามารถยดื อายขุ องอาหารไดเ้ ช่นกัน ไม่ว่าจะเป็นเนือสัตว์หรอื ผลไม้ เชน่ แคปหมู หนงั หมูทอด กลว้ ยฉาบ เผือกฉาบ ถั่วทอด พริกทอด เป็นต้น การคัว่ กถ็ ือเปน็ วธิ ีท่ที าให้ผลการเกษตรสกุ ไดโ้ ดยการตังกระทะไฟใหร้ อ้ นแลว้ กลับไปกลับมาใน กระทะ มกั จะคว่ั เปน็ ถ่ัวลิสง เกาลดั เป็นตน้ กำรหมักเกลือ การหมักเกลือ มักจะใช้กบั จาพวกเนือสตั ว์ เพอื่ ไมใ่ ห้เกดิ การเน่าเสียและยืดอายุของอาหารไดน้ าน ขึน โดยการคลกุ เนือสตั วก์ ับเกลอื แลว้ นาไปตากแดด 1-2 วัน สามารถนาไปทอดหรือป้ิงกอ่ นรบั ประทาน ได้ สว่ นใหญจ่ ะเป็น เนอื หมักเกลอื หมูหมักเกลอื เป็นตน้ กำรหมักดอง การหมัก เป็นการอาศัยจุลินทรีย์ ที่มีประโยชนบ์ างชนดิ นามาหมกั และหมักทงิ ไว้ ประมาณ 2-3 วัน หรอื หลายเดือน แลว้ ชนิดของอาหาร เชน่ นาปลา ปลาร้า ไส้กรอกเปรยี ว ขา้ วหมาก ฯลฯ การดอง เป็นการถนอมอาหารในนาเกลอื และเติมเครอ่ื งเทศอ่ืน ๆ เข้าไป สว่ นใหญ่จะดองเป็นพวก ผักและผลไม้ ไมว่ ่าจะเปน็ ผักกาดดอง หนอ่ ไมด้ อง แตงกวาดอง กระเทยี มดอง ขงิ ดอง มะมว่ งดอง เปน็ ตน้ ควำมสำคญั อกี อย่ำง คือ การปรงุ อาหารให้สกุ ล้างมือทกุ ครงั ท่ีทาอาหารและล้างมือทุกครังกอ่ น และหลงั ประทานอาหาร ถงึ แม้จะอยใู่ นบา้ นเรากค็ วรรกั ษาความสะอาด เพ่ือหลีกเลีย่ งเชือโรคและดแู ล รกั ษาสขุ ภาพใหร้ ่างกายแขง็ แรงอยเู่ สมอ ครวั เรอื นนางจฑุ ามาศ คงขวญั เปน็ ครัวเรือนประกอบอาชพี ทาสวนกาแฟ จาหน่ายทังชาดอก กาแฟ เมลด็ กาแฟสด และผงกาแฟสดแบบสาเร็จรูป การแปรรปู ส่วนใหญค่ รัวเรือนจะเลอื กใช้วิธกี าร อบแห้งและการค่วั เพอ่ื เก็บรักษากาแฟโดยยืดระยะเวลาใหอ้ ยู่ได้นาน ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน ประจาปี 2564

20 ดอกกำแฟสด กำรตำกดอกกำแฟ เพ่ือทำเป็นชำ ชำดอกกำแฟ พร้อมชงด่ืม ดอกกาแฟ อาจจะเคยเปน็ ดอกไม้เล็กๆ ทส่ี ง่ กลิน่ หอมฟ้งุ ไปทั่วบริเวณสวนกาแฟ และถกู มองผา่ น ไปอย่างไมม่ ีคา่ อะไร ครวั เรือนได้นาไปส่กู ารแปรรูปเพมิ่ มลู ค่าให้กับกลมุ่ กาแฟ จงึ ไดผ้ ลติ ภัณฑ์ใหมท่ ่เี รียก กนั วา่ “ชำดอกกำแฟ”ซึง่ สรา้ งรายไดใ้ หก้ ับครัวเรอื น โดยขายในกิโลกรัมละ 2,000 บาท รวมรายไดป้ ีละ 10,000 บาท ครวั เรือนสัมมาชีพชมุ ชน ประจาปี 2564

21 พฒั นาการอาเภอศรสี าคร หน่วยเฉพาะกจิ กรมทหารพรานท่ี 4912 ผอ.กศน.อาเภอศรีสาคร เกษตรอาเภอศรสี าคร ผแู้ ทนวทิ ยาลยั การอาชพี ตัวแทนผปู้ กครองนิคมสรา้ งตนเองกาหลง หวั หน้าสว่ นราชการตรวจเยย่ี มติดตามผลผลิต ของครวั เรือนสัมมาชีพต้นแบบ (นางจุฑามาศ คงขวัญ) ครัวเรอื นสมั มาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564

22 เมล็ดกาแฟสด เกบ็ เกี่ยวจากต้นกาแฟ กะเทาะเปลือกเมลด็ กาแฟโดยการตา แลว้ นาไปตากแดด จนเมล็ดกาแฟแห้ง ครัวเรือนสัมมาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564

23 นาเมลด็ กาแฟท่ผี ่านการตากแหง้ มาคั่วให้เกดิ กลิ่นหอม ก่อนนาไปบดเพื่อทาผงกาแฟ ครัวเรือนสมั มาชีพ เก็บเมลด็ กาแฟทีถ่ ึงกาหนดระยะเวลาสกุ นามาตากแห้ง คั่ว พร้อมบดจาหน่ายเป็นกาแฟสด เพอื่ สร้างรายไดใ้ ห้แกค่ รวั เรือน ปีละ 40,000 – 80,000 บาท ครัวเรือนสมั มาชพี ชุมชน ประจาปี 2564

24 ครวั เรอื นสมั มาชพี ซง่ึ เปน็ สมาชกิ ของกลมุ่ เครือ่ งแกงในหมูบ่ ้าน มกี ารปลูกตะไคร้แซมระหวา่ งต้นยางพารา เพื่อสง่ เปน็ วตั ถดุ บิ ให้แกก่ ล่มุ เคร่ืองแกงในหมบู่ ้านประชานมิ ติ ร ไดน้ ามาแปรรูปเปน็ ผลิตภณั ฑช์ มุ ชน มีรายไดจ้ ากการส่งวัตถุดิบใหก้ บั กลุ่มเครอ่ื งแกง ปลี ะ 20,000 บาท ครัวเรอื นมีการแปรรูปไขเ่ คม็ เอง เน่ืองจากในชมุ ชนมกี ารเลียงเป็ด เลยี งไก่ จึงมีปรมิ าณไขเ่ ป็ด ครัวเรอื นสมั มาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564

25 และไขไ่ ก่จานวนมาก จงึ คิดทจ่ี ะแปรรปู เพอ่ื ถนอมไขใ่ หส้ ามารถเก็บไวน้ านๆได้ โดยเรม่ิ ทาจากครวั เรือน ตนเองกอ่ น แลว้ จงึ ขยายผลไปยังครัวเรอื นอืน่ ๆในชุมชนเดยี วกนั หากมจี านวนมากกจ็ ะเกบ็ ไปขายในตลาด นัดชมุ ชน ทกุ วนั จันทร์ จาหนา่ ยฟองละ 5 บาท สามารถสรา้ งรายได้ ปลี ะ 4,000 – 5,000 บาท สมาชิกในครวั เรอื น ช่วยกันทาสะตอดองไว้รับประทาน เมือ่ ถงึ ฤดกู าลของสะตอ ทาใหผ้ ลผลติ มีจานวน มาก ราคาจึงตกต่า ครัวเรือนคดิ หาวิธีแปรรปู เพ่อื เพิ่มมูลคา่ เพมิ่ รายได้ใหค้ รัวเรือน และไวร้ ับประทานในครวั เรอื นเอง ครวั เรือนสัมมาชีพชมุ ชน ประจาปี 2564

26 2. สรำ้ งสิง่ แวดลอ้ มให้ยัง่ ยนื 2.1 มีกำรคัดแยกขยะ กำรคัดแยกขยะ เป็นวิธีการหน่ึงในกระบวนการลดปริมาณขยะมูลฝอย ซ่ึงเป็นตัวการของปัญหามลพิษของ สิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน ขยะมูลฝอยท่ีเกิดจากการละเลยการคัดแยกขยะในชีวิตประจาวันของเรา เป็นห่วง โซ่หนง่ึ ทีน่ าพาใหค้ ุณภาพของสิง่ แวดล้อม สุขภาพรา่ งกายและชวี ิตโดยรวมแยล่ ง ส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยอย่างจริงจังด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น ให้ประชาชนเข้ามาส่วนร่วมในการคัดแยกขยะก่อนทิง เช่น ขยะเปียกนาไปให้เป็นอาหารสัตว์ หรือการ ทาปุ๋ยหมัก ขวดพลาสติกเก็บไว้รีไซต์เคิล ขวดแก้วก็แยกถุงไว้ต่างหาก ประชาชนยอมรับวิธีการคัดแยก และยอมปฏิบัติตามด้วยความรสู้ ึกดีใจและภาคภูมิใจที่ได้ทาหน้าที่เป็นพลเมืองดีมีความรับผิดชอบต่อการ รักษาความสะอาดของบ้านเรือนและชุมชนของตนเอง ตลอดจน จะต้องทาให้ประชาชนเข้าใจว่าการ จัดการขยะมูลฝอยไม่ใช่หน้าที่ของหน่วยงานภาครัฐเพียงฝ่ายเดียว แต่เป็นหน้าที่ของทุกคนในสังคมท่ีจะต้อง รว่ มกันรับผิดชอบกับปัญหา ผลกระทบจำกขยะมลู ฝอยทไ่ี ม่ถกู คัดแยกขยะ ผลกระทบจากขยะมูลฝอยที่ไม่ถูกคัดแยกขยะ ส่งผลเป็นวงกว้าง ทังผลกระทบต่อดิน นา อากาศ สุขภาพของคนในพืนที่นัน และส่งผลต่อสิ่งแวดล้อมระดับโลก ทังภาวะโลกร้อน สัตว์ และพืชทยอยสูญ พนั ธ์ุ ประโยชนข์ องกำรคดั แยกขยะ การคัดแยกขยะ เป็นประโยชน์และถือเป็นหัวใจหลกั ในการลดปรมิ าณขยะ เพราะการคัดแยกขยะ ทาใหข้ ยะถูกส่งต่อไปในกระบวนการท่ีถกู ตอ้ งได้งา่ ยขนึ เช่น นาไปเผา นาไปรีไซเคิล นาไปย่อยสลาย ฯลฯ แต่ถ้าหากเราไม่คัดแยกขยะ จะทาให้ขยะแยกออกจากกันยาก กลายเป็นกองขยะขนาดใหญ่ท่ีเป็นมลพิษ ต่อส่ิงแวดล้อม การคัดแยกขยะทาได้ง่าย ๆ โดยเริ่มต้นที่การรู้จักประเภทของขยะกันก่อน ครวั เรอื นสมั มาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564

27 ปัญหาเรื่องการจัดการขยะและเศรษฐกิจมาอย่างต่อเนื่องยาวนาน แถมยังมีแนวโน้มของปัญหา เพิ่มสูงขึนเร่ือย ๆ ในทุก ๆ วัน ทาให้หน่วยงานต่าง ๆ ต้องเร่งหาทางแก้ไข ซึ่ง “ธนำคำรขยะ” ก็ถือเป็น อีกหน่ึงทางออกท่ีมีการส่งเสริมให้นามาปรับใช้ เพื่อทาให้ประชาชนคัดแยกขยะกันมากขึ น ใน ขณะเดียวกนั ก็ช่วยหารายได้เสรมิ และฝึกนสิ ัยการออมไปในตวั จากการสารวจข้อมูลของกรมควบคุมมลพิษ พบว่าได้รับการกาจัดอย่างไม่ถูกต้อง ซ่ึงกลายเป็น ต้นเหตุท่ีสร้างปัญหาให้กับชุมชนและส่ิงแวดล้อมอย่างมาก ไม่ว่าจะทาให้เกิดควันหรือมลพิษทางอากาศ จากการเผาขยะกลางแจ้ง มนี าเสียหรือมลพิษทางนาจากการที่ขยะตกค้างไหลลงสู่แม่นา ทาใหบ้ รรยากาศ ไม่น่าอยู่เน่ืองจากมีขยะเกล่ือนพืนและส่งกล่ินเหม็น หรือแม้กระท่ังเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์พาหะนาโรค เชน่ หนู แมลงวนั และแมลงสาบ ฉะนันหน่วยงานต่าง ๆ จึงได้จัดตังกิจกรรมหรือโครงการที่ช่วยรณรงค์ให้ผู้คนรู้จักคัดแยกขยะ และนาขยะมาใช้ประโยชน์ให้มากท่ีสุดขึน เช่น การจัดหาสถานที่ทิงขยะแบบแยกประเภท การรณรงค์ลด ใช้โฟมและพลาสติก ศูนย์วัสดุรีไซเคิลของชุมชน ธนาคารขยะรีไซเคิล ผ้าป่ารีไซเคิล ขยะแลกไข่ และการ ผลิตเชอื เพลงิ เขียว แนวคดิ หลกั ของการทาธนาคารขยะ ไดแ้ ก่ การกระตุ้นใหค้ นในชุมชนมีส่วนรว่ มในการแก้ไขปัญหา ขยะกันมากขึน ทังยังเป็นการส่งเสริมให้เยาวชนและคนในชุมชนรู้จักคัดแยกขยะ หารายได้เสริม และฝึก นิสัยการออมไปในตัว ท่ีสาคัญคือเป็นการลดปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนลงอย่างถูกต้องและเหมาะ สม นนั่ เอง ประโยชนข์ องธนำคำรขยะ 1. ชว่ ยกระตุ้นใหค้ นในชมุ ชนมีส่วนรว่ มในการจดั การขยะอย่างถูกตอ้ ง 2. ช่วยลดปริมาณขยะมูลฝอยในชุมชน สง่ ผลใหส้ ภาพแวดล้อมนา่ อยขู่ ึน และบรรเทาภาระการ จดั การ ขยะลง 3. ชว่ ยสรา้ งรายไดเ้ สริมพร้อมทังฝึกนิสัยการออมให้กบั คนในชมุ ชน ทาให้ผูค้ นมีเงินเกบ็ เยาวชนมี เงนิ ใช้ และสามารถแบ่งเบาภาระของพ่อแมไ่ ด้ 4. ชว่ ยให้คนในชุมชนเห็นคณุ คา่ ของการคัดแยกและการรีไซเคิลขยะ พรอ้ มทังปลูกจิตสานกึ เรอื่ ง การลดปรมิ าณขยะและรักษาสิง่ แวดล้อมไปในตัว 5. การสง่ เสริมโครงการธนาคารขยะในโรงเรยี น ยงั ช่วยให้เยาวชนมีการเรยี นรู้การทางานเปน็ กล่มุ เขา้ ใจระบบการทางานของธนาคารหรือการทาธุรกิจขนาดเลก็ อกี ทงั ยังฝึกให้คิด วิเคราะห์ และแก้ไข ปญั หาไปพร้อม ๆ กัน 6. เปน็ แหลง่ การเรียนรู้ที่ดใี หก้ ับคนในชุมชน รวมถึงเป็นตวั อย่างทีด่ ใี หก้ บั ชุมชนอ่ืนด้วย ครวั เรอื นสมั มาชีพชุมชน ประจาปี 2564

28 เมือ่ ทาการแยกขยะแล้ว นาไปขายใหก้ บั กลุ่มเยาวชนรบั ซอื ขยะในหมบู่ า้ น ครัวเรือนสัมมาชีพจึงตระหนักและเห็นความสาคัญของการักษาสิ่งแวดล้อมทาให้ สมาชิกใน ครัวเรือน แห่งบ้านประชานิมิตร ท่ีบ้านมีถังขยะอยู่ 4 ถัง แบ่งตามประเภทชนิดของขยะ เหตุนีทุกคนจึง ยึดมั่นต่อหน้าท่ีในการจัดการขยะ ชว่ ยกันรบั ผิดชอบ เพ่ือรกั ษาส่ิงแวดล้อมท่ีน่าอยู่ เร่ิมจากการคัดแยกใน ครัวเรือน เพื่อให้เหลือขยะทิงน้อยท่ีสุด ก่อนที่ขยะแต่ละประเภทจะถูกส่งต่อไปตามเส้นทางสายใหม่ท่ีไม่ กอ่ ใหเ้ กดิ มลภาวะเหมอื นเช่นในอดีต ครัวเรอื นสัมมาชีพมกี ารคัดแยกขยะอยา่ งเป็นระบบ เช่น การแยกขยะพลาสตกิ ขยะรีไซเคลิ และ ขยะท่ัวไป สาหรับขยะทเ่ี ป็นพลาสตกิ ทางครัวเรือนสัมมาชีพจะนาไปขายรา้ นรับซือของเกา่ ทาให้มีรายได้ เสรมิ เพ่ิมขนึ และสาหรบั ขยะทัว่ ไป หรือขยะเปียกทางครัวเรือนจะนามาทาเปน็ ปยุ๋ อนิ ทรีย์ ครวั เรอื นสัมมาชีพชมุ ชน ประจาปี 2564

29 ครัวเรือนมีการนาเศษอาหารไปหมกั ไว้ในถงั ปุ๋ยก่อน แล้วฝังไว้ในดิน และจัดการขยะประเภทใบไม้ ใบหญ้า โดยหากเป็น ขยะประเภทเศษอำหำร ใบไม้ ใบหญำ้ จะถูกนามาทิงไว้ในหลุมทาเป็นปุ๋ยหมักตาม ธรรมชาติ สามารถสรา้ งความชุ่มชืนใหก้ ับดิน จึงไมจ่ าเป็นต้องรดนาต้นไมบ้ อ่ ยๆ นาขยะพลาสติกกลับมาใช้ใหม่ได้อย่างคุ้มค่า ในส่วน ขยะประเภทรีไซเคิล อย่างขวดพลาสติก ประเภทต่างๆ นามาขายกับโครงการธนาคารขยะ และใช้ความคิดสร้างสรรค์เพ่ิมมลู ค่าแปรเป็นผลิตภัณฑ์ ได้แก่ ตะกร้า พัด หมวก หรือผ้ากันเปื้อน ท่ีนอกจากจะนามาใช้งานในชีวิตประจาวันได้แล้ว ยังสามารถ จาหน่ายและสรา้ งรายไดเ้ สริมให้กบั ชาวชมุ ชนอีกดว้ ย ขยะอันตราย สาหรับประเภท ขยะอันตรำย อย่าง ถ่านไฟฉาย หลอดไฟฟา้ และกระปอ๋ งสารเคมี ต่างๆ ชาวบ้านในชุมชนสามารถเก็บรวบรวมเพือ่ นามาแลกเปน็ ไขไ่ กก่ บั ทาง อบต. ทพ่ี ร้อมให้ความร่วมมอื เป็นอยา่ งดี นอกจากเรอ่ื งการแยกขยะทังหมดแลว้ อกี หนงึ่ สงิ่ สาคัญท่ีครัวเรือนและหมบู่ ้านได้ดาเนินการควบคู่ ไปดว้ ยน่นั คอื การปลูกฝังจติ สานกึ แนวคดิ เศรษฐกจิ หมนุ เวียนให้กับเยาวชน และคนในพนื ที่อยา่ งเตม็ กาลัง ความสามารถ ไมว่ ่าจะเป็น การสอนให้เดก็ นักเรียนคัดแยกกล่องนม หลงั จากดมื่ เสร็จแลว้ นามาล้างทา ความสะอาดให้เรยี บร้อยก่อนทิง หรอื การทชี่ าวบ้านนาขยะทคี่ ดั แยกและล้างจนสะอาดมาทาเป็นผา้ ปา่ รี ไซเคลิ ใหก้ ับวดั ในแตล่ ะปี จะเห็นไดว้ า่ วิธกี ารคดั แยกขยะในครัวเรอื นเปน็ เรื่องง่ายๆ ท่ีใครๆ ก็ทาได้ เพยี งแค่มีความตงั ใจ มองเห็นมลู คา่ จากสิง่ ของรอบตัว พรอ้ มกับความมุ่งมั่น ได้รบั ความรว่ มมอื จากทุกคนในชมุ ชนและทกุ ฝา่ ย ทเี่ ก่ยี วขอ้ งเพียงเท่านัน นอกจากจะชว่ ยลดปรมิ าณขยะและชว่ ยจดั การขยะอย่างถูกตอ้ งแลว้ ธนาคารขยะยงั เปน็ โครงการทีช่ ว่ ยปลกู ฝังนิสัยการออม ปลูกจติ สานึกรักษโ์ ลก ช่วยสร้างรายไดเ้ สรมิ ใหก้ ับครอบครัว และ ชว่ ยเพิม่ มลู ค่าใหก้ บั ของเหลือใช้ได้ดว้ ย ฉะนนั้ ต่อไปนีแ้ ทนทีจ่ ะท้งิ ขยะรวมกนั จนทาใหเ้ กดิ ปญั หา ตามมา มาคัดแยกขยะและนาไปขายให้เกิดประโยชน์สงู สุดกัน ขยะเปียกมาทาปยุ๋ นาหมักชวี ภาพ ครัวเรอื นสัมมาชพี ชุมชน ประจาปี 2564

30 2.2 ทำปยุ๋ ชวี ภำพ ปยุ๋ หมกั ป๋ยุ นำ้ ฯลฯ สมาชิกในครัวเรือนช่วยกันทาปุ๋ย เพื่อแบ่งปันให้กับชาวบ้านและเกษตรกรของหมู่บ้าน ประชานิมิตร หลังจากที่ได้ร่วมทากิจกรรมศูนย์เรียนรู้การทาปุ๋ยชีวิตภาพจากการไปฝึกอบรม ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยนา ปุ๋ยแห้ง โดยมีหน่วยงานภาครัฐ ได้แก่ สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอศรีสาคร สานักงานเกษตร อาเภอศรีสาคร ตลอดจนปราชญ์สัมมาชีพชุมชน มาให้ความรู้ในการทาปุ๋ยหมักแบบแห้งชาม-นาชาม อยา่ งถกู ต้อง เพ่อื เอาไว้ใช้เองและสามารถแบ่งปนั ครวั เรอื นอ่ืนในหมู่บา้ นได้ ปุ๋ยมลู ไสเ้ ดอื น ป๋ยุ มลู สัตว์ ปุ๋ยฮอร์โมนไข่ ครวั เรอื นสมั มาชพี ชุมชน ประจาปี 2564

31 ปุย๋ นำ้ หมกั ชีวภำพ เพอ่ื แบง่ ปันครัวเรือนใกล้เคยี ง ครวั เรือนสมั มาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564

32 ประโยชนจ์ ำกกำรใช้ปยุ๋ หมกั ปุ๋ยหมักนอกจากจะช่วยลดปรมิ าณขยะไดท้ างหนงึ่ ประโยชนข์ องปุ๋ยหมักไว้อกี มากมาย เชน่ 1. ปุ๋ยหมกั เปน็ การนาขยะอนิ ทรีย์มาใช้ประโยชน์ใหม่ จึงชว่ ยลดปรมิ าณขยะอินทรยี ์เข้าระบบการ จดั การขยะได้ 2. ปุ๋ยหมักบางชนดิ มจี ลุ ินทรีย์ทช่ี ่วยยับยังและป้องกนั จุลินทรยี ์ที่ทาให้พชื เป็นโรคได้ 3. ปุ๋ยหมกั มธี าตอุ าหารครบถ้วน ทังธาตอุ าหารหลกั ธาตอุ าหารรอง และธาตุอาหารเสริม 4. ปุ๋ยหมักเปน็ แหลง่ อาหารของส่ิงมชี วี ติ ในดนิ ทเ่ี ปน็ ประโยชน์ จึงชว่ ยใหต้ ้นไมเ้ จริญเติบโตไดด้ ี ขนึ 5. ปุ๋ยหมักมักจะปล่อยธาตุอาหารให้พืชอย่างช้า ๆ ทาให้อยูใ่ นดนิ ไดค้ ่อนขา้ งนาน จึงมโี อกาสเสีย น้อยกวา่ ปุ๋ยเคมี 6. ปุ๋ยหมักช่วยปรับคา่ ความเป็นกรด-ดา่ งของดนิ ให้เหมาะสมได้ ตา่ งจากปุ๋ยเคมีทม่ี แี อมโมเนีย เป็นสว่ นประกอบ จึงอาจจะทาให้ดินแปรสภาพเปน็ กรด 7. ปุ๋ยหมักชว่ ยเพิม่ จุลินทรยี แ์ ละอนิ ทรียวัตถุ ทาใหโ้ ครงสรา้ งของดินดขี ึน เชน่ ร่วนซุย ระบาย นาดี ถ่ายเทอากาศสะดวก และรากแผก่ ระจายหาอาหารงา่ ยขนึ ในขณะทปี่ ุ๋ยเคมีไมม่ ีคณุ สมบตั ใิ นการ ปรับปรุงดนิ ใด ๆ 8. ปุ๋ยหมักชว่ ยลดค่าใช้จ่ายและทาให้ประหยัดเงิน เพราะสามารถใชแ้ ทนปยุ๋ เคมีได้ สามารถลด ปรมิ าณการซอื ปุ๋ยเคมีลงได้ แถมยงั ไม่ตอ้ งเสยี เงินซอื สารเคมหี รือยาป้องกนั แมลงศัตรพู ืชดว้ ย จะเหน็ เลยว่ามีเศษขยะอินทรีย์หลายชนดิ ทส่ี ามารถนากลบั มาทาปุ๋ยหมักได้ แถมประโยชน์ยัง ดีงาม คุ้มคา่ มีประสิทธภิ าพไม่แพ้ปุ๋ยเคมีเลยด้วย เอาเป็นวา่ ตอ่ ไปนี้นอกจากจะคดั แยกขยะกอ่ นทิ้ง แลว้ อยา่ ลืมนาขยะอนิ ทรีย์ทคี่ ัดแยกไว้มาใช้ให้เกดิ ประโยชนก์ นั ดว้ ย การทาปุ๋ยไว้ใช้เองโดยที่ไม่พึ่งพาสารเคมีทาให้เรามั่นใจได้ว่าปุ๋ยที่เราใส่บารุงพืชผักที่เราปลูกจะ ปลอดภัยแน่นอน ซ่ึงการทาปุ๋ยนีนอกจากจะได้ปุ๋ยอินทรีย์ที่ปลอดภัยแล้วเรายังสามารถนามาใช้เป็น กิจกรรมยามว่างร่วมกันภายในครอบครัว หรือ ในชุมชนได้อีกด้วย การทาปุ๋ยโดยมีหลักการคือ เลียงดิน ให้ดินเลียงพืช และ ให้พชื เลียงเรา วธิ กี ำรทำป๋ยุ นำ้ สว่ นผสม 1. ผลไม้ หรือ ผกั 3 ส่วน 2. กากนาตาล หรอื นาตาลทรายแดง 1 ส่วน 3. หัวเชือจุลินทรยี ์ 1 ส่วน 4. นาสะอาด 10 ส่วน ครวั เรือนสัมมาชพี ชุมชน ประจาปี 2564

33 วิธที ำ 1. ใสผ่ ลไม้ลงในภาชนะทบึ แสงมีฝาปิด 2. ละลายนาและกากนาตาลหรอื นาตาลทรายแดง ให้เข้ากนั และเติมลงในภาชนะใสผ่ ลไมท้ ่เี ตรยี ม ไวค้ ลกุ เคลา้ ให้เขา้ กนั 3. เตมิ หัวเชอื จลุ นิ ทรีย์ คนให้ท่ัว 4. ปดิ ฝาใหส้ นิทเกบ็ ใหม้ ดิ ชดิ ในที่รม่ 5. ทงิ ไว้ 3 เดือน และเปดิ ใช้งาน สดั สว่ นกำรใช้ 1/500 : สาหรบั ไม้ทมี่ ีใบบาง 1/200 : สาหรับไมท้ ม่ี ีใบหนา หรือไมผ้ ล 1/200 : ปรับปรุงบารงุ ดิน 1/100 : ไล่แมลงวัน 1/10 + เกลอื : ฆ่าหญ้า แบบเข้มข้น : ราดชักโครงหรือพืนห้องนาเพ่ือดบั กล่ิน และยอ่ ยสลายสิ่งปฏกิ ลู วธิ ีกำรทำปยุ๋ แห้ง ส่วนผสม 1. อนิ ทรีย์วัตถุ เชน่ ใบไม้ หญ้า ฟาง 4 สว่ น 2. มลู สัตว์หรือปุ๋ยคอก 1 ส่วน 3. รา (ถา้ มี) 4. นาสะอาด + ปุ๋ยนา ครวั เรือนสมั มาชีพชมุ ชน ประจาปี 2564

34 วิธที ำ 1. คลกุ เคล้าอินทรยี ์วตั ถุกบั มูลสัตว์หรือปุ๋ยคอก 2. โรยรา (ถ้าม)ี และปยุ๋ นาผสมนา (1/200) คลกุ เคลา้ ให้เขา้ กัน แค่พอชนื ๆไมต่ ้องแฉะ 3. ปดิ คลมุ ทิงไว้ 3 สปั ดาห์ 4. กลับกองปยุ๋ ทา 3ครงั 5. เม่ือครังท่ี นาเขา้ พกั ไวใ้ นท่ีร่ม เพอื่ คลายความร้อน ๒.๓ มีกำรจดั บ้ำนเรอื นเปน็ ระเบียบ สะอำด ถกู สขุ ลกั ษณะ การจัดสิ่งแวดล้อมท่ีถูกสุขลักษณะและเอือต่อสุขภาพ สิ่งแวดล้อมมีความสาคัญต่อการ ดารงชีวิต ดงั นนั การดแู ลรกั ษาส่งิ แวดล้อม ให้สะอาดถูกสุขลักษณะ จะทาใหด้ ารงชีวิตอยู่อย่างปลอดภยั มี สขุ ภาพดีและไม่เกิดโรคภยั ตา่ งๆ การจัดสิ่งแวดล้อมท่ีบ้านให้ถกู สุขลักษณะ บา้ นเปน็ ที่อยู่อาศยั สาหรบั ทุก คน บ้านที่มีสภาพแวดล้อมท่ีดีจะทาให้สมาชิกในบ้านมีความสุข ดังนัน สมาชิกในบ้านจึงต้องช่วยกันดูแล รกั ษาสง่ิ แวดลอ้ มภายในบา้ นให้ถูกสุขลักษณะ ดงั นี จัดบำ้ นอยำ่ งไรให้ถูกสุขลกั ษณะ บา้ นเป็นที่อยู่อาศยั และพกั ผ่อน การจัดบา้ นใหถ้ กู สุขลกั ษณะจะทาให้ผ้อู ยู่อาศยั มีสุขภาพที่ดี ซ่ึง บ้านทถ่ี กู สุขลักษณะ ภายในบ้านสะอาด เปน็ ระเบยี บ มอี ากาศถา่ ยเทไดส้ ะดวกและไมอ่ บั ชนื ส่วนประกอบของบา้ นตงั อยู่ในที่ทเ่ี หมาะสม บริเวณบา้ นสะอาด ไมเ่ ฉอะแฉะ มแี สงแดดส่องถึง หอ้ งนา ห้องส้วมสะอาด ไมม่ ีกลน่ิ เหมน็ และไมอ่ บั ชืน ถา้ มใี ต้ถนุ บ้านต้องสะอาด ไม่มขี ยะ ถา้ มีสตั ว์เลียง ควรจดั สถานที่ที่เลยี งสัตว์ให้เปน็ สัดสว่ นเพ่อื ไม่ให้ส่งกลิ่นรบกวนคนในบา้ น วิธีจัดบา้ นเรือนให้ถูกสุขลักษณะ - หอ้ งนอน ตอ้ งมอี ากาศถ่ายเทไดส้ ะดวก ไมอ่ บั ชนื - ห้องครัว มีท่ีระบายอากาศและกล่ินไดด้ ี มีถงั ขยะท่มี ีฝาปิดมดิ ชิดเพอ่ื ปอ้ งกันการรบกวนจาก สัตว์ต่าง ๆ - ห้องอาหาร ไมค่ วรอยู่ห่างไกลจาก ห้องครวั และตอ้ งสะอาด - ห้องรับแขก ควรอยดู่ า้ นหน้าของตวั บ้าน ต้องสะอาด และมอี ากาศถา่ ยเทได้สะดวก - บริเวณบา้ น ต้องสะอาดเรียบรอ้ ย ถ้าเป็นสนามหญ้าควรตดั หญ้าให้สันอยู่เสมอ และต้องไม่มีนา ท่วมขัง มถี งั ขยะท่ีมฝี าปดิ มิดชดิ ตังอยูห่ ่างจากตัวบ้านพอสมควร เพื่อใหค้ นเกบ็ ขยะมาเก็บได้ ครัวเรอื นสัมมาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564

35 - หอ้ งนาและหอ้ งสว้ ม ตอ้ งดูแลใหถ้ กู สขุ ลกั ษณะ มอี ากาศถา่ ยเทไดส้ ะดวก ไมส่ ง่ กลน่ิ รบกวน และควรดแู ลรกั ษาความสะอาดของหอ้ งส้วมดว้ ย การจดั และดแู ลรักษาส่ิงแวดลอ้ มภายในบ้าน - การจัดวางสง่ิ ของเคร่ืองใชใ้ ห้เป็นเป็นหมวดหมู่เพือ่ สะดวกต่อการหยบิ ใช้ - เมื่อนาส่ิงของไปใช้แล้วใหท้ าความสะอาดและเก็บเข้าทใ่ี หเ้ รยี บร้อย - เปิดประตู หน้าต่างให้แสงสอ่ งเข้าถึง - ควรซัก เครอ่ื งนอน ใหส้ ะอาดและนาผ่ึงแดดอยเู่ สมอ - พนื ทกุ ห้อง ควรกวาดและถอู ยเู่ สมอ - ดแู ลทาความสะอาดหอ้ งงนา อยู่เสมอ - ฝาหนังบา้ นต้องเชด็ ให้สะอาด ไมม่ หี ยากไย่รกรุงรงั - ลา้ งจานชาม และเครื่องครวั ใหส้ ะอาดคว่าใหแ้ ห้งแล้วเก็บให้เรยี บรอ้ ย - นาขยะไปทงิ ในทร่ี องรบั ขยะทุกวัน ครัวเรือนสมั มาชพี ชุมชน ประจาปี 2564

36 ครัวเรอื นสมั มาชีพ มีการจดั ทาป้ายครัวเรอื น แสดงชือ่ ที่อยู่ อย่างชัดเจน ยังมีการนากจิ กรรม 5 ส มาปรับใช้ในครัวเรือน เช่น การคัดแยกขยะ การจัดเก็บเอกสาร การจัดพืนท่ีใช้สอยให้เป็นระเบียบ เรียบร้อย เพ่ือใหง้ ่ายในการค้นหา เพ่ือให้ครัวเรอื นตระหนักความสาคัญของส่ิงท่ีอยู่ใกล้ตัวเรามากที่สุดก็คอื “บ้าน” ช่วยกนั ปรบั ปรุง สภาพแวดล้อมภายในบ้าน และบริเวณบ้านให้ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล ปรับปรุงพฤติกรรมอนามัย สิ่งแวดล้อมของสมาชิกทุกคนในบ้านรวมทังมีส่วนร่วมพัฒนาชุมชน ซ่ึงเป็นจุดเร่ิมต้นที่ดีของการพัฒนา ด้านอ่นื ๆ ในสังคมอย่างตอ่ เนอื่ งการทาบ้านให้นา่ อยสู่ ่งผลดีหลายประการ ไดแ้ ก่ 1. สภาพแวดล้อมท่เี ออื ต่อการมสี ขุ ภาพทีด่ ี ทงั ร่างกายและจติ ใจ 2. สุขนิสยั ทีด่ ใี นเรอ่ื งสขุ าภิบาลส่งิ แวดลอ้ มและพฤตกิ รรมอนามัยสง่ิ แวดล้อม 3. ป้องกันและลดอัตราการเกิดโรค อุบัติเหตุ ปัญหาสุขภาพจิต รวมทังอาชญากรรมใน สังคม 4.. ครอบครวั อบอ่นุ มีความรกั เอืออาทรตอ่ กนั ซง่ึ เป็นหัวใจสาคญั ของการพัฒนาชมุ ชน 5. ชุมชนเข้มแข็ง มีความรัก / สามัคคี ร่วมแรงร่วมใจพัฒนาสังคมให้ดีย่ิงขึน นาไปสู่การ เป็นบ้านเมืองน่าอยู่และเมืองไทยแข็งแรง (Healthy Thailand) จะทาบ้านให้น่าอยู่ได้อย่างไร การจัด สภาพบ้านเรือนให้น่าอยู่ น่าอาศัย ให้ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล พึงควรคานึงถึง ตัวบ้าน บริเวณบ้าน ภายในบ้าน สุขภาวะในครอบครัว ตัวบา้ นมัน่ คงแข็งแรง 6. สะอาด รม่ รน่ื เป็นระเบยี บ จัดเก็บสิ่งของเป็นสดั สว่ น 7. ในกรณีที่มีการเลียงสัตว์ เช่น วัว ควาย ไก่ เป็นต้น ต้องจัดคอกสัตว์ให้ไกล อยู่นอก ตวั บา้ น ล้างทาความสะอาดสมา่ เสมอ (ไมค่ วรมีคอกสัตวใ์ ต้ถุนบา้ น) 8. ไม่มีขยะทุกชนิด ป้องกันไม่ให้เกิดแหล่งเพาะพันธ์ุแมลงวัน แมลงสาบ และแหล่ง อาหารหนู แยกขยะก่อนทิง มีท่ีรองรับขยะ ทิง / กาจัดขยะสม่าเสมอ (ไม่ควรมีขยะตกค้างในบ้านและ บรเิ วณบ้าน) 9. ไมม่ ีนาขังในหลุมบ่อ หรือภาชนะตา่ งๆ เพ่ือป้องกันไม่ให้เกดิ แหล่งเพาะพันธุ์ยุง 10. ปลูกต้นไมใ้ ห้ร่มรนื่ ภายในบ้าน มแี สงสวา่ งเพยี งพอ 11. อากาศถ่ายเทสะดวก กาจัดแหล่งยงุ ในบา้ น 12. จดั หอ้ ง / พนื ที่ใช้สอยเป็นสัดส่วน จดั เก็บข้าวของเครอ่ื งใช้เปน็ ระเบียบ ทาความ สะอาดประจาสมา่ เสมออย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครงั 13. มนี าดม่ื นาใชส้ ะอาด (นาประปา นากรอง นาต้ม เป็นตน้ ) เพยี งพอ ครัวเรอื นสมั มาชพี ชุมชน ประจาปี 2564

37 14. อาหารปรุงสุก มภี าชนะปกปดิ (เช่นฝาชีครอบหรือใสต่ ู้กับข้าว หรอื ตู้เย็น) 15. ออกกาลังกายอยา่ งสม่าเสมอ อย่างน้อยสปั ดาห์ละ 3 วนั ๆละ 30 นาที 2.4 มสี ว่ นร่วมในกจิ กรรมอนุรกั ษ์ทรพั ยำกรธรรมชำติและส่ิงแวดล้อมหรือสำธำรณะประโยชน์ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เป็นการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อย่างฉลาด โดยใช้ให้น้อย เพ่ือให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยคานึงถึงระยะเวลาในการใช้ให้ยาวนาน และ ก่อให้เกิดผลเสียหายต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด รวมทังต้องมีการกระจายการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่าง ทั่วถึง ในสภาพปัจจุบันทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีความเสื่อมโทรมมากขึน ดังนันการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มจึงมีความหมายรวมไปถงึ การพฒั นาคณุ ภาพส่ิงแวดลอ้ มด้วย ไดแ้ ก่ 1. รักษารถยนต์ ดว้ ยการเปลี่ยนไส้กรอง ไส้กรองอากาศทส่ี กปรกจะทาให้การไหลของ อากาศทสี่ ะอาดทาไดน้ อ้ ยลง มีผลต่อการเผาไหม้ของเครอื่ งยนต์ด้วย 2. ควรใช้ผา้ แทนการใช้กระดาษทิชชู่ 3. ใช้ถงุ ผ้าแทนการใชถ้ งุ พลาสติก 4. ทิงขยะเปน็ ที่เป็นทาง ควรทงิ ขยะใหล้ งถงั ขยะ 5. ชว่ ยกนั ปลูกต้นไม้ เพอ่ื เพิม่ พืนทสี่ ีเขียวใหม้ ากขนึ 6. ไมบ่ ุกรกุ พนื ท่ปี า่ 7. ไมเ่ ปดิ นา และไฟฟา้ ทิงไวโ้ ดยไร้ประโยชน์ 8. ไม่ทิงนาเสียลงแม่นาลาคลอง ครัวเรอื นสัมมาชีพชุมชน ประจาปี 2564

38 9. ควรทานอาหารใหห้ มดจาน 10. ไมค่ วรเผาขยะหรอื เศษไม้,เศษหญ้า การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมสามารถกระทาได้หลายวิธี ท้ังทำงตรง และ ทำงออ้ ม ดังนี 1. การอนรุ ักษท์ รพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมโดยทำงตรง ซง่ึ ปฏิบตั ไิ ด้ในระดับบคุ คล องคก์ ร และระดบั ประเทศ ทส่ี าคญั คือ 1.1) การใช้อย่างประหยัด คือ การใช้เท่าท่ีมีความจาเป็น เพื่อให้มีทรัพยากรไว้ ใช้ไดน้ านและเกดิ ประโยชนอ์ ยา่ งคมุ้ คา่ มากทีส่ ุด 1.2) การนากลับมาใช้ซาอีก สิ่งของบางอย่างเมื่อมีการใช้แล้วครังหนึ่งสามารถท่ี จะ นามาใช้ซาได้อีก เช่น ถุงพลาสติก กระดาษ เป็นต้น หรือสามารถท่ีจะนามาใช้ได้ใหม่โดยผ่าน กระบวนการต่างๆ เช่น การนากระดาษที่ใช้แล้วไปผ่านกระบวนการต่างๆ เพื่อทาเป็นกระดาษแข็ง ซึ่ง เปน็ การลดปริมาณการใชท้ รัพยากรและการทาลายสิง่ แวดลอ้ มได้ 1.3) การบูรณะซ่อมแซม สิ่งของบางอย่างเมื่อใช้เป็นเวลานานอาจเกิดการชารุด ได้ เพราะฉะนนั ถ้ามกี ารบูรณะซ่อมแซม ทาใหส้ ามารถยืดอายกุ ารใชง้ านตอ่ ไปไดอ้ กี 1.4) การบาบัดและการฟ้ืนฟู เป็นวิธีการที่จะช่วยลดความเสื่อมโทรมของ ทรัพยากร ด้วยการบาบัดก่อน เช่น การบาบัดนาเสียจากบ้านเรือนหรือโรงงานอุตสาหกรรม ก่อนท่ีจะ ปล่อยลงสู่แหล่งนาสาธารณะ ส่วนการฟื้นฟูเป็นการรือฟื้นธรรมชาติให้กลับสู่สภาพเดิม เช่น การปลูกป่า ชายเลน เพอื่ ฟน้ื ฟคู วาม สมดุลของป่าชายเลนให้กลบั มาอดุ มสมบูรณ์ 1.5) การใช้ส่ิงอ่ืนทดแทน เป็นวิธีการที่จะช่วยให้มีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ น้อยลง และไม่ทาลายส่ิงแวดล้อม เช่น การใช้ถุงผ้าแทนถุงพลาสติก การใช้ใบตองแทนโฟม การใช้ พลงั งาน แสงแดดแทนแร่เชือเพลงิ การใช้ปุ๋ยชวี ภาพแทนปุ๋ยเคมี 1.6) การเฝ้าระวังดูแลและป้องกัน เป็นวธิ ีการที่จะไม่ให้ทรัพยากรธรรมชาติและ สงิ่ แวดล้อมถกู ทาลาย เช่น การเฝ้าระวังการทิงขยะ สิง่ ปฏิกูลลงแม่นา คูคลอง การจัดทาแนวป้องกันไฟป่า 2. การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยทำงอ้อม สามารถทาได้หลายวิธี ดงั นี 2.1) การพัฒนาคุณภาพประชาชน โดนสนับสนุนการศึกษาด้านการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ที่ถูกต้องตามหลักวิชา ซ่ึงสามารถทาได้ทุกระดับอายุ ทังในระบบ โรงเรียนและสถาบันการศึกษาต่างๆ และนอกระบบโรงเรียนผ่านสื่อสารมวลชนต่างๆ เพ่ือให้ประชาชน เกดิ ความตระหนักถึงความสาคญั และความจาเป็นในการอนุรักษ์ เกิดความรักความหวงแหน และให้ความ รว่ มมอื อยา่ งจรงิ จงั ครวั เรอื นสัมมาชีพชมุ ชน ประจาปี 2564

39 2.2) การใช้มาตรการทางสังคมและกฎหมาย การจัดตังกลุ่ม ชุมชน ชมรม สมาคม เพ่ือการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมต่างๆ ตลอดจนการใหค้ วามรว่ มมอื ทงั ทางดา้ น พลัง กาย พลงั ใจ พลังความคิด ด้วยจิตสานกึ ในความมีคณุ ค่าของสง่ิ แวดลอ้ มและทรัพยากรท่มี ตี ่อตัวเรา 2.3) ส่งเสริมให้ประชาชนในท้องถิ่นได้มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ช่วยกันดูแล รักษาให้ คงสภาพเดิม ไม่ให้เกิดความเสื่อมโทรม เพ่ือประโยชน์ในการดารงชีวิตในท้องถ่ินของตน การ ประสานงานเพ่ือสร้างความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักระหว่างหน่วยงานของรัฐ องค์กรปกครอง ส่วน ท้องถิ่นกับประชาชน ให้มีบทบาทหน้าท่ีในการปกป้อง คุ้มครอง ฟ้ืนฟูการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า และ เกดิ ประโยชน์สูงสุด 2.4) ส่งเสริมการศึกษาวิจัย ค้นหาวิธีการและพัฒนาเทคโนโลยี มาใช้ในการ จัดการกับ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้เกิดประโยชน์สูงสุด เช่น การใช้ความรู้ทางเทคโนโลยี สารสนเทศมาจัดการวางแผนพัฒนา การพัฒนาอุปกรณ์เครื่องมือเคร่ืองใช้ให้มีการประหยัดพลังงานมาก ขนึ การค้นคว้าวิจัยวิธกี ารจดั การ การปรบั ปรุง พัฒนาส่ิงแวดลอ้ มให้มีประสทิ ธิภาพและย่งั ยืน 2.5) การกาหนดนโยบายและวางแนวทางของรัฐบาล ในการอนุรักษ์และพัฒนา สิ่งแวดล้อมทังในระยะสันและระยะยาว เพื่อเป็นหลักการให้หน่วยงานและเจ้าหน้าท่ีของรัฐท่ีเก่ียวข้อง ยดึ ถอื และนาไปปฏบิ ตั ิ รวมทงั การเผยแพร่ขา่ วสารดา้ นการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทัง ทางตรงและทางอ้อม หลักการหนึ่งในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ คือ การทาฝายชะลอน้า หรือฝายชะลอความชุ่ม ชน้ื ซ่ึงหมายถึง ส่ิงกอ่ สร้างทีข่ วางทางกั้นลานา้ ขนาดเล็กในบริเวณต้นน้า หรือพ้นื ทีท่ ่มี ีความลาดชันสูง เพ่ือให้น้าท่ีไหลมาแรงสามารถท่ีจะชะลอการไหลช้าลงและเก็บกักตะกอน เพื่อไม่ให้ลงไปสู่บริเวณลุ่ม นา้ ตอนล่าง ประโยชนข์ องฝำยชะลอน้ำ ๑. ช่วยเกบ็ กกั นา ๒. ช่วยลดความรุนแรงของการเกิดไฟปา่ ๓. ชว่ ยลดการพงั ทลายของหน้าดิน และลดความรนุ แรงของกระแสนาในลาห้วย ๔. ชว่ ยกักเกบ็ ตะกอนและวสั ดุตา่ งๆ ทีไ่ หลลงมากบั นาในลาหว้ ย ๕. ช่วยเพ่มิ ความหลากหลายทางชวี ภาพ ๖. เป็นทีอ่ ยอู่ าศยั ของสตั วน์ า และใช้เป็นแหล่งนา เพอื่ การอุปโภคบริโภค ครวั เรอื นสมั มาชีพชมุ ชน ประจาปี 2564

40 สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอศรีสาคร ร่วมกับชาวบ้าน ม.4 บ้านประชานิมิตร และครัวเรือน สัมมาชีพ ร่วมกันทาฝายชะลอนาชุมชนบ้านประชานิมิตร อาเภอศรีสาคร เป็นอีกหนึ่งชุมชนในพืนท่ี จงั หวัดนราธวิ าส ทป่ี ระสบปญั หาพนื ท่ีแหง้ แล้งนาไม่เพยี งพอกบั ความต้องการของคนในชุมชน ชุมชนจึงได้ ร่วมกับสานกั งานพัฒนาชุมชนอาเภอศรีสาคร สรา้ งฝายชะลอนา เพื่อแก้ปัญหา และหวังคนื ความชุ่มชน่ื ให้ ผนื ดิน จนปัจจุบัน เห็นผลแล้วว่า นอกจากความสมบูรณ์ของระบบนิเวศท่ีกลับคืนมา ฝายยงั ช่วยฟน้ื สภาพ ครัวเรอื นสมั มาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564

41 พืนท่ีให้เป็นแหล่งอาหาร และสร้างรายได้ให้กับชุมชน ผลิตผลทังหน่อไม้ ทุเรียน และพืชผลทางการ เกษตร สร้างรายไดเ้ ป็นกอบเปน็ กาใหช้ มุ ชน “ชุมชนได้เข้าไปร่วมกิจกรรมสร้างฝายชะลอนากับเจ้าหน้าที่ เพียงไม่ก่ีเดือน ก็เร่ิมเห็นความ เปลี่ยนแปลงเกิดขึนในพืนท่ี ฝายช่วยคืนความสมดุลให้กับป่า และป่ายังเปรียบเสมือนซุปเปอร์มาเก็ตที่ ชมุ ชนสามารถเข้าไปหาของป่าสาหรับนามาใชท้ าอาหารใหค้ รอบครัว และแบ่งขายสร้างรายไดเ้ พม่ิ มากขึน แค่คนในชุมชน 1 คน เดินเข้าป่าไปเก็บหน่อไม้เพียง 2 กระสอบปุ๋ย สามารถสร้างรายได้ใหถ้ ึง 300 บาท ตอ่ วัน หรือประมาณ 5,000 – 6,000 บาทต่อเดือน ส่วนรายได้ของชุมชนท่ีมาจากการขายหน่อไม้ พืช สมุนไพร ไมใ้ ชส้ อยในครวั เรอื น มากถงึ 4,000,000 บาทต่อปี…” 3. สร้ำงภมู ิคมุ้ กนั ทำงสังคม 3.1 รว่ มกิจกรรมจติ อำสำ “หากสามารถเค่ียวบ่มกระบวนการจิตอาสา,จิตสาธารณะมาตังแต่ตัวยังเล็กๆ ในระดับครอบครัว ย่ิงจะเป็นส่ิงอันลาค่าที่มีอยู่ในตัวตนของผู้คน” จิตอาสา หรือจิตสาธารณะมีสองระดับใหญ่ๆ อันได้แก่ ระดับครัวเรือนและระดับสังคม และครอบครัวน่ันแหละ คือรากฐานท่ีดีในการเพาะบ่มเร่ืองเหล่านีให้ เกดิ ขึนในตัวตนของคนทุกคน สอนให้คนรบั ผิดชอบตัวเองอยา่ งมีสติ รู้รกั การแบ่งปันกนั ในครัวเรือน ไม่บัง เบียดแก่งแยง่ กนั ในพี่พอ้ งนอ้ ง,ญาติ และน่นั ก็เป็นการดูแลสงั คมไปในตัวดๆี นนั่ เอง หากสามารถเค่ียวบ่มกระบวนการจิตอาสา,จิตสาธารณะมาตังแต่ตัวยังเล็กๆในระดับครัวเรือน ย่ิง จะเปน็ สง่ิ อันลาคา่ ทีอ่ ยใู่ นตัวตนของผคู้ น ซ่ึงอาจอาศัยกจิ กรรมเล็กๆน้อยๆ ในครอบครัวเปน็ ตัวบม่ เพาะไป ทีละนิด... ทาให้เป็นธรรมชาติ ทาให้เป็นเหมือนกิจวัตรประจาวันได้ยิ่งดี สุดดท้ายก็จะกลายเป็น “วฒั นธรรมทำงใจ”ไปโดยปรยิ าย สิ่งเหลา่ นถี ือเป็นกระบวนการเติบกลา้ มาจากกลไกของครอบครัวทงั สิน ครัวเรอื นสัมมาชพี ชุมชน ประจาปี 2564

42 ครอบครัวของนางจุฑามาศ คงขวัญเป็นครอบครัวท่ีมีจิตอาสา รับผิดชอบต่อสังคม มีส่วนร่วมใน กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตในชุมชน และมีจิตสานึกรบั ผิดชอบต่อประโยชน์สาธารณะ มีจิตอาสา มีส่วน รบั ผิดชอบตอ่ สังคม มสี ่วนรว่ มในกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพชวี ิตในชุมชน โดยการประสานงานกบั หน่วยงาน ในการดแู ลเกี่ยวดบั ความจาเปน็ พนื ฐานของคนในชุมชน เชน่ นาประปา ไฟฟา้ ถนน เปน็ ต้น ไดแ้ ก่ 1. การพัฒนาแหล่งต้นนาของหมูบ่ า้ น ร่วมกนั ทาฝายชะลอนา 2. การอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาติในชุมชนการทาฝายมีชีวติ 3. แปลงเพาะกล้าไม้เพ่ือแจกจ่ายให้ประชาชนในหมูบ่ า้ นและผมู้ าดูงานในศูนย์ 4. จัดทาปุ๋ยอินทรียแ์ บบนาและแบบแห้ง เพอ่ื แบง่ ปันให้กบั ครวั เรอื นในหมู่บา้ น การแบ่งปัน เป็นการเสียสละส่ิงของหรือทรัพย์ของตนให้แก่ผู้ที่เดือดร้อนหรือต้องการความ ช่วยเหลือ การแบ่งปันเป็นคุณธรรมท่ีช่วยให้เราขจัดความเห็นแก่ตัวออกจากตนเอง และทาให้คนเราอยู่ ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุข เช่น การแบ่งปันความรู้ด้านการเกษตร แบ่งปันกล้าไม้ แบ่งปันพืชผักผลไม้ ใหเ้ พ่ือนบา้ น ครัวเรือนสมั มาชีพชุมชน ประจาปี 2564

43 ควำมสำคญั ของจิตอำสำ 1. ทาให้บุคคลมีความคิดชันสูงช่วยยกระดับจิตใจที่เปี่ยมไปด้วยเมตตา เพราะจิตอามุ่งเน้นการให้ มากกว่าการรับ ทาให้พบความสุขที่เกิดจากการให้ ซ่ึงเป็นความสุขที่มีคุณค่ากว่าความสุขที่เกิดจากการ ได้รบั 2. บุคคลท่ีมีจิตอาสาย่อมเป็นท่ีรักใคร่ของคนรอบข้าง เพราะมองเห็นคุณค่าในความดีที่อยู่ในตัว คนๆนัน มากกว่ามูลค่าของทรพั ยส์ นิ ใดๆ นอกจากนียังเปน็ การผูกมิตรแทไ้ ด้อยา่ งยงั่ ยนื 3. ทาให้สังคมมีการแบ่งปัน การช่วยเหลือเกือกูลซึ่งกันและกัน ร่วมมือกันดูแลรักษาสิ่งของ สาธารณะเพอื่ การใช้ประโยชนร์ ่วมกัน รวมทังสง่ิ แวดลอ้ มรอบตัว 4. ทาใหส้ งั คมนา่ อยู่และเปน็ สงั คมคณุ ภาพท่ีทุกคนสามารถอยู่ร่วมกนั ได้ พ่ึงพาอาศัยซ่งึ กันและกัน จิตสาธารณะเพื่อส่วนรวมคือต้องมีความรับผิดชอบต่อสังคม การช่วยกันเก็บขยะ บรเิ วณโดยรอบ ของชุมชน ไม่ว่าจะตามบ้านเรือน ตามท้องถนน ริมทาง ก็เป็นวิธีหน่ึงแสดงให้เห็นถึงการมีจิตสาธารณะ สว่ นรวม การทที่ ุกคนมสี ว่ นรว่ ม เผือ่ แผ่ ดูแลชุมชน ดูแลส่ิงแวดลอ้ ม ตลอดจนปัญหาต่าง ๆรอบ ๆตัวร่วมกัน สร้างสรรค์สิ่งดี ๆทาดีให้เป็นรูปธรรมมากขึน ไม่เพียงแต่รอดูใครจะรับผิดชอบเรื่องอะไร แต่ควรต้อง ออกมามีส่วนร่วมรับผิดชอบด้วยกัน การจะเป็นจิตอาสา ไม่ได้จากัดที่ วัย การศึกษา เพศ อาชีพ ฐานะ หรือข้อจากัดใด ๆทังสิน หากแต่เราต้องมีจิตใจเป็น “จิตอาสา”ท่ีอยากจะช่วยเหลือผู้อื่น หรือชุมชน เพียงแต่เราแต่ละคนคิดและทาความดีกันคนละนดิ เพือ่ ชมุชน แล้วชมุ ชนเราจะงดงามขึนอีกไม่น้อย อยา่ .....เปน็ นักจับผิด อย่า.....มวั แต่คิดริษยา อย่า....เสียเวลากบั ความหลัง อย่า....พังเพราะไมร่ ู้พอ. ครัวเรอื นสัมมาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564

44 3.2 สมำชิกในครวั เรือนไมย่ งุ่ เกย่ี วกบั สิ่งเสพตดิ และอบำยมุขต่ำงๆ ผทู้ ี่ติดสง่ิ เสพตดิ สว่ นใหญจ่ ะเกิดจากครอบครัวทแี่ ตกแยกมปี ัญหา ขาดความรักความอบอนุ่ เกดิ ความว้าเหว่ ขาดที่ยดึ เหนี่ยวทางจติ ใจ ซ่งึ เปน็ เหตใุ ห้เด็กๆ หนั ไปพ่ึงยาเสพติดแทน ดงั นันพ่อแมจ่ ึงควรให้ ความรกั ความอบอุน่ และพ่อแม่กค็ วรจะประพฤติตนเป็นแบบอยา่ งท่ดี ี และเปน็ ที่ปรึกษาให้แกล่ กู ๆได้ ทา ให้ลูกไม่หันไปพึง่ พายาเสพติด ครวั เรอื นป้องกนั เรอ่ื งยาเสพติดโดย • สรา้ งความรกั ความอบอุ่นและความสมั พนั ธ์อันดรี ะหวา่ งสมาชกิ ในครอบครัว • รแู้ ละปฏิบตั ติ ามบทบาทหน้าทข่ี องตนเอง • ดูแลสมาชิกในครอบครัว ไม่ใหข้ ้องเกย่ี วกบั ยาเสพติด • ใหก้ าลังใจและหาทางแกไ้ ข หากพบวา่ สมาชกิ ในครอบครัวติดยาเสพติด ครอบครัวเป็นหัวใจสาคัญท่ีจะเป็นเกราะป้องกัน และทาให้เยาวชนผ่านพ้นปัญหาต่างๆ ไปได้ ทุกคนต่างรับรู้ว่ายาเสพติดนันส่งผลกระทบร้ายแรงเพียงใด ดังนัน จึงไม่ควรเข้าไปเก่ียวข้องไม่ว่าจะใน กรณีใดก็ตาม ส่ิงท่ีจะช่วยเป็นภูมิคุ้มกันให้เยาวชนพ้นภัยยาเสพติดที่ดีที่สุด คือ วัคซีนทางสังคมไม่ว่าจะเป็น ครอบครัว สถาบันการศึกษา ชุมชน สิ่งแวดล้อม จะต้องร่วมมือร่วมใจสร้างพืนท่ีปลอดภัยและมีคุณภาพ ให้กับเยาวชน รับฟังปัญหาและความรู้สึกของพวกเขาอย่างเข้าใจและไม่ตัดสิน ทาให้พวกเขาตระหนักถึง คุณค่าของตัวเอง ลงมือสร้างอนาคตด้วยมือของเขาเอง โดยมีความรัก ความเข้าใจจากครอบครัวและ สังคมรอบข้างคอยผลักดันและสนับสนุนให้พวกเขาเตบิ โตอย่างมีคุณภาพและมีความสขุ บนเส้นทางท่ีพวก เขาตอ้ งการ เสริมสร้างการรับรู้คุณค่าในตนเองให้กับเด็กผ่านการให้ความรักและความเอาใจใส่ เพ่ือให้เด็กเกิด ความมั่นใจในตนเองและรับรู้ว่าคนในครอบครัวพร้อมท่ีจะอยู่เคียงข้างตนเองเสมอยามเม่ือเกิดปัญหาใน ครวั เรอื นสัมมาชีพชมุ ชน ประจาปี 2564

45 ชีวิต เสริมสร้างทักษะการตัดสินใจและการรู้จักปฏิเสธสิ่งท่ีไม่ดีให้กับเด็ก เพื่อไม่ให้หวั่นไหวไปกับการชัก จูงไปในทางที่ไม่ดีจากกลุม่ เพอื่ นหรอื สภาพแวดลอ้ มอ่ืนๆ คอยสังเกตพฤติกรรมของเด็กอย่างสม่าเสมอ ทังในเรื่องการใช้ชีวิตประจาวัน การเรียน การคบ หาเพ่ือน นอกจากนี การสนับสนุนให้เด็กเข้าร่วมทากิจกรรมท่ี จะช่วยให้เด็กใช้เวลาอย่างมีคุณค่าและได้ เข้าสังคมที่หลากหลาย และเป็นเร่ืองดีหากได้รู้จักใกล้ชิดกับเพ่ือนของเด็กและผู้ปกครองอื่นเพื่อช่วยกัน สอดสอ่ งดูแลพฤตกิ รรมท่ีไมเ่ หมาะสม ครัวเรือนสัมมาชีพ สมาชิกในครัวเครือนไม่เคยมีประวัติการเสพยา ติดสุรา และไม่เคยเก่ียวข้อง กับอบายมุข ครัวเรือนมีการประกาศเป็นครัวเรือนปลอดภัยและรับมอบธงสัญลักษณ์ (ปปส.) เพ่ือรณรงค์ การป้องกันยาเสพติด มีการประชุมร่วมกับชาวบ้านหาแนวทางแก้ไขป้องกันการแพร่ระบาดในที่ประชุม ประจาเดอื นของหมู่บา้ นเป็นประจาทกุ เดอื น เมอ่ื ครวั เรอื นไม่ย่งุ เก่ียวกับสำรเสพติดและอบำยมุขตำ่ ง ๆแลว้ ผลท่ีได้คอื - ครอบครวั สามารถอยู่ได้อยา่ งอบอุน่ และมีเงนิ เกบ็ ไวใ้ ช้จ่ายอย่างเปน็ ได้ - เกิดความสัมพันธ์ที่ดีและยั่งยืนระหว่างผู้ปกครองและเด็กจาเป็นต้องเร่ิมตังแต่ช่วงก่อนวัยเรียน ซ่ึงเป็นช่วงท่ีสาคัญท่ีสุดในการวางรากฐานความคิดและการดาเนินชีวิตต่อไปในอนาคต แม้เด็กวัยนีจะยัง ไม่ได้เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด แต่เม่ือปลูกฝังเร่ืองการกินอยู่อย่างมีสุขภาพดี แนะนาการรับประทาน อาหารที่มีประโยชน์ การดูแลรักษาความสะอาดของร่างกาย การเล่นและออกกาลังกายเพ่ือพัฒนาทักษะ ในด้านตา่ งๆอย่างเหมาะสม ทังในเรือ่ งการคดิ การตัดสนิ ใจ และการรับผดิ ชอบในเรือ่ งต่างๆ ครัวเรอื นสมั มาชีพชุมชน ประจาปี 2564

46 สมาชิกในครัวเรือนไม่เข้าไปยุ่งเก่ียวกับยาเสพติดและอบายมุขท่ีผิดกฎหมายทุกชนิด โดยเฉพาะ การสูบบุหร่ี ส่งผลใหบ้ ุตรหลานไม่ยงุ่ เก่ียวกบั ยาเสพติด เพราะมีต้นแบบทีด่ ีจากผู้นาในครวั เรือน ครัวเรือน นีไม่มีใครสูบบุหร่ี ทังตัวหัวหน้าครัวเรือนและบุตรหลานที่อาศัยอยู่ และยังมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพ่ือ สุขภาพ กิจกรรมสานสัมพันธ์ในชมุชนและนอกชุมชน เป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ หลีกเล่ียงการ ใกลช้ ิดกับสิง่ ย่วั ยทุ ังหลาย 3.3 สมำชกิ ในครวั เรอื นเป็นสมำชกิ กลุ ่มองค์กรในชมุ ชน 1. กรรมการกลุม่ กาแฟอาราบิกา้ หม่ทู ี่ 4 บ้านประชานิมติ ร 2. กรรมการศูนยเ์ รยี นรไู้ รท่ องผาภูมิ หมู่ท่ี 4 บ้านประชานมิ ิตร ตาบลกาหลง 3. กรรมการกลุ่มไม้ตัดดอก หมทู่ ี่ 4 บา้ นประชานิมติ ร 4. สมาชิกกลมุ่ เคร่อื งแกง หมู่ที่ 4 บา้ นประชานมิ ติ ร 5. สมาชิกครัวเรอื นสมั มาชพี ชุมชน หมทู่ ี่ 4 บ้านประชานิมติ ร 6. สมาชกิ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี หมู่ท่ี 4 บ้านประชานมิ ติ ร 7. สมาชกิ กลมุ่ ออมทรัพยเ์ พื่อการผลติ บ้านประชานมิ ิตร ตาบลกาหลง 8. สมาชิกศนู ยจ์ ัดการกองทุนชมุ ชนบา้ นประชานมิ ิตร ตาบลกาหลง 9. สมาชิกกลมุ่ นายางก้อนถว้ ยบ้านประชานมิ ติ ร ตาบลกาหลง 10. สมาชกิ กองทนุ แมข่ องแผน่ ดินบ้านประชานิมิตร ตาบลกาหลง ครวั เรอื นสมั มาชพี ชุมชน ประจาปี 2564

47 กลุม่ กำแฟอำรำบิก้ำ สมาชิกของครัวเรือนสัมมาชีพเป็นกรรมการของกลุ่มกาแฟในหมู่บ้าน หมู่ท่ี 4 บ้านประชานิมิตร ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร ซ่ึงกลุ่มกาแฟได้เกิดจากการรวมกลุ่มของชาวบ้านที่สนใจในเรื่องของกาแฟ เร่ิมจากการทดลองปลูกในสวนยางของชาวบ้านเอง จนได้เป็นสายพันธุ์เมล็ดกาแฟท่ีมีคุณภาพ กลุ่มจึง ส่งเสริมการปลูกกาแฟสายพันธ์ุอาราบิก้าซ่ึงเป็นที่นิยม ด้วยเป็นสายพันธุ์ที่ให้กล่ินรสที่นุ่มนวล กล่ินหอม เหมาะสาหรับการด่ืมในลักษณะกาแฟสด ตลาดส่วนใหญ่จึงเป็น ร้านอาหารหรือร้านกาแฟสด เป็นต้น ดังนันเพื่อให้ได้เมล็ดกาแฟคุณภาพดี ให้ผลผลิตสูง จึงจาเป็นต้องปลูกในที่มีอากาศท่ีค่อนข้างเย็น ด้วย สภาพภูมิอากาศของหมู่บ้านประชานิมิตร อยู่บนเขาสูงและมีอากาศเย็นตลอดปี ทาให้กาแฟสายพันธ์ุนี เติบโตและใหผ้ ลผลิตดตี ลอดฤดกู าล ครวั เรือนสัมมาชีพชุมชน ประจาปี 2564


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook