Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Nutri-Note bysushi

Nutri-Note bysushi

Published by Ananee Ngoh, 2019-11-28 12:16:26

Description: Nutri-Note bysushi

Keywords: MNT

Search

Read the Text Version

NUTRI-NOTE NUTRITION AND DIETETICS Medical Nutrition Therapy Faculty of Science and Technology PSU Pattani Campus Ananee Ngoh ND

สารบญั สารบญั 1. ศพั ท์ทางการแพทย์...........................................................1 2. การคานวณพลงั งาน..........................................................7 2.1 การคานวณพลงั งานอยา่ งงา่ ยจากดัชนีมวลกายเทยี บกับ ระดับกิจกรรม (สาหรบั อายุ 19 ปีขึ้นไป)...................................7 2.2 การคานวณพลังงานสูตร (สาหรับเดก็ )..........................7 2.3 คานวณ IBW อย่างงา่ ย.................................................7 2.4 น้าหนกั ทลี่ ดลงโดยไม่ไดต้ ั้งใจ (%weight loss) ............8 3. BMI สาหรับผู้สูงอายุ (60 ปีข้ึนไป) ....................................8 4. การประเมินภาวะโภชนาการของเด็ก................................9 4.1 Classifications of nutritional status ......................9 4.2 Overweight and obesity .........................................9 5. Screening and assessment tool ..............................11 5.1 Screening tool ........................................................11 5.2 Assessment tool.....................................................16 6. ปฏสิ ัมพนั ธร์ ะหวา่ งยาและอาหาร (Drug and food interaction)...............................................................................22 6.1 ADME.............................................................................22

7. อาหารทางการแพทย์......................................................25 8. ชนิด/สตู รนมผงเด็กตามวัย..............................................26 8.1 นมสตู ร 1 ...................................................................26 8.2 นมสตู ร 2 ...................................................................26 8.3 นมสูตร 3 ...................................................................27 9. อาหารทางหลอดเลอื ดดา................................................28 9.1 อาหารทางหลอดเลือดดา แบ่งออกเป็น 2 ประเภท....28 9.2 ข้อบง่ ชีใ้ นการใชอ้ าหารทางหลอดเลือดดา ..................28 9.3 การให้สารอาหารผา่ นทางหลอดเลอื ดดาใหญ่ (TPN) ..29 9.4 การใหส้ ารอาหารทางหลอดดาส่วนปลาย (PPN) ........29 9.5 สารอาหาร..................................................................29 10. Percent of free water in enteral formulas ............31 11. โรคความดนั โลหิตสูง (Hypertension)...........................32 11.1 DASH diet ................................................................32 11.2 ค่าในการวินจิ ฉัยความดันโลหติ สูง ..............................35 12. โรคไตเรื้อรงั (CKD) .........................................................36 12.1 การแบ่งระยะของCKD ...............................................36 12.3 ไตอักเสบเฉียบพลนั (Nephrotic Syndrome)...........37

13.3.1 โปรตนี ................................................................37 13.3.2 ไขมัน ..................................................................37 13.3.3 โซเดยี ม...............................................................38 13.3 สมุนไพรกับผู้ปว่ ยโรคไต .............................................40 13.4 การคานวณพลงั งานจากน้ายาลา้ งไตผา่ นช่องทอ้ ง CAPD 44 13. โรคเบาหวาน (DM).........................................................45 13.1 ค่าในการวนิ ิจฉยั และเปา้ หมายในการติดตาม โรคเบาหวาน ..........................................................................45 13.2 เป้าหมายในการติดตามโรคเบาหวาน .........................47 13.3 การตรวจวนิ ิจฉัยโรคและตรวจคดั กรองเบาหวานขณะ ตง้ั ครรภ์..................................................................................50 13.4 การตรวจระดับนา้ ตาลในเลอื ดด้วยตนเอง ..................51 14.4.1 ข้อบ่งชกี้ ารทา SMBG .........................................51 14.4.2 ความถข่ี องการทา SMBG ความถ่ขี องการทา SMBG.............................................................................51 13.5 ชนิดของ Insulin แบง่ เป็น 4 ชนดิ ตามระยะเวลาออก ฤทธ์ิ ไดแ้ ก่ ..............................................................................53 13.6 ภาวะนา้ ตาลในเลือดสงู ชนดิ Diabetic ketoacidosis56

13.6.1 อาการและอาการแสดง..................................56 13.6.2 ปัจจัยชกั นาไดแ้ ก่ ...........................................56 13.6.3 สาเหตุ............................................................56 13.6.4 เกณฑ์การวนิ ิจฉยั ภาวะนา้ ตาลในเลอื ดสูงชนิด diabetic 57 13.6.5 การดแู ลรักษาเมื่อผ่านพ้นภาวะ DKA.............57 13.7 ความรุนแรงของภาวะนา้ ตาลต่าในเลอื ดแบ่งไดเ้ ป็น 3 ระดบั 60 14. โรคไขมันและหลอดเลือด (Dyslipidemia) .....................62 14.1 Classification of Blood Cholesterol Levels.......62 14.2 คา่ ทใี่ ชใ้ นการตดิ ตาม ..................................................62 14.3 Therapeutic Lifestyle Changes Diet (อาหารเพื่อ ปรับเปล่ยี นวถิ ที างดาเนนิ ชีวิต)................................................63 15. กระดูกหักเน่ืองจากกระดูกพรุน (Fracture liaison service : FLS)............................................................................64 15.1 ตัวอย่างอาหารที่มีแคลเซยี ม.......................................64 16. ธาลัสซเี มยี ......................................................................66 16.1 อาหารท่เี หมาะสมสาหรับผู้ป่วยโรคธาลัสซเี มีย...........66 16.2 อาหารท่ีควรหลีกเล่ยี งสาหรับผ้ปู ว่ ยโรคธาลสั ซเี มยี .....67



1 1. ศัพท์ทางการแพทย์ คาศัพท์ ความหมาย Atrial Fibrillation (AF) โรคหวั ใจเตน้ ผิดจังหวะ ไม่สม่าเสมอ Ante natal care (ANC) การดูแลก่อนคลอด(การฝากครรภ)์ Acute Gastroenteritis (AGE) ลาไส้อกั เสบฉบั พลนั Acute Renal Failure (ARF) ไตวายฉับพลัน Asthma โรคหอบหืด Allergy โรคภูมแิ พ้ Acidosis ภาวะเลอื ดเป็นกรด Atherosclerotic heart disease โรคหลอดเลอื ดแดงหวั ใจแข็ง Burns แผลไหม้ Blunt chest ได้รบั การกระแทกที่หน้าอก Blood pressure (BP) ความดันโลหิต Benign Prostatic Hyperplasia โรคตอ่ มลกู หมากโต (BPH) Basal ganglia ปมประสาท ที่มีหน้าท่ีเกี่ยวข้องกบั การ ส่งั การการเคลื่อนไหวของรา่ งกาย การ เรียนรู้ การตัดสินใจและกิจเก่ียวกบั อารมณ์ความร้สู ึก C-Spine injury การบาดเจ็บที่กระดูกต้นคอ Concussion สมองกระทบกระเทอื น Complication โรคแทรกซ้อน Chief Complaint (CC) ประวัตสิ าคัญท่ีมาโรงพยาบาล Crushing การบดทับ

2 Coma ภาวะหมดสติ ไม่รสู้ ึกตวั Cesarian Section (C/S) การผา่ คลอด Computed Tomography (CT) การตรวจเอ็กซ์เรย์คอมพิวเตอร์ Cerebrovascular Accident (CVA) โรคทางหลอดเลือดสมอง Constipation ทอ้ งผกู Coronary Care Unit (CCU) หออภิบาลผ้ปู ว่ ยหนักเฉพาะโรคหัวใจ Colonic polyp ตงิ่ เน้ือทีล่ าไส้ใหญ่ Continuous Ambulatory การล้างไตทางช่องท้องชนดิ ต่อเนอื่ งด้วย Peritoneal Dialysis (CAPD) ตนเอง Dyslipidemia (DLD) โรคไขมันในเลือดสงู Dyspnea หอบเหนอ่ื ย Diagnosis (Dx) การวินจิ ฉัยโรค Discharge ผปู้ ว่ ยออกจากโรงพยาบาลแลว้ Emergency room (E.R) ห้องฉุกเฉิน Fracture การแตกหักของกระดูก Fracture Liaison service โรคกระดูกหกั จากโรคกระดูกพรนุ Fracture Femur กระดูกต้นขาหัก Follow up (F/U) นดั ตรวจติดตามอาการ Family history (FH) ประวัติการเจบ็ ป่วยของคนในครอบครวั General Appearance (GA) ลกั ษณะภายนอกทั่วไป Global aphasia เปน็ ความผิดปกติของภาษาพูด เกิดจาก พยาธสิ ภาพทสี่ มอง ผู้ปว่ ยจะพดู ไมค่ ล่อง ไมช่ ดั และมปี ัญหาเร่ืองความเขา้ ใจ

3 Head injury การได้รับบาดเจ็บที่ศรี ษะ Hemodialysis ฟอกเลือกเพ่ือลา้ งไต Hypertension (HT) ความดนั โลหิตสูง In patient Department (IPD) แผนกรักษาผปู้ ่วยใน Infection การตดิ เช้ือ Intensive care unit (I.C.U) หออภบิ าลผู้ป่วยหนกั รวม Intake/Outtake (I/O) ปริมาณนา้ เข้าออกในแต่ละวัน Ischemic stroke โรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออดุ ตัน Intracerebal hemorrhage โรคหลอดเลอื ดสมองแตกจากการฉกี ขาดของหลอดเลือดในสมอง Jaundice ดซี า่ น Labour room (L.R) ห้องคลอด Lupus Nephritis (LN) โรคไตทีเ่ ปน็ ผลกระทบจากโรค SLE Medication (MED) อายุรกรรม Morbid obesity ภาวะอว้ นอย่างรนุ แรง Nervous System (N/S) สัญญาณชีพทางระบบประสาท Nephrotic syndrome (NS) ไตอักเสบ Not applicable (N/A) ไม่มีขอ้ มลู Nasogastric Tube (NG Tube) การใสส่ ายยางทางจมูกถงึ กระเพาะ Nonalcoholic steatohepatitis เป็นภาวะทม่ี ีไขมนั สะสมในตับรวมกับ (NASH) การอักเสบ

4 Non-ST Elevated Myocardial ภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน Infarction (NSTEMI) Observe สังเกตอาการ Orthopedic (ORTHO) กระดูกและขอ้ Orthopedic (ORTHO) กระดูกและข้อ Out Patient Department (OPD) แผนกผู้ป่วยนอก Operating room (O.R) ผ่าตัด Open Reduction Internal การผา่ ตัดกระดกู ให้เขา้ ที่ โดยการตรงึ Fixation (ORIF) กระดูกที่หกั ดว้ ยโลหะซ่ึงจะใส่อยู่ ภายนอกรา่ งกายของผปู้ ่วย Pneumothorax ภาวะลมในช่องปอด Past medical history (PMH) ประวัตอิ ดีตของการรกั ษา Physical therapy (PT) กายภาพบาบดั Present Illness (PI) ประวัตปิ ัจจุบัน Past History (PH) ประวตั อิ ดีต Physical Examination (PE) การตรวจรา่ งกาย Pharmacy หอ้ งจ่ายยา Physical therapy แผนกกายภาพบาบัด Pale ซดี Pain ความปวด Pulse ชพี จร R/O สงสยั ว่าจะเปน็ Swelling อาการบวม

5 SGPT (Serum glutamate เปน็ เอนไซมท์ ใ่ี ช้ช่วยตรวจภาวะโรคตบั pyruvate transaminase) หรือ ALT (Alanine transaminase) ศลั ยกรรม (รกั ษาด้วยการผา่ ตัด) Surgical (SUR) เครียด Stress เสมหะ Sputum ผลข้างเคยี ง Side effect เปน็ เอนไซม์ที่ใชช้ ่วยตรวจภาวะโรคตับ SGOT (Serum Glutamic- Oxaloacetic Transaminase) หรือ ภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน AST (Aspartate Transaminase) ST Elevated Myocardial หออภบิ าลผู้ปว่ ยวิกฤตศลั ยกรรม Infarction (STEMI) Surgical Intensive Care Unit ภาวะชอ็ กเหตุพิษตดิ เช้ือ เกิดข้ึน (SICU) หลังจากการติดเช้ือในกระแสเลอื ด Septic shock โรคแพภ้ มู ติ ัวเอง SLE (Systemic lupus ติดเชอ้ื ในกระแสเลอื ด erythematosus) ศลั ยกรรม Septicemia การรกั ษา Surgery วณั โรค Treatment การบาดเจ็บท่ีสมอง Tuberculosis การรักษา Traumatic Brain Injury (TBI) Therapy

Transfer 6 Unconscious Urinary Tract Infection (UTI) การยา้ ยผปู้ ว่ ย Upper Respiratory Infection ไมร่ สู้ ึกตัว (URI) การติดเชอื้ ทางเดนิ ปสั สาวะ การตดิ เชื้อทางเดนิ หายใจสว่ นบน Underlying disease (U/D) Urticaria โรคประจาตัว Urine analysis ลมพษิ Vital sign (V/S) การเก็บปสั สาวะส่งตรวจ Viral myocarditis สัญญาณชีพ Vomit กลา้ มเนอื้ หวั ใจอกั เสบจากไวรัส Wound อาเจียน Ward แผล Weak ตกึ ผปู้ ่วย ออ่ นเพลีย

7 2. การคานวณพลังงาน 2.1 การคานวณพลงั งานอยา่ งงา่ ยจากดัชนีมวลกายเทียบ กบั ระดับกจิ กรรม (สาหรับอายุ 19 ปขี ้นึ ไป) ดัชนมี วลกาย กิจกรรมเบา kcal/kg/day กิจกรรมหนกั (BMI) กจิ กรรมปาน กลาง นา้ หนักเกิน 20-25 30 35 น้าหนักปกติ 30 35 40 น้าหนกั ตา 30 40 45-50 กวา่ เกณฑ์ ทมี า : สณุ ยี ์ ฟังสงู เนนิ (นกั โภชนาการระดับชานาญการ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา) 2.2 การคานวณพลงั งานสูตร (สาหรบั เด็ก) กรณีผปู้ ว่ ยทวั ไป (Holiday-segar) 10 kg แรก × 100 kcal 10 kg ถดั ไป × 50 kcal 10 kg ท่ีเหลือ × 20 kcal กรณีผปู้ ว่ ยเบาหวาน 1 ปแี รก × 1000 kcal ปถี ดั ไป × 100 kcal 2.3 คานวณ IBW อย่างงา่ ย - ชาย : IBW (kg) = ส่วนสูง (cm) –105 - หญิง : IBW (kg) = ส่วนสงู (cm) – 110

8 2.4 นา้ หนกั ทีลดลงโดยไม่ได้ตัง้ ใจ (%weight loss) ระยะเวลา 1 สปั ดาห์ ลดลง 1-2% 1 เดือน ลดลง 5% 3 เดือน ลดลง 7.5% 6 เดือน ลดลง 10% 3. BMI สาหรับผูส้ ูงอายุ (60 ปีขนึ้ ไป) ภาวะโภชนาการ BMI (kg/m2 ) ผอม ระดับ 1 18.5-19.9 ระดบั 2 17.0-18.4 ระดบั 3 16.0-16.9 ระดับ 4 <16 ปกติ 18.5-24.9 อ้วน ระดับ 1 25.0-29.9 ระดบั 2 30.0-39.9 ระดับ 3 >40.0 ทม่ี า : สานกั งานสง่ เสรมิ สขุ ภาพ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ

9 4. การประเมินภาวะโภชนาการของเดก็ 4.1 Classifications of nutritional status ดชั นี Normal Mild Moderate Severe Nutrition status %W/A >90 75-90 60-75 <50 Underweight %W/H >90 80-90 70-80 <70 Wasting %H/A >95 90-95 85-90 <85 Stunting (Gomez F. et al, 1955) 4.2 Overweight and obesity วินิจฉยั โดยใช้เกณฑ์อา้ งอิงได้ 2 แบบคือ 1. ใช้กราฟหรอื ตารางคา่ อา้ งองิ BMI ตามอายุ และเพศของ องค์การอนามัยโลก เน่อื งจากขณะนย้ี ังไม่มีเกณฑ์อา้ งอิง BMI สาหรับเด็กไทย 2. ใชค้ า่ น้าหนกั ตามเกณฑ์สว่ นสงู ทม่ี า : แนวทางการดูแลรักษาและป้องกันภาวะโภชนาการเกนิ ในเดก็ ชมรม โภชนาการเด็กแหง่ ประเทศไทย

2. ใชค้ า่ น้าหนักตามเกณฑ์สว่ นสูง (ต่อ) %W/H* >110-120 >120-140 Nutritional Overweight Mild obesity status* น้าหนักเกนิ อว้ นเล็กน้อย เปรยี บเทียบกับกราฟ** Overweight กรมอนามยั พ.ศ. 2542 (เร่มิ อ้วน) * ค่า% W/H เปน็ การประเมินความรนุ แรงของโรคอว้ นใ ** จากการเปรียบเทียบกับกราฟเกณฑ์อ้างอิงการเจริญ เดก็ ทไี่ ด้รับการวินิจฉัยว่าเปน็ “โรคอ้วน” คอื นา้ หนักตา 135-153 % ของค่า ideal weight for height (W/H) เกณฑ์เดิมตามตาราง จะทาใหก้ ารวนิ ิจฉยั โรคอ้วนในเด็ก

10 >140-160 >160-200 >200 Morbid obesity Moderate Severe obesity obesity อว้ นปานกลาง อว้ นมาก อว้ นรนุ แรง Obesity Morbid obesity (โรคอว้ น) (โรคอ้วนรนุ แรง) ในเด็ก ในทางเวชปฏิบตั ิ ญเติบโตของเด็กไทย กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2542 พบว่า ามเกณฑ์สว่ นสงู มากกว่าคา่ มัธยฐาน +3SD จะมีน้าหนักคิดเป็น และ +2SD จะมีน้าหนกั คิดเป็น 122-135 %W/H ดังนั้นถ้าใช้ กไทยมากเกนิ กวา่ ที่ควรจะเป็น

11 5. Screening and assessment tool 5.1 Screening tool เครอื งมือ อา้ งอิง Malnutrition Screening Tool (MST) Ferguson et al. (1999) Rubenstein et al. (2001) Mini Nutritional Assessment Short-Form (MNA-SF) Kondrup et al. (2003) Stratton et al. (2004) Nutritional Risk Screening (NRS 2002) Kruizenga et al. (2005) Malnutrition Universal Screening Tool (MUST) Chittawatanarat et al. (2016) Short Nutritional Assessment Questionnaire (SNAQ) Bhumibol Nutrition Triage (BNT/NT)

12 MST NRS

If the answer is ‘Yes’ to any question, th

13 he screening in Table 2 is performed

14 MUST Score BMI 0 >20 1 18.5-20 2 <18.5 Unplanned weight loss in past 3-6 months 0 <5% 1 5-10% 2 >10% 2 If patient is acutely ill and there has been or is likely to be no nutritional intake for >5 days total SNAQ

15

16 5.2 Assessment tool อา้ งอิง Detsky et al. (1999) เครืองมอื Guigoz et al. (2001) Subjective Global Assessment (SGA) Ottery et al. (2004) Mini Nutritional Assessment (MNA) Komindrg et al. (2005) Patient generated subjective Chittawatanarat et al. global assessment (PG-SGA) (2016) Nutrition Alert Form (NAF) Bhumibol Nutrition Triage (BNT/NT)

17

18

19

20

21 Assessment Tools คะแนน เกณฑ์ Subjective Global Assessment A Normal (SGA) Mild-Moderate B Malnutrition Mini Nutritional Assessment Severe Malnutrition (MNA) C Normal Patient generated subjective 24-30 Risk of malnutrition global assessment (PG-SGA) 17-23.5 Malnutrition 0-16 Normal Nutrition Alert Form (NAF) A Moderate Malnutrition B Severe Malnutrition Bhumibol Nutrition Triage C Normal-Mild (BNT/NT) Malnutrition 0-5 Moderate Malnutrition Severe Malnutrition 6-10 Normal ≥11 Mild Malnutrition 0-4 Moderate Malnutrition 5-7 Severe Malnutrition 8-10 ≥11

22 6. ปฏสิ มั พันธ์ระหว่างยาและอาหาร (Drug and food interaction)  Effect of drug on food intake - Nutrition Absorption : ยาบางชนิดอาจเพิม่ ลดลง หรือป้องกนั การดูดซึม อาหารในลาไส้ - Nutrition Excretion : ยาสามารถเพ่มิ หรอื ลดการขับของสารอาหารทาง ปสั สาวะ  Drug that may increase apatite - Anticonvulsant : เปน็ ยารักษาอาการชักตา่ งๆอาจเกิดการเสยี สมดลุ ของ เกลอื แร่ - Antipsychotic : ยารักษาโรคจิต, ไบโพลาร์ - Antidepresant : ยารกั ษาอาการซึมเศร้า  Drug can decrease nutrition absorption - Laxatives : เป็นยาบรรเทาอาการทอ้ งผูก ทาให้อุจจาระอ่อนตวั ลง หรอื กระตนุ้ การบีบตวั ของลาไส้ - Aluminum hydroxide : เป็นยาลดกรดในกระเพาะอาหาร - Statin : เปน็ ยาลดคลอเลสเตอรอลในเลือด  Drug can increase a loss of a nutrition - Diuratics : เป็นยาขบั ปสั สาวะ ใช้ในการรักษาความดันโลหติ สูง - Aspirin : ยาลดการอักเสบ เช่น ปวดประจาเดือน - Clobazam : ยาลดอาการวติ กกังวล 6.1 ADME  Absorption : การเคลอื่ นที่ของยาภายในกระแสเลอื ดขน้ึ อยู่กบั ปจั จยั ต่อไปนี้ - โครงสร้างของยาท่สี ามารถผ่านเย่ือบุลาไส้

23 - ระยะเวลาทท่ี าให้กระเพาะอาหารว่าง - ชอ่ งทางการให้ยา - คณุ ภาพของยา  Distribution (การกระจายตัวของยา) : ยาเข้าสกู่ ระแสเลือด กระจ่ายไปยงั เน้ือเยื่อ ต่างๆ - จับกับ Plasma protein ยาไม่ออกฤทธ์ิ - Albumin ต่า ทาใหเ้ กดิ Toxic ได้  Metabolism (การเปลย่ี นแปลงของยา) - เปน็ กระบวนการทยี่ าถูกเปลี่ยนแปลงทางเคมีในร่างกาย ซ่ึงมผี ลมาจากปฏกิ ิริยา ของยาระหว่างยากับเอนไซม์ เกดิ ขนึ้ ที่ตับ  Excretion (การขับยาออกจากรา่ งกาย) - ยาจะถูกขบั ออกได้ทางไต ตับ ปอด - อาจจะขบั ออกทางนา้ นมและเหงื่อได้ในปริมาณเล็กน้อย - อวยั วะในการขบั ยาออก คือ ไต  Effect of food or drug intake - Drug absorption : อาหารหรือสารอาหารในกระเพาะและลาไสอ้ าจทาให้ลด การดดู ซึมของยา โดยการชะลอการย่อยอาหารหรือจับกับอนุภาคของอาหาร อาหารอาจทาหน้าทีเ่ พ่ิมหรือยับย้งั การเผาผลาญของยาบางชนดิ ในรา่ งกาย - Drug excretion : ยาจะถูกขับถ่ายออกทางไต - Dietary calcium : สามารถจับกบั ยาปฏชิ วี นะ “tetracycline” ซงึ่ เปน็ ยา รกั ษาการติดเชื้อ ไดแ้ ก่ มาลาเรีย ซฟิ ลิ สิ - กรดอะมโิ นในธรรมชาติ สามารถดูดซมึ กับ “levodopa” ซงึ เป็นยารกั ษาโรค พาร์กนิ สัน ซ่ึงจะไปเพ่ิมสารส่ือประสาทโดพามินในสมอง

24  Absorption Distribution - การรับปะทานไฟเบอรใ์ นปริมาณมากจะรบกวนการดูดซึมของ “Digoxin” ซง่ึ เป็นยากล่มุ ของ (Cardiac glycoside) ทม่ี ฤี ทธเิ์ พ่มิ การบบี ตัวของกลา้ มเนื้อ หัวใจ ใชร้ กั ษาหวั ใจวาย หวั ใจห้องบน - Metabolism : อาหารที่มีการบ่มหรือหมัก เชน่ โยเกิรต์ โดยจะทาปฏกิ ิรยิ ากับ ยา “Tyramine” ซ่งึ เปน็ การยบั ยง้ั เอนไซม์ monoamine oxidase ใชร้ ักษา โรควิตกกงั วล โรคพาร์กนิ สัน - Food hight Vit.K (ผักตระกูลกะหลา่ ) ลดประสทิ ธภิ าพของยา “Anticoagulant” ซงึ่ เปน็ ยาตา้ นการแข็งตวั ของเลือด - หา้ มรบั ประทาน Grapefruit juice พร้อมกับยาต่อไปน้ี “Cyclosporin” ซง่ึ เป็นยากดภูมคิ ุ้มกันใช้กับผปู้ ว่ ยทีม่ ีการปลูกถ่ายอวัยวะ เชน่ หัวใจ ไต และตับ “Certain statins” ซึ่งเป็นกลุม่ ยาลดคลอเลสเตอรอล

7. อาหารทางการแพทย์ categories company Name Caloric distribution (%) Com CHO PRO FAT CHO 11.2 fresenius kabi Fresubin 45 20 35 14 15.6 abbott Ensure 56 15 29 11. 12. abbott Jevity 62.72 16.32 31.68 12. 13.7 polymeric formula Nestle Boost optimum 46.8 16.8 36 11.2 10.7 Nestle Nutren-fibre 50 16 34 11.2 8.2 Nestle Isocal 50 13 37 11.8 13.1 Thai-otsuka Blendera-MF 54.88 16.28 29.79 15. 12.4 Nestle Nutren-balance 45 15 40 12.4 13.2 abbott GlucernaSR triple care 43 20 37 15.2 8.7 diabetic abbott GlucernaSR triple care 45 20 35 10.6 abbott Glucerna liquid 33 18 49 12. Thai-otsuka ONCE PRO 47.4 19.52 40.05 Thai-otsuka Gen-DM 52.56 16.92 30.51 disease- hepatic Thai-otsuka Aminoleban-oral 61.6 25.6 15.3 specific immuno- Thai-otsuka Neo-mune 49.72 24.6 25.65 modulatin Neo-mune 49.72 24.64 25.74 Thai-otsuka oral-impact 53 22 25 g Nestle Prosure 61 21 18 abbott renal abbott Nepro 35 18 47 semi- Thai-otsuka Pan-Enteral 42.72 12 45.27 elemental Nestle Peptamen 50 16 34

25 mposition (g/100 kcal) Electrolyte and Remark micronutrients (mg or O PRO FAT Na mEq/1K00 kcal) P 2 kcal fiber drink 25 5 3.89 30 80 60 fiber and FOS 4 3.75 3.22 84.35 156.52 54.78 mixed fiber and FOS 68 4.08 3.52 94.56 159.52 60.96 synbiotic added .7 4.2 4 37 120.6 47 .5 4 3.78 74.40 107.60 49.20 prebiotic .5 3.25 4.2 50 125 50 only for tube feeding | fiber free 72 4.07 3.31 78.35 108.76 55.72 25 3.75 4.44 87.00 126.00 68.00 FOS 75 5 4.11 93.78 164.44 74.67 fructose free | high soluble fiber 25 5 3.89 98.21 154.71 61.88 25 4.5 5.44 93.20 156.00 72.00 oral/ feeding (powder) 85 4.88 4.45 97.4 162.5 66.5 only for oral (liquid in box) 14 4.23 3.39 70.11 130.46 50.14 oral/ feeding (liquid in can) .4 6.4 1.7 22.6 77.1 39.9 whey PRO | omega-3,6,9 43 6.15 2.85 78.49 99.32 22.43 43 6.16 2.86 78.61 99.46 22.46 FOS | plant-based 25 5.5 2.78 105.94 132.67 71.29 BCAA 25 5.25 2 119.05 158.73 83.49 75 4.5 5.22 58.82 58.82 40 Vanilla flavor 68 3 5.03 44 110.46 43 melon flavor .5 4 3.78 67.97 89.45 55.86 100% whey | tropical fruit energy dense for dialysis | high protein | low Na, K, P whey pro 100% | MCT:LCT = 70:30

26 8. ชนิด/สตู รนมผงเดก็ ตามวยั นมผงแบ่งออกเป็น 3 สูตร ดงั น้ี 8.1 นมสตู ร 1 หรือนมผงดัดแปลงสาหรับทารกวัยแรกเกิด – 1 ปี มีการดัดแปลงให้มีส่วนประกอบใกล้เคียงนมแม่ โดยเฉพาะโปรตีน จะต้อง มีปริมาณใกล้เคียวนมแม่คือ 1.3กรัม ต่อ100 มล. และเติมไขมันท่ีย่อยง่าย พร้อม สารอาหารอ่ืนๆ เพื่อส่งเสริมการพัฒนาสมองและภูมิคุ้มกัน ควรดูแลให้ลูกได้รับนม ในปริมาณที่เหมาะสม ตามท่ีร่างกายต้องการ ตัวอย่างนมสูตร 1  นมผง Dumex Dupro ดูโปร 2 productnation  S-26 Progress productnation  Dumex Gold Plus 1 productnation  DG-1 Advance Gold productnation 8.2 นมสูตร 2 หรอื นมผงดัดแปลงสตู รตอ่ เน่อื งสาหรบั เด็กวัย 6 เดอื น – 3 ปี มีการเพ่มิ ปริมาณโปรตนี แคลเซียมและฟอสฟอรสั จากสูตร1 เพอ่ื สง่ เสรมิ การ เรยี นรู้ และรองรับความตอ้ งการการใชพ้ ลงั งานจากการเคล่ือนไหวของกลา้ มเนื้อท่ี เพ่ิมขึน้ ตัวอยา่ งนมสูตร 2  Hi-Q Supergold productnation  NAN HA นมผงสาหรบั เด็ก ชว่ งวัยที่ 1 เอชเอ 1 productnation  Similac ซิมแิ ลคแอดวานซ์แอลเอฟ productnation

27 8.3 นมสตู ร 3 หรอื นมผงสาหรบั เด็กวัย 1 ปีข้ึนไป และทุกคนในครอบครัว มกี ารเพิ่มปริมาณโปรตีนให้มากข้ึนจากเดมิ มีวิตามินและแร่ธาตุเพอ่ื ชว่ ย เสรมิ สรา้ งพฒั นาการทางสมอง เสริมสร้างกระดูกให้แข็งแรง และการเรยี นรสู้ ่ิงต่างๆ รอบตวั อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ตวั อย่างนมสูตร 3  Bear Brand ตราหมี นมผง แอดวานซ์ โพรเท็กซ์ชัน productnation  นมผง ซมิ ิแลค 3 พลสั เอ็นวอี ี เอไอคิว พลสั productnation  Nestle Carnation นมผง เนสท์เล่ คารเ์ นชัน 1+ สมาร์ทโก รสวานลิ ลา productnation

28 9. อาหารทางหลอดเลอื ดดา ความหมายของอาหารทางหลอดเลือดดา : เป็นสว่ นประกอบทอ่ี ยู่ในรูปของแรธ่ าตุหรือ สารอาหารก่อนยอ่ ยมาจาก คารโ์ บไฮเดรต : นา้ ตาลเดกโตส (dextrose) โปรตนี : กรดอะมิโน (amino acid) ไขมัน : ไขมนั อิมัลชนั (lipid emution) วติ ามนิ แร่ธาตุ และอิเล็คโทรไลต์ 9.1 อาหารทางหลอดเลือดดา แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท 1. PPN : Peripheral Parenteral Nutrition : การใหส้ ารอาหารผา่ นทางหลอด เลือดดาสว่ นปลาย 2. TPN : Total Parenteral Nutrition : การให้สารอาหารผ่านทางเสน้ เลอื ดดา ใหญ่ 9.2 ขอ้ บ่งชใ้ี นการใชอ้ าหารทางหลอดเลือดดา  ระบบทางเดนิ อาหารไม่ทางาน (non function GI tract) เช่น severe malabsorbtion , short bowel syndrome  ตอ้ งการใหร้ ะบบทางเดนิ อาหารได้พัก (bowel rest) เช่น Severe Pancreatitis  ผปู้ ว่ ยมีภาวะทพุ โภชนาการอย่างรุนแรง หรอื อยู่ในภาวะ hypercatabolic state และไม่สามารถรบั ประทานอาหารทางปากได้มากกวา่ 5 วนั  ผปู้ ว่ ยไมส่ ามารถไดร้ ับสารอาหารเพยี งพอเม่ือใชว้ ิธที างปาก  ผปู้ ่วยที่ตบั ออ่ นอักเสบอยา่ งรุนแรง  ผู้ป่วยที่ตดั ต่อลาไส้  ผปู้ ่วยเส้นเลอื ดทเ่ี ลย้ี งลาไส้ขาดเลือด  ผปู้ ่วยท่ีลาไส้ไม่บีบตวั

29  ผู้ปว่ ยท่ีลาไส้เลก็ อดุ ตัน  ผูป้ ว่ ยทีร่ ะบบทางเดินอาหารทะลุ 9.3 การใหส้ ารอาหารผา่ นทางหลอดเลอื ดดาใหญ่ (TPN)  สง่ อาหารผ่านทางหลอดเลอื ด femoral lines , internal jugular และ subclavian vein  Peripherally inserted central catheters (PICC) ถกู สอดสายให้อาหารผา่ น ทาง cephalic และ basilica veins  จะใหส้ ารอาหารผ่านทางเสน้ เลอื ดดาใหญ่ ในกรณีถา้ ให้ผ่านทางหลอดเลือดดา สว่ นปลายเกิดการอักเสยในระหว่างการรกั ษา เน่ืองจากคา่ pH , osmolarity และปรมิ าณสารอาหาร 9.4 การใหส้ ารอาหารทางหลอดดาสว่ นปลาย (PPN)  คาดวา่ ทาการรกั ษาในระยะเวลาส้นั (10-14 วนั )  ความตอ้ งการพลังงานและโปรตีนอย่ใู นระดับปานกลาง  กาหนดค่า osmolarity อยู่ในระหวา่ ง <600-900 mOsm/L  ไมจ่ ากัดสารน้า (A.S.P.E.N. Nutrition Support Practice Manual, 2005; p. 94) 9.5 สารอาหาร คารโ์ บไฮเดรท  แหล่งสารอาหาร : Monohydrous dextrose , Dextrose  คุณสมบตั ิ : เปน็ แหล่งพลังงาน และเปน็ แหลง่ ท่ีไม่มีไนโตรเจน (N2) : 3.4 Kcal/g : Hyperosmolar Coma : ภาวะน้าตาลในเลอื ดสงู มาก ***ปรมิ าณทแ่ี นะนา: 2 – 5 mg/kg/min 50-65% of total calories

30 กรดอะมโิ น  แหลง่ สารอาหาร: Crystalline amino acids - standard or specialty  คุณสมบัติ : 4.0 Kcal/g : กรดอะมโิ นจาเป็น EAA(Essential amino acids) 40–50% : กรดอะมโิ นไมจ่ าเป็น NEAA (Non Essential amino acids) 50- 60% Glutamine/Cysteine ***ปริมาณท่ีแนะนา: 0.8-2.0 g/kg/day 15-20% of total calories ไขมัน  แหล่งสารอาหาร: น้ามนั ดอกคาฝอย น้ามันถว่ั เหลอื ง ไข่  คุณสมบตั ิ : เปน็ ไตรกลเี ซอไรด์สายยาว (Long chain triglycerides) : เป็นสารละลายนอกเซลลท์ ี่มีความเขม้ ขน้ ที่น้อยกวา่ เซลล์ และ เท่ากบั เซลล์ (Isotonic or hypotonic) : เป็นสารอิมลั ชัน10 Kcals/g – ป้องกันการขาดกรดไขมันทจ่ี าเป็น ***ปริมาณทแ่ี นะนา: 0.5 – 1.5 g/kg/day (not >2 g/kg) 12 – 24 hour infusion rate

31 10.Percent of free water in enteral formulas Formular Density Percentage of free (kcal/mL) water (%) 1.0 84 1.2 81 1.5 75 2.0 70 (American Dietetic Association, 2004)

32 11.โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension) 11.1 DASH diet DASH Diet (Dietary Approaches to Stop Hypertension Diet) โดยชอ่ื DASH Diet หมายถึง แนวทางโภชนาการเพ่ือหยุดความดันโลหติ สูง หลกั การ : ลดการบริโภคอาหารที่มีเกลือโซเดยี ม ไขมันอม่ิ ตัว ไขมนั รวมและคอ เรสเตอรอลลดลง และเพม่ิ การรับประทานใยอาหาร โปรตีน แคลเซยี ม แร่ธาตตุ า่ งๆ อยา่ ง โปแตสเซยี มและแมกนเี ซยี ม รวมถึงปริมาณสารไนเตรททม่ี ีผลการศึกษาถงึ การลด ความดนั โลหติ สงู ได้

33 สัดส่วนการรบั ประทานอาหารตามหลัก DASH ใน 1 วัน : (Mayo Clinic Staff, 2017) ชนิดอาหาร สัดสว่ น ธญั พชื ชนดิ ต่างๆ โดยเนน้ เป็นธัญพชื ไม่ 7-8 ส่วนบรโิ ภค (หรือประมาณ 7-8 ทัพพี) ขัดสี ผักและผลไม้ อย่างละ 4-5 ส่วนบริโภค (หรอื ประมาณ 4-5 ทพั พี และผลไม้ 3-4 สว่ น) เน้ือสัตว์ไขมนั ตา่ อย่างเนือ้ ปลา 2-3 สว่ นบรโิ ภค ลดการรับประทานสตั ว์เนอ้ื แดง การ (หรือประมาณ 4-6 ช้อนกินข้าว) ตัดส่วนไขมนั หรือหนงั ของเนื้อสัตวแ์ ละ เลอื กรบั ประทานเนื้อสัตวไ์ ขมันตา่ น้ามนั หรือไขมนั 2-3 สว่ นบริโภค (หรอื ไมเ่ กิน 6 ชอ้ นชา) ถว่ั ชนิดตา่ งๆ เชน่ อัลมอนด์ ถัว่ 4-5 สว่ นบริโภค เลนทิล (หรอื ประมาณ 4-5 ฝา่ มือ) ต่อสปั ดาห์ ของหวานชนิดต่างๆ ไมเ่ กิน 5 ส่วนบรโิ ภคต่อสปั ดาห์* แนะนาให้ รบั ประทานนานๆครง้ั แนะนาให้ใชเ้ คร่ืองเทศหรือสมุนไพรตา่ งๆในการเสรมิ รสชาติอาหาร และลดการใช้ เกลอื หรือเคร่อื งปรุงที่มโี ซเดยี มสูงในการปรุงแตง่ อาหาร

34 สัดส่วนเทยี บเป็นพลังงาน

35 11.2 ค่าในการวินจิ ฉยั ความดันโลหิตสูง ตารางการจาแนกโรคความดันโลหิตสงู ตามความรนุ แรงในผใู้ หญอ่ ายุ18 ปี ขน้ึ ไป Category SBP DBP (มม.ปรอท) (มม.ปรอท) Optimal < 120 และ < 80 Normal 120-129 และ/หรือ 80/84 High normal 130-139 และ/หรอื 85-89 Grade 1 hypertension (mild) 140-159 และ/หรือ 90-99 Grade 2 hypertension 160-179 และ/หรือ 100-109 (moderate) Grate 3 hypertension >180 และ/หรอื >110 (severe) Isolated systolic >140 และ < 90 hypertension (ISH) หมายเหต:ุ SBP = systolic blood pressure; DBP = diastolic blood pressure. เม่ือ ความรนุ แรงของ SBP และ DBP อยตู่ า่ งระดบั กนั ให้ ถือระดบั ท่ีรนุ แรงกวา่ เป็นเกณฑ์ สาหรบั ISH กแ็ บง่ ระดบั ความรุนแรงเหมือนกนั โดยใช้แต่SBP ท่ีมา : แนวทางการรักษาโรคความดนั โลหิตสงู ในเวชปฏิบตั ิทัว่ ไป พ.ศ.2558

36 12.โรคไตเรอื้ รงั (CKD) 12.1 การแบง่ ระยะของCKD 12.2 พยากรณโรคไตเร้ือรังตามความสัมพนั ธของGFR และระดับอลั บูมิน ในปสสาวะ ท่มี า : คาแนะนาสาหรบั การดูแลผปู้ ่วยโรคไตเร้อื รังก่อนการบาบัดทดแทนไต พ.ศ.2558

37 12.3 ไตอักเสบเฉยี บพลนั (Nephrotic Syndrome) โรคไตเนฟโฟรติกเกิดจากมีความผิดปกติของหน่วยไต(Glomerulus) ที่ทาหน้าที่ กรองปัสสาวะทาใหร้ ่างกายสญู เสยี โปรตีนออกทางปสั สาวะ จงึ มรี ะดับโปรตนี ในเลอื ด ต่า บวม และภาวะไขมันในเลือดสูง โดยสารอาหารที่เก่ียวข้อง และสาคัญกับโรค ไตเนฟโฟรติก ไดแ้ ก่ โปรตีน ไขมัน และโซเดียม 13.3.1 โปรตนี ผู้ป่วยโรคไตเนฟโฟรติกจะมีการสูญเสียของโปรตีนทางปัสสาวะ ดังนั้น จะต้องได้รับโปรตีนท่ีเพียงพอ และควรเลือกแหล่งโปรตีนท่ีมีคุณภาพสูง (High Biological Value) เพราะมีกรดอะมิโนที่จาเป็นครบทุกชนิด และร่างกายสามารถ นาไปใช้ได้ดีทาให้ของเสียเกิดข้ึนน้อย เพ่ือชะลอการเสื่อมของไต และทดแทนการ สูญเสียของโปรตีน แต่หากได้รับโปรตีนมากเกินไปจะทาให้เพิ่มการสูญเสียโปรตีน และทางานของไต ควรบรโิ ภคอาหารทมี ีโปรตีนคณุ ภาพสงู เป็นโปรตีนท่ีพบได้ในอาหารประเภทเนอื้ สตั ว์ และผลิตภณั ฑ์จากสตั ว์ เช่น ไข่ นม เน้ือสัตว์ ปลา ไก่ เนื้อวัว หมู ควรหลกี เลียง เนื้อสตั วท์ ตี่ ิดมนั เครื่องในสัตว์ และ สัตว์ทะเลบางชนิด ได้แก่ กงุ้ ปู ปลาหมึก เพราะมปี ริมาณคลอเลสเตอรอลสงู อาจทา ให้กระตุ้นการสร้างไขมันท่ีตับเพิ่มขึ้น ควรรับประทานโปรตีนทีมีคุณภาพสูงอย่าง น้อย 50 % ของปริมาณโปรตีนทั้งหมด ตามคาแนะนาของแพทย์ หรือ นัก โภชนาการ 13.3.2 ไขมัน ภาวะไขมันในเลือดสูงเป็นภาวะแทรกซ้อนของโรคไตเนฟโฟรติก ท่ีมีการ สูญเสียโปรตีนทางปัสสาวะ จึงทาให้กระตุ้นการสร้างไขมันที่ตับมากผิดปกติ ดังน้ัน การควบคมุ อาหารท่ีมีไขมนั สูงจะชว่ ยเพอ่ื ป้องกันปจั จัยเส่ียงต่อภาวะหลอดเลือดแดง แข็งได้ โดยแนะนาให้บริโภคไขมันไม่อิมตัว เช่น น้ามันถัวเหลือง น้ามันราข้าว

38 น้ามันงา น้ามันมะกอก น้ามันทานตะวัน และน้ามันคาโนลา แต่เม่ือหายจากโรค ไตเนฟโฟรติก ภาวะไขมันในเลือดสงู จะหายดว้ ย ควรหลีกเลยี งอาหารทมี ีไขมนั อาหารทีมีกรดไขมันอิมตัวสูง เป็นไขมันที่พบในสัตว์และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ เช่น เนื้อสัตว์ติดมัน เคร่ืองในสัตว์ พบในผลิตภัณฑ์จากพืช เช่น กะทิ น้ามันปาล์ม และนา้ มันมะพร้าว อาหารทีมีไขมันทรานส์สูง เนยขาว มาการีน ผลิตภัณฑ์แปรรูปต่างๆ เช่น คกุ กี้ เค้ก โดนทั อาหารทีทาให้ไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูง อาหารประเภทแป้ง น้าตาล ขนม หวาน ผลไมร้ สหวานจัด เคร่อื งดืม่ ทม่ี ีรสหวาน และเคร่ืองดมื่ แอลกอฮอล์ อาหารทีมีคลอเลสเตอรอลสูง กุ้ง หอย ปลาหมึก ตับ ไข่แดง ไข่ปลา และ เครอื่ งในสัตว์ 13.3.3 โซเดยี ม หากร่างกายมีการสูญเสียโปรตีนทางปัสสาวะส่งผลให้ไตมีการดูดกลับของน้า และเกลือแรม่ าสะสมในรา่ งกายทาใหเ้ กดิ อาการบวม ควรหลกี เลียงอาหารทีมโี ซเดยี ม โซเดียมพบน้อยในอาหารธรรมชาติแต่จะพบมากในเครื่องปรุง อาหารแปรรูปและ อาหารหมักดอง เครืองปรุง เกลือ ซอสปรุงรส ผงชูรส น้าปลา ผงปรุงรสกะปิ ซอสมะเขือเทศ ซอสพรกิ นา้ จ้ิม เครอื่ งแกงตา่ งๆ อาหารแปรรูป บะหมี่กึ่งสาเร็จรูป ปลากระป๋อง ไส้กรอก ลูกช้ิน ขนมกรุบ กรอบ ขนมปัง กงุ้ แห้ง อาหารหมักดอง ผักและผลไม้ดอง แหนม กุนเชียง ไข่เค็ม ปลาร้า น้าบูดู เต้าเจีย้ ว

39 หากรับประทาอาหารที่มีโซเดียมสงู มากๆจะทาให้เกิดการค่ังของนา้ ในร่างกาย สง่ ผลให้เกดิ อาหารบวม ความดันโลหิตสงู และหวั ใจล้มเหลว

40 ขอ้ แนะนาในการลดโซเดียม  หลีกเล่ยี งการปรุงอาหารเพมิ่  หลีกเลี่ยงอาหารแปรรูป และอาหารหมักดอง  ประกอบอาหารแยกกบั สมาชกิ ในบา้ น  อา่ นฉลากโภชนาการเพอื่ เปรยี บเทียบปริมาณโซเดยี มในอาหาร  เมื่อทานอาหารนอกบ้าน ควรตกั ทานเฉพาะส่วนทเ่ี ปน็ เน้อื ไม่ราดนา้ แกง 13.3 สมุนไพรกบั ผู้ป่วยโรคไต สมุนไพรทีมี โพแทสเซยี ม รูปภาพ ผักชี (ใบ) Coriander (leaf) มะระ (ใบและผล) Bitter Melon (fruit, leaf) ขมนิ้ เหง้า Turmeric (rhizome) ดอกคาฝอย (ดอก) Safflower (flower)

41 ลกู ยอ Noni โสมอเมรกิ นั American Ginseng ใบบัวบก Gotu Kola กระเทยี ม (ใบ) Garlic (leaf) ตะไคร้ Lemongrass มะละกอ (ใบและผล) Papaya (leaf, fruit)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook