Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานนำเสนอ วิชาการบัญชีเบื้องต้น หน่วยการเรียนรู้ที่ 1

งานนำเสนอ วิชาการบัญชีเบื้องต้น หน่วยการเรียนรู้ที่ 1

Published by chim8719, 2020-04-14 09:38:04

Description: งานนำเสนอ วิชาการบัญชีเบื้องต้น หน่วยการเรียนรู้ที่ 1

Search

Read the Text Version

20200-1002 การบญั ชีเบื้องตน้ ผ้แู ต่ง : สภุ าพ เถ่อื นเมอื ง

รหัสวชิ า 20200–1002 ช่อื วิชา การบญั ชเี บอ้ื งต้น (Basic Accounting) 2-2-3 จดุ ประสงคร์ ายวชิ า 1. มคี วามเขา้ ใจหลักการ วิธกี ารและขน้ั ตอนการจดั ทาบญั ชีสาหรับกจิ การเจา้ ของคนเดียวประเภทธรุ กิจบริการ 2. มีทกั ษะปฏิบตั ิงานบญั ชเี บือ้ งตน้ ตามหลกั การบญั ชที ี่รบั รองท่วั ไป สาหรับกิจการเจ้าของคนเดียวประเภทธรุ กิจบรกิ าร 3. มกี ิจนสิ ยั มรี ะเบียบ ละเอยี ดรอบคอบ ซ่อื สตั ย์ มวี ินยั ตรงต่อเวลา และมเี จตคตทิ ่ีดีตอ่ วิชาชพี บญั ชี สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความร้เู กีย่ วกบั หลกั การ วิธกี ารและขน้ั ตอนการจัดบญั ชสี าหรับกจิ การเจ้าของคนเดยี วประเภทธุรกิจบริการ 2. ปฏิบัติงานบัญชสี าหรบั กจิ การเจ้าของคนเดยี วประเภทธุรกจิ ซ้อื ขายสินค้าตามหลกั การบญั ชีทีร่ บั รองทว่ั ไป คาอธิบายรายวชิ า ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความหมาย วัตถุประสงค์ และประโยชน์ของการบัญชี ข้อสมมติทางบัญชี ความหมายของสินทรัพย์ หน้ีสิน และส่วนของเจ้าของตามกรอบแนวคิดสาหรับการรายงานทางการเงิน สมการบัญชี การวิเคราะห์รายการค้า การบันทึกรายการ คา้ ตามหลกั การบัญชที ีร่ บั รองท่ัวไปของธรุ กจิ บรกิ ารเจา้ ของคนเดยี ว ในสมดุ รายวนั ท่ัวไป สมุดเงินสด 2 ชอ่ ง ผ่านรายการไป บญั ชแี ยกประเภท งบทดลอง กระดาษทาการชนดิ 6 ช่อง งบการเงิน ปรบั ปรงุ ปดิ บญั ชี และสรุปวงจรบัญชี

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 ความร้เู บ้อื งตน้ เก่ยี วกบั การบญั ชแี ละกฎหมายท่เี ก่ยี วขอ้ ง

สาระสาคญั ความร้เู บอื้ งต้นเก่ียวกบั การบัญชแี ละกฎหมายที่เกีย่ วข้องเปน็ เรือ่ งของความรู้เบื้องต้น ผู้ที่จะศึกษาวิชาการบัญชีเบื้องต้นควรทราบเพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาในหน่วยต่อไป เร่ิม ตั้งแต่ความหมายของการบัญชี วิชาชีพบัญชี ข้อสมมติทางบัญชี พระราชบัญญัติการบัญชี จรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี รูปแบบองค์กรธุรกิจ และการเขียนตัวเลขตามหลัก บัญชี เป็นต้น

ความหมายและ ประโยชนข์ องข้อมูล ประวตั คิ วามเป็นมา วตั ถุประสงคข์ องการ ทางบัญชี ของการบญั ชี บญั ชี วชิ าชพี บญั ชแี ละ ความรู้เบอ้ื งต้น หนว่ ยงานท่เี ก่ียวขอ้ ง ประเภทอาชีพ เกยี่ วกบั การบัญชแี ละ กบั วิชาชพี บญั ชี ของนกั บัญชี กฎหมายทีเ่ กย่ี วขอ้ ง ข้อสมมติทางบัญชี กฎหมายท่เี กยี่ วขอ้ ง จรรยาบรรณของ กับวชิ าชพี บัญชี ผู้ประกอบวชิ าชพี บญั ชี รปู แบบองคก์ รธุรกิจ การเขียนตัวเลขตาม หลักบญั ชี

ความหมายของการบญั ชี (Definition of Accounting) สภาวิชาชพี บัญชีในพระบรมราชปู ถมั ภ์ : การบญั ชี หมายถึง ศลิ ปะของการเก็บรวบรวม บันทกึ จาแนก และทาสรปุ ขอ้ มลู อนั เกย่ี วกับเหตกุ ารณท์ างเศรษฐกิจในรูปตัวเงิน ผลงานข้ันสดุ ทา้ ยของการบัญชคี ือ การให้ขอ้ มลู ทางการเงนิ ซึ่งเปน็ ประโยชน์แกบ่ ุคคลหลายฝ่ายและผู้ทสี่ นใจในกจิ กรรมของกิจการ Stan Snyder (CPA and expert bean counter) : การบัญชี คือ การบันทึก การสรุปการ รายงาน และการวิเคราะหธ์ ุรกรรมทางการเงิน (Accounting is the art of recording, summarizing, reporting and analyzing financial transactions) สมาคมผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศสหรัฐอเมริกา (The American Institute of Certified Public Accountants: AICPA) : การบัญชี คือ การบันทึก การจัดหมวดหมู่ และการสรปุ ใน ลักษณะท่ีมีนัยสาคัญในด้านของการเงิน การทาธุรกรรม และเหตุการณ์เก่ียวกับความเป็นจริงทางการเงินและ แสดงผลออกมา (Accounting is the art of recording, classifying and summarizing in a significant manner and in terms of money, transactions and events which are in fact at least of a financial character and interpreting the results thereof)

ความหมายของการบญั ชี การจดบนั ทึกรายการค้า (Recording) การจาแนกหมวดหมู่ (Classifying) การสรปุ ผล (Summarizing) การตคี วามหมาย (Interpreting)

ัวตถุประสงค์ของการบัญ ีช (Purpose of Accounting) เพือ่ บันทกึ รายการค้าทเ่ี กิดขน้ึ เพ่อื ใหเ้ จ้าของกิจการทราบฐานะการเงินและผลการดาเนนิ งานของกจิ การ เพอ่ื ป้องกันการทุจริต การถูกยักยอก และการสญู หายของสนิ ทรัพย์ เพ่อื เปน็ ข้อมลู ในการตดั สินใจลงทนุ /ขยายกจิ การของเจา้ ของกิจการ เพ่ือเปน็ ขอ้ มลู ในการตดั สนิ ใจให้สนิ เชอื่ /เครดิตของสถาบันการเงิน เพื่อใหเ้ ปน็ ไปตามขอ้ บงั คบั /ข้อกาหนดของกฎหมาย เพือ่ ประกอบการคาานวณภาษเี งินได้

ประโยชน์ ประโยชนภ์ ายในกิจการ ประโยชนภ์ ายนอกกิจการ ของขอ้ มลู ทางบญั ชี ทาใหเ้ จา้ ของกจิ การ/ผบู้ ริหารสามารถควบคุมดูแล เปน็ ขอ้ มลู ในการตดั สินใจลงทุนของนกั ลงทุน สนิ ทรพั ย์ของกิจการไมใ่ ห้เกิดการทุจริต เปน็ ขอ้ มลู ในการพจิ ารณาการให้เครดิต/สินเช่อื ทาใหเ้ จ้าของกจิ การ/ผู้บรหิ ารทราบผลการดาเนนิ งาน แกก่ จิ การของสถาบนั การเงนิ และฐานะการเงนิ ของกิจการ เป็นขอ้ มลู ประกอบการคานวณภาษเี งนิ ได้ ทาให้เจ้าของกิจการ/ผบู้ ริหารสามารถกาหนดนโยบาย เปน็ ขอ้ มลู ในการนาเสนอตอ่ หน่วยงานของรฐั ในการวางแผน การควบคมุ และการตดั สินใจ ช่วยในการตรวจสอบและหาขอ้ ผิดพลาด

ระบบบญั ชีคู่เกดิ ขึ้นในประเทศอติ าลี รชั กาลที่ 6 ทรงโปรดฯ ใหค้ ดั เลือกและ ประเทศไทยไดม้ ีการเปล่ียนแปลงการ โดย ลูกา ปาซโิ อลิ (Luca Pacioli) ส่งบุตรขา้ ราชการไปเรียนทางดา้ น ปกครองในวนั ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 มีการออกประมวลรัษฎากร นกั คณิตศาสตร์ชาวอิตาลี พาณิชย์และบญั ชที ีป่ ระเทศองั กฤษและ จัดเก็บภาษเี งินได้บุคคลธรรมดาและ โปรดฯ ใหต้ งั้ โรงเรยี นพาณิชยการขึ้น จัดพิมพห์ นังสอื ชื่อ “Summa de ภาษีเงนิ ไดน้ ิติบุคคล Arithmetica, Geometria, 2 แห่ง Proportioniet Proportionalita\" สมัยรชั กาลที่ 5 พระองคท์ รง ในวนั ท่ี 22 ตุลาคม พ.ศ. 2481 ได้ พระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหบ้ รรจเุ ร่อื ง จดั ตั้งคณะพาณิชยศาสตรแ์ ละการบญั ชี การบัญชีในประเทศไทยเริ่มมมี าตั้งแต่ การบัญชีเป็นสาขา 1 ใน 8 อยา่ ง ข้นึ ทีจ่ ุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลัยและที่ สมยั กรุงศรอี ยธุ ยา ในชว่ ง พ.ศ. 2193-2231 ของช้นั ประโยค 2 มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ สมเด็จพระนารายณ์มหาราช มกี าร ประวตั คิ วามเปน็ มาของ เจรญิ สมั พันธไมตรกี ับกล่มุ ประเทศ การบัญชี ทางยโุ รปและไดม้ ีการจดั ทาบัญชีข้ึน เลม่ แรกคอื บญั ชเี งนิ สด

ประเภทอาชีพ ของนกั บญั ชี การบญั ชีสาธารณะ การบญั ชีธรุ กิจ การบญั ชีสว่ นราชการ (Public Accounting) (Business Accounting) (Governmental Accounting)

หน่วยงาน สภาวชิ าชีพบัญชี (Federation of Accounting Professions) ที่เกยี่ วขอ้ งกบั กรมสรรพากร (The Revenue Department) วิชาชีพบัญชี กรมพัฒนาธุรกจิ การค้า (Department of Business Development) หนว่ ยงานอ่ืนๆ

ข้อสมมติทางบัญชี เกณฑ์คงคา้ ง คือเกณฑ์ทก่ี าหนดให้กิจการต้องรับรู้ ใช้ในการนาเสนองบการเงินตามมาตรฐานการรายงาน รายการค้าในรอบระยะเวลาบญั ชที ี่เกดิ รายการค้าน้ัน ซง่ึ ทางการเงิน สาาหรบั กจิ การที่ไมม่ สี ว่ นได้เสีย อาจเปน็ รอบระยะเวลาบัญชเี ดียวกนั หรือตา่ งกนั กบั รอบ สาธารณะ สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ระยะเวลาบญั ชีท่กี ิจการไดร้ บั หรอื จา่ ยชาระเงินสด การดาเนนิ งานต่อเนื่อง คอื ขอ้ สมมติวา่ กจิ การจะยังคง ดาเนนิ งานอยตู่ ่อไปในอนาคตอย่างต่อเน่อื ง หากมขี อ้ สงสัย เกย่ี วกบั การดาเนินงานตอ่ เน่อื ง กจิ การต้องวดั มลู ค่า รายการท่ีรบั รู้ในงบการเงนิ ดว้ ยเกณฑ์ทต่ี า่ งจากเกณฑท์ ี่ มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ ฉบบั นีก้ าหนดไว้

กฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง มาตรฐานการบัญชี ฉบับท่ี 1 (ปรับปรงุ 2561) กับวิชาชพี บญั ชี เร่อื ง การนาเสนองบการเงิน พระราชบัญญัตกิ ารบญั ชี พ.ศ. 2543 ฉบับที่ 2 (ปรบั ปรงุ 2561) เร่อื ง สนิ คา้ คงเหลอื พระราชบญั ญัตวิ ิชาชพี บัญชี พ.ศ. 2547 ฉบับที่ 16 (ปรบั ปรงุ 2561) เรือ่ ง ท่ีดนิ อาคาร และอุปกรณ์

จรรยาบรรณ โทษการประพฤตผิ ิดจรรยาบรรณ ของผู้ประกอบวิชาชพี บัญชี ความโปร่งใส ความเป็นอิสระ ความเที่ยงธรรม ตกั เตือนเป็นหนงั สือ และความซอื่ สตั ย์สุจรติ ความรู้ ความสามารถ และ ภาคทัณฑ์ มาตรฐานในการปฏิบัตงิ าน ความรับผดิ ชอบตอ่ ผ้รู ับบรกิ ารและการ พกั ใช้ใบอนญุ าต รกั ษาความลบั เพกิ ถอนใบอนญุ าต ความรับผิดชอบต่อผ้ถู ือหนุ้ ผูเ้ ปน็ หุ้นสว่ น หรือบุคคล หรอื นิตบิ ุคคลท่ี ผปู้ ระกอบวิชาชพี บัญชีปฏบิ ัตหิ นา้ ทใ่ี ห้



การเขยี นตัวเลขตามหลกั บญั ชี เขยี นใหช้ ัดเจน อา่ นงา่ ย ขนาดไม่เล็กจนเกินไป ถา้ ตัวเลขเปน็ จานวนเงนิ ต้ังแต่ 3 หลักขนึ้ ไป ให้ใส่เครอื่ งหมายจลุ ภาคคนั่ เช่น 2,000 ถ้าเขียนตัวเลขเรียงกันหลายแถวตอ้ งเขียนใหห้ ลกั ตรงกนั หากมเี ศษสตางค์ใหใ้ ส่จดุ คน่ั ระหว่างบาทและสตางค์ ถ้าเขียนตวั เลขลงในชอ่ งจานวนเงนิ ให้เขยี นชดิ เสน้ ด้านขวา หากไมม่ เี ศษสตางคใ์ หใ้ ส่เครื่องหมาย – ลงในชอ่ งสตางค์ เขียนจานวนเงินเป็นตัวอักษรกากบั ยอดรวมทกุ คร้งั การแก้ไขตัวเลข หา้ มใชย้ างลบหรอื น้ายาลบคาผิด แตใ่ หข้ ดี ฆา่ และเขยี นตวั เลขทีถ่ ูกตอ้ งพรอ้ มลงลายมือชอ่ื กากับไว้

สรปุ ความหมายของการบัญชไี ด้แก่ 1. การจดบันทึกรายการค้า (Recording) คือการรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับเหตุการณ์ต่างๆ ทางเศรษฐกิจในรปู ของตัวเงินเพือ่ บันทึกใน สมุดบันทึกรายการ โดยเร่ิมตั้งแต่สมุดบันทึกรายการขั้นต้น อาจบันทึกด้วยมือ (Manual) หรือบันทึกด้วยเคร่ืองคอมพิวเตอร์ อาจใช้ โปรแกรมชุดสานักงานหรอื โปรแกรมบัญชสี าเรจ็ รูปกไ็ ด้ 2. การจาแนกหมวดหมู่ (Classifying) คือการจัดประเภทรายการค้าออกเป็นหมวดหมู่ โดยหลักการบัญชีสามารถจัดได้ 5 หมวด การจัดประเภทรายการค้าออกเป็นหมวดหมจู่ ะทาาให้รายการค้าประเภทเดียวกันหรือเหมือนกันรวมอยู่ที่เดียวกัน ทาาให้การค้นหาและการ ประมวลผลทาไดส้ ะดวก รวดเร็วและลดขอ้ ผดิ พลาด 3. การสรุปผล (Summarizing) คือการสรุปผลการดาเนินงานและฐานะการเงินของกิจการ ณ รอบระยะเวลาบัญชีหนึ่ง อาจเป็น รายเดือน รายไตรมาส ราย 6 เดือน หรือรายปีก็ได้ แต่ตามกฎหมายกาหนดไว้ว่าต้องสรุปผลหรือปิดบัญชีอย่างน้อยปีละคร้ังหรือรอบ ระยะเวลา 12 เดอื น 4. การตีความหมาย (Interpreting) คอื การนาาผลสรปุ ท่ีได้ไปตคี วามหมายเพอ่ื เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจของผู้ท่ีเก่ียวข้อง เช่น เจ้าของกิจการ ผ้ลู งทุน สถาบันการเงิน

วัตถุประสงค์ของการบญั ชี (Purpose of Accounting) 1. เพอื่ บนั ทกึ รายการค้าที่เกดิ ขึน้ 2. เพ่ือให้เจ้าของกิจการทราบฐานะการเงิน ณ วันใดวันหน่ึง (พิจารณาจากสินทรัพย์ หน้ีสินและส่วนของเจ้าของ) และผลการ ดาเนนิ งานของกจิ การ (พจิ ารณาจากรายไดแ้ ละค่าใช้จา่ ย) 3. เพอ่ื ปอ้ งกันการทุจริต การถกู ยกั ยอก และการสูญหายของสนิ ทรัพย์ 4. เพอื่ เป็นขอ้ มูลในการตดั สินใจลงทุน/ขยายกจิ การของเจา้ ของกจิ การ 5. เพือ่ เป็นข้อมลู ในการตัดสินใจให้สินเช่ือ/เครดติ ของสถาบันการเงิน 6. เพือ่ ให้เป็นไปตามข้อบงั คับ/ข้อกาาหนดของกฎหมาย 7. เพอ่ื ประกอบการคาานวณภาษเี งินได้ คานิยามของวิชาชีพบัญชีตามพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 หมายถึง วิชาชีพในด้านการทาบัญชี ด้านการสอบบัญชี ด้าน การบัญชีบริหาร ด้านการวางระบบบัญชี ด้านการบัญชีภาษีอากร ด้านการศึกษาและเทคโนโลยีการบัญชี ทั้งน้ีในภายหน้าหากเห็นว่ามี บริการเกี่ยวกับการบัญชีด้านใดท่ีมีความสาคัญ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์อาจออกกฎกระทรวงกาหนดบริการเก่ียวกับการบัญชี ด้านน้นั เพิม่ เตมิ ขนึ้ ในคานิยามวิชาชีพบัญชกี ็ได้ เช่น การตรวจสอบภายใน อาชีพของนักบัญชีแบ่งตามประเภทของธุรกิจและลักษณะงานที่ทาได้ 3 ประเภท คือการบัญชีสาธารณะ การบัญชีธุรกิจ และการ บัญชสี ว่ นราชการ

หนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับวชิ าชพี บญั ชีมหี ลายหนว่ ยงาน ไดแ้ ก่สภาวชิ าชพี บญั ชี กรมสรรพากร กรมพฒั นาธุรกิจการค้า และหนว่ ยงานอน่ื ๆ ข้อสมมติทางบัญชีท่ีใช้ในการนาเสนองบการเงินตามมาตรฐานการรายงาานทางการเงิน สาหรับกิจการที่ไม่มีส่วนเสียสาธารณะ ประกอบดว้ ยเกณฑ์คงคา้ ง (Accrual Basis) และการดาเนนิ งานต่อเนอื่ ง (Going Concern) กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับวิชาชีพบัญชีได้แก่มาตรฐานการบัญชีพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ.2543 และพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 ในการประกอบธุรกิจอาจดาเนินงานได้หลายรูปแบบข้ึนอยู่กับปัจจัยหลายอย่างเช่นเงินทุนลักษณะของธุรกิจ วิธีการดาเนินธุรกิจ ความรู้ความสามารถประสบการณ์และความพึงพอใจของผู้ประกอบธุรกิจ ดังนั้นการดาเนินธุรกิจจึงมีท้ังการลงทุนโดยบุคคลคนเดียวหรือ ลงทุนร่วมกับผู้อนื่ เพ่อื ให้การประกอบธรุ กิจประสบความสาเร็จนามาซึง่ ผลประโยชนแ์ ละกาไรสงู สดุ รปู แบบของธรุ กิจในประเทศไทยแบ่งออกเปน็ 2 ประเภท คือเป็นนติ ิบคุ คลและไมเ่ ปน็ นติ ิบุคคล