Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงงาน-เส้นทางขยะสู่ขุมทรัพย์คนเมือง

โครงงาน-เส้นทางขยะสู่ขุมทรัพย์คนเมือง

Published by Nicha Si, 2022-06-14 10:07:21

Description: โครงงาน-เส้นทางขยะสู่ขุมทรัพย์คนเมือง

Keywords: ขยะมูลฝอยเป็นปัญหาที่สำคัญของประเทศไทย ซึ่งทุกภาคส่วนให้ความสำคัญและร่วมมือกันแก้ไขปัญหาตั้งแต่ต้นทางจนถึงปลายทาง เนื่องจากหากขยะมูลฝอยได้รับการจัดการอย่างไม่ถูกต้อง อาจก่อให้เกิดมลพิษ เหตุเดือดร้อนรำคาญ รวมถึงการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิในชั้นบรรยากาศของโลก คณะผู้ศึกษาจึงสนใจทำโครงงานเรื่องเส้นทางขยะสู่ขุมทรัพย์คนเมือง เพื่อศึกษารูปแบบและวิธีการจัดการขยะที่เหมาะสม พร้อมให้ความรู้และสร้างความตระหนักในเรื่องการคัดแยกขยะอย่างถูกต้องโดยเริ่มจากนักเรียนในโรงเรียนมัธยมเทศบาล ๖ นครอุดรธานี

Search

Read the Text Version

โครงงานเรอื่ ง เส้นทางขยะส่ขู ุมทรัพย์คนเมือง กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม จัดทาโดย น.ส.เขมมกิ าร์ สงิ ห์ทอง น.ส.ปราณปรยิ า ศรใี สแกว้ น.ส.หทยั ภทั ร อัครวงค์ นักเรียนระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 5 โรงเรียนมัธยมเทศบาล ๖ นครอุดรธานี สานกั การศึกษา เทศบาลนครอดุ รานี

คานา ขยะมูลฝอยเป็นปัญหาทีส่ าคัญของประเทศไทย ซึง่ ทุกภาคส่วนให้ความสาคญั และร่วมมอื กัน แก้ไขปัญหาต้ังแต่ต้นทางจนถึงปลายทาง เน่ืองจากหากขยะมูลฝอยได้รับการจัดการอย่างไม่ถูกต้อง อาจก่อให้เกิดมลพิษ เหตุเดือดร้อนราคาญ รวมถึงการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิในชั้นบรรยากาศของโลก คณะผู้ ศึกษาจึงสนใจทาโครงงานเรื่องเส้นทางขยะสู่ขุมทรัพย์คนเมือง เพื่อศึกษารูปแบบและวิธีการจัดการขยะท่ี เหมาะสม พรอ้ มให้ความรู้และสร้างความตระหนักในเรือ่ งการคัดแยกขยะอยา่ งถูกต้องโดยเรม่ิ จากนักเรียนใน โรงเรียนมัธยมเทศบาล ๖ นครอุดรธานี โครงงานน้ี สาเร็จลงได้ด้วยความกรุณาและความช่วยเหลืออย่างดียิ่งจาก ดร.พนิชย์ สิมลี, นายปัญญาพร อินธิเสน ครูที่ปรึกษาโครงงานซึ่งได้ให้คาปรึกษาข้อชี้แนะ และความช่วยเหลือในหลายส่ิง หลายอย่างจนกระทั่งลลุ ่วงไปได้ดว้ ยดี ขอกราบขอบพระคณุ เปน็ อย่าสูงมา ณ ท่ีน้ี ขอขอบพระคุณคณะผู้บริหารสถานศึกษา นายกฤษดา โสภา ผู้อานวยการสถานศึกษา โรงเรียนมัธยมเทศบาล ๖ นครอุดรธานี นายธนากร รัฐถาวร และ นายกิตติ กุลธนานพเดช รองผู้อานวยการสถานศึกษาโรงเรยี นมธั ยมเทศบาล ๖ นครอุดรานี ท่ีใหก้ ารสนับสนนุ การจัดทาโครงงาน และ ขอขอบพระคุณบุคลกรจากสานักการช่าง สานักการสาธารณสุขและสง่ิ แวดล้อม เทศบาลนครอุดรธานี ที่ให้ การสนับสนุนข้อมลู ทางวิชาการในการจดั การขยะเพือ่ นามาจัดทาโครงงานในครง้ั น้ี คณะผู้ศกึ ษา

สารบญั เรือ่ ง หนา้ บทท่ี 1 บทนา 1 บทท่ี 2 เอกสารท่ีเก่ยี วข้อง 3 บทท่ี 3 วธิ ดี าเนนิ งาน 16 บทท่ี 4 ผลการศึกษา 17 บทท่ี 5 สรุปและขอ้ เสนอแนะ 20

บทท่ี 1 บทนา เสน้ ทางขยะส่ขู มุ ทรัพย์คนเมือง 1.1 ความเป็นมาและความสาคญั ของปัญหา ปัญหาขยะยังคงเป็นปัญหาสาคัญทั้งในระดับชุมชนและระดับประเทศ สาเหตุเน่ืองมาจาก การเปลย่ี นแปลงวถิ ชี ีวิตความเป็นอยูข่ องประชาชนในสังคมไทย เช่น กจิ กรรมทางเศรษฐกิจ ชมุ ชนเมืองทีข่ ยาย ตัวอย่างรวดเร็ว อตั ราการใชส้ ิ่งอานวยความสะดวกและสิ่งของอปุ โภค - บริโภค ประกอบกบั สถานการณ์ การ แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทาให้พฤติกรรมการบริโภคของประชาชน เปล่ียนแปลงไป มีความต้องการใช้เคร่ืองใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เพ่ิมมากข้ึน รวมถึงการ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยี ส่งผลให้มีการเปลี่ยนอุปกรณ์บ่อยขึ้นเพื่อให้ทันต่อเทคโนโลยีท่ี ทันสมัย การนาเข้าผลิตภัณฑ์บางส่วนท่ีมีคุณภาพต่าทาให้อายุการใช้งานของผลิตภัณฑ์ฯ ไม่ยาวนานและ ก่อให้เกิดเปน็ ของเสียอนั ตรายจากชมุ ชน (รายงานสถานการณ์ของเสียอันตรายจากชุมชน ปี พ.ศ. 2564, กอง จดั การกากของเสียและสารอนั ตราย กรมควบคมุ มลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม, หนา้ 3) จึงนามาซ่ึงปัญหาสุขภาพ ปัญหาเศรษฐกจิ และที่สาคญั ปัญหาส่ิงแวดล้อมท้ังทางตรงและทางอ้อม ซ่งึ คนสว่ น ใหญ่ไม่ทราบวา่ การคัดแยกขยะก่อนท้ิงนัน้ มีความสาคัญอยา่ งไร อีกทั้งการคัดแยกขยะกย็ ังจากัดอยู่ในวงแคบ และส่งิ อานวยความสะดวกในการทิ้งอย่างถูกตอ้ งก็หายาก เช่น ไมม่ ถี ังแยกขยะตามประเภท ระบบแยกขยะ มหี ลายระบบ ป้ายไมช่ ดั เจน เป็นต้น หลายปีมาน้ีหลายภาคส่วนต่างหันมาให้ความสาคัญเร่ือง “ขยะ” กันมากขึ้น แนวทางหนึ่งท่ี ถูกกล่าวถึงในระดับสากลว่าเป็นทางออกสาคัญท่ีจะนาไปสู่การแก้ปัญหาอย่างยั่งยืนคือการจัดการขยะตาม แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) แต่ส่ิงน้ีจะเกิดขึ้นได้จาเป็นต้องมีการจัดการและเเยกขยะ อย่างถูกวิธีตั้งแต่ต้นทาง เพ่ือให้ง่ายสาหรับการนาไปผ่านกระบวนการต่าง ๆ และสร้างมูลค่าเพ่ิม ดังเช่นที่ ภาคประชาชนในหลายชุมชนได้ตื่นตัวและลุกข้ึนมาจดั การ “ขยะต้นทาง” อย่างเป็นรูปธรรมมากข้ึน ซ่ึงถือ เปน็ สว่ นสาคัญที่ทาให้เกดิ วงจรการจัดการขยะท่ีสมบูรณ์ การคดั แยกขยะน้ันมขี ้อดี คือ ชว่ ยลดปริมาณขยะลง เพราะเมอ่ื แยกวัสดุสว่ นที่ยงั มปี ระโยชน์ เช่น แก้ว กระดาษ พลาสติก โลหะ ออกไปแล้วจะเหลือขยะจริง ๆ เพื่อนาไปกาจัดน้อยลง ทาให้ประหยัด งบประมาณท่ใี ช้เพื่อการกาจัดขยะลงไป ซง่ึ สามารถนาไปพัฒนาการจัดการขยะหรอื แก้ปัญหาด้านสงิ่ แวดลอ้ ม เพ่ือคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึนได้ พฤติกรรมของนักเรียนโรงเรียนมัธยมเทศบาล ๖ นครอุดรธานีหลายๆ คน ยังขาด ความตระหนกั ถึงการคดั แยกขยะกอ่ นทิง้ ลงถงั ขยะ ซ่งึ สง่ ผลทั้งทางตรงและทางอ้อม จากความเป็นมาและความสาคัญดงั กล่าว ทาใหค้ ณะผู้ศกึ ษาคน้ ควา้ สนใจศึกษา เร่ือง เสน้ ทางขยะสู่ขมุ ทรพั ยค์ นเมอื ง เพอื่ ศึกษารปู แบบและวิธกี ารจัดการขยะที่เหมาะสม พร้อมใหค้ วามร้แู ละ สร้างความตระหนักในเรอ่ื งการคดั แยกขยะอย่างถูกต้องโดยเรม่ิ จากนักเรยี นในโรงเรียนมธั ยมเทศบาล ๖ นครอดุ รธานี

2 1.2 วัตถุประสงค์ 1. เพ่ือศึกษารูปแบบและวิธีการจัดการขยะท่ีเหมาะสม 2. เพอื่ ให้ความร้ดู า้ นการคัดแยกขยะภายในโรงเรียน 3. เพ่อื สร้างจติ สานึกความรับผิดชอบและความตระหนกั รู้ถึงความสาคญั ของการคัดแยกขยะ 1.3 สมมุตฐิ าน มีการจัดการและคดั เเยกขยะอย่างถกู วธิ ตี งั้ แตต่ น้ ทาง 1.4 ขอบเขตของปญั หา ใช้ข้อมูลประมาณการปริมาณขยะทุกประเภทที่เกิดข้ึนภายในโรงเรยี นมธั ยมเทศบาล ๖ นคร อุดรธานี เป็นข้อมลู สาหรับการศึกษา เช่น - ปรมิ าณขยะในโรงเรียน - สาเหตุท่มี าของขยะ - วิธีการป้องกันขยะในโรงเรียน - วธิ กี ารลดปริมาณขยะในโรงเรยี น 1.5 ระยะเวลา ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2565 1.5 ตวั แปรท่ีใช้ในการศึกษาคน้ คว้า - ตัวแปรต้น คือ พฤติกรรมการท้งิ ขยะของนกั เรยี นท่ไี ม่คานงึ ถึงประเภทของขยะ - ตวั แปรตาม คอื ขยะในโรงเรยี นลดน้อยลง 1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รบั จากโครงงาน 1) ทราบถงึ รปู แบบและวธิ ีการจัดการขยะท่ีเหมาะสม 2) มีความรแู้ ละทราบถงึ วิธีการคดั แยกขยะภายในโรงเรียน 3) มีความตระหนกั รู้และความรับผดิ ชอบถงึ ความสาคัญของการคดั แยกขยะ

บทท่ี 2 เอกสารท่เี ก่ียวขอ้ ง เอกสารท่ใี ชใ้ นการศึกษาค้นคว้า เรอ่ื ง เสน้ ทางขยะสขู่ ุมทรพั ย์คนเมอื ง มหี วั ขอ้ และรายละเอยี ดดงั น้ี 1. รูปแบบและวธิ กี ารจัดการขยะทเ่ี หมาะสม 2. การคดั แยกขยะ 3. เพอ่ื สรา้ งจติ สานกึ ความรับผิดชอบและความตระหนักรถู้ ึงความสาคญั ของการคดั แยกขยะ 2.1 ความหมาย (1) ขยะหรือมูลฝอย (Solid waste) หมายความถึง เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษสินค้า เศษวัตถุถุงพลาสติก ภาชนะทใ่ี สอ่ าหาร เถ้า มูลสัตวซ์ ากสัตว์ หรือส่ิงอื่นใดที่เกบ็ กวาดจากถนน โรงอาหารหรอื ทีอ่ ่นื และหมายความรวมถงึ มลู ฝอยตดิ เชอื้ มูลฝอยท่เี ปน็ พษิ หรืออนั ตราย (2) วัสดุเหลือใช้ (Waste residues) หมายความถึง สิ่งของ เครื่องใช้หรือสินค้าที่ผ่านการใช้ งานแล้วหรอื หมดอายกุ ารใชง้ านแล้ว หรอื ทีเ่ หลือจากความตอ้ งการและไม่เปน็ ที่ต้องการจะใช้อีกต่อไป (2.1) วัสดุเหลอื ใชท้ ั่วไป หมายความถึง สงิ่ ของหรือสินค้าที่ไม่ใช้แล้วแตไ่ ม่เป็นอันตราย ตอ่ บคุ คล ทรัพยส์ ินหรือส่งิ แวดลอ้ ม เชน่ ยางรถยนต์เศษผ้า เศษไม้ (2.2) วัสดุเหลือใช้ที่เป็นอันตราย หมายความถึง ส่ิงของหรือสินค้าที่ไม่ใช้แล้วและ ปนเป้ือนหรือสัมผัสหรือมีส่วนประกอบของวัตถุอันตราย ตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 เช่น แบตเตอร่ี ถ่านไฟฉาย นา้ มันเครื่องใช้แล้ว ตัวทาละลาย (3) ภาชนะรองรับขยะ (Storage Container) หมายความถึง ภาชนะสาหรับเก็บกักและ รวบรวมขยะแต่ละประเภท ณ แหล่งกาเนิดต่าง ๆ เพ่ือให้การจัดเก็บรวบรวมเป็นไปอย่างมีประสทิ ธิภาพและ ลดการปนเป้ือนของขยะท่ีมีศักยภาพในการน ากลับมาใช้ใหม่ รวมทั้งสามารถนาขยะไปกาจัดได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ (4) การคัดแยกขยะ (Waste Separation) หมายความถึง กระบวนการหรือกิจกรรมจัดแบ่ง หรือแยกขยะออกเป็นประเภทตา่ ง ๆ ตามลกั ษณะองคป์ ระกอบ เชน่ แก้ว กระดาษ พลาสตกิ โลหะ อลูมิเนยี ม โดยใช้แรงงานคนหรอื เคร่ืองจกั รกล เพอ่ื การนากลบั ไปใช้ประโยชนใ์ หมห่ รือใชป้ ระโยชน์ทางพาณชิ ย์ (5) การใช้ประโยชน์ขยะ (Waste Utilization) หมายความถึง การนาขยะกลับมาใช้ประโยชน์ ใหม่ในรปู แบบต่าง ๆ เชน่ การแปรรูปใช้ใหม่ การใชซ้ ้า การใช้ประโยชน์ด้านพลงั งาน การหมักปุ๋ย และการนา ขยะมาเป็นเชือ้ เพลงิ แข็ง เปน็ ตน้ (6) การใช้ซ้า (Reuse) หมายความถึง การนาขยะรีไซเคิล ของเสยี บรรจุภัณฑ์หรือวัสดุเหลือ ใช้กลับมาใชอ้ กี ในรปู ลกั ษณะเดิมโดยไมผ่ า่ นกระบวนการ แปรรูปหรอื แปรสภาพ (7) การแปรรูปใช้ใหม่ (Recycling) หมายความถึง การนาขยะ รีไซเคิล ของเสียบรรจุภัณฑ์ หรือวัสดุเหลือใช้มาแปรรูปเป็นวัตถุดิบในกระบวนการผลิตหรือเพ่ือผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่(8) ธนาคารขยะ

4 หมายความถึง กิจกรรมการซื้อขายขยะรีไซเคิลในหน่วยงานหรือชุมชนโดยรายได้ท่ีเกิดข้ึนจะถูกบันทึกลงบน สมุดคฝู่ ากของสมาชิก ซึ่งสามารถฝากหรือถอนไดใ้ นลกั ษณะเดยี วกันกับธนาคารพาณิชย์ขยะรีไซเคิลจะถูกเก็บ รวบรวมไวแ้ ละจาหนา่ ยใหก้ ับร้านรับซอ้ื ของเกา่ ตอ่ ไป (9) สถานท่ีรับซ้ือของเก่า (Junk shop) หมายความถึง สถานท่ีหรือบริเวณท่ีจัดไว้เพื่อ การซ้ือ-ขายขยะรีไซเคิล วัสดุเหลือใช้หรือของเก่าที่สามารถนามาใช้ประโยชน์ใหม่ได้เช่น กระดาษ ขวด กระป๋อง แก้ว พลาสตกิ และวัสดอุ ่นื ๆ และมีการรวบรวมไว้เพอื่ จาหนา่ ยใหแ้ ก่ผปู้ ระกอบการท่ีเกย่ี วข้องตอ่ ไป 2.2 สถานการณ์ขยะมูลฝอยชมุ ชนของประเทศไทย ปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนท่ีเกิดข้ึนของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2563 พบว่า ปริมาณขยะมูล ฝอยชุมชนท่ีเกิดขึ้น ประมาณ 25.37 ล้านตัน หรอื ประมาณ 69,322 ตันต่อวนั (366 วัน) หรือมีอัตราการเกิด ขยะมูลฝอยชุมชน โดยเฉลี่ยเท่ากับ 1.05 กิโลกรัม/คน/วัน ซ่ึงมีปรมิ าณขยะมูลฝอยลดลงกว่าปีที่ผ่านมา ท้ังน้ี เน่ืองจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) คณะรัฐมนตรีจึงได้ ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ท้ังราชอาณาจักร ตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม 2563 จนถึงวันที่ 31 พฤษภาคม 2563 (มาตรการลอ๊ กดาวน)์ ประกอบกับสถานการณ์การตดิ เชอ้ื ของโรค Covid-19 ในต่างประเทศ ทาให้มีการจากัดการเดินทางออกของประเทศต่าง ๆ และการควบคุมการเดินทางเข้าประเทศไทยของ นักทอ่ งเที่ยว ทาให้นักท่องเท่ยี วที่เดินทางมายังประเทศไทยลดลงกวา่ 33 ลา้ นคน (กระทรวงการทอ่ งเที่ยวและ กีฬา, 2564) ทาให้ภาพรวมปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนที่เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2563 ลดลงเม่ือเทียบกับปี พ.ศ. 2562 นอกจากน้ี เมื่อพิจารณาในเชิงพื้นท่ี พบว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบางแห่งและพื้นท่ี กรุงเทพมหานครบางเขต มีปริมาณขยะมลู ฝอยชมุ ชนทีเ่ กิดขน้ึ ลดลง เนื่องจากมาตรการล๊อกดาวน์ได้กาหนดให้ มีการทางานท่ีบ้าน (Work From Home: WFH) มากข้ึน จึงทาให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินท่ีเป็นแหล่ง ทอ่ งเที่ยวหลัก มีขยะมูลฝอยชุมชนเกิดข้ึนลดลง อย่างไรกต็ าม จากการสารวจขอ้ มูลองค์ประกอบขยะมูลฝอย ชุมชน พบว่ามีสัดส่วนองค์ประกอบขยะมูลฝอยประเภทขยะพลาสติกประเภทใช้ครั้งเดียวท้ิง (Single use plastic) เพิ่มมากข้ึน เนื่องจากประชาชนมกี ารเปล่ยี นแปลงพฤติกรรมในการใชบ้ ริการส่ังซื้อสินค้าและอาหาร ผ่านระบบออนไลน์เพ่ิมมากขึ้น โดยหลังจากช่วงมาตรการล๊อกดาวน์แล้ว พบว่า ขยะมูลฝอยชุมชนที่เกิดข้ึนมี แนวโน้มเพิม่ มากกว่าช่วงมาตรการล๊อกดาวน์ เน่ืองจากประชาชนกลับมาใช้ชวี ิตตามปกติมากขึ้น รายละเอียด ปรมิ าณขยะมูลฝอย และอตั ราการเกิดขยะมลู ฝอยดงั แสดงในตารางท่ี 1 รูปที่ 1

5 ตารางที่ 1 ปรมิ าณและอตั ราการเกดิ ขยะมูลฝอยชุมชนทเ่ี กิดขน้ึ ปี พ.ศ.2554-2563 ปี พ.ศ. ปรมิ าณขยะมูลฝอยชุมชนทเี่ กิดข้ึน อตั ราการเกิดขยะมูลฝอยชมุ น (ล้านตัน) (กโิ ลกรัม/คน/วัน) 2554 25.35 1.08 2555 24.73 1.05 2556 26.77 1.15 2557 26.19 1.11 2558 26.85 1.13 2559 27.06 1.14 2560 27.35 1.13 2561 27.93 1.15 2562 28.71 1.18 2563 25.37 1.05 รูปท่ี 1 อัตราการเกดิ ขยะมูลฝอยชมุ ชนระหวา่ ง ปี พ.ศ. 2554 – 2563 ทม่ี า : https://www.pcd.go.th

6 เม่ือพิจารณาภาพรวมสถานการณ์ด้านการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน ปี พ.ศ. 2563 ที่เกิดขึ้น 25.37 ล้านตัน พบว่าขยะมูลฝอยชุมชนท่ีถูกนากลับไปใช้ประโยชน์มีประมาณ 8.36 ล้านตัน หรือประมาณ 22,834 ตันต่อวัน หรือคิดเป็น ร้อยละ 33 ของปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนท่ีเกิดข้ึน ซึ่งลดลงกว่าปีท่ีผ่านมา (รอ้ ยละ 44 ของขยะมูลฝอยชุมชนที่เกิดข้ึน) เนื่องจากปัจจัย ท่ีเกี่ยวขอ้ งหลายประเด็น ไดแ้ ก่ องค์กรปกครอง ส่วนท้องถ่ินหลายแห่ง ไม่อนุญาตให้ประชาชนเข้าไปคัดแยกขยะมูลฝอย ในสถานท่ีกาจัดขยะมูลฝอยชุมชน เพราะหวั่นเกรงการแพร่เชื้อจากการลักลอบท้ิงขยะมูลฝอยท่ีอาจมีเชื้อโรคในสถานท่ีกาจัดขยะมูลฝอยชุมชน และวกิ ฤตการณ์เศรษฐกิจของโลกที่ซบเซาจากการแพรร่ ะบาดของโรค COVID-19 ส่งผลให้ร้านรับซื้อของเก่า หลายแหง่ ต้องปดิ ตัวลง และทาให้ปริมาณขยะมลู ฝอยชุมชนที่ถูกนากลับมาใช้ประโยชน์ลดลง ส่งผลให้ขยะมูล ฝอยชุมชนประมาณ 7.88 ล้านตัน หรือประมาณ 21,526 ตันต่อวัน หรอื ร้อยละ 31 ของปริมาณขยะมูลฝอย ชุมชนท่เี กิดขึ้น ถกู กาจัดไม่ถกู ต้องและมีสัดส่วนเพมิ่ มากข้ึนเมื่อเทียบกับปี พ.ศ. 2562 (รอ้ ยละ 22 ของขยะมูล ฝอยชมุ ชนท่ีเกิดขึ้น) อย่างไรก็ตาม ขยะมลู ฝอยชุมชนประมาณ 9.13 ลา้ นตัน หรอื ประมาณ 24,962 ตันต่อวัน หรือร้อยละ 36 ถูกกาจัดอย่างถูกต้อง ซ่ึงมีสัดส่วนใกล้เคียงกับ ปี พ.ศ. 2562 (ร้อยละ 34 ของขยะมูลฝอย ชุมชนที่เกิดขึ้น) เน่ืองจากสถานท่ีกาจัดขยะมูลฝอยชุมชนที่ดาเนินการกาจัดอย่างถูกต้อง ยังคงสามารถ ดาเนนิ การได้อยา่ งต่อเน่ือง รปู ที่ 2 ขอ้ มลู สถานการณ์ขยะมลู ฝอยของประเทศ ทีม่ า : https://www.pcd.go.th

7 2.3 สถานการณ์ของเสียอันตรายจากชมุ ชนของประเทศไทย การเกิดของเสียอันตรายจากชุมชนในระหว่างปี พ.ศ. 2557-2564 พบว่าปริมาณการเกิดมี แนวโน้มเพิ่มสงู ข้ึนอยา่ งต่อเนื่องโดยเฉพาะปริมาณของเสยี อนั ตรายประเภท ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและ อปุ กรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มีอัตราการเพ่ิมข้ึนทกุ ๆ ปีและมีแนวโน้มคงท่ีเฉล่ีย ร้อยละ 1.60 ต้ังแต่ ปี พ.ศ. 2562 เปน็ ต้นมาอันเป็นผลมาจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) ทาให้ พฤติกรรมการบริโภคของประชาชนในประเทศเปล่ียนแปลงไปมีความต้องการ ใช้เคร่ืองใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์เพ่ิมมากข้ึนรวมถึงการเปล่ียนเเปลงอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยี ส่งผลให้มีการเปล่ียนอุปกรณ์ บ่อยขึ้นเพ่ือให้ทันต่อเทคโนโลยีท่ีทันสมัยการนาเข้าผลิตภัณฑ์บางส่วนท่ีมี คุณภาพตา่ ทาให้อายุการใช้งานของ ผลติ ภณั ฑฯ์ ไม่ยาวนานและกอ่ ให้เกดิ เป็นของเสียอนั ตรายจากชมุ ชน รูปที่ 3 ปริมาณการเกิดของเสียอันตรายจากชุมชนในระหว่างปี พ.ศ. 2557- 2564 ที่มา : https://www.pcd.go.th สบื เนอ่ื งจากนโยบายภาครัฐสนับสนุนใหม้ กี ารวางระบบการจัดการของเสยี อันตรายจากชุมชน โดยถ่ายโอนอานาจหน้าที่ให้องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินบรู ณาการการทางานกับหน่วยงานที่เก่ียวข้อง รวมถึง ภาคเอกชน และภาคประชาชน โดยจัดตั้งจุดรวบรวมของเสียอนั ตรายในชุมชนและกาหนดใหม้ ีศนู ย์รวบรวมใน ระดับจังหวัด ทาให้ของเสียอันตรายได้รับการจัดการอย่างถูกต้องเพ่ิมข้ึน มีการคัดแยกและรวบรวมไปกาจัด 147,293.96 ตัน คิดเป็นร้อยละ 22 ของปริมาณของเสียอันตรายจากชุมชนที่เกิดขึ้นท้ังหมดในปี พ.ศ. 2564 โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีการเก็บรวบรวมของเสียอันตรายได้ 1,514.09 ตัน และนาไปกาาจัดอย่าง ถกู ต้อง 603.12 ตัน ซง่ึ จากข้อมูลปรมิ าณการคัดแยกและรวบรวมของเสียอันตรายทั้งหมดไปกาจัด ยังต่ากว่า เปา้ หมาย ในแผนแม่บทการบริหารจดั การขยะมูลฝอยของประเทศ (พ.ศ. 2559-2564) ท่ีกาหนดไว้ร้อยละ 30

8 สาเหตุเน่ืองจากประชาชนบางส่วนยังขาดความตระหนักรู้เกี่ยวกับพิษภัยอันตรายจากซากผลิตภัณฑ์ฯ และ ผลกระทบที่มีต่อสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อม ทาให้ไม่มีการแยกขยะ โดยทิ้งของเสียอันตรายจากชุนชน ปะปนกับขยะทั่วไป การเก็บรวบรวมเพื่อนาไปกาจัดยังระบบท่ีถูกต้องยังคงต้องพ่ึงพาสถานที่กาจัดของ ภาคเอกชน ซ่ึงยังมไี มท่ ่วั ถงึ ทกุ ภมู ิภาคทาให้เกิดภาระด้านงบประมาณที่ต้องจ่าย นอกจากนอ้ี งคก์ รปกครองส่วน ท้องถิ่นยังไม่มีกฎระเบียบเฉพาะท่ีชัดเจนในการบริหารจัดการของเสียอันตรายจากชุมชน รวมถึงยังไม่มี กฎหมายที่จะนามากากับดแู ลให้ภาคเอกชนรับผิดชอบในการจัดการซากผลิตภัณฑ์เครือ่ งใชไ้ ฟฟ้าและอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ ซง่ึ อาจนาไปสูป่ ญั หาสารพิษจากของเสียอนั ตรายทก่ี าจดั ไม่ถูกตอ้ งตกค้างและปนเป้อื นในแหล่ง นา้ ผิวดนิ และน้าใต้ดนิ 2.4 นโยบายการบรหิ ารจัดการขยะมูลฝอยชมุ ชนของประเทศไทย ประเทศไทยได้กาหนดนโยบายการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน ให้มีรูปแบบการกาจัด ขยะมูลฝอยที่เหมาะสมมีระบบและมาตรการการป้องกันปญั หาผลกระทบสิ่งแวดลอ้ มและประชาชน สามารถ รองรับปรมิ าณขยะมูลฝอยชุมชนหลาย ๆ แห่ง ร่วมกันซง่ึ จะช่วยลดปัญหาการบริหารจดั การขยะมลู ฝอยแต่ละ ชุมชนและไม่ให้เกดิ ขน้ึ อกี ตอ่ ไปในอนาคต โดยกาหนดมาตรการดาเนนิ การ ดงั น้ี 1. สนับสนนุ ให้มีการจัดตงั้ ศนู ยก์ าจดั ขยะมลู ฝอยใชร้ ว่ มกันหลายชมุ ชน 2. สง่ เสรมิ การลงทุนร่วมจากภาคเอกชนในการกาจัดขยะมูลฝอย และนาขยะมูลฝอยมาใช้ ประโยชน์ 3. สนับสนนุ ภาคเอกชนดาเนนิ ธุรกจิ การจัดการขยะมูลฝอย การติดตามตรวจสอ 4. ใชห้ ลกั การผูก้ อ่ มลพิษเป็นผจู้ ่ายอยา่ งยุติธรรมและเสมอภาค 5. ปรับปรงุ กฎระเบียบ ขอ้ บงั คับ ที่เก่ียวข้องกับอัตราค่าธรรมเนยี ม คา่ บริการเก็บขนสง่ และ กาจัดใหส้ อดคล้องกับค่าดาเนนิ การ 6. ปลูกฝังทัศนคติท่ีถูกต้องแก่เยาวชน โดยให้การศึกษาและรณรงค์ให้เกิดความร่วมมือ ปฏบิ ัติ รวมทั้งให้ประชาชนและชุมชนเขา้ มามีสว่ นรว่ มมากข้ึน 7. ฝึกอบรมเพิ่มพูนความรแู้ กเ่ จา้ หนา้ ที่ของรัฐและเอกชน 8. สนับสนุนการศึกษา วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการจัดการขยะมูบฝอยอย่าง มีระบบ 2.5 แนวคิดและกระบวนการลด และคดั แยกขยะมลู ฝอย Reduce ( ลดการใช้ ) เป็นการลดใช้ทรัพยากรให้เหลือเท่าท่ีจาเป็นหรือนามาใช้ให้เกิด ประสิทธิภาพสงู สดุ เช่น - ใชถ้ ุงผา้ หรือตะกรา้ หวายเลิกงอ้ ถุงพลาสติก - ใช้กล่องข้าวหรอื ป่ินโตลดการใช้โฟม - ใช้แกว้ น้าส่วนตัวงดใช้แกว้ ทใ่ี ช้ครง้ั เดียวแลว้ ทิ้ง

9 - พยายามอย่าใช้กระดาษสิน้ เปลือง ควรพิมพ์และถ่ายเอกสารเท่าท่ีจาเปน็ จะช่วยลดการตัด ตน้ ไมแ้ ละลดพลังงานในการผลติ ได้ - ลดเว้นขอบกระดาษลงจากมาตรฐาน เช่น การลดขอบเอกสารด้านซ้ายจาก 3.175 ซม. เป็น 2.5 ซม. และขอบขวาจาก 3.175 ซม. เปน็ 1.25 ซม.สามารถใชพ้ นื้ ทีก่ ระดาษเพิ่มไดม้ ากขึน้ ถงึ 27% - ลองลดปรมิ าณน้าในถังชักโครก ด้วยการใสก่ อ้ นอิฐหรอื ขวดน้าไปแทนทน่ี ้า - ปิดน้าเสมอเมือ่ เลิกใชง้ าน ร่วมกนั สอดส่องไมใ่ หน้ า้ เปดิ ไหลทงิ้ กอ่ นจะออกจากห้องน้า - รินน้าด่ืมให้พอดี และดื่มให้หมดทุกคร้งั หากดื่มน้าเหลือนามาใช้รดนา้ ต้นไม้ หรือรวบรวม เพือ่ ทาความสะอาดสง่ิ ตา่ งๆ - ใช้แก้วน้าตอนแปรงฟันและล้างหน้า เน่ืองจากการแปรงฟันโดยใช้น้าจากแก้ว…จะใช้น้า เพยี ง 0.5 – 1 ลติ ร แต่หากปล่อยน้าไหลออกจากกอ๊ กตลอดเวลาจะใช้น้าถงึ 20-30 ลติ ร - เลือกใช้ฝกั บัวอาบน้าและปิดนา้ ในขณะที่ถูสบู่…จะใช้น้าเพียง 30 ลติ ร หากไม่ปดิ อาจใชถ้ ึง 90 ลิตร แต่ถ้าใช้อา่ งอาบน้าตอ้ งใช้นา้ ถงึ 110 – 200 ลติ ร เลยทเี ดียว - ล้างผักและผลไม้ในอ่างหรือภาชนะที่มีการกักเก็บน้าเพียงพอดีกว่าล้างโดยตรงจากก๊อก ประหยัดน้าได้มากกวา่ 50% - ทานอาหารให้เต็มอิ่ม แต่อย่าเหลือทิ้ง อย่าเหลือขว้าง เพราะกว่าจะเป็นอาหาร ต้องใช้ พลงั งานในการผลติ นะครับ - สนับสนุนการซ้ือสินค้าในท้องถิ่นช่วยลดเชื้อเพลงในการขนส่งและช่วยพ่อค้าแม่ค้า แถว บา้ นให้มงี านทา Reuse ( ใชซ้ า้ ) เป็นการนากลับมาใชใ้ หม่ หรอื ใชอ้ กี คร้ัง หรือหลายๆคร้งั เชน่ - แยกประเภทกระดาษที่ใช้แลว้ เพ่ือนากลับมาใชใ้ หม่อย่างเหมาะสมกระดาษดีนามาใช้พิมพ์ ใหม่เป็นกระดาษ 2 หน้าสาหรับเอกสารร่าง กระดาษยับนามาตัดเป็นกระดาษโน้ต กระดาษ 2 หน้าทาเป็นถุง ใส่ของ - บรจิ าคสิง่ ของท่ีเลกิ ใช้แลว้ แตม่ ีสภาพดีใหก้ ับผู้ที่ขาดแคลน - ประกวดนวตั กรรมนาขยะกลบั มาใช้ซา้ เชน่ การนากระดาษมาเป็นซองใส่ยา ฯลฯ - ใช้ถุงพลาสตกิ ซา้ หลายๆคร้งั ตามสภาพความเหมาะสม Repair ( ซ่อมแซม ) เป็นการซอ่ มแซมใหใ้ ช้การไดใ้ หม่ เชน่ - กระป๋องพลาสติก ที่แตกร้าวหรือเป็นรูใช้กาวประสานหรืออุดรูเหล่านั้นมันก็ยังใช้ได้ เหมือนเดิมทาใหอ้ ายกุ ารใช้งานนานขน้ึ การกลายเป็นขยะกย็ ดื เวลาออกไป Recycle ( นากลับมาใช้ใหม่ ) เป็นการนาวัสดุที่หมดท่ีหมดสภาพแล้วหรือท่ีใช้แล้วมาแปร สภาพดว้ ยกระบวนการตา่ ง ๆ เพ่อื นากลบั มาใช้หรือแปรรูปเปน็ ผลิตภณั ฑ์ใหม่ เช่น - คิดก่อนทิ้งว่าขยะช่วยกันแยกประเภทขยะเพ่ือให้ได้ขยะรีไซเคิลมากที่สุดและเพ่ือช่วยลด ข้ันตอนและลดพลงั งานในการกาจัดขยะ เนือ่ งจากขยะแต่ละชนิดมวี ิธกี ารกาจดั ทไ่ี ม่เหมอื นกนั

10 - สร้างธนาคารขยะท่ีทุกคนเป็นเจ้าของร่วมกัน เพื่อการหมุนเวียนทรัพยากรกลับมาใช้ให้ เกดิ ประโยชนส์ ูงสุด - คัดแยกขยะประเภทกระดาษ แกว้ โลหะเพ่อื การนากลบั ไปรีไซเคลิ ได้ไม่รู้จบ - คัดแยกขยะประเภทกลอ่ งนมเพื่อบรจิ าคนาไปผลติ แผ่นกรีนบอรด์ Reject ( ปฏเิ สธ ) เป็นการปฏเิ สธการใชท้ รพั ยากรแบบครั้งเดียวทิ้งหรอื หารนาเข้าจากแดนไกล หรือการปฏเิ สธ ใช้สนิ ค้าหรือผลิตภัณฑ์ทท่ี าลายโลก เชน่ พลาสตกิ กล่องโฟมบรรจุอาหาร 2.6 กระบวนการลดขยะมูลฝอย (1) การประยุกต์ใช้หลักการ 3Rs ในการจัดการขยะมลู ฝอยในหนว่ ยงาน (1.1) Reduce การลดปริมาณขยะที่จะเกิดขึ้น คือการเลือกใช้สินค้า ที่ไม่กอ่ ให้เกิดขยะ หรือเกิดน้อยที่สุด ลดระดับการใช้ในปัจจุบัน ควบคุมปริมาณการใช้ให้อยู่ในสัดส่วนที่พอเหมาะ เป็นการลด ปริมาณมูลฝอยที่อาจเกิดขึน้ เช่น ใชถ้ งุ ผา้ /ตะกร้าเพ่ือลดการใช้ถุงพลาสติก ใช้ผา้ เช็ดหน้าแทนกระดาษทชิ ชู ใช้ ป่นิ โตหรือกล่องขา้ วใส่อาหารแทนกล่องโฟม เลือกซื้อสินค้าท่ีใช้บรรจุภณั ฑท์ ี่เป็นมิตรกับสิ่งแวดลอ้ ม (1.2) Reuse การใชซ้ ้าให้คมุ้ ค่าคอื การนาสงิ่ ของ (ขยะ) ท่ีต้องทิง้ กลบั มาใชใ้ หม่ เช่น การ ใชก้ ระดาษทงั้ สองหนา้ ใช้ภาชนะทส่ี ามารถใช้ซ้าได้ เสื้อผา้ เกา่ นาไปบริจาคหรือนามาทาผา้ ถูพื้น (1.3) Recycle การรวบรวมนากลับมาใชใ้ หม่ คือการนาเอาสิ่งของหรือวัสดุ (ขยะ) ที่จะ ทิง้ ไปแปร รูปในกระบวนการอตุ สาหกรรม โดยการคดั แยกขยะมลู ฝอยแตล่ ะประเภทในสานกั งานเพื่อนาวัสดทุ ่ี ยงั สามารถนากลับมาใชใ้ หม่ได้ หมุนเวียนกลบั เข้ามาส่กู ระบวนการผลิตตามกระบวนการแต่ละประเภท เพอ่ื นา กลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ ขยะรีไซเคิลแยกโดยท่ัวไปได้ 4 ประเภท คือ แก้ว กระดาษ พลาสติก และโลหะ/ อโลหะ ซงึ่ เมื่อคัดแยกแล้วเราจะน าไปขายหรือจัดกิจกรรมเพอ่ื น ากลบั มาใชป้ ระโยชน์ 2.7 กระบวนการคัดแยกขยะมลู ฝอย (1) แนวปฏิบัติการคัดแยกตามประเภทขยะมูลฝอย โดยท่ัวไปแล้วขยะแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ดงั นี้ (1.1) ขยะอินทรียห์ รือ มลู ฝอยยอ่ ยสลาย คอื ขยะทเ่ี น่าเสียและย่อยสลายได้เร็ว สามารถ นามาหมักทาปยุ๋ ได้ เช่น เศษผัก เปลอื กผลไม้ เศษอาหาร ใบไม้ เศษเน้ือสัตว์ เป็นต้น แต่ไม่รวมถึงซากหรือเศษ ของพชื ผกั ผลไม้หรือสัตว์ที่เกดิ จากการทดลองในห้องปฏิบตั กิ าร เปน็ ต้น รูปที่ 4 ขยะยอ่ ยสลาย

11 (1.2) ขยะรีไซเคิล หรือ มูลฝอยท่ียังใช้ได้คือ บรรจุภัณฑ์หรือวัสดุเหลือใช้ซึ่งสามารถนา กลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ได้เช่น แก้ว กระดาษ กระป๋องเคร่ืองดื่ม ขวดพลาสติก เศษโลหะ อลูมิเนียม ยาง รถยนตก์ ล่องเครือ่ งดื่มแบบ UHT เปน็ ต้น รูปท่ี 5 ขยะรีไซเคิล (1.3) ขยะอนั ตราย หรอื มูลฝอยอนั ตราย คือ มูลฝอยทป่ี นเป้ือน หรอื มอี งค์ประกอบของ วัตถุ ดงั ต่อไปนี้ 1) วัตถุระเบดิ ได้ 2) วัตถไุ วไฟ 3) วตั ถุออกไซด์และวัตถเุ ปอรอ์ อกไซด์ 4) วัตถมุ พี ิษ 5) วตั ถทุ ที่ าให้เกิดโรค 6) วตั ถกุ มั มันตรังสี 7) วัตถุที่กอ่ ให้เกดิ การเปล่ยี นแปลงทางพันธกุ รรม 8) วตั ถกุ ดั กร่อน 9) วตั ถทุ ก่ี อ่ ใหเ้ กิดการระคายเคอื ง 10) วัตถุอย่างอื่นท่ีอาจกอ่ ให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพส่ิงแวดล้อมหรืออาจทาให้ เกิดอันตรายแก่บุคคล สัตว์พืช หรือทรัพย์ เช่น หลอดฟลูออเรสเซนต์ถ่านไฟฉาย หรือแบตเตอร่ี โทรศพั ท์เคล่ือนท่ี ภาชนะที่ใช้บรรจุสารกาจดั แมลงหรอื วัชพืช กระปอ๋ งสเปรย์บรรจุสหี รอื สารเคมีเปน็ ตน้ รปู ท่ี 6 ขยะอันตราย

12 (1.4) ขยะท่ัวไป หรือ มูลฝอยท่ัวไป คือ ขยะประเภทอ่ืนนอกเหนือจากขยะย่อยสลาย ขยะรีไซเคิล และขยะอันตราย มีลักษณะท่ีย่อยสลายยากและไม่คุ้มค่าสาหรับการนากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ เช่น ห่อพลาสติกใส่ขนม ถุงพลาสติกบรรจุผงซักฟอก พลาสติกห่อลูกอม ซองบะหม่ีก่ึงสาเร็จรูป ถุงพลาสติก เปื้อนเศษอาหาร โฟมเปื้อนอาหาร ฟอยล์เปื้อนอาหาร ซองหรือถุงพลาสตกิ สาหรับบรรจุเคร่ืองอุปโภคด้วยวิธี รีดความรอ้ น เป็นตน้ รปู ท่ี 7 ขยะท่ัวไป (2) สญั ลักษณ์และสขี องถังขยะ แบง่ ออกเปน็ 4 ประเภท ดงั นี้ รูปที่ 8 สญั ลักษณ์และสีของถังขยะ

13 (3) วิธกี ารคดั แยกขยะมูลฝอยตามประเภท และการน าไปใชป้ ระโยชน/์ การจดั การ รปู ที่ 9 วธิ กี ารคัดแยกขยะมูลฝอยตามประเภท 2.8 . ลกั ษณะการเกดิ และประเภทขยะของโรงเรยี น โรงเรยี นมัธยมเทศบาล ๖ นครอุดรธานี มีพื้นที่โดยประมาณ 39 ไร่ 3 งาน 20 ตารางวา มี พนักงานครแู ละบุคลากรจานวน 91 คน นักเรยี นจานวน 1,329 คน การศึกษาด้านองค์ประกอบของขยะท่ีเกิดขึ้นโดยใช้แบบสารวจประเภทและปริมาณขยะใน โรงเรียนมัธยมเทศบาล ๖ นครอุดรธานี (รายละเอียดดังแสดงในภาคผนวก) จากความคิดเห็นของผู้ตอบ

14 แบบสอบถามสามารถรวบรวมแบบสารวจฯ ไดจ้ านวนท้ังสิ้น 115 ชดุ (คิดเป็นร้อยละ 36.9 จากจานวนท้ังส้นิ ) พบวา่ ปริมาณและองคป์ ระกอบของขยะ ณ แหลง่ เกดิ ภายในโรงเรยี น สรปุ ได้ดงั นี้ 1) ขยะท่ัวไป ได้แก่ ถุงพลาสติก ถุง/ซองขนมขบเคี้ยว ถุงบรรจุอาหาร กล่องน้าผลไม้/นม กลอ่ งโฟมบรรจุอาหาร แก้วพลาสตกิ กระดาษชาระ เปน็ ต้น จานวน รวม 390 ชิน้ /วนั หรือ 11,700 ชิน้ /เดือน 2) ขยะรีไซเคลิ ได้แก่ กระดาษ A4 จานวน 416 แผน่ /วัน หรอื 12,480 แผ่น/เดือน กระป๋อง เครื่องดื่ม ขวดพลาสตกิ ขวดแก้ว จานวนรวม 124 ชิ้น/วัน หรือ 3,720 ช้นิ /เดอื น 3) ขยะอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ ถ่านไฟฉาย หลอดฟลูออเรสเซนต์หลอดไฟดวงโคม แบตเตอร่ี นาฬิกา จานวนรวม 138 ชน้ิ /เดอื น 4) ขยะเปยี ก ไดแ้ ก่ เศษอาหาร จานวน 2.164 กโิ ลกรัม/วัน หรอื 64.92 กโิ ลกรมั /เดอื น รูปที่ 10 สัดส่วนประเภทขยะที่เกดิ ข้ึนในโรงเรียน 2.9 วิธีการป้องกนั ขยะในโรงเรียน รณรงค์ให้นักเรียนมีจิตสานึกในการทิ้งขยะให้เป็นท่ี โดยเร่ิมจากนักเรียนกลุ่มเล็กๆ เช่น จติ อาสา สภานกั เรียน เป็นตน้ การป้องกันและควบคุมการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะที่สาคัญ คือ การลดขยะท่ีแหล่งกาเนิด (Source reduction) โดยอาศัยขบวนการปรับเปล่ียนพฤติกรรมในชีวิตประจาวัน การลดปริมาณขยะจะ สามารถลดคา่ ใช้จ่ายในการจัดการขยะตั้งแต่การเก็บรวบรวม ขนสง่ การคัดแยกและใชป้ ระโยชน์ ตลอดจนการ กาจัดข้ันสุดท้าย ลดปัญหาสภาวะสิ่งแวดล้อม และประหยัดทรัพยากรธรรมชาติ โดยท่ัวไปแล้วหน่วยงาน องค์กรและชุมชน สามารถลดปริมาณขยะท่ีจะเกิดข้ึนได้ ก่อนจะทิ้งขยะ หยุดคิดสักนิดว่าเราจะสามารถลด ปรมิ าณขยะและนาขยะกลบั มาใชป้ ระโยชน์ได้ไหม

15 2.10 วิธกี ารลดปริมาณขยะในโรงเรยี น โรงเรยี นในฐานะท่ีเปน็ แหลง่ ให้ความรู้ และปลกู ฝังวถิ ีการดาเนินชีวติ ที่เป็นมิตรต่อสง่ิ แวดล้อม ใหก้ ับนกั เรียนซึ่งจะเติบโตเป็นอนาคตของชาติตอ่ ไป จึงมีแนวคิดที่จะใหน้ ักเรยี นลดปริมาณขยะท่ีเกิดขึ้นในแต่ ละวนั ลง โดยให้นักเรียนได้เรียนรูจ้ ากการปฏบิ ัติจรงิ ฝึกการคดั แยกขยะทีส่ ามารถนากลับมาใชป้ ระโยชน์ใหมไ่ ด้ วิธีการน้ีนอก จากจะช่วยลดปริมาณขยะที่ต้องนาเข้าเตาเผาได้แล้ว ยังเป็นการฝึกทักษะการทางานให้กับ นักเรียน และเป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับส่ิงของอีกด้วย ซ่ึงสอดคล้องกับแผนแม่บทส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2559-2565) ท่ีให้หน่วยงาน องกร์ทุกภาคส่วนได้มีส่วนร่วมในการปลูกฝัง ส่งเสริมคุณธรรม สรา้ งค่านยิ มและจติ สานกึ ทดี่ ีโดยใชก้ ระบวนการ “ระเบดิ จากขา้ งใน”

บทที่ 3 วิธีการดาเนินการ ในการศกึ ษา เร่อื ง เส้นทางขยะสู่ขุมทรพั ยค์ นเมอื ง คณะผศู้ กึ ษาได้ดาเนินการดังขัน้ ตอน ตอ่ ไปน้ี กาหนดหวั ข้อ เก็บรวมรวมขอ้ มลู ศึกษาเอกสารท่ี สารวจเกบ็ รวบรวม การศึกษา เก่ียวขอ้ ง ข้อมูล ออกแบบ/นาเสนอ ประเมนิ ผลการรบั รู้ สรปุ ผล ใหค้ วามรู้ รปู ที่ 4 แสดงขน้ั ตอนการศกึ ษา 3.1 ศึกษาเอกสารทเ่ี กีย่ วข้อง ศึกษาและรวบรวมเอกสารทีเ่ กีย่ วข้องกับการกาจัดขยะ ความหมายของมลู ฝอย สถานการณ์ ดา้ นการจัดการขยะในประเทศไทย นโยบายการบรหิ ารจดั การขยะมลู ฝอยชมุ ชนของประเทศไทย แนวทาง จดั การขยะมูลฝอย หลักเกณฑ์ มาตรฐาน ภาชนะรองรับขยะมูลฝอย การบริหารจัดการขยะมูลฝอยของ โรงเรียน ลกั ษณะการเกิดและประเภทขยะของโรงเรยี นมัธยมเทศบาล ๖ นครอดุ รธานี 3.2 เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลเพื่อกาหนดความตอ้ งการใช้สอย (Functional Requirement) 1) ศกึ ษาข้อมูลทว่ั ไปของโรงเรยี นมัธยมเทศบาล ๖ นครอุดรธานี เชน่ พน้ื ท่ี ประชากร การ จัดการขยะภายในโรงเรยี น 2) จัดทาแบบสอบถาม เพื่อรวบรวมขอ้ มูลประมาณการปรมิ าณและประเภทขยะทีเ่ กดิ ขึ้น เพ่ือใช้ในการกาหนดรปู แบบการนาเสนอให้ความรู้ 3) สารวจปรมิ าณขยะมลู ฝอยที่เกดิ ขึน้ จรงิ ในโรงเรยี น 3.3 ประเมินผลการรบั รู้ โดยจะประเมินจากการเกบ็ ขอ้ มูลจากแบบประเมนิ ความพงึ พอใจหลังจากนาเสนอใหค้ วามรู้ 1 สปั ดาห์ และประเมินจากการสารวจปริมาณ ประเภท ชนดิ ขยะทีถ่ กู นามาทิ้งในแตล่ ะวนั เป็นเวลา 1 สปั ดาห์ 3.4 สรปุ ผลการศึกษาและจดั ทารูปเล่มรายงาน

บทท่ี 4 ผลการศกึ ษา 4.1 สภาพการจดั การขยะ ในปัจจบุ ันโรงเรยี นได้มีนโยบาย ให้เก็บรวบรวมกระดาษท่ีใช้แล้วทุกประเภทเอาไวแ้ ละจะ นาไปขายเมอ่ื ส้นิ ภาคการศึกษา ขอ้ มูลขยะท่เี ป็นกระดาษ หนังสอื และข้อสอบ สว่ นขยะที่เกิดขึ้นภายในอาคาร เรยี นในแตล่ ะวันจะมแี มบ่ ้านเกบ็ รวบรวมไปทง้ิ ทจี่ ุด รวบรวมขยะด้านหลังอาคาร โดยจะมกี ารคัดแยกขยะรี ไซเคลิ เอาไวข้ ายสรา้ งรายได้ และขยะสว่ นที่ เหลอื ซึ่งส่วนใหญจ่ ะเปน็ ขยะท่ัวไปและขยะอนิ ทรีย์ จะถกู นาไปทิ้ง จุดรวมรวมหลังเวลา 16.00 น. ในแต่ละวนั 4.2 สารวจปริมาณขยะมลู ฝอย ณ แหลง่ กาเนิดและการวเิ คราะห์องค์ประกอบ คณะผศู้ ึกษาไดล้ งพน้ื ทส่ี ารวจและคัดแยกขยะมูลฝอยออกเปน็ 4 ประเภท ชงั่ นา้ หนักและ บันทึกผลต่อเนอ่ื ง 5 วนั ได้ผลการสารวจ ตารางที่ 2 แสดงปริมาณขยะมลู ฝอย วนั ทีส่ ่มุ ตวั อยา่ ง นา้ หนักขยะมูลฝอย (กโิ ลกรมั ) 31/05/65 ขยะรไี ซเคลิ ขยะอินทรีย์ ขยะทั่วไป ขยะอนั ตราย นา้ หนกั รวม 1/06/65 0.2 47.4 2/06/65 0.1 8.4 38.8 0 50.15 6/06/65 0.5 107.4 7/06/65 0.1 6.3 43.7 0.05 60.5 เฉลยี่ /วนั 0.3 89.8 ร้อยละ 0.24 16.5 90.4 0 71.05 0.3% 100% 7.6 52.8 0 10.4 79.1 0 9.84 60.96 0.01 13.9% 85.8% จากข้อมูลการสารวจพบว่าประเภทของขยะที่พบมากที่สุดในโรงเรียน คือ ขยะทั่วไป ซ่ึงมี ปริมาณ 60.96 กิโลกรัม คิดเป็นร้อยละ 85.7 อันดับสองคือ ขยะอินทรีย์ ซ่ึงมีปริมาณ 9.84 กิโลกรัม คิดเป็น ร้อยละ 13.8 และขยะรีไซเคิล มีปริมาณ 0.24 กิโลกรัม คิดเป็นร้อยละ 0.33 ขยะที่พบน้อยที่สุด คือ ขยะ อนั ตราย มีปรมิ าณ 0.01 กิโลกรัม คดิ เป็นร้อยละ 0.014 ดงั แสดงในรูป

18 รปู ที่ 11 สัดส่วนขยะประเภทตา่ ง ๆ ของโรงเรยี นมัธยมเทศบาล ๖ นครอุดรธานี 4.3 การสารวจปริมาณและวิเคราะห์องคป์ ระกอบขยะมลู ฝอย เพือ่ ประมวลผลสมั ฤทธขิ์ องการนาเสนอและประชาสัมพนั ธ์ คณะผู้ศกึ ษาไดเ้ ก็บรวบรวมขอ้ มลู ปรมิ าณขยะทถี่ ูกคัดแยก โดยเก็บข้อมูลในระหว่างวันที่ 31 พฤษภาคม – 7 มิถุนายน 2565 ข้อมูลปรมิ าณ และประเภทของขยะ ดงั แสดงในตาราง ตาราง แสดงปริมาณขยะมูลฝอย นา้ หนักขยะมลู ฝอย (กโิ ลกรัม) / วัน วันเก็บตัวอย่าง ขยะทัว่ ไป ขยะอินทรีย์ ขยะรไี ซเคลิ น้าหนัก รวม วันท่ี 1 31/05/2565 2 0.3 0.3 2.6 วนั ท่ี 2 1/06/2565 1.2 0.2 0.385 1.785 วนั ที่ 3 2/06/25625 0.5 0.05 0.25 0..8 วนั ท่ี 4 6/06/2565 3 0.5 0.5 4 วันที่ 5 7/06/2562 1.2 1 0.2 2.4 เฉล่ีย 1.58 0.41 0.327 2.317 ร้อยละ 68.2% 17.7% 14.1% 100%

19 จากตาราง จะเห็นได้ว่า ชนิดของขยะที่พบมากที่สุดโดยเฉลี่ย คือ ขยะท่ัวไป ซ่ึงมีปริมาณ 1.58 กิโลกรัม คิดเป็นร้อยละ 68.2 ส่วนขยะที่พบมากเป็นอันดับสอง คือ ขยะอินทรีย์ซึ่งมีปริมาณ 0.41 กิโลกรมั คิดเป็นร้อยละ 17.7 และขยะรีไซเคลิ มปี รมิ าณ 0.327 กโิ ลกรัมคิดเปน็ รอ้ ยละ 14.1 ดงั แสดงในรปู รปู ที่ 12 สดั ส่วนขยะประเภทต่าง ๆ 4.4 การประเมนิ ผลการรับรู้และประสิทธิภาพการแยกขยะ การประเมินผลการรับรู้และประสิทธิภาพการแยกขยะ โดยใช้แบบสารวจ (รายละเอียดดัง แสดงในภาคผนวก) ความคิดเห็นของพนักงานครูและบุคลากร นักเรียนในโรงเรียนมัธยมเทศบาล ๖ นครอดุ รธานี จานวนทง้ั สิน้ 63 ชดุ (คดิ เป็นรอ้ ยละ 30.6) สรุปได้ดังนี้ • ความรู้ท่ีไดร้ ับเกย่ี วกบั การคัดแยกขยะ สามารถคัดแยกขยะไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งมากข้ึนกว่าเดิม คดิ เปน็ รอ้ ยละ 47.6 สามารถคัดแยกขยะไดอ้ ยา่ งถูกต้อง คิดเป็นร้อยละ 47.6 ไม่ไดค้ วามรอู้ ะไรใหมเ่ พมิ่ เตมิ มากนัก คิดเปน็ ร้อยละ 4.8 • ท่านเห็นด้วยหรือไม่ หากจะมกี ารให้ความรเู้ รื่องการคดั แยกขยะ เชน่ นี้ ในโรงเรยี น เหน็ ด้วย คดิ เป็นรอ้ ยละ 96.8 ไมเ่ หน็ ดว้ ย คิดเป็นรอ้ ยละ 3.2 • ความพึงพอใจรูปแบบการนาเสนอ พงึ พอใจมากทสี่ ุด คดิ เปน็ ร้อยละ 31.7 พึงพอใจมาก คิดเปน็ ร้อยละ 60.3 พงึ พอใจปานกลาง คดิ เป็นร้อยละ 8.0 จะเหน็ ได้ว่าการใหค้ วามรู้เกย่ี วกับการคัดแยกขยะ ทาให้นักเรียนสามารถคัดแยกขยะได้อย่าง ถูกต้องมากขึ้นถึงร้อยละ 95.2 และเห็นด้วยหากจะมีการให้ความรู้เร่ืองการคัดแยกขยะในโรงเรียนถึงร้อยละ 96.8

บทท่ี 5 สรปุ และข้อเสนอแนะ การศึกษาโครงงานเส้นทางขยะสูข่ มุ ทรัพย์คนเมือง การใหค้ วามรู้ด้านการคัดแยกขยะ ในคร้ัง นม้ี วี ตั ถปุ ระสงค์เพ่ือ 1. เพอ่ื ศกึ ษารูปแบบและวิธกี ารจดั การขยะทีเ่ หมาะสม 2. เพื่อให้ความรู้ด้านการคัดแยกขยะภายในโรงเรียน 3. เพื่อสร้างจิตสานกึ ความรบั ผิดชอบและความตระหนักรู้ถึงความสาคัญของการคัดแยกขยะ ให้กบั พนักงานครู บุคลากรและนกั ศึกษา มรี ะยะเวลาการศึกษาในภาคการศกึ ษาท่ี 1/2565 โดยได้ทาการศกึ ษาคน้ คว้าเอกสารและขอ้ มูลพื้นฐานท่ีเกยี่ วข้องการบริหารจดั การขยะมูลฝอย สถานการณ์การ คดั แยกขยะของประเทศไทย การบรหิ ารจัดการขยะมลู ฝอยของโรงเรียน องค์ประกอบของขยะทีเ่ กิดข้ึนใน โรงเรยี น เพ่อื ใช้เป็นข้อมลู ในการออกแบบการนาเสนอให้ความรู้ ได้เร่ิมดาเนินการกาหนดพ้ืนทแ่ี ละออกแบบ โดยใช้ขอ้ มูลจากการศึกษาคน้ ควา้ และการสอบถามเพ่ือกาหนดรปู แบบท่เี หมาะสม โครงงาน บ รรลุ ตาม วัตถุป ระสงค์ ท่ีต้ั งไว้โดย สามารถอ อก แบ บ การนาเสน อ ให้ความรู้ ซึ่ ง ประกอบด้วย ส่วนให้ความรู้เบื้องต้นเก่ียวกับการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ประเภทของขยะมูลฝอย และ ลกั ษณะถังขยะแต่ละประเภทที่ใช้ในการคัดแยกขยะจากต้นทาง โดยผู้ทิ้งขยะสามารถทาความเข้าใจไดโ้ ดยงา่ ย และส่วนของถังขยะแยกประเภทพร้อมใช้งานจรงิ ประกอบด้วย ถังขยะท่ัวไป ถังขยะอินทรีย์ ถังขยะรีไซเคิล ถังขยะอนั ตรายและขยะอิเล็กทรอนกิ ส์ นอกจากนย้ี ังเพ่ิมถังเปียกแยกนา้ แข็งสาหรบั ขยะประเภทถ้วยเคร่ืองด่ืม เพ่ือสะดวกในการจัดเก็บสาหรับพนักงานทาความสะอาด จากแบบประเมินความพึงพอใจพบว่า ร้อยละ 92 ผ้ใู ช้งานมคี วามพึงพอใจต่อรูปแบบการนาเสนอให้ความรู้ ในระดับมากถึงมากทสี่ ุด ซ่งึ แสดงถึงผลสาเร็จใน ด้านการนาเสนอให้ความรู้ สามารถดึงดูดความสนใจได้ และ ร้อยละ 95.2 ของผู้รับความรู้เกี่ยวกับการคัด แยกขยะ ทาให้สามารถคัดแยกขยะได้อย่างถูกตอ้ งมากขน้ึ และ เห็นด้วย หากจะมีการใหค้ วามรเู้ รอ่ื งการคัด แยกขยะในโรงเรียนถึง ร้อยละ 96.8 แสดงถึงความตะหนักรู้ในเรื่องความสาคัญของการคัดแยกขยะของ ผใู้ ชง้ านทีม่ ากขนึ้ ซ่งึ บรรลตุ ามวตั ถุประสงคข์ องการจดั ทาโครงงานน้ีประโยชนท์ ่ไี ด้รับจากโครงงาน 1) โรงเรยี นมจี ุดคัดแยกขยะตามหลกั การจัดการขยะมลู ฝอยทมี่ ีความเปน็ ระเบียบเรยี บร้อยมี ทัศนียภาพทส่ี วยงามเกดิ ขนึ้ 2) สร้างแรงจูงใจให้นกั เรียนมจี ิตสานึกความรบั ผดิ ชอบและความตระหนกั ร้ถู ึงความสาคญั ใน การคัดแยกขยะมากยิ่งข้นี

21 ปญั หาอปุ สรรคและข้อเสนอแนะ 1) การออกแบบนาเสนอใหค้ วามรู้การคัดแยกขยะมีความล่าช้า เนอ่ื งจากเป็นโครงงานท่ีมี ขน้ั ตอนในการเก็บรวบรวมข้อมลู จากสถานที่จริงในการจดั การขยะมลู ฝอยในชมุ ชน และตอ้ งศึกษาเอกสารท่ี เกย่ี วข้อง เพอ่ื ให้สามารถดาเนนิ การได้ทนั ภายในระยะเวลาท่กี าหนด 2) การแจกจ่ายและรวบรวมแบบสอบถาม/แบบประเมนิ มรี ะยะเวลาในการดาเนินการไม่ เพียงพอเน่ืองจากความลา่ ช้าในการเตรียมสาเสนอความรู้ ทาให้ไดร้ บั แบบสอบถามกลบั คนื มาจานวนน้อยกว่า ทคี่ วร 3) ควรเพิ่มจุดรับวัสดุท่ีสามารถนากลับมาใช้ใหม่ (Reusable Materials) อาทิเช่น สันแฟ้ม เอกสาร กระดาษแข็งหน้าปกรายงาน เส้ือผ้า/หนังสือรับบริจาค เป็นต้น เพื่อเพ่ิมความหลากหลายในการ บรหิ ารจดั การขยะใหม้ ปี ระสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น

เอกสารอ้างอิง กรมควบคมุ มลพิษ (กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม) [ออนไลน์] เข้าถงึ ได้จาก http://www.pcd.go.th/index.cfm กติ ติยา พงษ์ไทย, เจ้าพนักงานสุขาภบิ าลปฏบิ ตั ิงาน เทศบาลนครอุดรธาน.ี สัมภาษณ์ 2 มิถนุ ายน 2565 และ 7 มิถนุ ายน 2565 ชัยยันต์ ชัยโม, หัวหน้าฝ่ายบรกิ ารส่งิ แวดลอ้ ม เทศบาลนครอุดรธานี. สมั ภาษณ์ 2 มิถุนายน 2565 จุฑาทิพย์ จนั ทรสา, ผอู้ านวยการส่วนบริการสาธารณสุขและสิง่ แวดลอ้ ม เทศบาลนครอดุ รธานี. สัมภาษณ์ 2 มถิ นุ ายน 2565 และ 7 มิถุนายน 2565 ทีปกร นิลเกตุ. ผจู้ ัดการเตาเผาขยะมลู ฝอยติดเช้ือ เทศบาลนครอุดรธานี. สัมภาษณ์ 7 มถิ ุนายน 2565 ส่วนชา่ งสขุ าภิบาล สานกั การช่าง เทศบาลนครอุดรธานี. เย่ยี มชม 7 มิถนุ ายน 2565

ภาคผนวก - แบบสารวจประเภทและปรมิ าณขยะในโรงเรยี น - แบบประเมนิ การใหค้ วามรดู้ า้ นการคดั แยกขยะพร้อมใช้งาน - ภาพกจิ กรรม

แบบสารวจประเภทและปริมาณขยะใน โรงเรียนมัธยมเทศบาล ๖ นครอดุ รธานี คาช้ีแจง 1. แบบสารวจฉบับน้จี ัดทาขนึ้ โดยมวี ตั ถุประสงค์ เพ่ือสารวจปริมาณและประเภทของขยะที่เกิดขนึ้ ภายใน โรงเรียนมัธยมเทศบาล ๖ นครอดุ รธานี เพื่อใช้เป็นข้อมลู ในการศึกษาความเป็นไปไดใ้ นการจดั ทาโครงงาน เรอื่ ง เส้นทางขยะสขู่ มุ ทรพั ย์คนเมือง 2. แบบสารวจประกอบดว้ ย 3 ส่วนคอื 1) ข้อมูลทว่ั ไป ส่วนท่ี 2) ข้อมลู เกย่ี วกับการทง้ิ ขยะ ส่วนท่ี 3) ข้อเสนอแนะ กรุณาใส่เคร่ืองหมาย / หนา้ ข้อความที่ตรงกับความเหน็ ของทา่ นใหม้ ากที่สดุ สว่ นที่ 1 ขอ้ มูลทั่วไป 1. เพศ ( ) หญงิ ( ) ชาย 2. อายุ ( ) ต่ากว่า 25 ปี ( ) 25-40 ปี ( ) 41 – 50 ปี ( ) 51 ปี ขึน้ ไป 3. สถานภาพ ( ) นักเรยี น ( ) พนักงานครแู ละบุคลากร ( ) ผู้บริหาร ( ) บุคคลท่ัวไป ( ) อ่นื ๆ (ระบ)ุ .............................................. สว่ นที่ 2 ขอ้ มูลการทงิ้ ขยะภายในโรงเรยี น 1. ในแต่ละวนั ตัวทา่ นเองผลติ และทง้ิ ขยะทว่ั ไปอะไรบา้ ง และปริมาณเทา่ ไร (ตอบไดม้ ากกวา่ 1 ขอ้ )  ถุงพลาสติก จานวน...............ชนิ้  ขวดพลาสติก จานวน...............ใบ  ถงุ /ซองขนมขบเคี้ยว จานวน...............ชน้ิ  ขวดแก้ว จานวน...............ใบ  ถงุ บรรจุอาหาร จานวน...............ชน้ิ  แกว้ พลาสติก จานวน...............ใบ  กลอ่ งนา้ ผลไม/้ นม จานวน...............ชนิ้  เศษอาหาร จานวน...............กรัม  กลอ่ งโฟมบรรจอุ าหาร จานวน...............ชิ้น  กระดาษ A4 จานวน...............แผน่  กระป๋องเคร่ืองด่มื จานวน...............กระป๋อง  อนื่ ๆ (ระบุ)............. จานวน...............หน่วย 2. ในแตล่ ะเดอื น ตัวท่านเองท้ิงขยะอิเลก็ ทรอนกิ ส์อะไรบา้ ง และปรมิ าณเท่าไร (ตอบได้มากกวา่ 1 ข้อ) ทงั้ นห้ี มายรวมถงึ ขยะทเี่ กิดขึ้นจากท่พี ักของทา่ นด้วย  ถา่ นไฟฉายทกุ ขนาด จานวน...............กอ้ น  หลอดฟลู ออเรสเซนต์ ชนิดหลอดยาวทุกขนาด จานวน...............หลอด  หลอดฟูลออเรสเซนต์ ชนิดชนดิ ขดกลม จานวน...............หลอด  หลอดไฟดวงโคมทกุ ประเภท จานวน...............หลอด อน่ื ๆ (ระบุ)............................................. จานวน...............หน่วย

25 3. ปัจจุบนั ท่านทิง้ ขยะทุกประเภทรวมกันลงในถัง โดยไมม่ ีการคัดแยก  ใช่ ไม่ใช่ เพราะอะไร 4. หากมีการคัดแยกขยะก่อนทงิ้ หรือท้ิงขยะตามชนิดของถงั แยกประเภท ถือว่าเป็นภาระเพ่ิมขึ้นกบั ท่าน หรอื ไม่  ไม่เปน็ ภาระ เพราะ  ทาได้ง่าย  ปกตมิ กี ารคดั แยกอยู่แลว้  อืน่ ๆ (ระบุ)......................................  เปน็ ภาระ เพราะ  ไม่สะดวกในการท้ิง  ต้องศึกษาการคดั แยกขยะ  อ่นื ๆ (ระบ)ุ ...................................... 5. ขยะประเภทใดตอ่ ไปน้ี ท่เี กิดขึน้ ในบริเวณทพี่ ัก และ ท่านมีความลาบากใจท่ีจะทิง้ รวมไปกับขยะอื่นๆ โดยไม่มกี ารคดั แยก (ตอบไดม้ ากกวา่ 1 ข้อ) 6. ท่านเห็นด้วยหรือไม่ หากภายในโรงเรยี นจะมีการใหค้ วามรู้เร่อื งการคัดแยกขยะอยา่ งถกู วิธี พรอ้ ม ตัวอยา่ งการใชง้ านได้จริง  เหน็ ด้วย เพราะ..............................................................................  ไม่เห็นด้วย เพราะ.......................................................................... สว่ นท่ี 3 ขอ้ เสนอแนะอนื่ ๆ ขอขอบพระคณุ ในความอนเุ คราะห์ตอบแบบสอบถาม

26 แบบประเมินชดุ นทิ รรศการให้ความรดู้ า้ นการคัดแยกขยะพรอ้ มใชง้ าน แบบประเมินนเ้ี ปน็ สว่ นหน่งี ของโครงงานเส้นทางขยะสขู่ มุ ทรัพย์คนเมือง กรณุ าใส่เครือ่ งมาย / หน้าขอ้ ความที่ตรงกับความเห็นของท่านให้มากท่สี ดุ สว่ นท่ี 1 ขอ้ มลู ทวั่ ไป 1. เพศ ( ) หญงิ ( ) ชาย 2. อายุ ( ) ต่ากว่า 25 ปี ( ) 25-40 ปี ( ) 41 – 50 ปี ( ) 51 ปี ข้ึนไป 3. สถานภาพ ( ) นักเรยี น ( ) พนักงานครูและบคุ ลากร ( ) ผู้บรหิ าร ( ) บุคคลทัว่ ไป ( ) อน่ื ๆ (ระบุ).............................................. ส่วนที่ 2 ประเมนิ ความรู้ความพึงพอใจ 1. ทา่ นไดม้ โี อกาสได้รบั ความรู้ด้านการคดั แยกขยะ แล้วหรือไม่  ไดร้ ับความรแู้ ล้ว แตย่ งั ไมไ่ ด้นาไปปฏิบัติ  ไดร้ บั ความร้แู ลว้ และได้นาไปปฏบิ ตั ิแลว้ 1 ครั้ง  ได้รับความรแู้ ลว้ และไดน้ าไปปฏิบัตแิ ลว้ มากกวา่ 1 ครั้ง 2. ท่านมีความพึงพอใจในรูปแบบการนาเสนอการใหค้ วามรูด้ า้ นการคดั แยกขยะ  มากท่สี ุด  นอ้ ย  มาก  น้อยท่ีสุด  ปานกลาง 3. หากท่านได้เคยนาไปปฏิบัติแล้ว ขยะประเภทอะไรและปริมาณเท่าไร ท่ีท่านได้คัดแยก (ตอบได้ มากกวา่ 1 ขอ้ ) ขยะท่วั ไป  ถงุ พลาสติก จานวน...............ชน้ิ  ถุง/ซองขนมขบเคีย้ ว จานวน...............ช้ิน  ถุงบรรจอุ าหาร จานวน...............ชิ้น  กลอ่ งน้าผลไม้/นม จานวน...............ชน้ิ  กล่องโฟมบรรจุอาหาร จานวน...............ชิ้น  กระดาษ A4 จานวน...............แผน่  อนื่ ๆ (ระบ)ุ ............. จานวน...............หนว่ ย

27 ขยะรไี ซเคิล  ขวดพลาสติก จานวน...............ใบ  ขวดแก้ว จานวน...............ใบ  แก้วพลาสตกิ จานวน...............ใบ  กระป๋องเคร่ืองด่มื จานวน...............กระป๋อง  อนื่ ๆ (ระบุ)............ จานวน...............หนว่ ย ขยะอนิ ทรีย์  เศษอาหาร จานวน...............กรัม  อนื่ ๆ (ระบุ)............. จานวน...............หนว่ ย ขยะอิเล็กทรอนกิ ส์  ถ่านไฟฉายทกุ ขนาด จานวน...............กอ้ น  หลอดฟูลออเรสเซนต์ ชนดิ หลอดยาวทุกขนาด จานวน...............หลอด  หลอดฟูลออเรสเซนต์ ชนดิ ชนิดขดกลม จานวน...............หลอด  หลอดไฟดวงโคมทุกประเภท จานวน...............หลอด อ่ืนๆ (ระบ)ุ ............................................. จานวน...............หนว่ ย 4. ทา่ นได้รับความรู้เกยี่ วกับการคดั แยกขยะอยา่ งไร  สามารถคดั แยกขยะไดอ้ ย่างถกู ต้องมากขึ้นกวา่ เดิม  สามารถคดั แยกขยะไดอ้ ยา่ งถูกต้องมากข้นึ  ไมไ่ ดค้ วามรู้อะไรใหม่เพิม่ เตมิ มากนกั 5. ท่านเหน็ ด้วยหรอื ไม่ หากจะมีการให้ความร้เู ร่อื งการคดั แยกขยะ เช่นน้ใี นโรงเรียน  เห็นดว้ ยอยา่ งยิง่ เพราะ  ไม่เหน็ ดว้ ยอยา่ งยงิ่ ส่วนที่ 3 ขอ้ เสนอแนะอน่ื ๆ ขอขอบพระคณุ ในความอนเุ คราะห์ตอบแบบสอบถาม

28 ภาพกิจกรรม จุดทงิ้ ขยะอนิ ทรยี โ์ รงเรียนมัธยมเทศบาล ๖ นครอุดรธานี

29 จดุ ท้ิงขยะของโรงเรยี น

30 ได้รับความรูเ้ กย่ี วกับประเภทของขยะและการจัดการยะ จาก ส่วนบริการสาธารณสขุ และส่ิงแวดล้อม เทศบาลนครอุดรธานี

31 เย่ยี มชมการจัดการขยะอนิ ทรยี ์ ณ โรงปุ๋ยเทศบาลนครอุดรธานี

32 ไปศกึ ษาขอ้ มูลการจัดการขยะมลู ฝอย ณ ศนู ย์กาจดั ขยะมูลฝอยเทศบาลนครอุดรธานี

33 เยยี่ มชมการจดั การขยะมูลฝอยตดิ เชือ้ ณ โรงกาจดั ขยะตดิ เชอื้ เทศบาลนครอุดรธานี

34 ศกึ ษาการจดั การขยะมูลฝอย ณ โรงคดั แยกขยะมูลฝอยและบอ่ ฝงั่ กลบ

35 จดุ ท้ิงขยะของโรงเรยี น

36 กจิ กรรมใหค้ วามรู้เร่ืองการคดั แยกขยะ

37


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook