50 มาตรา ๗๐ ผู้ใดกระทาตามคาส่ังของเจ้าพนักงาน แม้คาสง่ั นัน้ จะมิชอบด้วยกฎหมาย ถ้าผ้กู ระทามีหน้าท่ีหรือเช่ือโดยสจุ ริตวา่ มหี น้าที่ต้อง ปฏิบัติตาม ผู้นนั้ ไม่ต้องรับโทษ เว้นแต่จะรู้ว่าคาสง่ั นนั้ เป็ นคาสงั่ ซ่งึ มิชอบ ด้วยกฎหมาย มาตรา ๗๑ ความผิดตามที่บญั ญัติไว้ในมาตรา ๓๓๔ ถึงมาตรา ๓๓๖ วรรคแรก และมาตรา ๓๔๑ ถึงมาตรา ๓๖๔ นนั้ ถ้าเป็ นการกระทา ท่ีสามกี ระทาตอ่ ภริยา หรือภริยากระทาตอ่ สามี ผ้กู ระทาไมต่ ้องรับโทษ ความผิดดังระบุมานี ้ ถ้ าเป็ นการกระทาท่ีผู้บุพการีกระทาต่อ ผู้สืบสันดาน ผู้สืบสันดานกระทาต่อผู้บุพการี หรือพี่หรือน้ องร่วมบิดา มารดาเดียวกันกระทาต่อกัน แม้กฎหมายมิได้บัญญัติให้เป็ นความผิด อนั ยอมความได้ ก็ให้เป็ นความผิดอนั ยอมความได้ และนอกจากนนั้ ศาล จะลงโทษน้อยกวา่ ท่ีกฎหมายกาหนดไว้สาหรับความผิดนนั้ เพียงใดก็ได้ มาตรา ๗๒ ผ้ใู ดบนั ดาลโทสะโดยถกู ข่มเหงอย่างร้ายแรงด้วยเหตุ อนั ไม่เป็ นธรรม จึงกระทาความผิดต่อผู้ข่มเหงในขณะนนั้ ศาลจะลงโทษ ผ้นู นั้ น้อยกวา่ ที่กฎหมายกาหนดไว้สาหรับความผิดนนั้ เพียงใดกไ็ ด้ *มาตรา ๗๓ เด็กอายุยังไม่เกินสิบปี กระทาการอันกฎหมาย บญั ญตั ิเป็นความผิด เดก็ นนั้ ไมต่ ้องรับโทษ ให้พนกั งานสอบสวนส่งตวั เด็กตามวรรคหนึ่งให้พนักงานเจ้าหน้าท่ี ตามกฎหมายว่าด้วยการค้มุ ครองเด็ก เพื่อดาเนินการค้มุ ครองสวสั ดิภาพ ____________________________________ *มาตรา ๗๓ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพิม่ เติม ป.อ. (ฉบบั ที่ ๒๑) พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๕
51 ตามกฎหมายวา่ ด้วยการนนั้ * มาตรา ๗๔ เด็กอายุกว่าสิบปี แต่ยังไม่เกินสิบห้าปี กระทาการ อนั กฎหมายบญั ญตั เิ ป็นความผิด เดก็ นนั้ ไมต่ ้องรับโทษ แตใ่ ห้ศาลมีอานาจ ที่จะดาเนินการดงั ตอ่ ไปนี ้ (๑) ว่ากล่าวตักเตือนเด็กนัน้ แล้ วปล่อยตัวไป และถ้ าศาล เห็นสมควรจะเรียกบิดา มารดา ผู้ปกครอง หรือบุคคลที่เด็กนนั้ อาศยั อยู่ มาตกั เตือนด้วยกไ็ ด้ (๒) ถ้าศาลเหน็ วา่ บิดา มารดา หรือผ้ปู กครองสามารถดแู ลเด็กนนั้ ได้ ศาลจะมีคาสัง่ ให้มอบตวั เด็กนัน้ ให้แก่บิดา มารดา หรือผู้ปกครองไป โดยวางข้ อกาหนดให้ บิดา มารดา หรือผู้ปกครองระวังเด็กนัน้ ไม่ ให้ ก่อเหตุร้ ายตลอดเวลาที่ศาลกาหนดซึ่งต้องไม่เกินสามปี และกาหนด จานวนเงินตามที่เห็นสมควรซึ่งบิดา มารดา หรือผู้ปกครองจะต้องชาระ ตอ่ ศาลไมเ่ กินครัง้ ละหนง่ึ หมืน่ บาท ในเมื่อเดก็ นนั้ กอ่ เหตรุ ้ายขนึ ้ ถ้าเดก็ นนั้ อาศยั อย่กู บั บคุ คลอน่ื นอกจากบิดา มารดา หรือผ้ปู กครอง และศาลเห็นว่าไม่สมควรจะเรียกบิดา มารดา หรือผู้ปกครองมาวาง ข้อกาหนดดังกล่าวข้างต้น ศาลจะเรียกตัวบุคคลที่เด็กนัน้ อาศัยอยู่มา สอบถามว่า จะยอมรับข้อกาหนดทานองที่บัญญัติไว้สาหรับบิดา มารดา หรือผู้ปกครองดงั กล่าวมาข้างต้นหรือไม่ก็ได้ ถ้าบุคคลที่เด็กนัน้ อาศัยอยู่ ยอมรับข้อกาหนดเช่นวา่ นนั้ ก็ให้ศาลมีคาสง่ั มอบตวั เด็กให้แก่บคุ คลนนั้ ไป โดยวางข้อกาหนดดงั กลา่ ว ____________________________________ *มาตรา ๗๔ วรรคหนงึ่ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพ่มิ เติม ป.อ. (ฉบบั ท่ี ๒๑) พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๖
52 (๓) ในกรณีท่ีศาลมอบตัวเด็กให้แก่บิดา มารดา ผู้ปกครอง หรือ บุคคลที่เด็กนัน้ อาศัยอยู่ตาม (๒) ศาลจะกาหนดเง่ือนไขเพื่อคุมความ ประพฤติเด็กนัน้ เช่นเดียวกับที่บญั ญัติไว้ในมาตรา ๕๖ ด้วยก็ได้ ในกรณี เช่นว่านี ้ ให้ ศาลแต่งตัง้ พนักงานคุมประพฤติหรือพนักงานอื่นใดเพ่ือ คมุ ความประพฤตเิ ดก็ นนั้ (๔) ถ้าเดก็ นนั้ ไมม่ บี ิดา มารดา หรือผ้ปู กครอง หรือมีแต่ศาลเห็นว่า ไม่สามารถดแู ลเด็กนนั้ ได้ หรือถ้าเด็กอาศยั อยู่กับบุคคลอ่ืนนอกจากบิดา มารดา หรือผู้ปกครอง และบุคคลนนั้ ไมย่ อมรับข้อกาหนดดงั กล่าวใน (๒) ศาลจะมีคาสั่งให้ มอบตัวเด็กนัน้ ให้ อยู่กับบุคคลหรือองค์การท่ีศาล เห็นสมควรเพื่อดแู ล อบรม และสง่ั สอนตามระยะเวลาท่ีศาลกาหนดก็ได้ ในเม่ือบุคคลหรือองค์การนัน้ ยินยอม ในกรณีเช่นว่านี ้ ให้ บุคคลหรือ องค์การนัน้ มีอานาจเช่นผู้ปกครองเฉพาะเพ่ือดูแล อบรม และสั่งสอน รวมตลอดถงึ การกาหนดที่อย่แู ละการจดั ให้เด็กมีงานทาตามสมควร หรือ ให้ดาเนินการค้มุ ครองสวสั ดภิ าพเดก็ ตามกฎหมายวา่ ด้วยการนนั้ กไ็ ด้ หรือ (๕) ส่งตัวเด็กนัน้ ไปยังโรงเรียน หรือสถานฝึ กและอบรม หรือ สถานที่ซง่ึ จัดตงั้ ขึน้ เพ่ือฝึ กและอบรมเด็ก ตลอดระยะเวลาท่ีศาลกาหนด แตอ่ ยา่ ให้เกินกวา่ ที่เดก็ นนั้ จะมีอายคุ รบสบิ แปดปี คาสงั่ ของศาลดงั กล่าวใน (๒) (๓) (๔) และ (๕) นนั้ ถ้าในขณะใด ภายในระยะเวลาที่ศาลกาหนดไว้ ความปรากฏแก่ศาลโดยศาลรู้เอง หรือ ตามคาเสนอของผ้มู ีสว่ นได้เสีย พนกั งานอยั การ หรือบคุ คลหรือองค์การท่ี ศาลมอบตวั เดก็ เพ่ือดแู ลอบรมและสงั่ สอน หรือเจ้าพนกั งานว่า พฤติการณ์ เก่ียวกับคาสง่ั นนั้ ได้เปล่ียนแปลงไป ก็ให้ศาลมีอานาจเปลี่ยนแปลงแก้ไข คาสง่ั นนั้ หรือมีคาสงั่ ใหมต่ ามอานาจในมาตรานี ้
53 *มาตรา ๗๕ ผ้ใู ดอายุกว่าสิบห้าปี แตต่ ่ากว่าสิบแปดปี กระทาการ อนั กฎหมายบญั ญัติเป็ นความผิด ให้ศาลพิจารณาถึงความรู้ผิดชอบและ ส่งิ อ่ืนทงั้ ปวงเก่ียวกบั ผ้นู นั้ ในอนั ที่จะควรวนิ ิจฉยั วา่ สมควรพิพากษาลงโทษ ผู้นัน้ หรือไม่ ถ้าศาลเห็นว่าไม่สมควรพิพากษาลงโทษ ก็ให้จัดการตาม มาตรา ๗๔ หรือถ้าศาลเห็นว่าสมควรพิพากษาลงโทษ ก็ให้ลดมาตรา สว่ นโทษท่ีกาหนดไว้สาหรับความผิดลงกงึ่ หนงึ่ * มาตรา ๗๖ ผู้ใดอายุตัง้ แต่สิบแปดปี แต่ยังไม่เกินยี่สิบปี กระทา การอันกฎหมายบัญญัติเป็ นความผิด ถ้าศาลเห็นสมควรจะลดมาตรา สว่ นโทษที่กาหนดไว้สาหรับความผิดนนั้ ลงหนง่ึ ในสามหรือกงึ่ หนงึ่ ก็ได้ มาตรา ๗๗ ในกรณีท่ีศาลวางข้อกาหนดให้บิดามารดา ผ้ปู กครอง หรือบุคคลท่ีเด็กนัน้ อาศัยอยู่ ระวังเด็กนัน้ ไม่ให้ก่อเหตุร้ ายตามความใน มาตรา ๗๔ (๒) ถ้าเด็กนัน้ ก่อเหตุร้ ายขึน้ ภายในเวลาในข้อกาหนด ศาล มอี านาจบงั คบั บิดามารดา ผ้ปู กครองหรือบุคคลที่เดก็ นนั้ อาศยั อยู่ ให้ชาระ เงินไม่เกินจานวนในข้อกาหนดนนั้ ภายในเวลาที่ศาลเห็นสมควร ถ้าบิดา มารดา ผ้ปู กครองหรือบคุ คลท่ีเดก็ นัน้ อาศยั อย่ไู ม่ชาระเงิน ศาลจะสงั่ ให้ยึด ทรัพย์สนิ ของบิดามารดา ผ้ปู กครองหรือบคุ คลท่ีเดก็ นนั้ อาศยั อยู่ เพื่อใช้เงิน ท่ีจะต้องชาระก็ได้ ในกรณีท่ีศาลได้บงั คบั ให้บิดามารดา ผ้ปู กครองหรือบคุ คลที่เดก็ นนั้ อาศัยอยู่ชาระเงินตามข้อกาหนดแล้วนัน้ ถ้าศาลมิได้เปลี่ยนแปลงแก้ ไข ____________________________________ *มาตรา ๗๕ และมาตรา ๗๖ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพ่ิมเติม ป.อ. (ฉบบั ที่ ๒๑) พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๗
54 คาสง่ั ท่ีได้วางข้อกาหนดนนั้ เป็นอยา่ งอ่ืนตามความในมาตรา ๗๔ วรรคท้าย ก็ให้ข้อกาหนดนนั้ คงใช้บงั คบั ได้ตอ่ ไปจนสิน้ เวลาที่กาหนดไว้ในข้อกาหนด นนั ้ มาตรา ๗๘ เม่ือปรากฏว่ามีเหตุบรรเทาโทษ ไม่ว่าจะได้มีการ เพิ่มหรือการลดโทษตามบทบญั ญัติแห่งประมวลกฎหมายนี ้หรือกฎหมาย อ่ืนแล้วหรือไม่ ถ้าศาลเห็นสมควรจะลดโทษไม่เกินก่ึงหนึ่งของโทษที่จะลง แก่ผ้กู ระทาความผิดนนั้ กไ็ ด้ เหตุบรรเทาโทษนัน้ ได้ แก่ ผู้กระทาความผิดเป็ นผู้โฉดเขลา เบาปัญญา ตกอยู่ในความทุกข์อย่างสาหัส มีคุณความดีมาแต่ก่อน รู้สึกความผิดและพยายามบรรเทาผลร้ ายแห่งความผิดนัน้ ลุแก่โทษ ตอ่ เจ้าพนกั งานหรือให้ความรู้แกศ่ าลอนั เป็นประโยชน์แก่การพิจารณา หรือ เหตอุ ่ืนท่ีศาลเหน็ วา่ มีลกั ษณะทานองเดยี วกนั มาตรา ๗๙ ในคดีท่ีมีโทษปรับสถานเดียว ถ้าผ้ทู ่ีต้องหาวา่ กระทา ความผิดนาคา่ ปรับในอตั ราอย่างสงู สาหรับความผิดนนั้ มาชาระก่อนท่ีศาล เร่ิมต้นสืบพยาน ให้คดีนนั้ เป็นอนั ระงบั ไป
55 หมวด ๕ การพยายามกระทาความผดิ มาตรา ๘๐ ผู้ใดลงมือกระทาความผิดแต่กระทาไปไม่ตลอด หรือกระทาไปตลอดแล้วแตก่ ารกระทานนั้ ไม่บรรลผุ ล ผ้นู นั้ พยายามกระทา ความผิด ผ้ใู ดพยายามกระทาความผิด ผู้นนั้ ต้องระวางโทษสองในสามส่วน ของโทษท่ีกฎหมายกาหนดไว้สาหรับความผิดนนั ้ มาตรา ๘๑ ผ้ใู ดกระทาการโดยม่งุ ต่อผลซงึ่ กฎหมายบญั ญัติเป็ น ความผิด แตก่ ารกระทานนั้ ไมส่ ามารถจะบรรลผุ ลได้อย่างแน่แท้ เพราะเหตุ ปัจจัยซง่ึ ใช้ในการกระทาหรือเหตุแห่งวัตถุท่ีมุ่งหมายกระทาต่อ ให้ถือว่า ผู้นัน้ พยายามกระทาความผิด แต่ให้ ลงโทษไม่เกินก่ึงหนึ่งของโทษ ที่กฎหมายกาหนดไว้สาหรับความผิดนนั ้ ถ้ าการกระทาดังกล่าวในวรรคแรกได้กระทาไปโดยความเชื่อ อยา่ งงมงาย ศาลจะไมล่ งโทษก็ได้ มาตรา ๘๒ ผู้ใดพยายามกระทาความผิด หากยับยัง้ เสียเอง ไมก่ ระทาการให้ตลอด หรือกลบั ใจแก้ไขไม่ให้การกระทานนั้ บรรลผุ ล ผ้นู นั้ ไม่ต้องรับโทษสาหรับการพยายามกระทาความผิดนัน้ แต่ถ้าการที่ได้ กระทาไปแล้วต้องตามบทกฎหมายที่บญั ญตั เิ ป็นความผิด ผ้นู นั้ ต้องรับโทษ สาหรับความผิดนนั้ ๆ
56 หมวด ๖ ตัวการและผู้สนับสนุน มาตรา ๘๓ ในกรณีความผิดใดเกิดขึน้ โดยการกระทาของบุคคล ตัง้ แต่สองคนขึน้ ไป ผู้ท่ีได้ร่วมกระทาความผิดด้วยกันนัน้ เป็ นตัวการ ต้องระวางโทษตามที่กฎหมายกาหนดไว้สาหรับความผิดนนั ้ *มาตรา ๘๔ ผ้ใู ดก่อให้ผ้อู ่นื กระทาความผิดไมว่ า่ ด้วยการใช้ บงั คบั ขเู่ ข็ญ จ้าง วาน หรือยุยงสง่ เสริม หรือด้วยวิธีอื่นใด ผ้นู นั้ เป็ นผ้ใู ช้ให้กระทา ความผิด ถ้าความผิดมิได้กระทาลงไม่ว่าจะเป็ นเพราะผู้ถูกใช้ไม่ยอมกระทา ยงั ไมไ่ ด้กระทา หรือเหตอุ ื่นใด ผ้ใู ช้ต้องระวางโทษเพียงหนึ่งในสามของโทษ ที่กาหนดไว้สาหรับความผิดนนั ้ ถ้าผ้ถู ูกใช้ได้กระทาความผิดนนั้ ผู้ใช้ต้องรับโทษเสมือนเป็ นตวั การ และถ้าผ้ถู กู ใช้เป็นบคุ คลอายไุ มเ่ กินสบิ แปดปี ผ้พู ิการ ผ้ทู ุพพลภาพ ลกู จ้าง หรือผ้ทู ี่อย่ใู ต้บงั คบั บญั ชาของผ้ใู ช้ ผ้ทู ี่มีฐานะยากจน หรือผ้ตู ้องพ่งึ พาผ้ใู ช้ เพราะเหตุป่ วยเจ็บหรือไม่ว่าทางใด ให้เพิ่มโทษท่ีจะลงแก่ผู้ใช้ก่ึงหนึ่ง ของโทษท่ีศาลกาหนดสาหรับผ้นู นั้ มาตรา ๘๕ ผู้ใดโฆษณาหรือประกาศแก่บุคคลทั่วไปให้กระทา ความผิด และความผิดนนั้ มีกาหนดโทษไม่ต่ากวา่ หกเดือน ผ้นู นั้ ต้องระวาง ____________________________________ *มาตรา ๘๔ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพม่ิ เติม ป.อ. (ฉบบั ท่ี ๒๕) พ.ศ. ๒๕๕๙ มาตรา ๘
57 โทษกงึ่ หนงึ่ ของโทษที่กาหนดไว้สาหรับความผิดนนั้ ถ้ าได้ มีการกระทาความผิดเพราะเหตุที่ได้ มีการโฆษณาหรือ ประกาศตามความในวรรคแรก ผู้โฆษณาหรือประกาศต้องรับโทษเสมือน เป็นตวั การ *มาตรา ๘๕/๑ ถ้ าผู้ถูกใช้ ตามมาตรา ๘๔ หรือผู้กระทาตาม คาโฆษณาหรือประกาศแก่บคุ คลทวั่ ไปให้กระทาความผิดตามมาตรา ๘๕ ได้ให้ข้อมูลสาคัญอนั เป็ นการเปิ ดเผยถึงการกระทาความผิดของผู้ใช้ให้ กระทาความผิดหรือผู้โฆษณาหรื อประกาศแก่บุคคลทั่วไปให้ กระทา ความผิด และเป็ นประโยชน์อย่างย่ิงต่อการดาเนินคดีแก่บุคคลดังกล่าว ศาลจะลงโทษผ้นู นั้ น้อยกวา่ อตั ราโทษขนั้ ตา่ ท่ีกาหนดไว้สาหรับความผิดนนั้ เพียงใดก็ได้ มาตรา ๘๖ ผู้ใดกระทาด้วยประการใด ๆ อันเป็ นการช่วยเหลือ หรื อให้ ความสะดวกในการท่ี ผ้ ูอื่นกระทาความผิดก่อนหรื อขณะกระทา ความผิด แม้ผ้กู ระทาความผิดจะมไิ ด้รู้ถงึ การช่วยเหลือหรือให้ความสะดวก นัน้ ก็ตาม ผู้นัน้ เป็ นผู้สนับสนุนการกระทาความผิด ต้องระวางโทษสอง ในสามสว่ นของโทษท่ีกาหนดไว้สาหรับความผิดที่สนบั สนนุ นนั้ มาตรา ๘๗ ในกรณีที่มีการกระทาความผิดเพราะมีผ้ใู ช้ให้กระทา ตามมาตรา ๘๔ เพราะมีผู้โฆษณาหรือประกาศแก่บุคคลท่วั ไปให้กระทา ____________________________________ *มาตรา ๘๕/๑ เพม่ิ เติมโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบบั ที่ ๒๕) พ.ศ. ๒๕๕๙ มาตรา ๙
58 ความผิดตามมาตรา ๘๕ หรือโดยมผี ้สู นบั สนนุ ตามมาตรา ๘๖ ถ้าความผิด ที่เกิดขึน้ นัน้ ผู้กระทาได้กระทาไปเกินขอบเขตท่ีใช้หรือที่โฆษณาหรือ ประกาศ หรือเกินไปจากเจตนาของผู้สนับสนุน ผู้ใช้ให้กระทาความผิด ผ้โู ฆษณาหรือประกาศแก่บุคคลทว่ั ไปให้กระทาความผิด หรือผู้สนบั สนุน การกระทาความผิด แล้วแต่กรณี ต้องรับผิดทางอาญาเพียงสาหรับ ความผิดเท่าท่ีอยู่ในขอบเขตที่ใช้หรือที่โฆษณาหรือประกาศ หรืออยู่ใน ขอบเขตแห่งเจตนาของผู้สนับสนุนการกระทาความผิดเท่านนั้ แต่ถ้าโดย พฤตกิ ารณ์อาจเลง็ เหน็ ได้วา่ อาจเกิดการกระทาความผิดเชน่ ท่ีเกิดขนึ ้ นนั้ ได้ จากการใช้ การโฆษณาหรือประกาศ หรือการสนับสนุน ผู้ใช้ให้กระทา ความผิด ผู้โฆษณาหรือประกาศแก่บุคคลทั่วไปให้กระทาความผิด หรือ ผู้สนับสนุนการกระทาความผิด แล้วแต่กรณี ต้องรับผิดทางอาญาตาม ความผิดท่ีเกิดขนึ ้ นนั้ ในกรณีที่ผู้ถูกใช้ ผู้กระทาตามคาโฆษณาหรือประกาศแก่บุคคล ทวั่ ไปให้กระทาความผิด หรือตวั การในความผิด จะต้องรับผิดทางอาญา มีกาหนดโทษสูงขึน้ เพราะอาศยั ผลที่เกิดจากการกระทาความผิด ผู้ใช้ให้ กระทาความผิด ผ้โู ฆษณาหรือประกาศแก่บุคคลทวั่ ไปให้กระทาความผิด หรือผ้สู นบั สนนุ การกระทาความผิด แล้วแตก่ รณี ต้องรับผิดทางอาญาตาม ความผิดที่มีกาหนดโทษสูงขึน้ นัน้ ด้วย แต่ถ้าโดยลักษณะของความผิด ผู้กระทาจะต้องรับผิดทางอาญามีกาหนดโทษสูงขึน้ เฉพาะเม่ือผู้กระทา ต้องรู้หรืออาจเล็งเห็นได้ว่าจะเกิดผลเช่นนัน้ ขึน้ ผู้ใช้ให้กระทาความผิด ผ้โู ฆษณาหรือประกาศแก่บุคคลทัว่ ไปให้กระทาความผิด หรือผู้สนับสนุน
59 การกระทาความผิด จะต้องรับผิดทางอาญาตามความผิดที่มีกาหนดโทษ สงู ขนึ ้ ก็เฉพาะเม่อื ตนได้รู้หรืออาจเลง็ เห็นได้วา่ จะเกิดผลเชน่ ท่ีเกิดขนึ ้ นนั้ มาตรา ๘๘ ถ้ าความผิดท่ีได้ใช้ ที่ได้โฆษณาหรือประกาศแก่ บุคคลท่วั ไปให้กระทา หรือท่ีได้สนับสนุนให้กระทา ได้กระทาถึงขนั้ ลงมือ กระทาความผิด แต่เนื่องจากการเข้ าขัดขวางของผู้ใช้ ผู้โฆษณาหรือ ประกาศ หรือผู้สนับสนุน ผู้กระทาได้กระทาไปไม่ตลอด หรือกระทาไป ตลอดแล้ว แต่การกระทานัน้ ไม่บรรลุผล ผู้ใช้หรือผู้โฆษณาหรือประกาศ คงรับผิดเพียงที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๘๔ วรรคสอง หรือมาตรา ๘๕ วรรคแรก แล้วแตก่ รณี สว่ นผ้สู นบั สนนุ นนั้ ไม่ต้องรับโทษ มาตรา ๘๙ ถ้ ามีเหตุส่วนตัวอันควรยกเว้ นโทษ ลดโทษหรื อ เพิ่มโทษแกผ่ ้กู ระทาความผิดคนใด จะนาเหตนุ นั้ ไปใช้แก่ผ้กู ระทาความผิด คนอ่ืนในการกระทาความผิดนัน้ ด้วยไม่ได้ แต่ถ้าเหตุอันควรยกเว้นโทษ ลดโทษหรือเพ่ิมโทษเป็ นเหตุในลกั ษณะคดี จึงให้ใช้แก่ผู้กระทาความผิด ในการกระทาความผิดนนั้ ด้วยกนั ทกุ คน
60 หมวด ๗ การกระทาความผดิ หลายบทหรือหลายกระทง มาตรา ๙๐ เมื่อการกระทาใดอันเป็ นกรรมเดียวเป็ นความผิด ต่อกฎหมายหลายบท ให้ ใช้ กฎหมายบทท่ีมีโทษหนักท่ีสุดลงโทษ แกผ่ ้กู ระทาความผิด *มาตรา ๙๑ เม่ือปรากฏว่าผู้ใดได้กระทาการอันเป็ นความผิด หลายกรรมต่างกัน ให้ศาลลงโทษผู้นัน้ ทุกกรรมเป็ นกระทงความผิดไป แตไ่ มว่ า่ จะมกี ารเพ่ิมโทษ ลดโทษ หรือลดมาตราส่วนโทษด้วยหรือไม่ก็ตาม เมอื่ รวมโทษทกุ กระทงแล้ว โทษจาคกุ ทงั้ สิน้ ต้องไมเ่ กินกาหนดดงั ตอ่ ไปนี ้ (๑) สบิ ปี สาหรับกรณีความผิดกระทงท่ีหนกั ที่สดุ มีอตั ราโทษจาคกุ อย่างสงู ไมเ่ กินสามปี (๒) ยี่สิบปี สาหรับกรณีความผิดกระทงที่หนักท่ีสุดมีอัตราโทษ จาคกุ อยา่ งสงู เกินสามปี แตไ่ มเ่ กินสิบปี (๓) ห้าสิบปี สาหรับกรณีความผิดกระทงท่ีหนักที่สดุ มีอตั ราโทษ จาคกุ อย่างสงู เกินสิบปี ขนึ ้ ไป เว้นแตก่ รณีท่ีศาลลงโทษจาคกุ ตลอดชีวิต ____________________________________ *มาตรา ๙๑ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบบั ที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๒๖ มาตรา ๔
61 หมวด ๘ การกระทาความผดิ อีก มาตรา ๙๒ ผ้ใู ดต้องคาพิพากษาถึงที่สุดให้ลงโทษจาคกุ ถ้าและ ได้กระทาความผิดใด ๆ อีกในระหวา่ งที่ยงั จะต้องรับโทษอยกู่ ด็ ี ภายในเวลา ห้าปี นับแต่วนั พ้นโทษก็ดี หากศาลจะพิพากษาลงโทษครัง้ หลังถึงจาคุก ก็ให้เพิ่มโทษที่จะลงแก่ผู้นัน้ หน่ึงในสามของโทษท่ีศาลกาหนดสาหรับ ความผิดครัง้ หลงั มาตรา ๙๓ ผ้ใู ดต้องคาพิพากษาถึงที่สดุ ให้ลงโทษจาคกุ ถ้ าและ ได้กระทาความผิดอย่างหน่ึงอย่างใดที่จาแนกไว้ในอนุมาตราต่อไปนีซ้ า้ ในอนุมาตราเดียวกันอีกในระหว่างที่ยังจะต้องรับโทษอยู่ก็ดี ภายในเวลา สามปี นับแต่วันพ้ นโทษก็ดี ถ้ าความผิดครัง้ แรกเป็ นความผิดซ่ึงศาล พิพากษาลงโทษจาคกุ ไม่น้อยกว่าหกเดือน หากศาลจะพิพากษาลงโทษ ครัง้ หลงั ถงึ จาคกุ กใ็ ห้เพิ่มโทษท่ีจะลงแก่ผ้นู นั้ กึง่ หนึ่งของโทษท่ีศาลกาหนด สาหรับความผิดครัง้ หลงั (๑) ความผิดเก่ียวกบั ความมน่ั คงแหง่ ราชอาณาจกั ร ตามท่ีบญั ญตั ิ ไว้ในมาตรา ๑๐๗ ถงึ มาตรา ๑๓๕ (๒) ความผิดต่อเจ้าพนกั งาน ตามที่บญั ญัติไว้ในมาตรา ๑๓๖ ถึง มาตรา ๑๔๖ (๓) ความผิดตอ่ ตาแหน่งหน้าที่ราชการ ตามท่ีบญั ญตั ิไว้ในมาตรา ๑๔๗ ถงึ มาตรา ๑๖๖ (๔) ความผิดต่อเจ้าพนักงานในการยุติธรรม ตามที่บญั ญัติไว้ใน
62 มาตรา ๑๖๗ ถงึ มาตรา ๑๙๒ และมาตรา ๑๙๔ (๕) ความผิดตอ่ ตาแหน่งหน้าที่ในการยตุ ิธรรม ตามท่ีบญั ญัติไว้ใน มาตรา ๒๐๐ ถงึ มาตรา ๒๐๔ (๖) ความผิดเกี่ยวกบั ความสงบสขุ ของประชาชน ตามที่บญั ญตั ิไว้ ในมาตรา ๒๐๙ ถงึ มาตรา ๒๑๖ (๗) ความผิดเก่ียวกับการก่อให้เกิดภยนั ตรายต่อประชาชน ตามท่ี บญั ญัติไว้ในมาตรา ๒๑๗ ถึงมาตรา ๒๒๔ มาตรา ๒๒๖ ถึงมาตรา ๒๓๔ และมาตรา ๒๓๖ ถงึ มาตรา ๒๓๘ (๘) ความผิดเกี่ยวกับเงินตรา ตามท่ีบญั ญตั ิไว้ในมาตรา ๒๔๐ ถึง มาตรา ๒๔๙ ความผิดเก่ียวกับดวงตราแสตมป์ และต๋ัว ตามท่ีบัญญัติไว้ ในมาตรา ๒๕๐ ถึงมาตรา ๒๖๑ และความผิดเก่ียวกับเอกสาร ตามท่ี บญั ญตั ไิ ว้ในมาตรา ๒๖๔ ถงึ มาตรา ๒๖๙ (๙) ความผิดเกี่ยวกับการค้า ตามท่ีบัญญัติไว้ในมาตรา ๒๗๐ ถึง มาตรา ๒๗๕ (๑๐)ความผิดเก่ียวกับเพศ ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๒๗๖ ถึง มาตรา ๒๘๕ (๑๑)ความผิดต่อชีวิต ตามท่ีบัญญัติไว้ในมาตรา ๒๘๘ ถึงมาตรา ๒๙๐ และมาตรา ๒๙๔ ความผิดต่อร่างกาย ตามท่ีบัญญัติไว้ในมาตรา ๒๙๕ ถึงมาตรา ๒๙๙ ความผิดฐานทาให้ แท้ งลูก ตามที่บัญญัติไว้ ในมาตรา ๓๐๑ ถงึ มาตรา ๓๐๓ และความผิดฐานทอดทิง้ เด็ก คนป่ วยเจ็บ หรือคนชรา ตามท่ีบญั ญตั ิไว้ในมาตรา ๓๐๖ ถงึ มาตรา ๓๐๘ (๑๒)ความผิดตอ่ เสรีภาพ ตามท่ีบญั ญตั ิไว้ในมาตรา ๓๐๙ มาตรา ๓๑๐ และมาตรา ๓๑๒ ถงึ มาตรา ๓๒๐
63 (๑๓)ความผิดเก่ียวกับทรัพย์ ตามท่ีบญั ญัติไว้ในมาตรา ๓๓๔ ถึง มาตรา ๓๖๕ *มาตรา ๙๔ ความผิดอนั ได้กระทาโดยประมาท ความผิดลหุโทษ และความผิดซ่ึงผู้กระทาได้กระทาในขณะที่มีอายุต่ากว่าสิบแปดปี นัน้ ไม่ว่าจะได้กระทาในครัง้ ก่อนหรือครัง้ หลงั ไม่ถือว่าเป็ นความผิดเพื่อการ เพ่ิมโทษตามความในหมวดนี ้ หมวด ๙ อายุความ มาตรา ๙๕ ในคดีอาญา ถ้ามิได้ฟ้ องและได้ตวั ผู้กระทาความผิด มายงั ศาลภายในกาหนดดงั ตอ่ ไปนี ้นบั แต่วนั กระทาความผิด เป็ นอนั ขาด อายคุ วาม (๑) ย่ีสิบปี สาหรับความผิดต้องระวางโทษประหารชีวิต จาคุก ตลอดชีวิต หรือจาคกุ ย่ีสิบปี (๒) สิบห้าปี สาหรับความผิดต้องระวางโทษจาคุกกว่าเจ็ดปี แตย่ ัง ไมถ่ งึ ยี่สบิ ปี (๓) สิบปี สาหรับความผิดต้องระวางโทษจาคกุ กวา่ หนงึ่ ปี ถงึ เจด็ ปี (๔) ห้าปี สาหรับความผิดต้องระวางโทษจาคุกกว่าหนึ่งเดือนถึง หนงึ่ ปี ____________________________________ *มาตรา ๙๔ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพ่มิ เติม ป.อ. (ฉบบั ที่ ๒๑) พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๘
64 (๕) หนึ่งปี สาหรับความผิดต้องระวางโทษจาคุกตงั้ แต่หนึ่งเดือน ลงมา หรือต้องระวางโทษอย่างอนื่ ถ้าได้ฟ้ องและได้ตัวผู้กระทาความผิดมายังศาลแล้ว ผู้กระทา ความผิดหลบหนีหรือวกิ ลจริต และศาลสงั่ งดการพิจารณาไว้จนเกินกาหนด ดงั กลา่ วแล้วนบั แตว่ นั ที่หลบหนีหรือวนั ที่ศาลสง่ั งดการพิจารณา ก็ให้ถือว่า เป็นอนั ขาดอายคุ วามเช่นเดยี วกนั มาตรา ๙๖ ภายใต้บังคับมาตรา ๙๕ ในกรณีความผิดอันยอม ความได้ ถ้าผู้เสียหายมิได้ร้ องทุกข์ภายในสามเดือนนับแต่วันท่ีรู้เรื่อง ความผิดและรู้ตวั ผ้กู ระทาความผิด เป็นอนั ขาดอายคุ วาม มาตรา ๙๗ ในการฟ้ องขอให้กักกัน ถ้าจะฟ้ องภายหลงั การฟ้ อง คดีอันเป็ นมูลให้เกิดอานาจฟ้ องขอให้ กักกัน ต้องฟ้ องภายในกาหนด หกเดือนนบั แตว่ นั ที่ฟ้ องคดีนนั้ มิฉะนนั้ เป็นอนั ขาดอายคุ วาม มาตรา ๙๘ เม่ือได้มีคาพิพากษาถึงท่ีสุดให้ ลงโทษผู้ใด ผู้นัน้ ยงั มิได้รับโทษก็ดี ได้รับโทษแต่ยงั ไม่ครบถ้วนโดยหลบหนีก็ดี ถ้ายงั มิได้ตวั ผู้นัน้ มาเพ่ือรับโทษนับแต่วันที่มีคาพิพากษาถึงที่สุด หรือนับแต่วันท่ี ผู้กระทาความผิดหลบหนี แล้ วแต่กรณี เกินกาหนดเวลาดังต่อไปนี ้ เป็นอนั ลว่ งเลยการลงโทษ จะลงโทษผ้นู นั้ มิได้ (๑) ย่ีสิบปี สาหรับโทษประหารชีวิต จาคุกตลอดชีวิตหรือจาคุก ยี่สบิ ปี (๒) สบิ ห้าปี สาหรับโทษจาคกุ กวา่ เจ็ดปี แตย่ งั ไมถ่ งึ ย่ีสบิ ปี
65 (๓) สบิ ปี สาหรับโทษจาคกุ กวา่ หนงึ่ ปี ถงึ เจ็ดปี (๔) ห้าปี สาหรับโทษจาคกุ ตงั้ แตห่ นงึ่ ปี ลงมาหรือโทษอย่างอื่น *มาตรา ๙๙ การยึดทรัพย์สินหรืออายัดสิทธิเรียกร้ องในทรัพย์สิน เพื่อใช้ค่าปรับ หรือการกักขังแทนค่าปรับ ถ้ามิได้ทาภายในกาหนดห้าปี นับแต่วันท่ีได้มีคาพิพากษาถึงท่ีสุด จะยึดทรัพย์สิน อายัดสิทธิเรียกร้ อง ในทรัพย์สนิ หรือกกั ขงั ไมไ่ ด้ ความในวรรคหนึ่งมิให้ ใช้ บังคับในกรณีการกักขังแทนค่าปรับ ซง่ึ ทาตอ่ เนื่องกบั การลงโทษจาคกุ มาตรา ๑๐๐ เม่ือได้มีคาพิพากษาถึงท่ีสุดให้กักกันผู้ใด ถ้าผู้นัน้ ยังมิได้รับการกกั กนั ก็ดี ได้รับการกักกันแต่ยงั ไม่ครบถ้วนโดยหลบหนีก็ดี ถ้าพ้นกาหนดสามปี นบั แต่วนั ท่ีพ้นโทษโดยได้รับโทษตามคาพิพากษาแล้ว หรือโดยล่วงเลยการลงโทษ หรือนับแต่วันท่ีผู้นัน้ หลบหนีระหว่างเวลา ที่ต้องกกั กนั เป็นอนั ลว่ งเลยการกกั กนั จะกกั กนั ผ้นู นั้ ไมไ่ ด้ มาตรา ๑๐๑ การบงั คบั ตามคาสงั่ ของศาลตามความในมาตรา ๔๖ หรือการร้ องขอให้ศาลสง่ั ให้ใช้เงินเม่ือผู้ทาทัณฑ์บนประพฤติผิดทณั ฑ์บน ตามความในมาตรา ๔๗ นนั้ ถ้ามิได้บงั คบั หรือร้องขอภายในกาหนดสองปี นบั แต่วนั ท่ีศาลมีคาสง่ั หรือนบั แต่วนั ที่ผู้ทาทณั ฑ์บนประพฤติผิดทณั ฑ์บน จะบงั คบั หรือร้องขอมไิ ด้ ____________________________________ *มาตรา ๙๙ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพม่ิ เติม ป.อ. (ฉบบั ที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๓
66 ลักษณะ ๒ บทบญั ญัตทิ ่ีใช้แก่ความผิดลหุโทษ *มาตรา ๑๐๒ ความผิดลหโุ ทษ คอื ความผิดซง่ึ ต้องระวางโทษจาคกุ ไมเ่ กินหนง่ึ เดือน หรือปรับไมเ่ กินหนงึ่ หมืน่ บาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ มาตรา ๑๐๓ บทบญั ญัติในลกั ษณะ ๑ ให้ใช้ในกรณีแห่งความผิด ลหโุ ทษด้วย เว้นแตท่ ี่บญั ญตั ิไว้ในสามมาตราตอ่ ไปนี ้ มาตรา ๑๐๔ การกระทาความผิดลหุโทษตามประมวลกฎหมายนี ้ แม้กระทาโดยไมม่ เี จตนาก็เป็นความผิด เว้นแตต่ ามบทบญั ญตั ิความผิดนนั้ จะมคี วามบญั ญตั ใิ ห้เหน็ เป็นอยา่ งอื่น มาตรา ๑๐๕ ผู้ใดพยายามกระทาความผิดลหุโทษ ผู้นัน้ ไม่ต้อง รับโทษ มาตรา ๑๐๖ ผ้สู นบั สนนุ ในความผิดลหโุ ทษไมต่ ้องรับโทษ ____________________________________ *มาตรา ๑๐๒ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพมิ่ เติม ป.อ. (ฉบบั ที่ ๒๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๔
67 ภาค ๒ ความผิด ลักษณะ ๑ ความผิดเก่ียวกับความม่ันคงแห่งราชอาณาจกั ร หมวด ๑ ความผดิ ต่อองค์พระมหากษัตริย์ พระราชนิ ี รัชทายาท และผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์ มาตรา ๑๐๗ ผู้ใดปลงพระชนม์พระมหากษัตริย์ ต้องระวางโทษ ประหารชีวิต ผ้ใู ดพยายามกระทาการเช่นวา่ นนั้ ต้องระวางโทษเชน่ เดียวกนั ผู้ใดกระทาการใดอันเป็ นการตระเตรี ยมเพื่อปลงพระชนม์ พระมหากษัตริย์ หรือรู้วา่ มีผ้จู ะปลงพระชนม์พระมหากษัตริย์ กระทาการใด อนั เป็นการช่วยปกปิ ดไว้ ต้องระวางโทษจาคกุ ตลอดชีวติ มาตรา ๑๐๘ ผู้ใดกระทาการประทุษร้ ายต่อพระองค์หรือเสรีภาพ ของพระมหากษัตริย์ ต้องระวางโทษประหารชีวติ หรือจาคกุ ตลอดชีวิต ผ้ใู ดพยายามกระทาการเชน่ วา่ นนั้ ต้องระวางโทษเช่นเดียวกนั ถ้าการกระทานัน้ มีลักษณะอันน่าจะเป็ นอันตรายแก่พระชนม์ ผ้กู ระทาต้องระวางโทษประหารชีวิต ผ้ใู ดกระทาการใดอนั เป็ นการตระเตรียมเพ่ือประทุษร้ายต่อพระองค์ หรือเสรีภาพของพระมหากษัตริย์ หรือรู้ว่ามีผู้จะกระทาการประทุษร้ าย
68 ต่อพระองค์หรือเสรีภาพของพระมหากษัตริย์ กระทาการใดอันเป็ นการ ช่วยปกปิ ดไว้ ต้องระวางโทษจาคกุ ตงั้ แตส่ ิบหกปี ถงึ ย่ีสบิ ปี มาตรา ๑๐๙ ผู้ใดปลงพระชนม์พระราชินีหรือรัชทายาท หรือ ฆ่าผ้สู าเร็จราชการแทนพระองค์ ต้องระวางโทษประหารชีวิต ผ้ใู ดพยายามกระทาการเช่นวา่ นนั้ ต้องระวางโทษเช่นเดยี วกนั ผ้ใู ดกระทาการใดอนั เป็ นการตระเตรียมเพ่ือปลงพระชนม์พระราชินี หรือรัชทายาท หรือเพ่ือฆ่าผ้สู าเร็จราชการแทนพระองค์ หรือรู้ว่ามีผ้จู ะปลง พระชนม์พระราชินีหรือรัชทายาท หรือจะฆ่าผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์ กระทาการใดอนั เป็นการชว่ ยปกปิ ดไว้ ต้องระวางโทษจาคกุ ตงั้ แต่สิบสองปี ถงึ ยี่สบิ ปี มาตรา ๑๑๐ ผู้ใดกระทาการประทุษร้ ายต่อพระองค์หรือเสรีภาพ ของพระราชินีหรือรัชทายาท หรือต่อร่างกายหรือเสรีภาพของผู้สาเร็จ ราชการแทนพระองค์ ต้องระวางโทษจาคุกตลอดชีวิต หรือจาคุกตัง้ แต่ สิบหกปี ถงึ ย่ีสบิ ปี ผ้ใู ดพยายามกระทาการเชน่ วา่ นนั้ ต้องระวางโทษเชน่ เดียวกนั ถ้าการกระทานัน้ มีลกั ษณะอนั น่าจะเป็ นอนั ตรายแก่พระชนม์หรือ ชีวิต ผ้กู ระทาต้องระวางโทษประหารชีวติ หรือจาคกุ ตลอดชีวติ ผ้ใู ดกระทาการใดอนั เป็ นการตระเตรียมเพ่ือประทษุ ร้ายต่อพระองค์ หรือเสรีภาพของพระราชินีหรือรัชทายาท หรือต่อร่างกายหรือเสรีภาพของ
69 ผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์ หรือรู้ว่ามีผู้จะประทุษร้ ายต่อพระองค์หรือ เสรีภาพของพระราชินีหรือรัชทายาท หรือประทุษร้ ายต่อร่างกายหรือ เสรีภาพของผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์ กระทาการใดอันเป็ นการ ชว่ ยปกปิ ดไว้ ต้องระวางโทษจาคกุ ตงั้ แตส่ บิ สองปี ถงึ ยี่สบิ ปี มาตรา ๑๑๑ ผ้ใู ดเป็นผ้สู นบั สนนุ ในการกระทาความผิดตามมาตรา ๑๐๗ ถงึ มาตรา ๑๑๐ ต้องระวางโทษเช่นเดียวกบั ตวั การในความผิดนนั้ *มาตรา ๑๑๒ ผู้ใดหม่ินประมาท ดูหมิ่น หรือแสดงความอาฆาต มาดร้ ายพระมหากษัตริย์ พระราชินี รัชทายาท หรือผู้สาเร็จราชการแทน พระองค์ ต้องระวางโทษจาคกุ ตงั้ แตส่ ามปี ถงึ สบิ ห้าปี ____________________________________ *มาตรา ๑๑๒ แก้ไขโดยคาสง่ั ของคณะปฏิรูปการปกครองแผน่ ดิน ฉบบั ท่ี ๔๑ พ.ศ. ๒๕๑๙ ข้อ ๑
70 หมวด ๒ ความผิดต่อความม่ันคงของรัฐ ภายในราชอาณาจกั ร มาตรา ๑๑๓ ผู้ใดใช้กาลังประทุษร้ าย หรือขู่เข็ญว่าจะใช้กาลัง ประทษุ ร้าย เพ่ือ (๑) ล้มล้างหรือเปลย่ี นแปลงรัฐธรรมนญู (๒) ล้มล้างอานาจนิติบญั ญัติ อานาจบริหาร หรืออานาจตลุ าการ แหง่ รัฐธรรมนญู หรือให้ใช้อานาจดงั กลา่ วแล้วไมไ่ ด้ หรือ (๓) แบ่งแยกราชอาณาจักรหรือยึดอานาจปกครองในส่วนหน่ึง สว่ นใดแห่งราชอาณาจกั ร ผ้นู นั้ กระทาความผิดฐานเป็นกบฏ ต้องระวางโทษประหารชีวิต หรือ จาคกุ ตลอดชีวติ มาตรา ๑๑๔ ผู้ใดสะสมกาลังพลหรืออาวุธ ตระเตรียมการอ่ืนใด หรือสมคบกัน เพื่อเป็ นกบฏ หรือกระทาความผิดใด ๆ อันเป็ นส่วนของ แผนการ เพ่ือเป็ นกบฏ หรือยยุ งราษฎรให้เป็ นกบฏ หรือรู้วา่ มีผ้จู ะเป็ นกบฏ แล้วกระทาการใดอันเป็ นการช่วยปกปิ ดไว้ ต้องระวางโทษจาคุกตัง้ แต่ สามปี ถงึ สบิ ห้าปี มาตรา ๑๑๕ ผู้ใดยุยงทหารหรือตารวจให้หนีราชการ ให้ละเลย ไมก่ ระทาการตามหน้าท่ี หรือให้ก่อการกาเริบ ต้องระวางโทษจาคกุ ไมเ่ กิน
71 ห้าปี ถ้ าความผิดนัน้ ได้ กระทาลงโดยมุ่งหมายจะบ่อนให้ วินัยและ สมรรถภาพของกรมกองทหารหรือตารวจเสื่อมทรามลง ผ้กู ระทาต้องระวาง โทษจาคกุ ไมเ่ กินสิบปี มาตรา ๑๑๖ ผ้ใู ดกระทาให้ปรากฏแก่ประชาชนด้วยวาจา หนงั สือ หรือวิธีอื่นใดอนั มิใช่เป็ นการกระทาภายในความมงุ่ หมายแห่งรัฐธรรมนูญ หรือมใิ ช่เพื่อแสดงความคิดเห็นหรือตชิ มโดยสจุ ริต (๑) เพ่ือให้เกิดการเปล่ียนแปลงในกฎหมายแผ่นดินหรือรัฐบาล โดยใช้กาลงั ข่มขืนใจหรือใช้กาลงั ประทษุ ร้าย (๒) เพ่ือให้เกิดความป่ันป่ วนหรือกระด้างกระเดื่องในหมปู่ ระชาชน ถงึ ขนาดที่จะก่อความไมส่ งบขนึ ้ ในราชอาณาจกั ร หรือ (๓) เพ่ือให้ประชาชนล่วงละเมิดกฎหมายแผ่นดิน ต้องระวางโทษ จาคกุ ไมเ่ กินเจด็ ปี * มาตรา ๑๑๗ ผู้ใดยุยงหรื อจัดให้ เกิดการร่ วมกันหยุดงาน การร่วมกันปิ ดงานงดจ้ าง หรือการร่วมกันไม่ยอมค้าขายหรือติดต่อ ทางธุรกิจกบั บุคคลใด ๆ เพื่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงในกฎหมายแผ่นดิน เพ่ือบงั คบั รัฐบาล หรือเพื่อขม่ ข่ปู ระชาชน ต้องระวางโทษจาคกุ ไม่เกินเจ็ดปี หรือปรับไมเ่ กินหนง่ึ แสนสีห่ มื่นบาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ ผ้ใู ดทราบความม่งุ หมายดงั กล่าวและเข้ามีสว่ นหรือเข้าช่วยในการ ____________________________________ *มาตรา ๑๑๗ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบบั ที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
72 ร่วมกันหยุดงาน การร่วมกันปิ ดงานงดจ้าง หรือการร่วมกนั ไมย่ อมค้าขาย หรือติดต่อทางธุรกิจกบั บุคคลใด ๆ นนั้ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไมเ่ กินหกหมน่ื บาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ ผ้ใู ดทราบความมงุ่ หมายดงั กล่าว และใช้กาลงั ประทุษร้าย ข่เู ข็ญว่า จะใช้กาลงั ประทุษร้ายหรือทาให้หวาดกลวั ด้วยประการใด ๆ เพื่อให้บุคคล เข้ามีส่วนหรือเข้าช่วยในการร่วมกันหยุดงาน การร่วมกันปิ ดงานงดจ้าง หรือการร่วมกันไม่ยอมค้าขายหรือติดต่อทางธุรกิจกับบุคคลใด ๆ นัน้ ต้องระวางโทษจาคกุ ไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทงั้ จา ทงั้ ปรับ * มาตรา ๑๑๘ ผู้ใดกระทาการใด ๆ ต่อธงหรือเครื่องหมายอ่ืนใด อนั มคี วามหมายถงึ รัฐ เพื่อเหยียดหยามประเทศชาติ ต้องระวางโทษจาคกุ ไมเ่ กินสองปี หรือปรับไมเ่ กินสหี่ ม่ืนบาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ ____________________________________ *มาตรา ๑๑๘ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบบั ท่ี ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๕
73 หมวด ๓ ความผิดต่อความม่ันคงของรัฐ ภายนอกราชอาณาจกั ร มาตรา ๑๑๙ ผู้ใดกระทาการใด ๆ เพื่อให้ ราชอาณาจักรหรือ ส่ว น ห น่ึง ส่ว น ใ ด ข อ งร า ช อ าณ า จักร ต ก ไ ป อ ยู่ใ ต้ อ า น า จ อ ธิ ป ไ ต ย ข อ ง รัฐต่างประเทศ หรือเพ่ือให้เอกราชของรัฐเส่ือมเสียไป ต้องระวางโทษ ประหารชีวิต หรือจาคกุ ตลอดชีวติ มาตรา ๑๒๐ ผู้ใดคบคิดกับบุคคลซ่งึ กระทาการเพ่ือประโยชน์ของ รัฐต่างประเทศ ด้วยความประสงค์ท่ีจะก่อให้เกิดการดาเนินการรบต่อรัฐ หรือในทางอ่ืนท่ีเป็ นปรปักษ์ต่อรัฐ ต้องระวางโทษจาคุกตลอดชีวิต หรือ จาคกุ ตงั้ แตส่ ิบปี ถงึ ย่ีสิบปี มาตรา ๑๒๑ คนไทยคนใดกระทาการรบต่อประเทศ หรือเข้าร่วม เป็นข้าศกึ ของประเทศ ต้องระวางโทษประหารชีวติ หรือจาคุกตลอดชีวติ มาตรา ๑๒๒ ผ้ใู ดกระทาการใด ๆ เพื่ออปุ การะแกก่ ารดาเนินการรบ หรือการตระเตรียมการรบของข้าศึก ต้องระวางโทษจาคุกตัง้ แต่ห้าปี ถึง สบิ ห้าปี ถ้าการอปุ การะนนั้ เป็นการ (๑) ทาให้ป้ อม ค่าย สนามบิน ยานรบ ยานพาหนะ ทางคมนาคม
74 สิ่งท่ีใช้ในการสื่อสาร ยุทธภัณฑ์ เสบียงอาหาร อ่เู รือ อาคาร หรือส่ิงอ่ืนใด สาหรับใช้เพื่อการสงครามใช้การไมไ่ ด้หรือตกไปอยใู่ นเงือ้ มมอื ของข้าศกึ (๒) ยุยงทหารให้ละเลยไม่กระทาการตามหน้าท่ี ก่อการกาเริบ หนีราชการหรือละเมดิ วนิ ยั (๓) กระทาจารกรรม นาหรือแนะทางให้ข้าศกึ หรือ (๔) กระทาโดยประการอนื่ ใดให้ข้าศกึ ได้เปรียบในการรบ ผ้กู ระทาต้องระวางโทษประหารชีวิต หรือจาคกุ ตลอดชีวติ มาตรา ๑๒๓ ผ้ใู ดกระทาการใด ๆ เพื่อให้ได้มาซง่ึ ข้อความ เอกสาร หรือส่ิงใด ๆ อนั ปกปิ ดไว้เป็ นความลบั สาหรับความปลอดภยั ของประเทศ ต้องระวางโทษจาคกุ ไมเ่ กินสิบปี มาตรา ๑๒๔ ผู้ใดกระทาการใด ๆ เพื่อให้ผู้อ่ืนล่วงรู้หรือได้ไปซึ่ง ข้อความ เอกสารหรือสิ่งใด ๆ อันปกปิ ดไว้เป็ นความลับสาหรับความ ปลอดภยั ของประเทศ ต้องระวางโทษจาคกุ ไมเ่ กินสิบปี ถ้าความผิดนัน้ ได้กระทาในระหว่างประเทศอยู่ในการรบหรือการ สงคราม ผ้กู ระทาต้องระวางโทษจาคกุ ตงั้ แตห่ ้าปี ถงึ สบิ ห้าปี ถ้ าความผิดดังกล่าวมาในสองวรรคก่อน ได้ กระทาเพ่ือให้ รัฐ ตา่ งประเทศได้ประโยชน์ ผู้กระทาต้องระวางโทษประหารชีวิต หรือจาคกุ ตลอดชีวิต
75 มาตรา ๑๒๕ ผ้ใู ดปลอม ทาเทียมขนึ ้ กกั ไว้ ซ่อนเร้น ปิ ดบงั ยกั ย้าย ทาให้เสียหาย ทาลาย หรือทาให้สูญหายหรือไร้ ประโยชน์ซงึ่ เอกสารหรือ แบบใด ๆ อนั เกี่ยวกบั ส่วนได้เสียของรัฐในการระหวา่ งประเทศ ต้องระวาง โทษจาคกุ ไมเ่ กินสบิ ปี มาตรา ๑๒๖ ผ้ใู ดได้รับมอบหมายจากรัฐบาลให้กระทากิจการของ รัฐกับรัฐบาลต่างประเทศ ถ้าและโดยทุจริตไม่ปฏิบัติการตามท่ีได้รับ มอบหมาย ต้องระวางโทษจาคกุ ตงั้ แตห่ นงึ่ ปี ถงึ สบิ ปี มาตรา ๑๒๗ ผู้ใดกระทาการใด ๆ เพ่ือให้เกิดเหตรุ ้ ายแก่ประเทศ จากภายนอก ต้องระวางโทษจาคกุ ไมเ่ กินสบิ ปี ถ้าเหตุร้ ายเกิดขึน้ ผู้กระทาต้องระวางโทษประหารชีวิต หรือจาคุก ตลอดชีวติ หรือจาคกุ ตงั้ แตส่ องปี ถงึ ยี่สบิ ปี มาตรา ๑๒๘ ผ้ใู ดตระเตรียมการ หรือพยายามกระทาความผิดใด ๆ ในหมวดนี ้ต้องระวางโทษตามที่บญั ญตั ิไว้สาหรับความผิดนนั้ มาตรา ๑๒๙ ผู้ใดเป็ นผู้สนับสนุนในการกระทาความผิดใด ๆ ในหมวดนี ้ต้องระวางโทษเชน่ เดียวกบั ตวั การในความผิดนนั้
76 หมวด ๔ ความผิดต่อสัมพันธไมตรีกับต่างประเทศ มาตรา ๑๓๐ ผู้ใดทาร้ ายร่างกายหรือประทุษร้ ายต่อเสรีภาพ ของราชาธิบดี ราชินี ราชสามี รัชทายาท หรือประมุขแห่งรัฐต่างประเทศ ซงึ่ มีสมั พนั ธไมตรี ต้องระวางโทษจาคกุ ตงั้ แตห่ นง่ึ ปี ถงึ สิบห้าปี ผ้ใู ดพยายามกระทาการเช่นวา่ นนั้ ต้องระวางโทษเชน่ เดียวกนั มาตรา ๑๓๑ ผู้ใดทาร้ ายร่างกายหรือประทุษร้ ายต่อเสรีภาพของ ผ้แู ทนรัฐตา่ งประเทศ ซง่ึ ได้รับแต่งตงั้ ให้มาสพู่ ระราชสานกั ต้องระวางโทษ จาคกุ ไมเ่ กินสบิ ปี ผ้ใู ดพยายามกระทาการเชน่ วา่ นนั้ ต้องระวางโทษเชน่ เดยี วกนั มาตรา ๑๓๒ ผ้ใู ดฆ่าหรือพยายามฆ่าบุคคลหนง่ึ บุคคลใดดงั ระบไุ ว้ ในมาตรา ๑๓๐ หรือมาตรา ๑๓๑ ต้องระวางโทษประหารชีวิต หรือจาคกุ ตลอดชีวติ *มาตรา ๑๓๓ ผู้ใดหมิ่นประมาท ดูหมิ่นหรือแสดงความอาฆาต มาดร้ ายราชาธิบดี ราชินี ราชสามี รัชทายาท หรื อประมุขแห่งรัฐ ต่างประเทศ ต้องระวางโทษจาคุกตัง้ แต่หน่ึงปี ถึงเจ็ดปี หรือปรับตัง้ แต่ สองหมนื่ บาทถงึ หนง่ึ แสนส่ีหม่ืนบาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ ____________________________________ *มาตรา ๑๓๓ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพม่ิ เติม ป.อ. (ฉบบั ท่ี ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๕
77 * มาตรา ๑๓๔ ผู้ใดหมิ่นประมาท ดูหม่ินหรือแสดงความอาฆาต มาดร้ ายผู้แทนรัฐต่างประเทศ ซึ่งได้รับแต่งตัง้ ให้ มาสู่พระราชสานัก ต้องระวางโทษจาคกุ ตงั้ แต่หกเดือนถึงห้าปี หรือปรับตงั้ แต่หนึ่งหมื่นบาท ถงึ หนง่ึ แสนบาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ *มาตรา ๑๓๕ ผู้ใดกระทาการใด ๆ ต่อธงหรือเครื่องหมายอ่ืนใด อนั มีความหมายถึงรัฐต่างประเทศซ่ึงมีสัมพันธไมตรี เพ่ือเหยียดหยาม รัฐนัน้ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินส่ีหม่ืนบาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ **ลักษณะ ๑/๑ ความผิดเก่ ียวกับการก่ อการร้ าย มาตรา ๑๓๕/๑ ผ้ใู ดกระทาการอนั เป็นความผิดอาญาดงั ตอ่ ไปนี ้ (๑) ใช้กาลังประทุษร้ าย หรือกระทาการใดอนั ก่อให้เกิดอันตราย ตอ่ ชีวติ หรืออนั ตรายอย่างร้ายแรงต่อร่างกาย หรือเสรีภาพของบคุ คลใด ๆ (๒) กระทาการใดอนั กอ่ ให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงแก่ระบบ การขนส่งสาธารณะ ระบบโทรคมนาคม หรือโครงสร้ างพืน้ ฐานอันเป็ น ประโยชน์สาธารณะ ____________________________________ *มาตรา ๑๓๔ และมาตรา ๑๓๕ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพ่มิ เติม ป.อ. (ฉบบั ท่ี ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๕ **ลกั ษณะ ๑/๑ ความผิดเก่ียวกับการก่อการร้าย มาตรา ๑๓๕/๑ ถึงมาตรา ๑๓๕/๔ เพ่ิมเติม โดย พ.ร.ก. แก้ไขเพม่ิ เติม ป.อ. พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๔
78 (๓) กระทาการใดอันก่อให้เกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สินของ รัฐหน่ึงรัฐใด หรือของบุคคลใด หรือต่อส่ิงแวดล้อม อนั ก่อให้เกิดหรือน่าจะ ก่อให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจอยา่ งสาคญั ถ้าการกระทานนั้ ได้กระทาโดยมีความมงุ่ หมายเพื่อข่เู ข็ญหรือบงั คบั รัฐบาลไทย รัฐบาลต่างประเทศ หรือองค์การระหว่างประเทศ ให้กระทา หรือไม่กระทาการใดอนั จะก่อให้เกิดความเสียหายอย่างร้ ายแรง หรือเพ่ือ สร้างความป่ันป่ วนโดยให้เกิดความหวาดกลวั ในหม่ปู ระชาชน ผ้นู นั้ กระทา ความผิดฐานกอ่ การร้าย ต้องระวางโทษประหารชีวิต จาคกุ ตลอดชีวิต หรือ จาคกุ ตงั้ แตส่ ามปี ถงึ ย่ีสิบปี และปรับตงั้ แตห่ กหม่นื บาทถงึ หนงึ่ ล้านบาท การกระทาในการเดนิ ขบวน ชุมนุม ประท้วง โต้แย้ง หรือเคล่ือนไหว เพ่ือเรียกร้ องให้ รัฐช่วยเหลือหรือให้ ได้รับความเป็ นธรรมอันเป็ นการ ใช้เสรีภาพตามรัฐธรรมนญู ไมเ่ ป็นการกระทาความผิดฐานกอ่ การร้าย มาตรา ๑๓๕/๒ ผ้ใู ด (๑) ขู่เข็ญว่าจะกระทาการก่อการร้ าย โดยมีพฤติการณ์อันควร เชื่อได้วา่ บคุ คลนนั้ จะกระทาการตามท่ีขเู่ ข็ญจริง หรือ (๒) สะสมกาลังพลหรื ออาวุธ จัดหาหรื อรวบรวมทรัพย์สิน ให้หรือรับการฝึ กการก่อการร้ าย ตระเตรียมการอื่นใดหรือสมคบกันเพื่อ ก่อการร้ าย หรือกระทาความผิดใด ๆ อันเป็ นส่วนของแผนการเพ่ือ ก่อการร้ าย หรือยุยงประชาชนให้เข้ามีส่วนในการก่อการร้ าย หรือรู้ว่า มีผ้จู ะกอ่ การร้ายแล้วกระทาการใดอนั เป็นการชว่ ยปกปิ ดไว้ ผู้นัน้ ต้ องระวางโทษจาคุกตัง้ แต่สองปี ถึงสิบปี และปรับตัง้ แต่ ส่ีหมื่นบาทถงึ สองแสนบาท
79 มาตรา ๑๓๕/๓ ผู้ใดเป็ นผู้สนับสนุนในการกระทาความผิดตาม มาตรา ๑๓๕/๑ หรือมาตรา ๑๓๕/๒ ต้องระวางโทษเช่นเดียวกับตวั การ ในความผิดนนั้ ๆ มาตรา ๑๓๕/๔ ผู้ใดเป็ นสมาชิกของคณะบุคคลซ่ึงมีมติของหรือ ประกาศภายใต้คณะมนตรีความมน่ั คงแห่งสหประชาชาติกาหนดให้เป็ น คณะบคุ คลที่มกี ารกระทาอนั เป็นการก่อการร้ายและรัฐบาลไทยได้ประกาศ ให้ความรับรองมตหิ รือประกาศดงั กลา่ วด้วยแล้ว ผ้นู นั้ ต้องระวางโทษจาคกุ ไมเ่ กินเจด็ ปี และปรับไมเ่ กินหนง่ึ แสนสี่หม่นื บาท ลักษณะ ๒ ความผิดเก่ียวกับการปกครอง หมวด ๑ ความผิดต่อเจ้าพนักงาน *มาตรา ๑๓๖ ผู้ใดดูหมิ่นเจ้าพนักงานซ่ึงกระทาการตามหน้าท่ี หรือเพราะได้กระทาการตามหน้าที่ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหน่ึงปี หรือปรับไมเ่ กินสองหมื่นบาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ ____________________________________ *มาตรา ๑๓๖ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพมิ่ เติม ป.อ. (ฉบบั ท่ี ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๕
80 *มาตรา ๑๓๗ ผู้ใดแจ้งข้อความอนั เป็ นเท็จแก่เจ้าพนักงานซึ่งอาจ ทาให้ผู้อ่ืนหรือประชาชนเสียหาย ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไมเ่ กินหนง่ึ หม่นื บาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ **มาตรา ๑๓๘ ผู้ใดตอ่ สู้ หรือขดั ขวางเจ้าพนกั งานหรือผู้ซงึ่ ต้องช่วย เจ้าพนักงานตามกฎหมายในการปฏิบัติการตามหน้าท่ี ต้องระวางโทษ จาคกุ ไมเ่ กินหนง่ึ ปี หรือปรับไมเ่ กินสองหมื่นบาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ ถ้าการต่อส้หู รือขดั ขวางนนั้ ได้กระทาโดยใช้กาลงั ประทุษร้ ายหรือ ข่เู ข็ญว่าจะใช้กาลงั ประทุษร้าย ผ้กู ระทาต้องระวางโทษจาคกุ ไมเ่ กินสองปี หรือปรับไมเ่ กินส่ีหมนื่ บาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ ***มาตรา ๑๓๙ ผ้ใู ดข่มขืนใจเจ้าพนกั งานให้ปฏิบตั ิการอนั มิชอบด้วย หน้าที่ หรือให้ละเว้นการปฏิบัติการตามหน้าที่ โดยใช้กาลังประทุษร้ าย หรือขู่เข็ญว่าจะใช้ กาลังประทุษร้ าย ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสี่ปี หรือปรับไมเ่ กินแปดหม่ืนบาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ **** มาตรา ๑๔๐ ถ้าความผิดตามมาตรา ๑๓๘ วรรคสอง หรือมาตรา ๑๓๙ ได้กระทาโดยมีหรือใช้อาวุธ หรือโดยร่วมกระทาความผิดด้วยกัน ตงั้ แต่สามคนขึน้ ไป ผู้กระทาต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับ ____________________________________ *มาตรา ๑๓๗ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบบั ท่ี ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔ **มาตรา ๑๓๘ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพิม่ เติม ป.อ. (ฉบบั ที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๕ ***มาตรา ๑๓๙ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพม่ิ เติม ป.อ. (ฉบบั ที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔ ****มาตรา ๑๔๐ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพมิ่ เติม ป.อ. (ฉบบั ที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๖
81 ไมเ่ กินหนงึ่ แสนบาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ ถ้ากระทาโดยอ้างอานาจองั้ ย่ีหรือซอ่ งโจร ไมว่ า่ องั้ ย่ีหรือซอ่ งโจรนนั้ จะมอี ย่หู รือไม่ ผ้กู ระทาต้องระวางโทษจาคกุ ตงั้ แตส่ องปี ถงึ สิบปี และปรับ ตงั้ แตส่ ่หี มนื่ บาทถงึ สองแสนบาท ถ้ าความผิดตามมาตรานีไ้ ด้กระทาโดยมีหรือใช้ อาวุธปื นหรือ วัตถุระเบิด ผู้กระทาต้องระวางโทษหนักกว่าโทษท่ีกฎหมายบัญญัติไว้ ในสองวรรคกอ่ นกงึ่ หนง่ึ *มาตรา ๑๔๑ ผ้ใู ดถอน ทาให้เสียหาย ทาลายหรือทาให้ไร้ประโยชน์ ซ่งึ ตราหรือเคร่ืองหมายอันเจ้าพนักงานได้ประทับหรือหมายไว้ท่ีสิ่งใด ๆ ในการปฏิบตั ิการตามหน้าท่ี เพ่ือเป็ นหลกั ฐานในการยึด อายดั หรือรักษา ส่ิงนัน้ ๆ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ *มาตรา ๑๔๒ ผู้ใดทาให้เสียหาย ทาลาย ซ่อนเร้ น เอาไปเสีย หรือ ทาให้สญู หายหรือไร้ประโยชน์ซง่ึ ทรัพย์สนิ หรือเอกสารใด ๆ อนั เจ้าพนกั งาน ได้ยึด รักษาไว้ หรือสั่งให้ส่งเพื่อเป็ นพยานหลกั ฐาน หรือเพ่ือบังคับการ ให้เป็ นไปตามกฎหมาย ไม่ว่าเจ้าพนกั งานจะรักษาทรัพย์หรือเอกสารนัน้ ไว้เอง หรือสงั่ ให้ผู้นนั้ หรือผู้อ่ืนส่งหรือรักษาไว้ก็ตาม ต้องระวางโทษจาคกุ ไมเ่ กินสามปี หรือปรับไมเ่ กินหกหมน่ื บาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ ____________________________________ *มาตรา ๑๔๑ และมาตรา ๑๔๒ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพ่มิ เติม ป.อ. (ฉบบั ท่ี ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
82 *มาตรา ๑๔๓ ผู้ใดเรียก รับหรือยอมจะรับทรัพย์สินหรือประโยชน์ อื่นใดสาหรับตนเองหรือผ้อู ืน่ เป็นการตอบแทนในการที่จะจงู ใจหรือได้จงู ใจ เจ้าพนักงาน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งรัฐ สมาชิกสภาจังหวัด หรือ สมาชิกสภาเทศบาล โดยวิธีอันทุจริตหรือผิดกฎหมายหรือโดยอิทธิพล ของตน ให้กระทาการหรือไม่กระทาการในหน้าท่ีอนั เป็ นคณุ หรือเป็ นโทษ แก่บคุ คลใด ต้องระวางโทษจาคกุ ไมเ่ กินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ *มาตรา ๑๔๔ ผ้ใู ดให้ ขอให้หรือรับวา่ จะให้ทรัพย์สินหรือประโยชน์ อ่ืนใดแก่เจ้าพนักงาน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งรัฐ สมาชิกสภาจงั หวดั หรือสมาชิกสภาเทศบาล เพื่อจงู ใจให้กระทาการ ไมก่ ระทาการหรือประวิง การกระทาอนั มิชอบด้วยหน้าท่ี ต้องระวางโทษจาคกุ ไม่เกินห้าปี หรือปรับ ไมเ่ กินหนง่ึ แสนบาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ *มาตรา ๑๔๕ ผู้ใดแสดงตนเป็ นเจ้าพนักงาน และกระทาการเป็ น เจ้าพนักงาน โดยตนเองมิได้เป็ นเจ้าพนักงานที่มีอานาจกระทาการนัน้ ต้องระวางโทษจาคกุ ไม่เกินหน่งึ ปี หรือปรับไม่เกินสองหม่ืนบาท หรือทงั้ จา ทงั้ ปรับ เจ้าพนกั งานผ้ใู ดได้รับคาสงั่ มใิ ห้ปฏิบตั กิ ารตามตาแหน่งหน้าที่ตอ่ ไป แล้วยังฝ่ าฝื นกระทาการใด ๆ ในตาแหน่งหน้าท่ีนนั้ ต้องระวางโทษตามที่ กาหนดไว้ในวรรคแรกดจุ กนั ____________________________________ *มาตรา ๑๔๓ ถงึ มาตรา ๑๔๕ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบบั ท่ี ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
83 *มาตรา ๑๔๖ ผู้ใดไม่มีสิทธิท่ีจะสวมเคร่ื องแบบหรือประดับ เคร่ืองหมายของเจ้าพนักงาน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งรัฐ สมาชิก สภาจังหวัด หรือสมาชิกสภาเทศบาล หรือไม่มีสิทธิใช้ ยศ ตาแหน่ง เครื่องราชอิสริยาภรณ์หรือส่ิงท่ีหมายถงึ เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ กระทาการ เช่นนนั้ เพ่ือให้บุคคลอื่นเช่ือว่าตนมีสิทธิ ต้องระวางโทษจาคกุ ไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไมเ่ กินสองหมนื่ บาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ หมวด ๒ ความผดิ ต่อตาแหน่งหน้าท่รี าชการ **มาตรา ๑๔๗ ผู้ใดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าท่ีซือ้ ทา จัดการหรือ รักษาทรัพย์ใด เบียดบังทรัพย์นนั้ เป็ นของตนหรือเป็ นของผู้อื่นโดยทุจริต หรือโดยทจุ ริตยอมให้ผ้อู ่นื เอาทรัพย์นนั้ เสยี ต้องระวางโทษจาคกุ ตงั้ แต่ห้าปี ถงึ ย่ีสิบปี หรือจาคกุ ตลอดชีวิต และปรับตงั้ แต่หน่ึงแสนบาทถึงส่ีแสนบาท **มาตรา ๑๔๘ ผ้ใู ดเป็นเจ้าพนกั งาน ใช้อานาจในตาแหน่งโดยมิชอบ ข่มขืนใจหรื อจูงใจเพ่ือให้ บุคคลใดมอบให้ หรื อหามาให้ ซึ่งทรั พย์สินหรื อ ประโยชน์อน่ื ใดแกต่ นเองหรือผ้อู ื่น ต้องระวางโทษจาคกุ ตงั้ แตห่ ้าปี ถงึ ยี่สิบปี หรือจาคุกตลอดชีวิต และปรับตัง้ แต่หน่ึงแสนบาทถึงส่ีแสนบาท หรือ ประหารชีวติ ____________________________________ *มาตรา ๑๔๖ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพม่ิ เติม ป.อ. (ฉบบั ท่ี ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔ **มาตรา ๑๔๗ และมาตรา ๑๔๘ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพม่ิ เติม ป.อ. (ฉบบั ท่ี ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๗
84 *มาตรา ๑๔๙ ผู้ใดเป็ นเจ้าพนักงาน สมาชิกสภานิติบญั ญัติแห่งรัฐ สมาชิกสภาจังหวัด หรือสมาชิกสภาเทศบาล เรียก รับ หรือยอมจะรับ ทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดสาหรับตนเองหรือผู้อ่ืนโดยมิชอบ เพื่อ กระทาการหรือไมก่ ระทาการอย่างใดในตาแหน่งไม่ว่าการนนั้ จะชอบหรือ มิชอบด้วยหน้าที่ ต้องระวางโทษจาคุกตัง้ แต่ห้าปี ถึงยี่สิบปี หรือจาคุก ตลอดชีวิต และปรับตงั้ แตห่ นง่ึ แสนบาทถงึ สีแ่ สนบาท หรือประหารชีวติ *มาตรา ๑๕๐ ผู้ใดเป็ นเจ้าพนักงาน กระทาการหรือไม่กระทาการ อย่างใดในตาแหน่งโดยเห็นแก่ทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใด ซงึ่ ตนได้เรียก รับ หรือยอมจะรับไว้ก่อนที่ตนได้รับแต่งตงั้ เป็ นเจ้าพนกั งานในตาแหน่งนนั้ ต้องระวางโทษจาคุกตงั้ แต่ห้าปี ถึงยี่สิบปี หรือจาคุกตลอดชีวิต และปรับ ตงั้ แตห่ นง่ึ แสนบาทถงึ ส่แี สนบาท *มาตรา ๑๕๑ ผ้ใู ดเป็นเจ้าพนกั งาน มีหน้าที่ซือ้ ทา จดั การหรือรักษา ทรัพย์ใด ๆ ใช้อานาจในตาแหน่งโดยทุจริต อันเป็ นการเสียหายแก่รัฐ เทศบาล สุขาภิบาลหรือเจ้าของทรัพย์นนั้ ต้องระวางโทษจาคกุ ตงั้ แตห่ ้าปี ถึงยี่สิบปี หรือจาคกุ ตลอดชีวิต และปรับตงั้ แต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่แสนบาท *มาตรา ๑๕๒ ผู้ใดเป็ นเจ้ าพนักงาน มีหน้ าที่จัดการหรือดูแล กิจการใด เข้ามีสว่ นได้เสียเพ่ือประโยชน์สาหรับตนเองหรือผู้อื่น เนื่องด้วย กิจการนัน้ ต้องระวางโทษจาคุกตัง้ แต่หน่ึงปี ถึงสิบปี และปรับตัง้ แต่ ____________________________________ *มาตรา ๑๔๙ ถึงมาตรา ๑๕๒ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบบั ท่ี ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๗
85 สองหมื่นบาทถงึ สองแสนบาท *มาตรา ๑๕๓ ผู้ใดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่จ่ายทรัพย์ จ่ายทรัพย์ นนั้ เกินกวา่ ท่ีควรจ่ายเพื่อประโยชน์สาหรับตนเองหรือผู้อ่ืน ต้องระวางโทษ จาคกุ ตงั้ แตห่ นง่ึ ปี ถงึ สิบปี และปรับตงั้ แตส่ องหม่ืนบาทถงึ สองแสนบาท *มาตรา ๑๕๔ ผ้ใู ดเป็นเจ้าพนกั งาน มีหน้าที่หรือแสดงว่าตนมีหน้าที่ เรียกเก็บหรือตรวจสอบภาษีอากร ค่าธรรมเนียมหรือเงินอ่ืนใด โดยทุจริต เรียกเก็บหรือละเว้นไม่เรียกเก็บภาษีอากร ค่าธรรมเนียมหรือเงินนนั้ หรือ กระทาการหรือไม่กระทาการอย่างใด เพ่ือให้ผู้มีหน้ าที่เสียภาษีอากรหรือ คา่ ธรรมเนียมนนั้ มิต้องเสีย หรือเสียน้อยไปกวา่ ท่ีจะต้องเสีย ต้องระวางโทษ จาคุกตงั้ แต่ห้าปี ถึงย่ีสิบปี หรือจาคุกตลอดชีวิต และปรับตงั้ แต่หนึ่งแสน บาทถงึ สีแ่ สนบาท *มาตรา ๑๕๕ ผ้ใู ดเป็ นเจ้าพนกั งาน มีหน้าที่กาหนดราคาทรัพย์สิน หรือสินค้าใด ๆ เพ่ือเรียกเก็บภาษีอากรหรือค่าธรรมเนียมตามกฎหมาย โดยทุจริตกาหนดราคาทรัพย์สินหรือสินค้านัน้ เพ่ือให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษี อากรหรือค่าธรรมเนียมนัน้ มิต้องเสียหรือเสียน้อยไปกว่าท่ีจะต้องเสีย ต้องระวางโทษจาคุกตงั้ แต่ห้าปี ถึงย่ีสิบปี หรือจาคุกตลอดชีวิต และปรับ ตงั้ แตห่ นงึ่ แสนบาทถงึ สีแ่ สนบาท ____________________________________ *มาตรา ๑๕๓ ถึงมาตรา ๑๕๕ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบบั ที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๗
86 *มาตรา ๑๕๖ ผู้ใดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ตรวจสอบบัญชีตาม กฎหมาย โดยทุจริต แนะนา หรือกระทาการหรือไม่กระทาการอย่างใด เพื่อให้ มีการละเว้ นการลงรายการในบัญชี ลงรายการเท็จในบัญชี แก้ไขบัญชี หรือซ่อนเร้ น หรือทาหลักฐานในการลงบัญชีอันจะเป็ นผลให้ การเสียภาษีอากรหรือค่าธรรมเนียมนัน้ มิต้องเสีย หรือเสียน้ อยกว่า ท่ีจะต้องเสีย ต้องระวางโทษจาคกุ ตงั้ แตห่ ้าปี ถงึ ย่ีสิบปี หรือจาคกุ ตลอดชีวิต และปรับตงั้ แตห่ นง่ึ แสนบาทถึงสี่แสนบาท *มาตรา ๑๕๗ ผู้ใดเป็ นเจ้าพนักงาน ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติ หน้าที่โดยมิชอบ เพ่ือให้เกิดความเสียหายแก่ผู้หน่ึงผู้ใด หรือปฏิบัติหรือ ละเว้นการปฏิบตั หิ น้าท่ีโดยทจุ ริต ต้องระวางโทษจาคกุ ตงั้ แต่หน่ึงปี ถงึ สิบปี หรือปรับตงั้ แตส่ องหม่ืนบาทถงึ สองแสนบาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ **มาตรา ๑๕๘ ผ้ใู ดเป็ นเจ้าพนกั งาน ทาให้เสียหาย ทาลาย ซ่อนเร้น เอาไปเสยี หรือทาให้สญู หายหรือทาให้ไร้ประโยชน์ ซงึ่ ทรัพย์หรือเอกสารใด อนั เป็ นหน้าที่ของตนที่จะปกครองหรือรักษาไว้ หรือยินยอมให้ผ้อู ื่นกระทา เช่นนนั้ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินเจ็ดปี และปรับไม่เกินหน่ึงแสนส่ีหม่ืน บาท ____________________________________ *มาตรา ๑๕๖ และมาตรา ๑๕๗ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพมิ่ เติม ป.อ. (ฉบบั ท่ี ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๗ **มาตรา ๑๕๘ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบบั ท่ี ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
87 *มาตรา ๑๕๙ ผู้ใดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าท่ีดูแลรักษาทรัพย์หรือ เอกสารใด กระทาการอนั มิชอบด้วยหน้าที่ โดยถอน ทาให้เสียหาย ทาลาย หรือทาให้ไร้ ประโยชน์ หรือโดยยินยอมให้ผู้อ่ืนกระทาเช่นนนั้ ซง่ึ ตราหรือ เครื่องหมายอนั เจ้าพนกั งานได้ประทบั หรือหมายไว้ท่ีทรัพย์หรือเอกสารนนั้ ในการปฏิบตั ิการตามหน้าท่ี เพื่อเป็ นหลกั ฐานในการยึดหรือรักษาสิ่งนัน้ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทงั้ จา ทงั้ ปรับ *มาตรา ๑๖๐ ผู้ใดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าท่ีรักษาหรือใช้ดวงตรา หรือรอยตราของราชการหรือของผู้อื่น กระทาการอันมิชอบด้วยหน้าที่ โดยใช้ดวงตราหรือรอยตรานัน้ หรือโดยยินยอมให้ผู้อ่ืนกระทาเช่นนัน้ ซงึ่ อาจทาให้ผ้อู ื่นหรือประชาชนเสียหาย ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไมเ่ กินหนง่ึ แสนบาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ * มาตรา ๑๖๑ ผู้ใดเป็ นเจ้ าพนักงาน มีหน้ าท่ีทาเอกสาร กรอก ข้อความลงในเอกสาร หรือดูแลรักษาเอกสาร กระทาการปลอมเอกสาร โดยอาศยั โอกาสที่ตนมีหน้าที่นนั้ ต้องระวางโทษจาคกุ ไมเ่ กินสบิ ปี และปรับ ไมเ่ กินสองแสนบาท *มาตรา ๑๖๒ ผู้ใดเป็ นเจ้าพนกั งาน มีหน้าท่ีทาเอกสาร รับเอกสาร หรือกรอกข้อความลงในเอกสาร กระทาการดังต่อไปนีใ้ นการปฏิบัติการ ____________________________________ *มาตรา ๑๕๙ ถึงมาตรา ๑๖๒ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพ่ิมเติม ป.อ. (ฉบบั ท่ี ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
88 ตามหน้าที่ (๑) รับรองเป็นหลกั ฐานวา่ ตนได้กระทาการอยา่ งใดขนึ ้ หรือวา่ การ อย่างใดได้กระทาตอ่ หน้าตนอนั เป็นความเทจ็ (๒) รับรองเป็ นหลกั ฐานว่า ได้มีการแจ้งซ่ึงข้อความอนั มิได้มีการ แจ้ง (๓) ละเว้ นไม่จดข้ อความซึ่งตนมีหน้ าท่ีต้ องรับจด หรื อจด เปล่ียนแปลงข้อความเชน่ วา่ นนั้ หรือ (๔) รับรองเป็ นหลักฐานซึ่งข้อเท็จจริงอันเอกสารนัน้ มุ่งพิสูจน์ ความจริงอนั เป็นความเท็จ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินเจ็ดปี และปรับไม่เกินหน่ึงแสนสี่หมื่น บาท *มาตรา ๑๖๓ ผ้ใู ดเป็นเจ้าพนกั งาน มีหน้าท่ีในการไปรษณีย์ โทรเลข หรือโทรศพั ท์ กระทาการอนั มิชอบด้วยหน้าที่ดงั ตอ่ ไปนี ้ (๑) เปิ ด หรื อยอมให้ ผู้อื่นเปิ ด จดหมายหรื อส่ิงอ่ืนที่ส่งทาง ไปรษณีย์หรือโทรเลข (๒) ทาให้เสียหาย ทาลาย ทาให้สูญหาย หรือยอมให้ผู้อื่นทาให้ เสยี หาย ทาลายหรือทาให้สญู หาย ซง่ึ จดหมายหรือสิง่ อื่นท่ีสง่ ทางไปรษณีย์ หรือโทรเลข (๓) กกั สง่ ให้ผิดทาง หรือสง่ ให้แก่บคุ คลซง่ึ รู้ว่ามิใช่เป็ นผ้คู วรรับซง่ึ จดหมายหรือส่งิ อืน่ ท่ีสง่ ทางไปรษณีย์หรือโทรเลข หรือ ____________________________________ *มาตรา ๑๖๓ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพมิ่ เติม ป.อ. (ฉบบั ท่ี ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
89 (๔) เปิ ดเผยข้ อความท่ีส่งทางไปรษณีย์ ทางโทรเลข หรือทาง โทรศพั ท์ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ *มาตรา ๑๖๔ ผ้ใู ดเป็ นเจ้าพนกั งาน รู้หรืออาจรู้ความลบั ในราชการ กระทาโดยประการใด ๆ อนั มิชอบด้วยหน้าที่ให้ผู้อ่ืนล่วงรู้ความลับนัน้ ต้องระวางโทษจาคกุ ไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหน่ึงแสนบาท หรือทงั้ จา ทงั้ ปรับ *มาตรา ๑๖๕ ผู้ใดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าท่ีปฏิบัติการให้เป็ นไป ตามกฎหมายหรือคาสั่งซ่ึงได้ สั่งเพ่ือบังคับการให้เป็ นไปตามกฎหมาย ป้ องกนั หรือขดั ขวางมิให้การเป็ นไปตามกฎหมายหรือคาสง่ั นนั้ ต้องระวาง โทษจาคกุ ไมเ่ กินหนง่ึ ปี หรือปรับไมเ่ กินสองหมนื่ บาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ *มาตรา ๑๖๖ ผู้ใดเป็ นเจ้าพนักงาน ละทิง้ งานหรือกระทาการ อย่างใด ๆ เพ่ือให้งานหยุดชะงักหรือเสียหาย โดยร่วมกระทาการเช่นนัน้ ด้วยกนั ตงั้ แตห่ ้าคนขนึ ้ ไป ต้องระวางโทษจาคกุ ไม่เกินห้าปี หรือปรับไมเ่ กิน หนงึ่ แสนบาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ ถ้าความผิดนนั้ ได้กระทาลงเพื่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงในกฎหมาย ____________________________________ *มาตรา ๑๖๔ ถึงมาตรา ๑๖๖ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพ่ิมเติม ป.อ. (ฉบบั ท่ี ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
90 แผ่นดิน เพ่ือบงั คบั รัฐบาล หรือเพ่ือข่มข่ปู ระชาชน ผ้กู ระทาต้องระวางโทษ จาคกุ ไมเ่ กินสบิ ปี และปรับไมเ่ กินสองแสนบาท ลักษณะ ๓ ความผดิ เก่ียวกับการยุตธิ รรม หมวด ๑ ความผดิ ต่อเจ้าพนักงานในการยุตธิ รรม *มาตรา ๑๖๗ ผ้ใู ดให้ ขอให้หรือรับว่าจะให้ทรัพย์สินหรือประโยชน์ อื่นใด แก่เจ้าพนักงานในตาแหน่งตุลาการ พนักงานอยั การ ผู้ว่าคดีหรือ พนักงานสอบสวน เพ่ือจูงใจให้กระทาการ ไม่กระทาการหรือประวิงการ กระทาใดอนั มิชอบด้วยหน้าท่ี ต้องระวางโทษจาคกุ ไม่เกินเจ็ดปี และปรับ ไมเ่ กินหนงึ่ แสนสห่ี มนื่ บาท *มาตรา ๑๖๘ ผ้ใู ดขดั ขืนคาบงั คบั ตามกฎหมายของพนกั งานอยั การ ผ้วู า่ คดหี รือพนกั งานสอบสวน ซงึ่ ให้มาเพื่อให้ถ้อยคา ต้องระวางโทษจาคกุ ไมเ่ กินสามเดอื น หรือปรับไมเ่ กินห้าพนั บาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ *มาตรา ๑๖๙ ผ้ใู ดขดั ขืนคาบงั คบั ตามกฎหมายของพนกั งานอยั การ ผ้วู า่ คดีหรือพนกั งานสอบสวน ซง่ึ ให้ส่งหรือจดั การส่งทรัพย์หรือเอกสารใด ____________________________________ *มาตรา ๑๖๗ ถึงมาตรา ๑๖๙ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบบั ที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
91 ให้สาบาน ให้ ปฏิญาณหรือให้ให้ถ้อยคา ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน สามเดือน หรือปรับไมเ่ กินห้าพนั บาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ *มาตรา ๑๗๐ ผู้ใดขัดขืนหมายหรือคาสงั่ ของศาลให้มาให้ถ้อยคา ให้ มาเบิกความหรื อให้ ส่งทรัพย์หรือเอกสารใดในการพิจารณ าคดี ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหน่ึงหม่ืนบาท หรือ ทงั้ จาทงั้ ปรับ *มาตรา ๑๗๑ ผู้ใดขัดขืนคาส่ังของศาลให้ สาบาน ปฏิญาณ ให้ถ้อยคาหรือเบิกความ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับ ไมเ่ กินหนงึ่ หมืน่ บาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ *มาตรา ๑๗๒ ผู้ใดแจ้งข้อความอนั เป็ นเท็จเก่ียวกบั ความผิดอาญา แก่พนกั งานอยั การ ผ้วู ่าคดี พนกั งานสอบสวนหรือเจ้าพนกั งานผู้มีอานาจ สืบสวนคดีอาญา ซงึ่ อาจทาให้ผ้อู ื่นหรือประชาชนเสียหาย ต้องระวางโทษ จาคกุ ไมเ่ กินสองปี หรือปรับไมเ่ กินสี่หมน่ื บาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ *มาตรา ๑๗๓ ผู้ใดรู้ว่ามิได้ มีการกระทาความผิดเกิดขึน้ แจ้ ง ข้อความแกพ่ นกั งานสอบสวนหรือเจ้าพนกั งานผ้มู ีอานาจสืบสวนคดีอาญา ____________________________________ *มาตรา ๑๗๐ ถึงมาตรา ๑๗๓ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบบั ท่ี ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
92 ว่า ได้มีการกระทาความผิด ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี และปรับ ไมเ่ กินหกหมนื่ บาท *มาตรา ๑๗๔ ถ้าการแจ้งข้อความตามมาตรา ๑๗๒ หรือมาตรา ๑๗๓ เป็ นการเพ่ือจะแกล้งให้ บุคคลใดต้องถูกบังคับตามวิธีการเพื่อ ความปลอดภยั ผ้กู ระทาต้องระวางโทษจาคกุ ไมเ่ กินสามปี และปรับไม่เกิน หกหม่ืนบาท ถ้าการแจ้งตามความในวรรคแรกเป็ นการเพื่อจะแกล้งให้บุคคลใด ต้องรับโทษหรือรับโทษหนักขึน้ ผู้กระทาต้องระวางโทษจาคกุ ไม่เกินห้าปี และปรับไมเ่ กินหนง่ึ แสนบาท *มาตรา ๑๗๕ ผู้ใดเอาความอนั เป็ นเท็จฟ้ องผู้อื่นต่อศาลว่ากระทา ความผิดอาญา หรือว่ากระทาความผิดอาญาแรงกว่าท่ีเป็ นความจริง ต้องระวางโทษจาคกุ ไมเ่ กินห้าปี และปรับไมเ่ กินหนง่ึ แสนบาท มาตรา ๑๗๖ ผู้ใดกระทาความผิดตามมาตรา ๑๗๕ แล้วลแุ ก่โทษ ต่อศาล และขอถอนฟ้ องหรือแก้ฟ้ องก่อนมีคาพิพากษา ให้ศาลลงโทษ น้อยกวา่ ท่ีกฎหมายกาหนดไว้หรือศาลจะไมล่ งโทษเลยกไ็ ด้ ____________________________________ *มาตรา ๑๗๔ และมาตรา ๑๗๕ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพ่ิมเติม ป.อ. (ฉบบั ที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
93 *มาตรา ๑๗๗ ผ้ใู ดเบิกความอนั เป็ นเท็จในการพิจารณาคดีต่อศาล ถ้าความเท็จนัน้ เป็ นข้อสาคญั ในคดี ต้องระวางโทษจาคกุ ไมเ่ กินห้าปี หรือ ปรับไมเ่ กินหนง่ึ แสนบาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ ถ้าความผิดดงั กลา่ วในวรรคแรก ได้กระทาในการพิจารณาคดีอาญา ผ้กู ระทาต้องระวางโทษจาคกุ ไม่เกินเจ็ดปี และปรับไมเ่ กินหน่ึงแสนส่ีหม่ืน บาท *มาตรา ๑๗๘ ผู้ใดซึ่งเจ้าพนักงานในตาแหน่งตุลาการ พนักงาน อยั การ ผ้วู า่ คดีหรือพนกั งานสอบสวน ให้แปลข้อความหรือความหมายใด แปลข้อความหรือความหมายนนั้ ให้ผิดไปในข้อสาคญั ต้องระวางโทษจาคกุ ไมเ่ กินสามปี หรือปรับไมเ่ กินหกหมื่นบาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ *มาตรา ๑๗๙ ผู้ใดทาพยานหลกั ฐานอนั เป็ นเท็จ เพ่ือให้พนกั งาน สอบสวนหรือเจ้าพนักงานผ้มู ีอานาจสืบสวนคดีอาญาเชื่อว่าได้มีความผิด อาญาอย่างใดเกิดขนึ ้ หรือเช่ือวา่ ความผิดอาญาท่ีเกิดขนึ ้ ร้ายแรงกว่าที่เป็ น ความจริง ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินส่ีหม่ืนบาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ *มาตรา ๑๘๐ ผ้ใู ดนาสบื หรือแสดงพยานหลกั ฐานอนั เป็นเทจ็ ในการ พิจารณาคดี ถ้าเป็ นพยานหลกั ฐานในข้อสาคญั ในคดีนนั้ ต้องระวางโทษ จาคกุ ไมเ่ กินสามปี หรือปรับไมเ่ กินหกหมื่นบาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ ____________________________________ *มาตรา ๑๗๗ ถงึ มาตรา ๑๘๐ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพ่ิมเติม ป.อ. (ฉบบั ที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
94 ถ้าความผิดดงั กลา่ วในวรรคแรก ได้กระทาในการพิจารณาคดอี าญา ผ้กู ระทาต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินเจ็ดปี และปรับไมเ่ กินหนึง่ แสนส่ีหมื่น บาท *มาตรา ๑๘๑ ถ้าการกระทาความผิดตามมาตรา ๑๗๔ มาตรา ๑๗๕ มาตรา ๑๗๗ มาตรา ๑๗๘ หรือมาตรา ๑๘๐ (๑) เป็ นการกระทาในกรณีแห่งข้อหาว่า ผู้ใดกระทาความผิด ที่มีระวางโทษจาคกุ ตงั้ แต่สามปี ขนึ ้ ไป ผู้กระทาต้องระวางโทษจาคกุ ตงั้ แต่ หกเดอื นถงึ เจ็ดปี และปรับตงั้ แตห่ นง่ึ หม่ืนบาทถงึ หนง่ึ แสนสี่หม่ืนบาท (๒) เป็ นการกระทาในกรณีแห่งข้อหาว่า ผู้ใดกระทาความผิดที่มี ระวางโทษถึงประหารชีวิต หรือจาคุกตลอดชีวิต ผู้กระทาต้องระวางโทษ จาคกุ ตงั้ แตห่ นง่ึ ปี ถงึ สิบห้าปี และปรับตงั้ แตส่ องหมื่นบาทถงึ สามแสนบาท มาตรา ๑๘๒ ผู้ใดกระทาความผิดตามมาตรา ๑๗๗ หรือมาตรา ๑๗๘ แล้วลแุ ก่โทษ และกลบั แจ้งความจริงตอ่ ศาลหรือเจ้าพนกั งานก่อนจบ คาเบิกความหรือการแปล ผ้นู นั้ ไมต่ ้องรับโทษ มาตรา ๑๘๓ ผู้ใดกระทาความผิดตามมาตรา ๑๗๗ มาตรา ๑๗๘ หรือมาตรา ๑๘๐ แล้ วลุแก่โทษ และกลับแจ้ งความจริงต่อศาลหรือ เจ้าพนกั งานกอ่ นมคี าพิพากษา และก่อนตนถูกฟ้ องในความผิดท่ีได้กระทา ____________________________________ *มาตรา ๑๘๑ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพมิ่ เติม ป.อ. (ฉบบั ที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
95 ศาลจะลงโทษน้อยกว่าที่กฎหมายกาหนดไว้สาหรับความผิดนัน้ เพียงใด ก็ได้ *มาตรา ๑๘๔ ผู้ใดเพ่ือจะช่วยผู้อื่นมิให้ต้องรับโทษ หรือให้รับโทษ น้อยลง ทาให้เสียหาย ทาลาย ซ่อนเร้ น เอาไปเสีย หรือทาให้สญู หายหรือ ไร้ประโยชน์ ซงึ่ พยานหลกั ฐานในการกระทาความผิด ต้องระวางโทษจาคกุ ไมเ่ กินห้าปี หรือปรับไมเ่ กินหนงึ่ แสนบาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ *มาตรา ๑๘๕ ผู้ใดทาให้เสียหาย ทาลาย ซ่อนเร้ น เอาไปเสีย หรือ ทาให้สูญหายหรือไร้ ประโยชน์ ซง่ึ ทรัพย์หรือเอกสารใดที่ได้ส่งไว้ต่อศาล หรือท่ีศาลให้รักษาไว้ในการพิจารณาคดี ต้องระวางโทษจาคกุ ไม่เกินห้าปี หรือปรับไมเ่ กินหนงึ่ แสนบาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ *มาตรา ๑๘๖ ผู้ใดทาให้เสียหาย ทาลาย ซ่อนเร้ น เอาไปเสีย หรือ ทาให้ สูญหายหรือไร้ ประโยชน์ ซึ่งทรัพย์สินท่ีได้มีคาพิพากษาให้ ริบ ต้องระวางโทษจาคกุ ไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหม่ืนบาท หรือทงั้ จา ทงั้ ปรับ *มาตรา ๑๘๗ ผ้ใู ดเพื่อจะมิให้การเป็นไปตามคาพิพากษาหรือคาสงั่ ของศาล ทาให้เสียหาย ทาลาย ซ่อนเร้ น เอาไปเสีย หรือทาให้สูญหาย หรือไร้ ประโยชน์ ซ่ึงทรัพย์ท่ีถูกยึดหรืออายัด หรือท่ีตนรู้ว่าน่าจะถูกยึด ____________________________________ *มาตรา ๑๘๔ ถึงมาตรา ๑๘๗ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติม ป.อ. (ฉบบั ที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
96 หรืออายดั ต้องระวางโทษจาคกุ ไมเ่ กินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ *มาตรา ๑๘๘ ผู้ใดทาให้เสียหาย ทาลาย ซ่อนเร้ น เอาไปเสีย หรือ ทาให้ สูญหายหรือไร้ ประโยชน์ ซึ่งพินัยกรรมหรือเอกสารใดของผู้อ่ืน ในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผ้อู ่ืนหรือประชาชน ต้องระวางโทษ จาคกุ ไมเ่ กินห้าปี และปรับไมเ่ กินหนง่ึ แสนบาท *มาตรา ๑๘๙ ผู้ใดช่วยผู้อื่นซึ่งเป็ นผู้กระทาความผิด หรือเป็ น ผู้ต้องหาว่ากระทาความผิด อันมิใช่ความผิดลหุโทษ เพ่ือไม่ให้ต้องโทษ โดยให้ พานักแก่ผู้นัน้ โดยซ่อนเร้ นหรือโดยช่วยผู้นัน้ ด้ วยประการใด เพื่อไม่ให้ถูกจับกุม ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกิน ส่ีหมืน่ บาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ **มาตรา ๑๙๐ ผ้ใู ดหลบหนีไประหวา่ งที่ถกู คมุ ขงั ตามอานาจของศาล ของพนกั งานอยั การ ของพนกั งานสอบสวน หรือของเจ้าพนกั งานผ้มู อี านาจ สืบสวนคดีอาญา ต้ องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกิน หกหมน่ื บาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ ถ้าความผิดดงั กล่าวมาในวรรคแรกได้กระทาโดยแหกท่ีคมุ ขงั โดย ใช้กาลังประทุษร้ ายหรือโดยขู่เข็ญว่าจะใช้กาลังประทุษร้ าย หรือโดย ____________________________________ *มาตรา ๑๘๘ และมาตรา ๑๘๙ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพ่ิมเติม ป.อ. (ฉบบั ที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔ **มาตรา ๑๙๐ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพ่ิมเติม ป.อ. (ฉบบั ท่ี ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๖
97 ร่วมกระทาความผิดด้วยกันตงั้ แต่สามคนขึน้ ไป ผู้กระทาต้องระวางโทษ จาคกุ ไมเ่ กินห้าปี หรือปรับไมเ่ กินหนง่ึ แสนบาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ ถ้ าความผิดตามมาตรานีไ้ ด้กระทาโดยมีหรือใช้ อาวุธปื นหรือ วัตถุระเบิด ผู้กระทาต้องระวางโทษหนักกว่าโทษท่ีกฎหมายบัญญัติไว้ ในสองวรรคก่อนกงึ่ หนง่ึ * มาตรา ๑๙๑ ผ้ใู ดกระทาด้วยประการใดให้ผ้ทู ี่ถกู คมุ ขงั ตามอานาจ ของศาล ของพนกั งานอยั การ ของพนกั งานสอบสวน หรือของเจ้าพนกั งาน ผ้มู ีอานาจสบื สวนคดอี าญา หลดุ พ้นจากการคมุ ขงั ไป ต้องระวางโทษจาคกุ ไมเ่ กินห้าปี หรือปรับไมเ่ กินหนง่ึ แสนบาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ ถ้าผ้ทู ี่หลดุ พ้นจากการคมุ ขงั ไปนนั้ เป็ นบุคคลที่ต้องคาพิพากษาจาก ศาลหน่ึงศาลใดให้ลงโทษประหารชีวิต จาคกุ ตลอดชีวิต หรือจาคุกตงั้ แต่ สิบห้าปี ขึน้ ไป หรือมีจานวนตงั้ แต่สามคนขึน้ ไป ผู้กระทาต้องระวางโทษ จาคุกตัง้ แต่หกเดือนถึงเจ็ดปี และปรับตัง้ แต่หนึ่งหมื่นบาทถึงหน่ึงแสน สหี่ มน่ื บาท ถ้าความผิดตามมาตรานีไ้ ด้กระทาโดยใช้กาลงั ประทุษร้ายหรือโดย ข่เู ข็ญวา่ จะใช้กาลงั ประทุษร้ าย หรือโดยมีหรือใช้อาวธุ ปื นหรือวตั ถุระเบิด ผ้กู ระทาต้องระวางโทษหนกั กวา่ โทษที่กฎหมายบญั ญตั ิไว้ในสองวรรคก่อน กงึ่ หนง่ึ ____________________________________ *มาตรา ๑๙๑ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพ่ิมเติม ป.อ. (ฉบบั ที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๖
98 *มาตรา ๑๙๒ ผ้ใู ดให้พานกั ซ่อนเร้นหรือช่วยด้วยประการใด ให้ผ้ทู ี่ หลบหนีจากการคมุ ขงั ตามอานาจของศาล ของพนกั งานสอบสวน หรือของ เจ้าพนกั งานผ้มู ีอานาจสืบสวนคดอี าญา เพื่อไมใ่ ห้ถกู จบั กมุ ต้องระวางโทษ จาคกุ ไมเ่ กินสามปี หรือปรับไมเ่ กินหกหม่นื บาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ มาตรา ๑๙๓ ถ้าการกระทาความผิดดงั กล่าวมาในมาตรา ๑๘๔ มาตรา ๑๘๙ หรือมาตรา ๑๙๒ เป็ นการกระทาเพ่ือช่วยบิดา มารดา บุตร สามีหรือภริยาของผ้กู ระทา ศาลจะไมล่ งโทษกไ็ ด้ *มาตรา ๑๙๔ ผู้ใดต้องคาพิพากษาห้ามเข้าเขตกาหนดตามมาตรา ๔๕ เข้าไปในเขตกาหนดนนั้ ต้องระวางโทษจาคกุ ไม่เกินหน่ึงปี หรือปรับ ไมเ่ กินสองหมนื่ บาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ *มาตรา ๑๙๕ ผ้ใู ดหลบหนีจากสถานพยาบาลซง่ึ ศาลสง่ั ให้คมุ ตวั ไว้ ตามความในมาตรา ๔๙ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับ ไมเ่ กินหนงึ่ หมนื่ บาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ *มาตรา ๑๙๖ ผู้ใดฝ่ าฝื นคาสั่งห้ ามของศาลซึ่งได้ สั่งไว้ ใน คาพิพากษาตามมาตรา ๕๐ ต้องระวางโทษจาคกุ ไมเ่ กินหกเดือน หรือปรับ ไมเ่ กินหนง่ึ หมื่นบาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ ____________________________________ *มาตรา ๑๙๒ มาตรา ๑๙๔ มาตรา ๑๙๕ และมาตรา ๑๙๖ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพ่ิมเติม ป.อ. (ฉบบั ที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
99 *มาตรา ๑๙๗ ผู้ใดใช้ กาลังประทุษร้ าย ขู่เข็ญว่าจะใช้ กาลัง ประทษุ ร้าย ให้ประโยชน์ หรือรับว่าจะให้ประโยชน์ เพ่ือกีดกนั หรือขดั ขวาง การขายทอดตลาดของเจ้าพนักงานเน่ืองจากคาพิพากษาหรือคาสง่ั ของ ศาล ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหม่ืนบาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ **มาตรา ๑๙๘ ผู้ใดดูหมิ่นศาลหรือผู้พิพากษาในการพิจารณาหรื อ พิพากษาคดี หรือกระทาการขัดขวางการพิจารณาหรือพิพากษาของศาล ต้องระวางโทษจาคุกตัง้ แต่หนึ่งปี ถึงเจ็ดปี หรือปรับตงั้ แต่สองหมื่นบาท ถงึ หนง่ึ แสนสีห่ มนื่ บาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ ***มาตรา ๑๙๙ ผ้ใู ดลอบฝัง ซอ่ นเร้น ย้ายหรือทาลายศพหรือสว่ นของ ศพเพ่ือปิ ดบงั การเกิด การตายหรือเหตแุ ห่งการตาย ต้องระวางโทษจาคุก ไมเ่ กินหนง่ึ ปี หรือปรับไมเ่ กินสองหมืน่ บาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ ____________________________________ *มาตรา ๑๙๗ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพม่ิ เติม ป.อ. (ฉบบั ท่ี ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔ **มาตรา ๑๙๘ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพมิ่ เติม ป.อ. (ฉบบั ท่ี ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๕ ***มาตรา ๑๙๙ แก้ไขโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพ่มิ เติม ป.อ. (ฉบบั ท่ี ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225