Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการเขื่อนต่างๆ2

โครงการเขื่อนต่างๆ2

Published by pat.supatcharee, 2017-11-20 05:51:56

Description: โครงการเขื่อนต่างๆ2

Keywords: #โครงการ

Search

Read the Text Version

โครงการเข่อื นตา่ งๆ(เขอ่ื นแควนอ้ ยบารงุ แดน เขือ่ นปา่ สกั ชลสทิ ธ์ิ เขอื่ นสริ ิกติ ิ์ เขอื่ นรชั ชประภา เข่อื นภมู ิพล) Dam Projectนางสาวสพุ รรษา เนียมเทย่ี ง รหัสนิสติ 60610414นางสาวสพุ ชั รี ทนั งาน รหสั นสิ ิต 60610421นางสาวสภุ าลักษณ์ ช่มุ แจม่ รหสั นิสิต 60610438นางสาวอักษรา สมศรีโหนง่ รหสั นสิ ติ 60610445นางสาวอัจฉราวลยั กาวชู รหสั นสิ ติ 60610452นายอชั บาล ทุนกลุ รหสั นิสิต 60610469นางสาวอาทติ ยา ออ่ งเมือง รหสั นสิ ติ 60610476นางสาวชวี ติ ชนก บิณฑวหิ ค รหสั นสิ ิต 57262111นางสาวชนิสรา สขุ หรอ่ ง รหสั นสิ ิต 57346514นายวโรดม คีรีวงศ์ รหัสนิสติ 57241833โครงงานนเ้ี ปน็ สว่ นหนง่ึ ของรายวิชาสารสนเทศศาสตร์เพอื่ การศกึ ษาคน้ ควา้ (001221) มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ปกี ารศึกษา 2560

โครงการเข่อื นตา่ งๆ(เขอ่ื นแควนอ้ ยบารงุ แดน เขือ่ นปา่ สกั ชลสทิ ธ์ิ เขอื่ นสริ ิกติ ิ์ เขอื่ นรชั ชประภา เข่อื นภมู ิพล) Dam Projectนางสาวสพุ รรษา เนียมเทย่ี ง รหัสนิสติ 60610414นางสาวสพุ ชั รี ทนั งาน รหสั นสิ ิต 60610421นางสาวสภุ าลักษณ์ ช่มุ แจม่ รหสั นิสิต 60610438นางสาวอักษรา สมศรีโหนง่ รหสั นสิ ติ 60610445นางสาวอัจฉราวลยั กาวชู รหสั นสิ ติ 60610452นายอชั บาล ทุนกลุ รหสั นิสิต 60610469นางสาวอาทติ ยา ออ่ งเมือง รหสั นสิ ติ 60610476นางสาวชวี ติ ชนก บิณฑวหิ ค รหสั นสิ ิต 57262111นางสาวชนิสรา สขุ หรอ่ ง รหสั นสิ ิต 57346514นายวโรดม คีรีวงศ์ รหัสนิสติ 57241833โครงงานนเ้ี ปน็ สว่ นหนง่ึ ของรายวิชาสารสนเทศศาสตร์เพอื่ การศกึ ษาคน้ ควา้ (001221) มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ปกี ารศึกษา 2560

คานา รายงานฉบบั นเี้ ปน็ ส่วนหนึ่งของวชิ าสารสนเทศศาสตร์เพื่อการศึกษาคน้ ควา้ โดยมีจุดประสงค์ เพ่อืการศึกษาความรทู้ ่ไี ดจ้ ากเรื่องเข่อื นต่างๆ ทั้งนใ้ี นรายงานฉบบั นม้ี ีเน้ือหาประกอบดว้ ยทม่ี าและความสาคัญลักษณะของเขื่อน ท่ีตงั้ และประโยชน์ ผ้จู ัดทาไดเ้ ลอื กหัวขอ้ ในการทารายงานเรือ่ งเขือ่ นตา่ งๆ เน่อื งจากเป็นเรอื่ งท่นี ่าสนใจและเก่ยี วขอ้ งกบั ชีวติ ประจาวนั ของเรา ผจู้ ัดทาต้องขอขอบคุณอาจารยผ์ ู้สอนในรายวชิ าสารสนเทศศาสตร์เพอ่ืการศึกษาค้นคว้าที่ให้แนวทางในการศกึ ษาค้นคว้า และเจา้ หน้าทสี่ านกั หอสมุด มหาวิยาลยั นเรศวร หวังวา่รายงานฉบับนี้จะใหค้ วามรแู้ ละเปน็ ประโยชนแ์ กผ่ อู้ า่ นทุกๆท่าน หากมขี อ้ เสนอแนะประการใดคณะผจู้ ัดทาขอรบั ไว้ดว้ ยความขอบพระคณุ ยิง่ คณะผ้จู ดั ทา

ชอื่ หวั ข้อโครงงาน โครงการ “เขอ่ื น” ตา่ งๆ / เขือ่ นแควนอ้ ย บารงุ แดน/ เขอ่ื นป่าสักชลสทิ ธิ์ / เข่อื นสริ ิกติ ์ิ / เข่ือนรัชชประภา / เขือ่ นภมู พิ ลผ้ดู าเนนิ โครงงาน นางสาว สุพรรษา เนียมเทย่ี ง รหสั นิสติ 60610414 นางสาว สพุ ชั รี ทนั งาน รหสั นสิ ติ 60610421 นางสาว สุภาลักษณ์ ชุม่ แจ่ม รหัสนสิ ิต 60610438 นางสาว อักษรา สมศรโี หน่ง รหัสนิสติ 60610445 นางสาว อัจฉราวลัย กาวชู รหสั นิสิต 60610452 นาย อัชบาล ทุนกุล รหัสนสิ ติ 60610469 นางสาว อาทติ ยา ออ่ งเมอื ง รหสั นสิ ิต 60610476 นางสาว ชวี ิตชนก บณิ ฑวิหค รหสั นสิ ิต 57262111 นางสาว ชนสิ รา สุขหรอ่ ง รหัสนสิ ติ 57346514 นาย วโรดม คีรวี งศ์ รหัสนสิ ติ 57241833ทป่ี รึกษาโครงงาน อ.สมทั รชา เนยี มเรืองปกี ารศกึ ษา 2560……………………………………………………………………………………………………………………………………......................... บทคัดย่อโครงงานน้เี ป็นการศึกษาเก่ียวกบั โครงการ เขอื่ น ตา่ งๆ ซง่ึ ประกอบไปด้วยเขื่อนแควน้อย บารงุ แดน/เขอื่ นป่าสกั ชลสิทธ์ิ / เขอ่ื นสิริกติ ิ์ / เข่อื นรชั ชประภา / เข่ือนภมู ิพล ว่ามคี วามเป็นมา , ลักษณะ, ท่ตี ้ังสภาพแวดล้อม เปน็ อยา่ งไร และใหป้ ระโยชนต์ อ่ สังคมในดา้ นใดบ้าง โดยในโครงงานน้ีไดม้ กี ารสารวจถึงพนื้ ท่ีอาณาบริเวณทไ่ี ด้รับผลประโยชน์จากเข่ือนต่างๆเหล่าน้ี และ การกระจายตวั ของเขอ่ื นตามส่วนภมู ิภาคเพอ่ืรองรบั นา้ ว่าเป็นอยา่ งไรบ้าง ทาใหง้ า่ ยต่อการเขา้ ใจและศึกษาถึงทีม่ าและสาเหตตุ ่างๆทที่ าใหเ้ ข่ือนเหล่าน้ตี อ้ งถูกสรา้ งข้ึน ก

ข Abstract This project is to learn about the dams which include of Khaew Noi BamrungDan, Pasak Chonlasit , Sirikit , Ratchaprapa and Bhumibol. There is much informationfor each dam in the project. For example, Why is it built? , What is the characteristicsof each dam?, Where does it locate? and what is the advantage of founding the dams?We explore how many areas can get the benefits from these dams and how do thedams disperse to support the water? It is easy to understand and learn this project,What is the causes of building these dams? ข

ค กิตติกรรมประกาศ รายงานการศึกษาคน้ คว้าเรอ่ื ง โครงการเข่อื นฉบบั นี้ สาเร็จได้ดว้ ยการสนบั สนุนจากเจ้าหนา้ ท่ีสานักหอสมดุ มหาวทิ ยาลยั นเรศวรทใี่ หใ้ ช้หนงั สือในการจัดทารายงาน ขอขอบพระคณุ เปน็ อยา่ งยงิ่ ตอ่รศ.ดร.สชุ าติ แย้มเม่น อาจารยผ์ สู้ อนในรายวิชาสารสนเทศศาสตรเ์ พอ่ื การศึกษาคน้ ควา้ ซึ่งได้ให้ความรู้เกีย่ วกับการจัดทารายงานและแนะนาแนวทางการดาเนนิ งานทีเ่ ป็นประโยชน์ จนทาใหร้ ายงานฉบบั น้ีสาเรจ็ ลงได้ด้วยดี ผจู้ ัดทาหวังวา่ รายงานวิจัยฉบับน้ี จะเปน็ ประโยชนใ์ นการศกึ ษาเองโครงการเขอื่ นต่างๆ และโดยเฉพาะอย่างย่ิงผู้ทส่ี นใจศึกษาในเร่อื งโครงการเข่อื นตา่ งๆ คณะผู้จดั ทา ค

ง สารบัญ หน้า เรอ่ื งคานาบทคัดยอ่ (ไทย)……………………………………………………………………………………………………………………………กบทคดั ยอ่ (องั กฤษ)……………………………………………………………………………………………………………………….ขกติ ตกิ รรมประกาศ………………………………………………………………………………………………………………………คสารบญั ……………………………………………………………………………………………………………………………………ง-จสารบญั ตาราง……………………………………………………………………………………………………………………………..ฉสารบัญรปู ภาพ……………………………………………………………………………………………………………………………ชบทที่ 1 บทนา……………………………………………………………………………………………………………………………..1ที่มาและความสาคญัวตั ถุประสงค์ขอบเขตการศกึ ษาค้นควา้ประโยชน์ท่คี าดว่าจะไดร้ บับทที่ 2 เอกสารและโครงงานที่เกยี่ วข้อง-เข่ือนแควน้อย บารงุ แดน……………………………………………………………………………………………………2-4-เข่ือนปา่ สักชลสิทธิ์……………………………………………………………………………………………………………..5-7-เขื่อนสิรกิ ติ ิ์………………………………………………………………………………………………………………………8-11-เขอ่ื นรชั ชประภา……………………………………………………………………………………………………………12-14-เข่ือนภูมพิ ล…………………………………………………………………………………………………………………..15-17บทที่ 3 วธิ ีการจัดทาโครงงาน……………………………………………………………………………………………………..18วสั ดแุ ละอปุ กรณ์ วิธกี ารจดั ทาโครงงานบทที่ 4 ผลการศึกษา……………………………………………………………………………………………………………19-23 ง

จ สารบัญ (ต่อ) เรื่อง หน้าบทท่ี 5 สรปุ ผลและขอ้ เสนอแนะ………………………………………………………………………………………………….24 สรปุ ผลการศึกษา ประโยชนท์ ไ่ี ดจ้ ากโครงงานขอ้ เสนอแนะเอกสารอ้างอิง……………………………………………………………………………………………………………………………25ข้อมูลผูจ้ ัดทา……………………………………………………………………………………………………………………….26-30 จ

ฉ สารบญั ตาราง เรอ่ื ง หน้าตารางแผนการปฏบิ ัตงิ าน………………………………………………………………………………………………………………..18 ฉ

ช สารบัญรปู ภาพ หนา้รปูเขอื่ นแควนอ้ ยบารงุ แดน จงั หวดั พษิ ณุโลก………………………………………………………………………………………...3ลกั ษณะสภาพแวดลอ้ มของเขือ่ นแควน้อยบารงุ แดน…………………………………………………………………………....4เข่อื นปา่ สกั ชลสิทธ์ิ จงั หวดั สระบุรี…………………………………………………………………………………………………….6สภาพบรเิ วณโดยรอบของเขอื่ นป่าสักชลสิทธ์ิ………………………………………………………………………………………7การดาเนนิ การก่อสร้างเข่ือนสริ ิกิต์ิ……………………………………………………………………………………………………..9สมเดจ็ พระนางเจา้ ฯพระบรมราชินีนาถเสด็จพระราชดาเนนิ ไปยังเข่ือนสริ กิ ติ ิ์………………………………………….10สภาพแวดล้อมในบรเิ วณเขอื่ นสริ กิ ิติ์…………………………………………………………………………………………………..11ประโยชน์หลักของเขอื่ นสิรกิ ติ ์ิ……………………………………………………………………………………………………………12พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ทรงเปน็ ผรู้ ิเรม่ิ การสร้างเขอื่ นรัชชประภา…………………………………………………..12ทิวทัศน์ในเขตบริเวณเขอื่ นรัชชประภา………………………………………………………………………………………………..13โรงไฟฟ้าและลานไกไฟฟ้าของเขอื่ นรัชชประภา……………………………………………………………………………………14เขือ่ นรัชชประภาเปน็ แหลง่ พักผ่อนหย่อนใจของนกั ท่องเทยี่ ว…………………………………………………………………15ประโยชนใ์ นด้านต่างๆของเขือ่ นรชั ประภา…………………………………………………………………………………………...15ลกั ษณะบรเิ วณโดยรอบของเขือ่ นภมู พิ ล………………………………………………………………………………………………18ช

1 บทท่ี 1 บทนาท่มี าและความสาคญั ของโครงการ ในปัจจุบันสภาพอากาศไดเ้ ปล่ยี นแปลงไปอย่างมาก ไม่ว่าจะเปน็ สภาพอากาศท่ฝี นไม่ตกตามฤดูหรือจะเปน็ สภาพอากาศทแี่ หง้ แล้งจนเหมอื นทะเลทราย ซ่ึงทงั้ 2 สภาพเหตุการณ์น้ไี ด้สร้างความเดือดรอ้ นเปน็ อย่างมากใหแ้ กร่ าษฎรในทกุ ๆพืน้ ท่ี โดยเฉพาะบคุ คลทีม่ ีอาชีพเก่ยี วกับการทาเกษตรกรรมเพราะพชื ผลทางการเกษตรหลายชนิดเกดิ ความเสยี หายเปน็ อยา่ งมาก ซ่งึ ถือว่าเปน็ การสูญเสียทรพั ยส์ นิไปโดยใช่เหตุ นอกจากนยี้ งั สง่ ผลกระทบทางกว้างกับผคู้ นมากมายไมว่ ่าจะเปน็ ทางดา้ นการคมนาคม หรอืแม้แต่ทางดา้ นอปุ โภคบริโภคเอง จงึ ทาให้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รชั กาลที่ 9 ทรงมพี ระราชดาริเกีย่ วกบั โครงการสร้างเขอื่ นตา่ งๆข้นึ มาเพอ่ื ทาหน้าท่ี เกบ็ กกั นา้ และ ปลอ่ ยนา้ ให้แก่ราษฎรเมือ่ ถึงยามวกิ าล โดยไดม้ อบหมายงานให้แกก่ รมชลประทานและหน่วยงานอน่ื ๆเป็นผู้รบั ผดิ ชอบในการดาเนินการสร้าง โดยในแต่ละพนื้ ท่ีหรือภูมิภาคกจ็ ะมเี ข่อื นท่สี าคัญๆต้งั อยเู่ พ่ือคอยสง่ นา้ ไปใหแ้ กร่ าษฎรอยา่ งท่ัวถึงวตั ถุประสงค์ 1. เพือ่ ให้ทราบถึงทตี่ ัง้ และลักษณะโครงการของเข่ือนแควนอ้ ย บารุงแดน/ เข่ือนปา่ สกั ชลสทิ ธิ์ / เขื่อนสริ ิกติ ์ิ / เขอ่ื นรชั ประภา และ เขอื่ นภูมิพล 2. เพอ่ื สร้างความเขา้ ใจในดา้ นการจดั ตั้งเขื่อนดงั กล่าวรวมไปถงึ ผลประโยชน์ทีไ่ ดร้ บั จากการ ก่อตัง้ เขอื่ นเหลา่ นี้ขอบเขตของการดาเนนิ โครงงาน โครงงานน้ีมงุ่ เนน้ เพอ่ื ศึกษาขอ้ มลู ในเร่อื งของทีต่ งั้ ความเปน็ มา ลกั ษณะ และประโยชน์ของโครงการเขอื่ นแควนอ้ ย บารุงแดน/ เขือ่ นปา่ สักชลสิทธ์ิ / เขอื่ นสริ ิกติ ิ์ / เข่ือนรัชชประภา และ เขื่อนภูมิพล ซ่งึ ลว้ นแต่เปน็ เขอื่ นท่ีสาคัญทกี่ ระจายตัวในเขตพ้ืนทภ่ี าคเหนอื จนถงึ ภาคกลางตอนบนประโยชน์ท่คี าดวา่ จะไดร้ บั โครงงานน้ีม่งุ เน้นใหผ้ ทู้ ี่สนใจหรอื ตอ้ งการศกึ ษาในเรื่องของเขือ่ นทส่ี าคญั ๆในเขตภาคเหนอื จนถึงภาคกลางตอนบนสามารถนาขอ้ มลู ตา่ งๆเหล่านี้ไปใช้ประโยชน์ในด้านประกอบการศึกษา การทางาน ตลอดจนเป็นการอา่ นเพอื่ เสรมิ เป็นความร้ไู ด้ นอกจากนยี้ ังหวังว่าโครงงานชน้ิ นจี้ ะเป็นส่วนหน่ึงท่ีไดเ้ ผยแพร่แนวทางพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู ัวรัชกาลที่ 9 เกยี่ วกบั เร่อื งเข่ือนที่ได้สร้างประโยชนม์ ากมายแก่สังคมใหค้ นท่วั ไปได้รบั รู้ 1

2 บทที่ 2 หลักการและทฤษฎที ีเ่ กี่ยวขอ้ งเอกสารทเี่ กยี่ วข้อง โครงการเขื่อนแควนอ้ ย บารุงแดนท่ีตั้งของโครงการ : โครงการเขือ่ นแควน้อยมหี วั งานอยูใ่ นเขตปฏิรปู ทีด่ นิ เพ่ือเกษตรกรรมและปา่ สองฝัง่ ลาน้าแควน้อยบริเวณบ้านปากพาน หมู่ที่ 6 บ้านเขาหนิ ลาด ต.คนั โช้ง อ.วดั โบสถ์ จ.พิษณุโลกทม่ี าของโครงการ : เมอ่ื วนั ท่ี 25 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ.2525 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ ได้เสดจ็ พระราชดาเนนิ ทรงเปิดเขอ่ื นนเรศวร และทรงเยย่ี มราษฎร ณ บริเวณเขื่อนนเรศวร บา้ นหาดใหญ่ ตาบลพรหมพริ าม อาเภอพรหมพิราม จงั หวัดพิษณุโลก ไดพ้ ระราชทานพระราชดารเิ กย่ี วกับงานชลประทาน ดงั ต่อไปนี้ 1. ควรพิจารณาวางโครงบริเวณตอนเหนอื ของท่งุ สาน เพ่อื จดั หาน้าใหร้ าษฎรหมบู่ ้านตา่ งๆ นอก เขตชลประทานทุง่ สานซง่ึ เป็นพน้ื ทีบ่ รเิ วณทุ่งสานตอนบนและตอนกลาง สามารถมีนา้ ทาการ เพาะปลูกได้ทง้ั ในฤดูฝน-ฤดูแล้ง และมนี า้ เพ่ือการอปุ โภคบริโภคสาหรับราษฎรหมูบ่ า้ นตา่ งๆ ดงั กลา่ วตลอดปี นอกจากน้ันยังจะชว่ ยบรรเทาอุทกภยั สาหรบั พนื้ ท่เี พาะปลกู บริเวณทุ่งสานอีก ดว้ ย 2. ควรพจิ ารณาวางโครงการและก่อสร้างเขือ่ นเก็บกักน้าแควน้อย ในเขตอาเภอวดั โบสถ์ จงั หวัด พษิ ณุโลก โดยเร่งด่วน เขอื่ นเกบ็ กักนา้ แควนอ้ ยนคี้ วรพจิ ารณาวางโครงการใหเ้ กบ็ กกั นา้ ไวอ้ ย่าง เตม็ ท่ี เพ่อื การบรรเทาอทุ กภยั ในเขตลุ่มนา้ แควน้อยตอนลา่ ง และจัดหานา้ สนับสนนุ โครงการ ชลประทานพษิ ณุโลก และโครงการชลประทานเจ้าพระยาใหญ่ ให้ได้ผลอย่างสมบรู ณ์ ต่อไป สาหรบั เขอ่ื นเกบ็ กักนา้ แควนอ้ ยนี้ การพลังงานแหง่ ชาตกิ าลงั ศกึ ษาและจัดทารายงาน ความเหมาะสมของโครงการอยู่ และจะได้ดาเนินการก่อสร้างตอ่ ไป 3. ควรพจิ ารณาวางโครงการและกอ่ สรา้ งอา่ งเก็บน้าตามลาน้าสาขาตา่ งๆ ของแควนอ้ ยตอนล่าง บรเิ วณทา้ ยเขือ่ นเก็บกกั นา้ แควน้อย เพ่อื จัดหาน้าใหร้ าษฎรหมบู่ า้ นตา่ งๆ ในเขตอาเภอวดั โบสถ์ จังหวดั พิษณโุ ลก พน้ื ท่ีประมาณ 19,000 ไร่ สามารถทาการเพาะปลูกไดต้ ลอดปี นอกจากน้ันยัง จะชว่ ยบรรเทาอทุ กภยั แกพ่ นื้ ที่เพาะปลูกบริเวณทา้ ยอ่างเกบ็ น้าตา่ งๆ ดังกลา่ วอกี ดว้ ย เนือ่ งจากสภาพพ้ืนที่ทางตอนลา่ งของแมน่ า้ แควน้อย ประมาณ 200,000 ไร่ เปน็ พนื้ ที่เกษตรกรรมที่ มักประสบปัญหานา้ ทว่ มและขาดแคลนนา้ เปน็ ประจาทุกปี ราษฎรสว่ นใหญ่ 80%เป็นเกษตรกรที่มรี ายไดต้ า่ ทานาไดค้ ร้งั เดียวในฤดูฝนแตม่ กั ได้รบั ความเสยี หายจากปัญหาน้าทว่ ม โดยมพี ื้นทปี่ ระมาณ 75,000 ไร่ ในเขต 2

3อาเภอวัดโบสถ์ อาเภอวงั ทอง อาเภอพรหมพิราม และอาเภอเมอื ง จังหวัดพษิ ณโุ ลก มักเกดิ ปัญหานา้ ทว่ มเปน็ ประจาทุกปี และมแี นวโนม้ จะทวีความรุนแรงเปน็ ลาดับ ดังนนั้ จงึ เกดิ โครงการเขอื่ นแควน้อยอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริ มีเปา้ หมายหลกั เพื่อแกไ้ ขปญั หาอุทกภยั โดยเฉพาะในเขตพืน้ ที่จงั หวัดพิษณุโลกและจงั หวัดใกลเ้ คยี ง รวมถึง ยังจะเปน็ แหลง่ น้าสนบั สนุนให้กบั พน้ื ทช่ี ลประทานฝง่ั ซ้ายและฝัง่ ขวาของแม่น้าแควนอ้ ย สง่ นา้ เสรมิ ใหก้ บั พนื้ ท่ีเพาะปลกู ของโครงการเจา้ พระยาใหญเ่ ป็นแหล่งนา้ ใชใ้ นการเกษตรการอปุ โภคบรโิ ภค นอกจากน้ยี งั ได้สรา้ งเข่ือนทดน้าพญาแมน เพอ่ื ช่วยยกระดบั น้าเขา้ คลองชลประทานส่งน้าช่วยเหลือพ้ืนทกี่ ารเกษตร 4 อาเภอของจงั หวัดพษิ ณโุ ลก คอื อาเภอวดั โบสถ์ อาเภอพรหมพิรามอาเภอวังทอง และอาเภอเมอื ง โดยใชเ้ วลากอ่ สรา้ งทงั้ หมดรวมระบบขนสง่ น้าเป็นเวลา 9 ปี คือ ต้ังแต่ปีพ.ศ. 2546 ถึง ปี พ.ศ. 2554 โดยเม่อื วันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ.2552 พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราช ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ พระราชทานช่อื เขื่อนแควนอ้ ยอนั เนือ่ งมาจากพระราชดาริเป็น เขอื่ นแควนอ้ ยบารุงแดน ซึง่ หมายถงึ เขอ่ื นแควน้อยท่ที าใหม้ คี วามเจรญิ ขน้ึ ในเขตพืน้ ท่ี สาหรับเข่ือนทดนา้ พญาแมน ทรงพระราชดารัสเห็นควรใหใ้ ช้ชอ่ื เดมิ โดยเข่ือนแควนอ้ ยบารงุ แดนนไ้ี ด้เร่มิ การเก็บกกั น้าเมอ่ื วนั ที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ.2551 โดยมีสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสด็จฯเปน็องค์ประธานในพธิ ี เข่ือนแควน้อยบารุงแดน จังหวดั พษิ ณุโลกลักษณะของโครงการ : โครงการเขือ่ นแควน้อยบารงุ แดนอยู่ในเขตพ้นื ทีอ่ นุรกั ษแ์ ละพน้ื ท่ีปา่ สงวนแห่งชาติเป็นเขื่อนหินทมี่ ีลักษณะท้ิงดาดคอนกรีต มีหน้าทก่ี ักเกบ็ น้าจากแมน่ ้าแควน้อยซง่ึ เปน็ ล่มุ น้าสาขาย่อยฝงั่ ซา้ ยของแม่น้าน่านมตี ้นน้าอยู่ทีอ่ าเภอชาตติ ระการ จังหวดั พิษณุโลก ไหลผ่านอาเภอวัดโบสถ์ ไปบรรจบแม่น้าน่านที่อาเภอพรหมพริ าม จังหวดั พิษณโุ ลกอ้างอิงรูปภาพhttp://www.painaidii.com/business/137469/albu3m/

4 ลักษณะสภาพแวดลอ้ มของเข่ือนแควนอ้ ยบารงุ แดนประโยชน์ของโครงการ: 1. ช่วยบรรเทาอทุ กภยั โดยเฉพาะบรเิ วณพนื้ ท่ลี ุม่ นา้ แมน่ ้าแควนอ้ ยตอนลา่ ง ประมาณ 75,000 ไร่ ในเขตอาเภอวดั โบสถ์ อาเภอเมอื ง อาเภอวงั ทอง และอาเภอบาง กระท่มุ จังหวัดพษิ ณโุ ลก 2. เป็นแหล่งนา้ สนบั สนนุ พน้ื ที่ชลประทานบริเวณฝั่งซ้ายและขวาของแคว นอ้ ย ประมาณ 155,000 ไรแ่ ละส่งนา้ เสรมิ ให้กับพืน้ ทก่ี ารเพาะปลกู ในฤดแู ล้งของโครงการ ชลประทานเจ้าพระยาประมาณ 250,000 ไร่ 3. ราษฎรในเขตโครงการมนี ้าใช้สาหรบั การอปุ โภคบริโภคประมาณ 47.3 ล้านลูกบาศกเ์ มตรตอ่ ปี 4. เสริมสรา้ งอาชพี จากผลผลติ ปลาในอา่ งเก็บน้าเป็นการสรา้ งรายไดใ้ หแ้ กร่ าษฎรบริเวณรอบอา่ งเก็บ น้าและสองฝั่งแม่นา้ แควน้อย 5. เปน็ แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วพกั ผ่อนหย่อนใจของประชาชนในจังหวดั พิษณโุ ลกและบรเิ วณใกลเ้ คียง 6. เป็นแหล่งเพาะพันธป์ุ ลาน้าจดื และเปน็ แหล่งท่องเท่ียวของจงั หวดั พษิ ณโุ ลก 7. สง่ นา้ เพ่ือการเพาะปลกู ในฤดฝู นและฤดแู ล้งใหแ้ ก่พ้นื ท่ชี ลประทานแควนอ้ ย 155,166 ไร่ และส่ง น้าเสรมิ การเพาะปลกู ในฤดูแล้งของโครงการชลประทานเจ้าพระยาประมาณ 250,000 ไร่ 8. เปน็ แหล่งผลิตกระแสไฟฟา้อา้ งอิงรูปภาพhttp://www.rdpbproject.com/press56/index.php?opti4on=com

5 โครงการเขื่อนป่าสกั ชลสทิ ธิ์ที่ต้งั ของโครงการ : ตาบลหนองบัว อาเภอพัฒนานคิ ม จังหวัดลพบรุ ี และ ตาบลคาพราน อาเภอวังมว่ ง จงั หวดั สระบุรีที่มาของโครงการ : พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั ฯ ผู้ทรงเป็นปราชญใ์ นเร่ืองนา้ ของแผ่นดนิ ทรงมแี นวคดิ และทฤษฎีจานวนมากและหลากหลายท่จี ะแกไ้ ขปัญหานา้ ทว่ มสลับกบั น้าแล้งท่ีเกิดข้นึ ในพน้ื ที่ภาคกลางเปน็ ประจาและทุกครงั้ ทเ่ี กิดปญั หาได้นาความสญู เสียมาสูเ่ กษตรกรอย่างมหาศาล จึงจาเป็นต้องสรา้ งพนื้ ทเ่ี ก็บน้าขนาดใหญ่ข้ึน โดยพระราชทานแนวพระราชดาริให้สร้างอา่ งเกบ็ นา้ ขนึ้ 2 แหง่ คอื แม่นา้ ปา่ สักและแมน่ า้ นครนายก เพื่อจะได้มแี หล่งต้นทนุ นา้ ชลประทานสาหรับใชใ้ นฤดูแล้งและขณะเดยี วกนั ก็ช่วยบรรเทาอทุ กภยั ในบรเิ วณลุ่มน้าป่าสกั และลมุ่ น้าเจา้ พระยาตอนลา่ งด้วย อันทีจ่ รงิ แล้วพระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู วั ไดพ้ ระราชทานพระราชดาริ มาก่อนหนา้ น้นี านมากแลว้ ต้ังแต่ เมื่อวนั ที่ 19 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ.2532 ใหก้ รมชลประทานศึกษาความเหมาะสมของโครงการ เขอื่ นกกั เกบ็ นา้ แมน่ ้าป่าสกั อย่างเร่งด่วน แตก่ ็ไมส่ ามารถทีจ่ ะบอกได้ เพราะอาจมีเสียงคดั คา้ นจากผ้เู ช่ียวชาญและจากผ้ตู ่อต้านโครงการ ตอ่ มาเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2536 พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวฯ ไดพ้ ระราชทานพระราชดารัสเนอ่ื งในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา เกี่ยวกบั การพัฒนาแหลง่ นา้ ของกรมชลประทานวา่ หากเร่ิมดาเนนิ การตง้ั แต่ปัจจุบนั ก็สามารถแก้ปญั หานา้ ทว่ ม ภัยแล้ง และขาดแคลนนา้ ให้กับประชาชนได้ โดยคณะรัฐมนตรไี ด้อนมุ ตั ิใหด้ าเนนิ การ และเรม่ิ สรา้ งโครงการเข่ือนเก็บกกั นา้ แม่นา้ ปา่ สกั เมื่อวนั ท่ี 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2537 โครงการนใี้ ชเ้ วลาก่อสร้าง 5 ปี ระหว่าง พ.ศ. 2537 - 2542 และพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ได้ทรงพระกรณุ าพระราชทานนาม เขือ่ นน้วี ่า \"เข่อื นป่าสกั ชลสิทธิ์\" อนั หมายถึงเขื่อนแม่นา้ ปา่ สกั ทีเ่ กบ็ กกั น้าได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ เขื่อนป่าสกั ชลสทิ ธ์ิ ได้เริ่มเกบ็ กักน้าครงั้ แรกเม่อื วันที่ 15มิถนุ ายน พ.ศ. 2541และสามารถคนื ความสมบรู ณใ์ หก้ บั ปา่ สักไดร้ วมไปถงึ ชว่ ยซับนา้ ตาของชาวปา่ สักใหเ้ หอื ดหายกลายเปน็ รอยย้มิ ได้ ซงึ่ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั ฯ และสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ได้ทรงพระกรณุ าเสด็จพระราชดาเนินมาทรงเปน็ ประธานในพธิ กี ารก่อสรา้ งเขอ่ื นป่าสักชลสทิ ธ์ิ ใช้งบประมาณรวมทัง้ สน้ิ 23 ,336 ล้านบาท เป็นคา่ กอ่ สรา้ งดา้ นชลประทาน 7 ,831 ลา้ นบาท งบประมาณแก้ไขผลกระทบสง่ิ แวดล้อม 15 ,505 ลา้ นบาท โครงการพฒั นาลมุ่ น้าป่าสักอันเนอ่ื งมาจากพระราชดารไิ ดก้ อ่ สรา้ งเขื่อนป่าสกั ชลสทิ ธิ์ และงานอื่น ๆ ซงึ่ เป็นสว่ นประกอบเสร็จสมบรู ณ์และเพอ่ื เป็นโครงการเฉลมิ พระเกยี รติในวาระที่ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ เสด็จพระราชดาเนินทรงเปดิ เขอื่ นปา่ สกั ชลสิทธิ์ ในวันพฤหัสบดีท่ี 25 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2542 5

6ลกั ษณะของโครงการ : เขอื่ นป่าสักชลสทิ ธ์ิ มลี ักษณะเป็นเขือ่ นดินที่ยาวท่สี ดุ ในประเทศไทย เปน็ โครงการชลประทานขนาดใหญ่ ทาหนา้ ทก่ี ักเกบ็ น้าจากแมน่ า้ ป่าสกั โดย แมน่ ้าปา่ สักน้ีมขี นาดใหญ่เปน็ อันดับท่ี 13 ในจานวน 25 ลุ่มน้าของประเทศไทยมลี กั ษณะของลมุ่ น้าแคบเรยี วยาว แหล่งต้นน้าอยู่จงั หวัดเลย ลาน้ามีความยาว 513 กโิ ลเมตรไหลผา่ นจังหวดั เพชรบูรณ์ ลพบรุ ี สระบุรี และมาบรรจบกบั แม่นา้ เจ้าพระยาทีจ่ งั หวดั พระนครศรีอยุธยาอาคารประกอบและระบบชลประทาน 1. อาคารระบายนา้ ลน้ 2. อาคารทอ่ ส่งน้าลงลาน้าเดมิ 3. อาคารทอ่ ระบายน้าฉุกเฉนิ เข่ือนปา่ สกั ชลสทิ ธิ์ จังหวัด สระบรุ ีประโยชนข์ องโครงการ :1. เปน็ แหล่งนา้ ถาวรเพ่ือการอปุ โภคบรโิ ภคของชมุ ชนต่าง ๆ ในเขตจงั หวดั ลพบรุ แี ละจงั หวัดสระบรุ ี2. เป็นแหล่งน้าเพ่ือการเกษตรสาหรบั พื้นทชี่ ลประทานทีจ่ ะเกดิ ใหมใ่ นเขตจังหวดั ลพบรุ ี และจังหวดั สระบุรี จานวน 135,500 ไร่3. เปน็ แหลง่ นา้ เสรมิ สาหรับพ้นื ที่โครงการชลประทานเดิมในทุ่งเจ้าพระยาฝง่ั ตะวนั ออกตอนลา่ ง ประมาณ 2,200,000 ไร่4. ช่วยบรรเทาอุทกภยั ให้แกพ่ นื้ ที่สองฝั่งแม่น้าปา่ สักในเขตจงั หวดั ลพบรุ ี และจังหวดั สระบรุ ี และยัง มีผลชว่ ยบรรเทาอทุ กภัยใหแ้ ก่พื้นท่ีตอนลา่ งลงไปดว้ ย5. เปน็ แหล่งนา้ เพอื่ การอตุ สาหกรรมในเขตจังหวดั ลพบุรี และจังหวัดสระบุรี6. อ่างเก็บนา้ จะกลายเปน็ แหลง่ ประมงนา้ จดื ขนาดใหญ่อ้างองิ รูปภาพ 6http://web.rid.go.th/lproject/const/project/during%20construction%20project/4pasak/pasak.html

77. เป็นแหล่งน้าเสรมิ เพอ่ื แก้ปัญหาขาดแคลนน้าอปุ โภค-บริโภคในเขตกรงุ เทพมหานคร8. เป็นแหล่งท่องเท่ยี วที่สาคัญ9. เป็นแหลง่ ประมงน้าจืดขนาดใหญ่10. แก้ปญั หาขาดแคลนนา้ ในเขตกรงุ เทพมหานคร สภาพบริเวณโดยรอบของเขื่อนป่าสักชลสทิ ธิ์อา้ งอิงรูปภาพhttps://www.tvpoolonline.com/content/326966https://www.youtube.com/watch?v=wY7isfGJ1nc7

8 โครงการเขอื่ นสิริกติ ์ิทต่ี ัง้ ของโครงการ : บา้ นผาซ่อม ตาบลท่าปลา อ.ท่าปลา จ.อุตรดติ ถ์ทีม่ าของโครงการ : แม่น้านา่ นนับเป็นลานา้ สาขาสาคัญสายหนึ่งของแมน่ า้ เจา้ พระยามตี ้นกาเนดิ จากดอยภูแวในเทอื กเขาหลวงพระบาง ซงึ่ เปน็ เส้นก้นั พรมแดนกับประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวในเขตท้องที่อาเภอปัว จงั หวดั นา่ น ลานา้ น่านตอนตน้ ไหลไปทางทิศเหนือคดเคีย้ วไปทางทศิ ตะวนั ตกแลว้ ไหลผา่ นอาเภอท่าวงั ผาจังหวัดน่าน ในชว่ งน้ีจะมที รี่ าบริมฝงั่ แม่น้าติดตอ่ กันจนถึง อาเภอสา จงั หวัดนา่ น แต่กเ็ ปน็ ทร่ี าบแคบ ๆจากนนั้ แมน่ า้ นา่ นจะไหลผ่านหบุ เขาในเขตพ้ืนทอี่ าเภอนาน้อย จังหวัดน่าน เขา้ เขตอาเภอทา่ ปลา จงั หวดัอตุ รดิตถ์ แลว้ ไหลไปทางทศิ ใต้ผ่านจงั หวดั อตุ รดติ ถ์ พิษณโุ ลก พจิ ิตร ไปบรรจบกบั แมน่ ้ายม ท่ีอาเภอชมุ แสงจงั หวัดนครสวรรค์ แลว้ ไหลรวมกับแมน่ ้าปิง ท่ตี าบลแควใหญ่ อาเภอเมอื ง จังหวัดนครสวรรค์ เป็นแมน่ า้เจา้ พระยาต่อไปโดยมคี วามยาวตลอดลาน้าถงึ 615 กโิ ลเมตร ซง่ึ นบั วา่ ยาวทีส่ ดุ ในบรรดาแควตน้ นา้ เจ้าพระยาดว้ ยกนั และพื้นท่ีราบลุ่มแมน่ ้านา่ นน้ี เหมาะแก่การเกษตรกรรม เป็นอย่างยงิ่ ซง่ึ แต่ก่อนมักถกู นา้ ทว่ มเป็นประจาเพราะไม่มีระบบควบคุมน้า รัฐบาลจึงได้มกี ารวางแผนพฒั นาลมุ่ น้านา่ นขน้ึ มา 3 ระยะ ระยะท่ี 1 ก่อสร้างเขอื่ นสริ ิกติ ิข์ ้นึ เพ่อื กกั เก็บน้าไวใ้ นอ่างสาหรบั ประโยชน์ ทางดา้ นการชลประทานและการผลติ กระแสไฟฟา้ ระยะท่ี 2 กอ่ สรา้ งเขื่อนนเรศวรขึ้นที่บ้านหาดใหญ่ อาเภอพรหมพิราม จงั หวดั พษิ ณุโลก เป็นเขื่อนทดนา้ พร้อมท้ังกอ่ สรา้ งระบบสง่ น้าสาหรับพื้นทสี่ องฝงั่ ในอาเภอพรหมพิราม อาเภอเมือง อาเภอบางระกา และอาเภอบางกระทุ่ม จงั หวดั พิษณโุ ลก กบั อาเภอสามงา่ ม อาเภอเมือง และอาเภอตะพานหนิ จงั หวดั พจิ ติ รโครงการระยะที่ 2 นี้ ได้เร่มิ งานก่อสรา้ งเบื้องต้น เม่ือ พ.ศ.2512 แลว้ เสรจ็ ปี พ.ศ.2527 ระยะท่ี 3 ก่อสรา้ งเขื่อนอตุ รดิตถท์ ีบ่ า้ นผาจุก อาเภอเมือง จังหวดั อตุ รดติ ถ์ เพอ่ื ทดน้าและมรี ะบบสง่นา้ สาหรับพื้นท่ีสองฝ่ังอาเภอเมอื ง อาเภอลับแล อาเภอตรอน และ อาเภอพิชยั จงั หวดั อุตรดิตถก์ บั อาเภอพรหมพิราม อาเภอวัดโบสถ์ อาเภอเมือง อาเภอวังทอง และ อาเภอบางกระทุ่ม จังหวัดพิษณุโลกโครงการระยะท่ี 3 น้ี ยงั ไม่ไดด้ าเนนิ การ แผนพัฒนาลมุ่ นา้ นา่ นน้ี เป็นการวางแผนท่จี ะนานา้ มาใชใ้ หเ้ ป็นประโยชน์อยา่ งเตม็ ท่ี จึงไดว้ างแผนใหเ้ กยี่ วโยงกนั ทั่วล่มุ น้าคอื ต้งั แต่ต้นน้าจนถึงปลายน้า กาหนดระบบวิธีจัดเกบ็ และการใช้นา้ ใหเ้ กดิ ประโยชนห์ ลายๆอย่าง รวมท้งั ได้กาหนดข้นั ตอนของการพัฒนาใหเ้ หมาะสมกับภาวะทอ้ งท่ี 8

9เปน็ ระยะๆไป โดยท้องทส่ี ว่ นใหญ่ของทุง่ ราบสองฝ่งั แม่นา้ นา่ น มกั ถูกน้าทว่ มเป็นประจา การพฒั นา จึงต้องสร้างเขอื่ นเก็บน้าขึน้ กอ่ นทีจ่ ะสร้างเข่อื นทดนา้ และระบบสง่ นา้ เพราะหากก่อสร้างเขือ่ นทดนา้ และระบบส่งน้ากอ่ น นา้ ที่ทว่ มนองนอกจากจะยงั ความเสยี หายใหแ้ ก่การเพาะปลกู เชน่ เดิมแลว้ ยงั ทาความเสียหายให้แก่งานกอ่ สร้างเขอ่ื น ทดน้าและระบบสง่ น้าอีกด้วยดงั นั้นเขอ่ื นสริ ิกติ จ์ิ งึ เปน็ เขอ่ื นแรกท่ถี ูกสรา้ งขน้ึ ก่อนเขอ่ื นอ่นื ๆ การดาเนนิ การกอ่ สรา้ งเข่อื นสริ กิ ิติ์การดาเนินการก่อสรา้ ง การก่อสรา้ งเขื่อนสิริกติ ไ์ิ ด้แบ่งงานออกเป็นสองส่วน คอื สว่ นตัวเขื่อนและองค์ประกอบกับส่วนโรงไฟฟ้าและองค์ประกอบ การกอ่ สรา้ งตวั เขอื่ น และองคป์ ระกอบ ดาเนินการ โดยกรมชลประทาน งานดา้ นน้ีเปน็ การก่อสร้างถนน เข้าหวั งาน ท่าเทียบเรือ งานเปิดหนา้ ดิน งานก่อสร้าง ตัวเขอื่ น อโุ มงค์ผันน้า อุโมงคส์ ่งน้าลงแมน่ า้ อุโมงค์ส่งนา้ เขา้ เครือ่ งกงั หนั น้า อาคารรบั น้าอุโมงค์ระบายน้าลน้ งานขดุ ดนิ และหนิ บริเวณฐานราก ของโรงไฟฟา้ การก่อสรา้ ง น้ีประกอบดว้ ย 2 หนว่ ยงานหลัก ไดแ้ ก่ กรมชลประธาน กอ่ สร้างตวั เข่ือนและอาคารประกอบ ส่วนการไฟฟ้าฝ่ายผลติ แหง่ ประเทศไทยกอ่ สร้างโรงไฟฟ้าและอุโมงคส์ ่งน้า การกอ่ สร้างโรงไฟฟา้ และองค์ประกอบดาเนนิ การโดยการไฟฟา้ ฝา่ ยผลิตแห่งประเทศไทยงานด้านน้ีไดเ้ รมิ่ ตั้งแต่ปี 2511 โดยเข่อื นสิริกิตนิ์ ้ี เดมิ ชอื่ ว่า เข่ือนผาซอ่ ม ต่อมาไดร้ ับพระบรมราชานญุ าตใหอ้ ญั เชญิ พระนามาภิไธย สมเด็จพระนางเจา้ สิรกิ ิติ์ พระบรมราชนิ นี าถขนานนามวา่ \"เขอ่ื นสริ ิกติ \"์ิ เมอ่ื วนั ท่ี 24 พฤษภาคม2511 โดยดาเนินการก่อสร้างสายสง่ แรงสูง 115 กิโลโวลต์ระหวา่ งอตุ รดติ ถก์ บั เข่อื นสริ กิ ติ ิ์ ก่อสรา้ งโรงไฟฟา้และติดตง้ั อปุ กรณ์ไฟฟ้างานวางทอ่ เหล็ก นาน้าเข้าโรงไฟฟ้าและงานก่อสร้างสายส่งแรงสงู 230 กิโลโวลต์ ชว่ งเข่อื นสริ ิกิต-์ิ พิษณุโลก พรอ้ มกันน้ไี ดต้ ดิ ตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้าทโี่ รงไฟฟา้ เขือ่ นสิริกิติ์ รวม 3 ชุด กาลงั ผลิตชุดละ125,000 กโิ ลวตั ต์ รวมกาลงั ผลิต 375,000 กิโลวตั ต์ โรงไฟฟา้ และองค์ประกอบได้แลว้ เสรจ็ เม่อื ปี 2517 โดยพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว สมเด็จพระนางเจา้ ฯพระบรมราชนิ นี าถ และสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า สยามบรมราชกุมารี ไดเ้ สดจ็ พระราชดาเนนิ ทรงเปดิ เข่ือนสริ ิกติ ์ิ และโรงไฟฟา้ อย่างเป็นทางการเมอื่ วันท่ี 4 มนี าคม อา้ งอิงรูปภาพ 9 http://www.sirikitdam.egat.com/index.php/dam/2013-05-15-07-41-45

102520 หลงั จากงานก่อสรา้ งตวั เข่ือนและโรงไฟฟา้ เสร็จเรยี บร้อยแล้วกรมชลประทานได้มอบให้การไฟฟา้ ฝา่ ยผลติ แหง่ ประเทศไทยรับผดิ ชอบในการควบคมุ ดแู ลรักษาเข่ือน สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินนี าถเสด็จพระราชดาเนนิ ไปยงั เข่ือนสริ กิ ติ ์ิลักษณะของโครงการ : เข่ือนสริ ิกติ ์ิเป็นเข่อื นดนิ ทีม่ ขี นาดใหญท่ ่ีสดุ ในประเทศไทย มีแกนเป็นดินเหนียว การก่อสรา้ งเข่อื นสริ กิ ิติ์ ทาใหเ้ กดิ อ่างเก็บขนาดใหญ่ เหนือเขอ่ื นมีเนอื้ ท่ี 260 ตารางกิโลเมตร มคี วามยาวตามลาน้าขึ้นไปจนจรดที่ราบ ของ อาเภอสา จังหวัดนา่ น 129 กิโลเมตร อาคารผนั นา้ และอาคารองคป์ ระกอบของเขื่อน ตัง้ อยู่ทางฝั่งขวา โดยเจาะภเู ขาเปน็ อุโมงคท์ ้งั หมด 7 อุโมงค์ นับเป็นเขอื่ นทมี่ ี อโุ มงค์มาก คือ อุโมงคผ์ นั น้า 2 อุโมงค์อุโมงคร์ ะบายน้าลน้ 2 อุโมงค์ อโุ มงค์ส่งนา้ เข้าเครอ่ื งกังหันน้า 2 อโุ มงค์ และอโุ มงคส์ ง่ น้าลงแม่นา้ 1 อโุ มงค์สาหรับอุโมงค์ผันน้า อุโมงค์ระบายน้าลน้ กบั อุโมงค์ส่งน้าลงแมน่ า้ เจาะทะลเุ ข้าหากนั โดยมีอาคารควบคมุ น้าภายใน สาหรบั บังคับน้า และมปี ลอ่ งลดแรงกระแทกของน้ารวมอยู่ในส่วนของอุโมงค์ และหา่ งจากตวั เขือ่ นสิริกติ ์ิไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนอื ประมาณ 20 กิโลเมตร ไดม้ กี ารกอ่ สรา้ งเขื่อนดนิ ปดิ ชอ่ งเขาตอนทมี่ ีระดบัตา่ กว่าน้าในอา่ งเกบ็ นา้ รวม 8 แหง่ มรี ะยะทางต่อเน่อื งกันไปประมาณ 5 กิโลเมตร สงู 30 เมตร ในตวั เข่ือนมีท่อสง่ น้าขนาดเส้นผา่ ศนู ย์กลาง 1.5 เมตร เพอ่ื สง่ น้าไปใช้ ในนคิ มสร้างตนเอง ลาน้าน่านอีกด้วย โครงการเข่อื นสิรกิ ติ ิ์ ในปัจจุบนั มที ้งั หมด 4 เคร่อื ง ซง่ึ ประกอบดว้ ยตวั เข่อื นและอาคารประกอบ โรงไฟฟ้า ระบบสง่ไฟฟ้า และงานประกอบอ่ืนอา้ งอิงรูปภาพhttp://www.sirikitdam.egat.com/index.php/dam/2013-05-15-07-41-45 10

11 สภาพแวดล้อมในบรเิ วณเข่ือนสริ ิกติ ิ์ประโยชน์ของโครงการ : 1. การชลประทาน นา้ จากอ่างเก็บน้าจะถูกปลอ่ ยออกไปยงั พ้นื ทีเ่ พาะปลูก ในที่ราบสองฝงั่ แมน่ ้า น่านกบั พน้ื ท่ีทุง่ เจา้ พระยาท้ังในฤดูฝนและฤดแู ล้ง ในปรมิ าณทไ่ี ดม้ กี ารตกลง รว่ มกนั ไวก้ ับกรม ชลประทาน 2. การบรรเทาอทุ กภยั อา่ งเกบ็ น้าจะช่วยเกบ็ กกั น้าทอ่ี าจจะไหลบ่าลงมาช่วยบรรเทาการเกดิ อุทกภัยในทุ่งราบสองฝั่ง แมน่ ้านา่ น ตลอดจนทงุ่ เจา้ พระยาลงมาถงึ กรุงเทพมหานคร 3. การผลติ กระแสไฟฟ้า น้าท่ปี ลอ่ ยออกไปเพ่อื การชลประทานจะผ่านเครื่องกาเนดิ ไฟฟ้าทง้ั 4 เคร่ือง ใหพ้ ลงั งานไฟฟา้ 500,000 กโิ ลวัตต์ ช่วยเสริมระบบไฟฟา้ ของประเทศใหม้ ่ันคงยิ่งข้ึน 4. การประมง การไฟฟา้ ส่วนผลิตแห่งประเทศไทย ไดน้ าพนั ธ์ปุ ลาน้าจืดหลายชนิดปล่อยลงอ่างเกบ็ น้าเป็นจานวนมากทาให้กลายเปน็ แหล่งประมงนา้ จดื ขนาดใหญช่ ่วยเสรมิ รายไดใ้ หก้ ับราษ ฎร บริเวณใกลเ้ คียง 5. การคมนาคมทางนา้ ชว่ ยให้การคมนาคมทางน้าบรเิ วณเหนือเข่อื นไปยังจังหวัดนา่ นสะดวก และ ใช้งานไดต้ ลอดปี 6. การทอ่ งเท่ียว เข่ือนสริ ิกิติ์มีทวิ ทศั นท์ ีส่ วยงามโดยเฉพาะในฤดูหนาว ความเงียบสงบของ บรรยากาศ ประกอบกับพชื พนั ธ์ุไมท้ ีง่ ามสะพร่งั เปน็ เสน่ห์ดงึ ดูดใจนักท่องเท่ียวใหไ้ ปเยอื นไมข่ าด สาย ประโยชน์หลกั ของเขื่อนสริ กิ ิต์ิอ้างอิงรูปภาพ 11http://avilabeachconcerts.com/http://www.vcharkarn.com/varticle/42799

12 โครงการเข่อื นรัชชประภาทต่ี ้งั ของโครงการ : บา้ นเชีย่ วหลาน ตาบลเขาพงั อาเภอบ้านตาขุน จังหวัดสรุ าษฎร์ธานีที่มาของโครงการ : เขือ่ นรัชชประภาเป็นเข่อื นอเนกประสงค์ ท่สี าคญั แหง่ หนง่ึ ในภาคใต้ สรา้ งขึ้นเพ่ือมาพฒั นาแหลง่ น้าและพลงั งานไฟฟ้าตามแผนพฒั นาเศรษฐกิจ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 4 ซึง่ อานวยประโยชนใ์ นดา้ นเศรษฐกจิสังคม และความม่ันคงของประเทศ โดยไดร้ ิเร่มิ มาจากพระมหากรณุ าธคิ ณุ ของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั ทรงเป็นผูร้ ิเรมิ่ การสร้างเขือ่ นรชั ชประภาการพฒั นาพลงั งานและแหลง่ น้าพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงสนพระราชฤทัยเกยี่ วกบั งานพัฒนาแหลง่ น้าเพ่ือการผลติ ไฟฟ้าใหแ้ กร่ าษฎรในท้องถ่นิ ทุรกนั ดารทีอ่ ยู่หา่ งไกล ซง่ึ ถ้าจะต่อไฟฟา้ เขา้ ตามระบบปกติจะมคี า่ ใชจ้ า่ ยสูงมาก จึงได้พระราชทานพระราชดาริ แก่หน่วยงานทเ่ี กีย่ วข้องพิจารณาวางโครงการพฒั นาแหล่งน้า และผลิตไฟฟ้าไปพร้อมๆกัน ซงึ่ โดยท่ัวไปจะเปน็ การผลติ ขนาดเลก็ ไดก้ ระแสไฟฟ้าไมม่ ากแต่มปี ริมาณเพยี งพอใช้ในหมบู่ ้าน โดยน้าทผ่ี ่านการผลิตไฟฟ้าจะเขา้ สรู่ ะบบชลประทานเพอื่ การเกษตร อปุ โภค บรโิ ภคต่อไป ทุกครั้งที่พระองค์เสดจ็ พระราชดาเนินไปทรงประกอบพธิ เี ปดิ เข่อื น หรือเสดจ็ พระราชดาเนินไปทรงเย่ยี มโครงการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยพระองคท์ รงสอบถาม และเสนอแนะวา่ จดุ ไหนควรไดร้ ับการพฒั นาให้ไดป้ ระโยชน์เพิ่มข้ึนนบั เป็นจุดเร่ิมตน้ ของการดาเนนิ การโครงการพัฒนาพลังงาน และแหลง่ น้านบั สบิโครงการทั่วทุกภมู ิภาคของประเทศท่กี ารไฟฟา้ ฝ่ายผลติ แหง่ ประเทศไทยได้ดาเนินการเพื่อเสนอพระราชดาริเข่ือนรัชชประภาเรม่ิ ดาเนินการก่อสร้าง เม่อื วันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2525 แลว้ เสร็จในเดอื น กนั ยายน พ .ศ.2530เข่อื นรชั ชประภาแห่งนก้ี ็เป็นเขอ่ื นหน่ึงทไ่ี ดร้ บั พระมหากรณุ าธคิ ุณทที่ รงเสดจ็ พระราชดาเนนิ พร้อมสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯสยามบรมราชกุมารี มาทรงประกอบพิธเี ปดิ เขือ่ นอยา่ งเปน็ ทางการเมอ่ื วนั ท่ี 30กันยายน 2530 และทรงพระราชทานนามเข่อื นวา่ \"เขื่อนรัชชประภา\" ซึ่งเป็นโครงการหน่งึ ที่รัฐบาลสรา้ งถวายในวโรกาสพระราชพธิ มี งคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ หรือพิธรี ชั มงั คลาภิเษกและไดอ้ านวยประโยชน์ในดา้ นตา่ งๆให้แก่ประชาชน และประเทศชาติมาจนถึงหนงึ่ ทศวรรษอ้างองิ รูปภาพ 12http://rpb.egat.com/index.php/2017-03-21-09-30-04/2014-07-08-01-08-55

13ลักษณะของโครงการ: ทิวทศั นใ์ นเขตบรเิ วณเขือ่ นรัชชประภา เขอื่ นรชั ชประภา เป็นเข่อื นสรา้ งปิดกั้นลานา้ คลองแสงทบ่ี ้านเช่ืยวหลาน ต .เขาพงั อ.บ้านตาขนุ จ.สุราษฎรธ์ านี เปน็ เข่อื นหนิ ถมแกนดินเหนียว สูง 94 เมตร ความยาวสนั เขอ่ื น 761 เมตร มเี ข่อื นปดิ กั้นช่องเขาอีก 6 แห่ง อยบู่ นฝั่งซ้ายของแม่นา้ 1 แหง่ และฝ่ังขวาของแม่น้า 5 แหง่ อ่างเกบ็ นา้ มคี วามจุ 5,639 ล้านลูกบาศก์เมตร พนื้ ท่ีอา่ งเกบ็ นา้ 185 ตารางกโิ ลเมตร ปริมาณนา้ ไหลเข้าอา่ งเฉล่ยี ปีละ 3,057 ลา้ นลูกบาศก์เมตร โรงไฟฟา้ อาคารโรงไฟฟา้ ตงั้ อย่บู นฝั่งขวาของลาน้าคลองแสง เปน็ อาคารคอนกรตี เสริมเหลก็ ตดิ ตง้ัเคร่ืองผลติ ไฟฟา้ เคร่ืองละ 80,000 กิโลวตั ต์ จานวน 3 เคร่ือง รวมกาลังผลิต 240,000 กิโลวตั ต์ ให้พลงั งานไฟฟ้าเฉล่ียปลี ะประมาณ 554 ลา้ นกิโลวัตตช์ ่วั โมง ลานไกไฟฟา้ ตัง้ อย่บู นฝง่ั ซา้ ยของแมน่ า้ หา่ งจากโรงไฟฟา้ ประมาณ 100 เมตร ทาหนา้ ทสี่ ง่ พลังไฟฟา้จากโรงไฟฟ้าด้วยสายสง่ ไฟฟ้า ขนาด 230 กโิ ลโวลตว์ งจรคู่ไปยังสถานไี ฟฟา้ แรงสูงสุราษฎรธ์ านี ระยะทาง 50กโิ ลเมตร และ ขนาด 115 กิโลโวลต์วงจรคไู่ ปยงั สถานีไฟฟ้าแรงสงู พังงา ระยะทาง 82 กโิ ลเมตร โรงไฟฟ้าและลานไกไฟฟา้ ของเขื่อนรชั ชประภาอา้ งอิงรูปภาพhttp://www.chiewlarnontour.com/เขื่อนเชี่ยวหลาน-เข่ือนรัชชประภา-จงั หวดั สุราษฏร์ธานี 13

14ประโยชน์ของโครงการ : เข่อื นรชั ชประภาเป็นแหลง่ พักผ่อนหย่อนใจของนักทอ่ งเทยี่ ว1. ด้านการชลประทาน เม่อื มีการปรบั ปรุงระบบชลประทานเสริมแลว้ นา้ ที่ปล่อยจากเข่อื นรชั ประภาจะเปน็ ผลดีต่อการเพาะปลกู พืชฤดแู ล้ง และทานาปรังของราษฎร ในอาเภอบ้านตาขุน อาเภอครี รี ัฐนคิ ม และอาเภอพนุ พิน ซึ่ง อยบู่ ริเวณสองฝ่ังแม่นา้ ด้านทา้ ยน้า2. การบรรเทาอทุ กภัย การกกั เก็บนา้ ในฤดฝู นจะช่วยลดความรนุ แรงของภาวะนา้ ท่วมในพืน้ ท่ี ตอนล่างได้เป็นอย่างดี3. การเจือจางน้าเสียและผลกั ดันน้าเค็ม สภาพน้าน้อยของลาน้าตาปี - พุมดวง ในหน้าแลง้ ทาใหเ้ กิด ภาวะนา้ เนา่ เสียได้ง่าย ขณะเดียวกันทป่ี ากแม่นา้ ก็จะมนี า้ เคม็ รุกล้าลึกเขา้ มาตามลานา้ จากเขื่อน รชั ประภาจะถกู ปล่อยออกไปเจอื จางน้าเสยี และตา้ นทานการรกุ ลา้ ของน้าเคม็ ทป่ี ากแมน่ ้าได้ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ4. การประมง อ่างเก็บน้าเขอ่ื นรัช ชประภาเป็นแหลง่ ประมงนา้ จดื ทสี่ าคัญทารายไดใ้ ห้กบั ราษฎรที่ อยูบ่ ริเวณโดยรอบอ่างเกบ็ น้า สามารถจับปลาได้ เฉล่ียวนั ละ 2 ตัน คิดเป็นมูลค่าปีละประมาณ 5 ล้านบาท5. การท่องเท่ียว ทศั นยี ภาพโดยรอบบรเิ วณเขือ่ นและอา่ ง เก็บน้าสวยสดงดงามและสงบรม่ รื่นดึงดดู ให้นกั ทอ่ งเทย่ี วเดนิ ทางไปเยี่ยมชมกันอยตู่ ลอดเวลา ปีละกวา่ 150,000 คน6. การผลิตไฟฟ้า น้าท่ีปล่อยผ่านเคร่ืองผลิตไฟฟา้ เพื่อสง่ ให้เกษตรกรทา้ ยนา้ สามารถผลิตพลังไฟฟา้ ได้ 240,000 กโิ ลวตั ต์ให้พลังงานไฟฟ้าเฉลย่ี ปีละ 554 ลา้ นกิโลวัตต์ช่วั โมง ชว่ ยเสริมให้ระบบ ไฟฟ้าในภาคใต้มคี วามมนั่ คงยิ่งขึ้น ประโยชน์ในด้านต่างๆของเขือ่ นรชั ชประภาอา้ งอิงรูปภาพhttp://www.thailovetrip.com/view.php?id_view=315 14

15 โครงการเขื่อนภูมิพลทต่ี ้งั ของโครงการ : ตาบลเขาแกว้ อาเภอสามเงา จังหวดั ตากทม่ี าของโครงการ : 1. ความขาดแคลนพลงั งานไฟฟ้า เม่อื สงครามโลกคร้ังที่ 2 ยุตลิ ง ประเทศไทยได้ประสบปัญหาความขาดแคลนพลังงานไฟฟา้ เป็นอย่างมาก เพราะโรงจกั รไฟฟ้าที่มอี ยู่ในกรุงเทพมหานคร รวมทงั้ ในบางจังหวัดได้ถกู ระเบิด เสียหายในระหว่างสงครามโลก นอกจากน้ี ความต้องการพลงั งานไฟฟา้ ของประชาชนก็มมี ากข้นึ เพราะได้มีการใช้พลังงานไฟฟา้ บางประเภท เครอ่ื งปรับอากาศ เตารีดไฟฟ้า เครือ่ งหงุ ตม้ ไฟฟ้า ฯลฯ เพม่ิ มากข้นึ แม้รัฐบาลจะได้ซอ่ มแซมโรงจกั รไฟฟ้าไอนา้ ที่ถกู ระเบิดเสียหายระหว่างสงคราม และตดิ ตงั้ เคร่ืองกาเนิดไฟฟา้ เพิม่ ข้นึ แล้วก็ยงั ไมเ่ ปน็ ท่เี พียงพออยดู่ ี 2. แนวความคดิ ในการแกไ้ ขปัญหาความขาดแคลนพลงั งานไฟฟ้า เม่ือมคี วามขาดแคลนพลงั งานไฟฟ้าเกดิ ขึ้น รฐั บาลจงึ ได้พิจารณาโครงการผลิตไฟฟ้าให้ ได้มากเพียงพอแกค่ วามต้องการของประชาชน โดยใช้ต้นทุนการผลติ ทตี่ ่าให้ตา่ ทีส่ ุด ซงึ่ รัฐบาล พจิ ารณาแล้วเหน็ ว่า ประเทศไทยเรามีแมน่ ้าอยูห่ ลายสาย และในปีหน่ึง ๆ น้าได้ไหลสทู่ ะเลเป็น จานวนมาก ถา้ จะสร้างเขอื่ นขนาดใหญ่และโรงไฟฟา้ ขวางแมน่ า้ ก็จะสร้างไดห้ ลายแหง่ และ ต้นทุนในการผลติ จะต่ากว่าการตดิ ตงั้ เครอื่ งกาเนิดไฟฟ้าทขี่ บั ด้วยเครื่องกังหันไอน้า หรือ เครอ่ื งยนตด์ เี ซล โดยความจรงิ แลว้ โครงการไฟฟ้าพลงั งานน้าน้เี คยคิดกนั มาก่อนแล้วในรัชสมัย ของพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอย่หู ัว กล่าวคือ พลเอก พระเจา้ บรมวงศ์เธอกรมพระ กาแพงเพชรอคั รโยธิน ไดท้ รงเหน็ ว่า ถ้ามีการเกบ็ กักนา้ และนามาผลติ พลงั งานไฟฟ้า แทนการนา ไมห้ รอื น้ามันมาเป็นเชือ้ เพลิง ใช้ในการผลติ พลงั งานไฟฟ้าดงั ทเ่ี ปน็ อยูใ่ นขณะนนั้ ก็จะเป็น ประโยชน์แกป่ ระเทศชาติเปน็ อันมาก จงึ ทรงว่าจ้างผู้เช่ียวชาญชื่อ Mr.Hagrup มาพิจารณาหา แหล่งผลิตไฟฟ้าด้วยพลังน้า งานชน้ิ น้มี ไิ ดก้ ้าวหน้าไปเลยเน่ืองจากภาวะทางเศรษฐกิจหลัง สงครามโลกครั้งท่ี 1 และความผวนทางการเมอื งตอ่ มาในปี 2482จอมพล ป.พบิ ลู สงคราม นายกรัฐมนตรใี นสมัยนน้ั ไดห้ ยิบยกเอาเรอ่ื งการผลิตพลังงานไฟฟ้าด้วยกาลังน้าตาม รายงานของ Mr.Hagrup ซ่ึงมอี ย่หู ลายโครงการมาพิจารณาอีก และตกลงเลือกเอาโครงการแม่นา้ แม่กลองเปน็ อันดับแรกเพราะอยู่ใกล้กรุงเทพมหานครและเหน็ ว่าท่แี กง่ เรียงมีสภาพหินดีพอจะ 15

16 สรา้ งเข่ือนได้ ขณะทกี่ าลังพจิ ารณารายละเอยี ดทจ่ี ะดาเนินการต่อไป กเ็ กดิ สงครามโลกครัง้ ท่ี 2 เสียก่อน โครงการน้จี ึงต้องระงบั ไป3. โครงการไฟฟ้าพลังน้ายนั ฮี ในปี พ.ศ.2491 รฐั บาลไดน้ าเอาโครงการกอ่ สร้างไฟฟา้ พลงั นา้ แกง่ เรียง จังหวดั กาญจนบุรี มาพิจารณาอกี เปน็ ครงั้ ที่ 2 ได้จัดทารายงานเสนอธนาคารโลกเพ่ือพิจารณาขอกเู้ งิน แต่สถติ ิ เก่ียวกับอุทกวทิ ยาและภูมิประเทศมีไม่พอใหธ้ นาคารโลกพิจารณา รัฐบาลจงึ มองให้กรม ชลประทานเป็นผดู้ าเนินการ จึงได้เชญิ ผู้เช่ยี วชาญสาขาต่าง ๆ มาร่วมกนั พจิ ารณาเลือกหาที่ตงั้ เขือ่ นในภาคใดภาคหนึ่ง ทีซ่ ่งึ จะมสี ถิตทิ างอุทกวทิ ยาเพยี งพอทีจ่ ะดาเนินการต่อไปได้ หลังจาก พิจารณากนั แล้ว ไดเ้ หน็ วา่ โครงการแกง่ เรียงไมเ่ หมาะสมทจ่ี ะสร้างเพราะกาลงั ไฟฟ้าท่ไี ด้น้นั ไม่ เพียงพอ แมจ้ ะจา่ ยให้แกก่ รุงเทพมหานครเพยี งจังหวัดเดียวจึงไดเ้ ดินทางไปตรวจหาท่แี หง่ ใหม่ ทางภาคเหนือเพราะกรมชลประทานมีสถิติในด้านการสารวจภูมิประเทศและในด้านการสารวจ ทางธรณีวทิ ยา ของแม่น้าปิง วงั ยม น่าน อย่างเพียงพอ ในทสี่ ดุ กเ็ ห็นควรสรา้ งเขื่อนบนแมน่ ้าปงิ ทีเ่ ขายนั ฮี จังหวดั ตาก เป็นอันดับแรก เพราะสามารถผลติ กาลังไฟฟา้ ไดม้ ากพอแกค่ วามตอ้ งการ ของกรงุ เทพมหานคร รวมทง้ั จงั หวดั อืน่ ๆ ในภาคเหนอื และภาคกลางของประเทศได้ นอกจากน้ี ยงั เปน็ โครงการอเนกประสงค์ คือ ชว่ ยการชลประทาน การคมนาคมทางน้า และปอ้ งกนั อทุ กภยั ไดอ้ ีกด้วย จึงเสนอกระทรวงเกษตรเพ่ือพิจารณา กระทรวงเกษตรได้พจิ ารณาแล้วเห็นชอบดว้ ย จงึ ไดน้ าเสนอคณะรฐั มนตรีตอ่ ไป คณะรฐั มนตรเี ห็นชอบตามทก่ี ระทรวงเกษตรเสนอ และได้ออก ประกาศพระราชกฤษฎีกามอบให้กรมชลประทานจดั ดาเนนิ การก่อสรา้ งโครงการน้เี มอ่ื พ.ศ.24964. การกอ่ สรา้ ง โครงการเขอื่ นภมู ิพลเร่มิ งานโดย การสารวจภมู ิประเทศ สารวจอทุ กวทิ ยา และสารวจ ธรณีวิทยาเพ่มิ เติม หลงั จากน้ันใหก้ รมชลประทาน มีหน้าทร่ี ับผดิ ชอบในการกอ่ สร้างโครงการ เขอ่ื นภมู ิพลโดยเริ่มจากการ สร้างตัวเขอ่ื น โรงไฟฟ้า สายสง่ และตดิ ตั้งเครอ่ื งกาเนิดไฟฟา้ ซึ่งได้ เรม่ิ การกอ่ สร้างต้ังแตป่ ี พ.ศ.2501 และเสรจ็ ส้นิ สมบรู ณ์ลงในปี พ.ศ. 2507 ส้ินค่ากอ่ สรา้ งเป็นเงิน รวม 2,250 ล้านบาท โดยสามารถผลิตกระแสไฟฟา้ จาหนา่ ยให้แกป่ ระชาชนตงั้ แต่ภาคเหนือและ ภาคกลางลงไปถงึ จังหวดั เพชรบรุ ี รวม ทัง้ หมด 36 จงั หวัด 16

17ลักษณะของโครงการ :1. เป็นเขื่อนคอนกรตี รูปโคง้ ทใ่ี หญ่และสงู ที่สุดในเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้2. ติดตง้ั เครื่องผลิตไฟฟ้า จานวน 8 เครอื่ ง3. มหี ลักการผลิตกระแสไฟฟ้า คอื จะใชแ้ รงดันนา้ ที่กกั เกบ็ ในอ่างเก็บน้า มาดนั ใหก้ ังหันนา้ หมนุ โดยกังหันน้าซ่ึงเป็นตัวต้นกาลังตอ่ เช่ือมกับสว่ นทีห่ มนุ ของเคร่ืองกาเนดิ ไฟฟ้าด้วยแกน shaft ในแนวต้งั ทาใหส้ ่วนทีห่ มนุ หมนุ ตามด้วยความเรว็ รอบทเี่ ท่ากนั กบั กังหนั น้า เมือ่ ป้อนไฟฟา้กระแสตรงเพื่อกระตนุ้ ใหข้ ดลวดของสว่ นทหี่ มุนหมนุ จะเกดิ สนามแมเ่ หลก็ ไฟฟ้าขน้ึ เมือ่สนามแมเ่ หลก็ หมนุ ตัดกับขดลวดแรงดันไฟฟ้ากจ็ ะถกู สรา้ งข้ึนท่รี ะดับ ๑๓ ,๘๐๐ โวลต์ และแปลงแรงดันไฟฟา้ ให้สงู ขนึ้ ไปทีร่ ะดบั ๒๓๐,๐๐๐ โวลต์ ด้วยหม้อแปลงแรงดันไฟฟา้ กอ่ นทีจ่ ะส่งไฟฟา้ ท่ีผลติ ได้เขา้ ระบบไฟฟ้าของประเทศ ลักษณะบริเวณโดยรอบของเขือ่ นภมู พิ ลประโยชน์ของโครงการ :1. ผลิตไฟฟา้ ได้ ๗๗๙.๒ เมกกะวัตต์ จ่ายไปยงั 36 จงั หวดั2. ใชเ้ ปน็ การคมนาคมทางนา้ - ลอ่ งจากนครสวรรคถ์ ึงเขื่อน - ลอ่ งจากเขอ่ื นถึงเชียงใหม่3. ใชเ้ ปน็ แหลง่ พักผอ่ นหย่อนใจ และเป็นแหล่งเพาะพนั ธุ์สัตว์นา้4. บรรเทาอทุ กภยั ในบรเิ วณลุ่มแมน่ า้ ปงิ และร่วมกบั เขอื่ นสิรกิ ติ ์ิ บรรเทาอุทกภัยในทุ่งเจ้าพระยา5. สนองความตอ้ งการของประชาชนในด้านการชลประทานทงั้ อุปโภคบรโิ ภค และ การเพาะปลูกอา้ งอิงรูปภาพhttp://www.balanceenergythai.com/bhumibol-bangor/ 17

18 บทท่ี 3 วธิ ีการจดั ทาโครงงานวัสดแุ ละอปุ กรณ์วสั ดแุ ละอปุ กรณท์ ่ใี ชใ้ นการจดั ทาโครงงานไดแ้ ก่1. หนังสอื อา้ งองิ โครงการเข่ือนแควน้อย บารุงแดน/ เขอื่ นป่าสักชลสิทธ์ิ / เขอ่ื นสิรกิ ติ ิ์ / เขื่อนรัชชประภา / เขื่อนภมู ิพล และ ข้อมลู ออนไลนข์ องโครงการเข่อื นตา่ งๆดงั กลา่ ว2. Microsoft Office Word 2007, Microsoft Office PowerPoint 2007วธิ ีการจดั ทาโครงงาน การจดั ทาโครงงานช้ินนี้จดั ทาโดยการค้นคว้าขอ้ มลู แบบเอกสารท้งั จากท่เี ปน็ หนงั สือและแบบทเี่ ป็นเอกสารออนไลน์ โดยจะมลี ักษณะของขอ้ มลู ที่นา่ เช่ือถือเน่อื งจากผู้เขียนมีความสัมพันธ์โดยตรงกับขอ้ มลู ทเ่ี กิดการถา่ ยทอดออกมา คอื มกี ารปฏบิ ตั ิงานหรือมอี าชีพที่เก่ียวข้องกบั สงิ่ ทเ่ี ขียนออกมา หลงั จากไดข้ ้อมลู มาก็นาขอ้ มลู ที่ไดม้ ารวบรวมแลว้ คดั กรองเอาเฉพาะขอ้ มูลที่มคี วามสัมพันธ์กบั ประเด็นท่ตี อ้ งการนาเสนอ ต่อมากน็ าขอ้ มลู ท่ีได้นั้นมาประเมนิ และวเิ คราะห์ โดยมีวิธีการคอื นาขอ้ มลู ทีม่ เี นือ้ ความสมั พนั ธต์ อ่ เนอื่ งกนั มาวางต่อกนัและจัดเรยี งลาดบั ตามความสาคญั ของขอ้ มลู จากนน้ั ก็นาขอ้ มลู ท่ีได้มาทาเป็นรปู เล่มรายงาน และนามาทาการสงั เคราะห์เพอ่ื นาเสนอหน้าชนั้ เรยี นแผนการปฏิบตั ิงานวางแผน และแบง่ งานกันในกลมุ่ (แบง่ เปน็ 2 ฝา่ ยคอื รูปเลม่ และ นาเสนอ ) 1 พ.ย. 2560สารวจและรวบรวมขอ้ มลู ตามประเดน็ ท่ีต้องการนาเสนอ 2-4 พ.ย. 2560นาข้อมลู ที่ได้มาประเมนิ และวิเคราะหผ์ ล 6 พ.ย. 2560จดั เรียงข้อมลู ใส่ในรปู เลม่ รายงาน 7-12 พ.ย. 2560นาขอ้ มลู ที่ได้มาสังเคราะหแ์ ละนามาทาเป็น Power Point 14-18 พ.ย. 2560นาเสนอขอ้ มูลหน้าช้ันเรยี น 29 พ.ย. 2560 18

19 บทที่ 4 ผลการศกึ ษาค้นควา้ จากการศกึ ษาเร่ืองโครงการเข่ือนตา่ งๆ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวภมู ิพลอดุลยเดชฯ ในการจดั ทาโครงงานครง้ั น้ี คณะผู้จดั ทาไดท้ ราบข้อมลู เก่ยี วกับโครงการของเข่ือนต่างๆ ไม่ว่าจะเปน็ บรเิ วณท่ีตงั้ประวตั ิความเป็นมา ลกั ษณะของโครงการและประโยชน์ อีกทั้งยงั รู้สกึ สานกึ ในพระมหากรุณาธคิ ณุ อย่างหาท่ีสดุ ไม่ได้ ซ่งึ ทางคณะผู้จัดทาศึกษาโครงการเขอ่ื น 5 แห่ง ไดแ้ ก่ โครงการเข่อื นแควนอ้ ยบา รุงแดน โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ โครงการเขอ่ื นสริ ิกติ ิ์ โครงการเขื่อนรชั ชประภา และโครงการเข่อื นภมู พิ ล โครงการเขื่อนแควน้อยบารุงแดน มีหัวงานอยู่ในเขตปฏิรปู ที่ดินเพ่อื เกษตรกรรมและป่าสองฝ่งั ลานา้ แควน้อยบริเวณบา้ นปากพาน หม่ทู ่ี6 บ้านเขาหนิ ลาด ต.คันโชง้ อ.วัดโบสถ์ จ.พิษณุโลกเมอ่ื วนั ที่ 25 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ.2525 พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ฯ ไดเ้ สด็จพระราชดา เนนิ ทรงเปิด เขอ่ื นนเรศวร และทรงเย่ียมราษฎร ณ บรเิ วณเขอื่ นนเรศวร บ้านหาดใหญ่ ตาบลพรหมพริ าม อาเภอพรหมพิราม จงั หวดั พิษณุโลก ได้พระราชทานพระราชดารเิ กย่ี วกบั งานชลประทาน เพอ่ื จัดหาน้าให้ราษฎรหมู่บา้ นตา่ งๆ นอกเขตชลประทานทุ่งสาน ทาใหส้ ามารถ มีนา้ ทาการเพาะปลูกไดท้ ง้ั ในฤดฝู น-ฤดูแลง้ มีน้าเพอ่ื การอปุ โภคบรโิ ภคดงั กลา่ วตลอดปี และช่วยบรรเทาอุทกภยั สาหรับพ้ืนที่เพาะปลูกในบริเวณตอนเหนอื ของทงุ่ สาน พจิ ารณาวางโครงการและกอ่ สร้างเขือ่ นเก็บกักน้าแควนอ้ ย ในเขตอาเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพษิ ณุโลกใหเ้ กบ็ กกั น้าไวอ้ ยา่ งเตม็ ท่เี พอ่ื การบรรเทาอุทกภยั ในเขตลุม่ น้าแควน้อยตอนลา่ ง และจัดหาน้าสนับสนุนโครงการชลประทานพษิ ณโุ ลก และโครงการชลประทานเจ้าพระยาใหญ่ให้ไดผ้ ลอยา่ งสมบูรณ์ต่อไป ซง่ึ การพลงั งานแหง่ ชาตกิ าลังศึกษาและจดั ทารายงานความเหมาะสมของโครงการอยู่และจะไดด้ าเนนิ การก่อสร้างตอ่ ไป พจิ ารณาวางโครงการและก่อสรา้ งอา่ งเกบ็ นา้ ตามลานา้ สาขาต่างๆ ของแควนอ้ ยตอนล่าง บริเวณท้ายเข่ือนเก็บกักน้าแควน้อย เพอื่ จดั หาน้าให้ราษฎรหมบู่ า้ นตา่ งๆ ในเขตอาเภอวดั โบสถ์จังหวดั พษิ ณโุ ลก สามารถทาการเพาะปลกู ไดต้ ลอดปี และยงั ช่วยบรรเทาอทุ กภัยแกพ่ ืน้ ที่เพาะปลูกบริเวณทา้ ยอ่างเกบ็ นา้ ตา่ งๆ อีกดว้ ย โครงการเขื่อนแควนอ้ ยอันเน่อื งมาจากพระราชดาริ มีเป้าหมายหลกั เพอื่ แก้ไขปญั หาอุทกภัยโดยเฉพาะในเขตพืน้ ทีจ่ งั หวดั พิษณโุ ลกและจงั หวดั ใกลเ้ คียง รวมถึงยงั จะเปน็ แหลง่ นา้ สนบั สนุนให้กับพื้นที่ชลประทานฝง่ั ซ้ายและฝง่ั ขวาของแมน่ า้ แควน้อย สง่ น้าเสริมใหก้ ับพ้ืนที่ เพาะปลกู ของโครงการเจ้าพระยาใหญ่เปน็ แหล่งนา้ ใช้ในการเกษตร การอุปโภคบริโภค นอกจากนี้ยังได้สรา้ งเขือ่ นทดน้าพญาแมน เพอ่ื ช่วยยกระดับน้าเขา้ คลองชลประทาน สง่ นา้ ช่วยเหลือพ้นื ที่การเกษตร 4 อาเภอของ จังหวัดพิษณโุ ลก 19

20 โครงการเขื่อนแควนอ้ ยบารงุ แดนอยู่ในเขตพ้นื ทีอ่ นรุ ักษ์และพ้ืนที่ป่าสงวนแหง่ ชาติเป็นเขอื่ นหินท่ีมีลักษณะทิง้ ดาดคอนกรตี มหี นา้ ท่ีกักเกบ็ นา้ จากแม่นา้ แควน้อยโครงการ เข่อื นแควน้อยบารุงแดนมปี ระโยชน์หลากหลายด้าน เชน่ บรรเทาอทุ กภัยโดยเฉพาะบริเวณพนื้ ทีล่ ุม่ น้าแมน่ า้ แควนอ้ ยตอนลา่ งเป็นแหล่งน้าสนับสนนุ พนื้ ที่ชลประทานบรเิ วณฝ่งั ซา้ ยและขวาของแควน้อย สง่ น้าเสริมให้กับพน้ื ทีก่ ารเพาะปลูกในฤดูแลง้ของโครงการชลประทานเจ้าพระยา ราษฎรในเขตโครงการมีน้าใช้สาหรบั การอปุ โภคบรโิ ภค เสริมสร้างอาชีพจากผลผลิตปลาในอ่างเกบ็ น้า เปน็ แหลง่ ท่องเที่ยว เปน็ แหล่งเพาะพนั ธป์ุ ลาน้าจดื และ เปน็ แหล่งผลิตกระแสไฟฟา้ โครงการเข่ือนป่าสักชลสทิ ธ์ิ ตง้ั อยทู่ ี่ ต.หนองบัว อ.พฒั นานิคม จ.ลพบุรี และ ต.คาพราน อ.วังมว่ ง จ.สระบุรีผคู้ นในพ้นื ท่ีภาคกลางประสบ ปญั หาน้าทว่ มสลับกบั น้าแล้งเปน็ ประจาแล ะไดน้ าความสูญเสียมาสู่เกษตรกรอย่างมหาศาลพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ วั ฯพระราชทานแนวพระราชดารใิ หส้ ร้างอ่างเกบ็ นา้ ข้ึน 2 แห่ง คอื แมน่ ้าป่าสักและแม่นา้ นครนายก เพอื่ จะไดม้ ีแหล่งต้นทุนนา้ ชลประทานสาหรับใช้ในฤดแู ล้งและขณะเดยี วกันก็ช่วยบรรเทาอุทกภัยในบรเิ วณลุม่ นา้ ป่าสักและลมุ่ น้าเจา้ พระยาตอนล่างดว้ ย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัวไดท้ รงพระกรณุ าพระราชทานนามเขอ่ื นนวี้ า่ \"เขอื่ นปา่ สักชลสิทธ์ิ\" อนั หมายถงึ เขื่อนแม่นา้ ปา่ สกั ที่เกบ็ กักน้าได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ เขอื่ นปา่ สักชลสิทธ์ิ มีลกั ษณะเป็นเขอื่ นดินท่ียาวทส่ี ุดในประเทศไทย เปน็ โครงการชลประทานขนาดใหญ่ ซึง่ ภายในจะมอี าคารประกอบ ได้แก่ อาคารระบายนา้ ล้น อาคารท่อสง่ น้าลงลาน้าเดิมอาคารท่อระบายน้าฉุกเฉิน โครงการเข่ือนป่าสักชลสิทธม์ิ หี ลากหลายด้าน เช่น เป็นแหล่งนา้ ถาวรเพือ่ การอปุ โภคบรโิ ภค เปน็แหลง่ น้าเพอ่ื การเกษตรสาหรับพนื้ ท่ชี ลประทานทีจ่ ะเกิดใหม่ในเขตจังหวดั ลพบรุ ี และจงั หวัดสระบุรีเป็นแหล่งนา้ เสริมสาหรับพ้นื ท่โี ครงการชลประทานเดมิ ในทุง่ เจา้ พระยาฝัง่ ตะวันออกตอนล่างช่วยบรรเทาอทุ กภยั เปน็แหล่งน้าเพ่อื การอตุ สาหกรรมเป็นแหลง่ ประมงนา้ จืดขนาดใหญ่ เปน็ แหลง่ นา้ เสรมิ เพ่ือแกป้ ญั หาขาดแคลนนา้ อปุ โภคบรโิ ภคในเขตกรุงเทพมหานครและเปน็ แหล่งทอ่ งเท่ยี วที่สาคญั โครงการเขอื่ นสิริกิต์ิ ตง้ั อย่ทู ี่ บ้านผาซอ่ ม ต.ท่าปลา อ.ท่าปลา จ.อตุ รดิตถ์พ้ืนทร่ี าบลมุ่ แมน่ ้าน่านเหมาะแกก่ ารเกษตรกรรมเปน็ อย่างย่ิง ซ่งึ แต่กอ่ นมกั ถกู นา้ ท่วมเป็นประจา เพราะไม่มีระบบควบคุมน้า รัฐบาลจึงไดม้ ีการวางแผนพฒั นาลุ่มนา้ น่านข้ึนมา 3 ระยะ คอื ระยะที่ 1 กอ่ สร้างเขื่อนสริ กิ ิตขิ์ ึน้ เพอื่ กกั เก็บนา้ ไวใ้ นอา่ งสาหรับประโยชน์ ทางดา้ นการชลประทานและการผลิตกระแสไฟฟ้า 20

21 ระยะที่ 2 กอ่ สรา้ งเข่อื นนเรศวรขึ้นที่บา้ นหาดใหญ่ อ.พรหมพิราม จ.พิษณโุ ลก เป็นเขือ่ นทดน้า พร้อมทัง้ กอ่ สร้างระบบสง่ น้าสาหรบั พื้นท่ีสองฝ่งั ใน 4 อาเภอของจงั หวัดพิษณโุ ลก กบั 4 อาเภอในจังหวดั พิจติ ร ระยะท่ี 3 ก่อสร้างเขอื่ นอตุ รดิตถ์ท่บี ้านผาจุก อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์ เพอ่ื ทดน้าและมีระบบสง่ น้าสาหรบัพน้ื ท่ีสองฝั่ง ของ 4 อาเภอใน จังหวัดอตุ รดติ ถ์ 5อาเภอใน จงั หวดั พษิ ณุโลกโครงการ ระยะท่ี 3 น้ี ยังไม่ได้ดาเนนิ การ แผนพฒั นาลุ่มน้านา่ นนี้ เปน็ การวางแผนท่ีจะนาน้ามาใช้ให้เป็นประโยชนอ์ ยา่ งเตม็ ท่ี จึงไดว้ างแผนใหเ้ กี่ยวโยงกนั ท่วั ลุม่ นา้ คอื ตั้งแต่ตน้ น้าจนถงึ ปลายนา้ กาหนดระบบวธิ ีจัดเกบ็ และ การใชน้ ้าให้เกดิ ประโยชน์หลายๆอยา่ ง รวมทั้งไดก้ าหนดข้ันตอนของการพฒั นาให้เหมาะสมกบั ภาวะท้องท่เี ปน็ ระยะๆ โดยท้องที่สว่ นใหญ่ของทุง่ ราบสองฝ่ังแมน่ ้านา่ น มกั ถกู น้าท่วมเปน็ ประจา การพัฒนาจึงตอ้ งสรา้ งเขอ่ื นเกบ็ น้าข้นึ กอ่ นที่จะสร้างเข่อื นทดน้า และระบบส่งนา้ เพราะนอกจาก น้าทที่ ว่ มจะทาให้เกิดความเสยี หายใหแ้ กก่ ารเพาะปลูกแล้วยังทาความเสียหายให้แก่งานกอ่ สรา้ งเขอื่ น ทดน้า และระบบส่งนา้ อีกด้วยดงั น้นั เขอื่ นสิรกิ ิติ์จึงเป็นเขือ่ นแรกท่ีถกู สร้างขึ้นก่อนเขือ่ นอ่นื ๆ การกอ่ สร้างเขือ่ นสริ ิกิตไิ์ ด้แบ่งงานออกเป็นสองส่วน คอื ส่วนตัวเข่ือนและองค์ประกอบกับสว่ นโรงไฟฟา้ และองค์ประกอบ การกอ่ สรา้ งตวั เขือ่ นและองค์ประกอบ ดาเนินการโดยกรมชลประทาน งานด้านน้ีเป็นการกอ่ สร้างถนน เขา้ หวั งาน ทา่ เทียบเรือ งานเปิดหนา้ ดิน งานกอ่ สรา้ ง ตวั เขอื่ น อโุ มงคผ์ ันนา้ อโุ มงคส์ ง่น้าลงแมน่ า้ อุโมงคส์ ง่ นา้ เขา้ เครอื่ งกังหนั น้า อาคารรับนา้ อุโมงคร์ ะบายนา้ ลน้ งานขดุ ดินและหนิ บริเวณฐานรากของโรงไฟฟา้ การกอ่ สร้างนป้ี ระกอบดว้ ย 2 หนว่ ยงานหลัก ไดแ้ ก่ กรมชลประธาน ก่อสรา้ งตวั เขอ่ื นและอาคารประกอบ การไฟฟ้าฝายผลติ แหง่ ประเทศไทย ก่อสร้างโรงไฟฟา้ และอโุ มงค์ส่งนา้ การก่อสรา้ งโรงไฟฟ้าและองค์ประกอบ ด eเนินการโดยการไฟฟา้ ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย โดยเขื่อนสริ ิกติ ิ์นี้ เดิมชื่อว่าเขื่อนผาซอ่ ม ตอ่ มาไดร้ ับพระบรมราชานญุ าตใหอ้ ัญเชญิ พระนามาภิไธย สมเด็จพระนางเจ้าสริ กิ ิต์ิพระบรมราชินนี าถขนานนามว่า \"เขือ่ นสริ ิกติ \"ิ์ เมือ่ วนั ท่ี 24 พฤษภาคม 2511 โดยดาเนินการกอ่ สรา้ งสายสง่แรงสูง 115 กิโลโวลต์ ระหวา่ งอตุ รดติ ถ์กบั เขื่อนสริ ิกติ ์ิ กอ่ สรา้ งโรงไฟฟ้า และตดิ ต้ังอปุ กรณ์ไฟฟ้างานวางท่อเหลก็ นานา้ เข้าโรงไฟฟา้ และงานกอ่ สร้างสายสง่ แรงสูง 230 กิโลโวลต์ ชว่ งเขอ่ื นสิรกิ ิติ์-พษิ ณโุ ลก และไดต้ ดิ ต้งัเครอื่ งกาเนิดไฟฟา้ ท่โี รงไฟฟา้ เขอ่ื นสริ ิกติ ิ์ กรมชลประทาน ไดม้ อบใหก้ ารไฟฟ้าฝา่ ย ผลติ แห่งประเทศไทยรบั ผิดชอบในการควบคมุ ดูแลรักษาเข่อื น เข่ือนสริ ิกิต์ิเป็นเข่ือนดนิ ทีม่ ีขนาดใหญท่ ี่สุดในประเทศไทย มแี กนเป็นดินเหนียว การก่อสรา้ งเขอื่ นสริ กิ ติ ิ์ ทาให้เกดิ อา่ งเก็บขนาดใหญ่ อาคารผันน้าและอาคารองคป์ ระกอบของเข่อื น ตั้งอยู่ทางฝงั่ ขวา โดยเจาะภเู ขาเป็นอโุ มงค์ทง้ั หมด 7 อุโมงค์ และห่างจากตัวเข่อื นสิริกิติ์ไปทางทศิ ตะวันตกเฉียงเหนื อ ได้มีการก่อสร้างเข่ือนดินปิดช่องเขาตอนท่มี รี ะดับตา่ กวา่ นา้ ในอา่ งเกบ็ นา้ รวม 8 แห่ง ในตัวเข่อื นมี ทอ่ ส่งน้าขนาดเสน้ ผา่ ศนู ย์กลาง 1.5 เมตร เพือ่ ส่งนา้ ไปใชใ้ นนคิ มสร้างตนเองลาน้านา่ นอกี ดว้ ย ซ่งึ โครงการเข่อื นสริ ิกิติ์นนั้ มี 21

22ประโยชนห์ ลากหลายด้าน ไม่วา่ จะเปน็ ทางดา้ นการชลประทาน บรรเทาอุทกภัย ผลิตกระแสไฟฟา้ การประมง การคมคมทางน้า และการท่องเทยี่ ว โครงการเข่ือนรัชชประภา ต้ังอยทู่ ่ี บ้านเช่ียวหลาน ต.เขาพงั อ.บา้ นตาขนุ จ.สรุ าษฎร์ธานี เข่ือนรัช ชประภาเปน็ เขือ่ นอเนกประสงค์ ท่ีสาคัญแห่งหนึ่งในภาคใต้ สรา้ งข้นึ เพื่อมาพัฒนาแหลง่ น้า และพลังงานไฟฟา้ ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสงั คมแห่งชาติฉบับที่ 4 ซง่ึ อานวยประโยชน์ในด้านเศรษฐกจิ สังคม และความมนั่ คงของประเทศ โดยได้รเิ ร่ิมมาจากพระมหากรุณาธคิ ณุ ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว ซ่ึงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู วั ทรงสนพระราชฤทัยเกี่ยวกบั งานพฒั นา แหลง่ นา้ เพ่อื การผลติ ไฟฟา้ ใหแ้ ก่ราษฎรในท้องถิน่ ทุรกันดารท่อี ยู่หา่ งไกล ซ่ึงถ้าจะต่อไฟฟ้าเขา้ ตามระบบปกติจะมคี า่ ใช้จ่ายสงู มาก จงึ ได้พระราชทานพระราชดาริแก่หน่วยงานทเ่ี ก่ียวขอ้ งพิจารณาวางโครงการพัฒนาแหลง่ น้า และผลิตไฟฟ้าไปพรอ้ มๆกนั โดยนา้ ท่ีผ่านการผลติไฟฟ้าจะเขา้ ส่รู ะบบชลประทานเพอื่ การเกษตร อุปโภคบรโิ ภคตอ่ ไป เขอ่ื นรชั ชประภาเป็นเขือ่ นสรา้ งปิดก้นั ลาน้าคลองแสงทีบ่ า้ นเชยื่ วหลาน ต.เขาพัง อ.บ้านตาขนุ จ.สุราษฎร์ธานี เปน็ เข่ือนหินถมแกนดินเหนยี ว มีเข่อื นปิดกน้ั ชอ่ งเขาอกี 6 แหง่ อยบู่ นฝ่ังซ้ายของแมน่ า้ 1 แหง่และฝัง่ ขวาของแม่นา้ 5 แห่ง อาคารโรงไฟฟา้ ต้งั อยูบ่ นฝั่งขวาของลานา้ คลองแสง เปน็ อาคารคอนกรีตเสรมิเหลก็ ติดตั้ง เครอ่ื งผลิตไฟฟา้ เคร่อื งละ 80,000 กิโลวตั ต์ จานวน 3 เคร่ือง ลานไกไฟฟา้ ตงั้ อยู่บนฝัง่ ซา้ ยของแมน่ ้า ทาหน้าทส่ี ่งพลงั ไฟฟา้ จากโรงไฟฟ้าดว้ ยสายส่งไฟฟา้ ขนาด 230 กิโลโวลตว์ งจรคู่ไปยังสถานีไฟฟ้าแรงสูงสุราษฎรธ์ านี และ ขนาด 115 กโิ ลโวลต์วงจรคู่ไปยังสถานไี ฟฟ้าแรงสูงพงั งา ซงึ่ โครงการเขอ่ื นรัชชประภาน้ีมีประโยชนห์ ลากหลายดา้ น เช่น การชลประทาน การบรรเทาอทุ กภัย การเจือจางน้าเสยี ผลกั ดันน้าเค็ม การประมง การท่องเทย่ี ว และด้านกระผลติ กระแสไฟฟ้า โครงการเข่ือนภมู ิพล ต้ังอยู่ที่ ต.เขาแก้ว อ.สามเงา จ.ตาก เนือ่ งจากในพืน้ ทม่ี ี ความขาดแคลนพลังงานไฟฟา้ ในชว่ งสงครามโลกสงครามโลกครั้งท่ี2 รัฐบาลจึงไดพ้ จิ ารณาโครงการผลิตไฟฟา้ ให้ ได้มากเพียงพอแกค่ วามต้องการของประชาชน โดยใช้ต้นทนุ การผลติ ให้ตา่ ทีส่ ดุ จึงเกิดโครงการเขอ่ื นภูมพิ ล ให้กรมชลประทาน มีหนา้ ที่รบั ผดิ ชอบในการก่อสร้างโครงการเขื่อนภูมพิ ลโดยเร่มิ จากการ สร้างตวั เขอ่ื นโรงไฟฟา้ สายส่ง และติดต้งั เครือ่ งกาเนดิ ไฟฟ้า โดยสามารถผลติ กระแสไฟฟา้ จาหน่ายใหแ้ กป่ ระชาชนตัง้ แตภ่ าคเหนือและภาคกลางลงไปถึงจงั หวดั เพชรบรุ ี รวมทั้งหมด 36 จงั หวดั โครงการเขื่อนภมู ิพล เป็นเข่ือนคอนกรีตรปู โคง้ ทีใ่ หญแ่ ละสูงที่สดุ ในเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ ติดต้งัเครอื่ งผลิตไฟฟ้า จานวน 8 เครอ่ื ง มีหลกั การผลติ กระแสไฟฟา้ คือ จะใชแ้ รงดันนา้ ทก่ี กั เกบ็ ในอ่างเกบ็ น้ามาดนั ให้กังหนั น้าหมนุ โดย กงั หันนา้ ซึง่ เปน็ ตวั ต้นกาลังต่อเชอ่ื มกับสว่ นท่หี มุนของเครือ่ งกาเนดิ ไฟฟ้า และแปลงแรงดันไฟฟา้ ใหส้ งู ขนึ้ ด้วยหม้อแปลงแรงดันไฟฟา้ กอ่ นทีจ่ ะส่งไฟฟ้าท่ี ผลิตได้เขา้ ระบบไฟฟา้ ของประเทศ 22

23ประโยชน์ของโครงการ เขื่อนภูมพิ ลน้นั ไดแ้ ก่ ผลิตไฟฟ้าได้ ๗๗๙.๒ เมกกะวตั ต์ จ่ายไปยงั 36 จงั หวัด ใช้เปน็การคมนาคมทางนา้ ใชเ้ ปน็ สถานทีพ่ กั ผ่อนหย่อนใจ และเป็นแหล่งเพาะพนั ธสุ์ ัตว์นา้ บรรเทาอทุ กภยั ในบรเิ วณลุ่มแม่น้าปงิ และร่วมกับเข่ือนสริ ิกิต์เิ พอ่ื บรรเทาอุทกภยั ในทุ่งเจา้ พระยา อกี ทงั้ ยัง สนองความตอ้ งการของประชาชนในดา้ นการชลประทานท้ังอุปโภคบรโิ ภค และ การเพาะปลูก 23

24 บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะสรปุ ผลการศกึ ษา จากการทาโครงงานเร่อื ง โครงการเขอื่ นตา่ งๆ / เขอื่ นแควนอ้ ย บารงุ แดน / เข่ือนป่าสกั ชลสทิ ธ์ิ /เข่ือนสริ ิกิติ์ / เข่ือนรัชชประภา / เข่อื นภมู พิ ล ผคู้ ณะผ้จู ดั ทามีความพงึ พอใจในเน้อื หาสาระเป็นอย่างมาก และมคี วามรูเ้ กี่ยวกับเขอื่ นตา่ งๆมากยงิ่ ขนึ้ อกี ทัง้ ยังสามารถนาความร้ไู ปเผยแพร่ใหค้ นรุ่นหลงั ไดท้ ราบถึงประโยชน์แหล่งท่มี า ความสาคัญของเข่อื นตา่ งๆท่ีสมาชกิ ไดท้ าการศึกษาค้นคว้าไว้ สร้างความสานึกในพระมห ากรณุ าธคิ ุณของสมเดจ็ ภมู ิพลอดลุ ยเดชแกค่ นรุน่ หลังประโยชน์ทไ่ี ดจ้ ากโครงงาน ไดท้ ราบถงึ ทีต่ ง้ั ประวตั ิความเป็นมา หนา้ ที่ ประโยชน์และความสาคญั ของการมีเขอ่ื นตา่ งๆทาให้สมาชิกในกลุม่ สานกึ ในพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั ภูมิพลอดุลยเดช ไดร้ ับร้ถู ึงปัญหาทเี่ กดิ ขนึ้และวิธีแกไ้ ขปัญหาในโลกปัจจุบนั สร้างความสามัคคขี องสมาชิกในกลมุ่ มีการเลือกตัวเองเพื่อเปน็ ผู้นาในกลุ่มข้อเสนอแนะ1. ศกึ ษาค้นคว้าในหนังสอื หลายๆเล่ม2. ศึกษาค้นคว้าในเว็บไซต์หลายๆเว็บไซต์3. ศกึ ษาจากผรู้ ู้ผูเ้ ช่ียวชาญ 24

25 เอกสารอา้ งอิง______. สานักงานคณะกรรมการพเิ ศษเพอ่ื ประสานงานโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาริ . ( 7พฤษภาคม2552). โครงการเขือ่ นแควนอ้ ยบารงุ แดนอันเน่อื งมาจากพะราชดาริจ.พษิ ณุโลก. สืบค้นเมอื่ 23 ตุลาคม2560, จากhttp://www.rdpbproject.com/press56/index.php?option=com_content&view=article&id=127&Itemid=155 ._____. มหาวทิ ยาลยั นเรศวร. (2547). รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการเขอ่ื นแควนอ้ ย อันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริ อาเภอวดั โบสถ์ จังหวดั พษิ ณโุ ลก(แผนการตดิ ตามตรวจสอบคุณภาพน้า). พษิ ณโุ ลก:มหาวทิ ยาลยั นเรศวร._____. สชุ พี มถี ม. (ม.ป.ป.). ประวัติเขื่อนภูมิพล. สบื ค้นเมื่อ 19 ตลุ าคม 2560, จากhttp://www.bhumiboldam.egat.com/index.php/2014-10-10-05-07-47/history_____. กรมชลประทาน (ผู้ใหข้ ้อมูล). (ม.ป.ป.). โครงการเขอื่ นภูมพิ ล จังหวดั ตาก. สบื คน้ เมื่อ 19 ตลุ าคม2560, จากhttp://web.rid.go.th/lproject/const/project/completed%20project/phumepon/phumepon.html._____. พนั เอกหญงิ อุษณีย์ เกษมสนั ต์. (2542). เขอ่ื นปา่ สกั ชลสิทธิ์ โครงการลุ่มนา้ ป่าสัก อนั เน่อื งมาจากพระราชดาร.ิ กรุงเทพมหานคร: บริษทั โอ.เอส.พริ้นตง้ิ เฮ้าส์ จากดั ._____. พิพฒั น์ เจษฎานนท.์ (8 กรกฏาคม 2557). เขอื่ นรัชชประภา. สืบคน้ เม่ือ 22 ตุลาคม 2560, จากhttp://rpb.egat.com/index.php/2017-03-21-09-30-04/2014-07-08-01-08-55._____. สานกั งานประสานงานโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาริสานกั วจิ ยั และพฒั นามหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์. (2556). รัชชประภา ทรัพยากร.สงขลา:โอ.เอส.พริ้นติง้ เฮา้ ส์._____. ปรชี า ศรนี ้อย.(15 พฤษภาคม 2556).เขอ่ื นสริ ิกิต์ิ. สืบค้นเม่ือ 23 ตลุ าคม 2560, จากhttp://www.sirikitdam.egat.com/index.php/dam/2013-05-15-07-41-45_____. บรรจง ศรสี ะอาด. การบรหิ ารจดั การน้าเขื่อนสริ กิ ติ ิ์ :กรณีศึกษาท่ีมีผลกระทบต่อกระชงั ปลาตาบลวงักระพี้. ม.ป.ท. : ม.ป.ท., 2553 25

26ประวัติผูจ้ ัดทารายงานช่ือ นางสาวสุพรรษา เนียมเทย่ี งรหัสนิสติ 60610414ภมู ลิ าเนา 5/5 ถ.ทิพยภ์ กั ดี ต.หลม่ สัก อ.หล่มสัก จ.เพชรบูรณ์ประวัติการศกึ ษา ปัจจุบันกาลงั ศึกษาในระดบั ปริญญาตรีช้ันปที ่ี 1 คณะทนั ตแพทยศาสตร์E-mail : [email protected]ชอ่ื นางสาวสุพัชรี ทันงานรหสั นิสิต 60610421ภมู ลิ าเนา 35 หมู่ 2 ต.นครชุม อ.เมอื ง จ.กาแพงเพชร 62000ประวตั กิ ารศึกษา ปัจจุบนั กาลังศกึ ษาในระดบั ปริญญาตรีชน้ั ปีท่ี 1 คณะทันตแพทยศาสตร์E-mail : [email protected] 26

27ชื่อ นางสาวสภุ าลกั ษณ์ ชมุ่ แจ่มรหัสนสิ ิต 60610438ภมู ิลาเนา 9/10 ซอย15 ตาบลในเมือง อ.เมอื ง จ.กาแพงเพชร 62000ประวตั กิ ารศึกษา ปจั จบุ ันกาลังศกึ ษาในระดับปริญญาตรีชัน้ ปีที่1 คณะทันตแพทยศาสตร์E-mail : [email protected]ช่ือ นางสาวอกั ษรา สมศรีโหน่งรหัสนสิ ิต 60610445ภมู ิลาเนา 330/31 ม.1 ต.บ้านจน่ั อ. เมือง จ.อดุ รธานีประวัตกิ ารศึกษา ปจั จบุ ันกาลังศึกษาในระดับปรญิ ญาตรชี น้ั ปที ่ี 1 คณะทันตแพทยศาสตร์E-mail : [email protected] 27

28ชอ่ื นางสาวอจั ฉราวลยั กาวชูรหัสนสิ ิต 60610452ภมู ิลาเนา 47/1 หมู่ 6 ต.ต้นโพธิ์ อ.เมอื ง จ.สิงหบ์ รุ ีประวัติการศึกษา ปัจจบุ ันกาลังศกึ ษาในระดับปริญญาตรชี ัน้ ปที ่ี 1 คณะทันตแพทยศาสตร์E-mail : [email protected]ช่อื นายอชั บาล ทนุ กลุรหัสนสิ ิต 60610469ภมู ลิ าเนา 173 หมู่ 5 ต.หนองผึง้ อ.สารภี จ.เชยี งใหม่ประวัตกิ ารศึกษา ปัจจบุ นั กาลงั ศึกษาในระดับปรญิ ญาตรชี ้ันปที ่ี1 คณะทันตแพทยศาสตร์E-mail : [email protected] 28

29ชอื่ นางสาวอาทติ ยา อ่องเมอื งรหสั นิสิต 60610476ภมู ลิ าเนา 34 หมู่ 2 ต.วดั เกาะ อ.ศรสี าโรง จ.สุโขทยัประวตั กิ ารศกึ ษา ปัจจบุ นั กาลังศึกษาในระดับปริญญาตรีช้นั ปีท่ี 1 คณะทันตแพทยศาสตร์E-mail : [email protected]ชอ่ื นางสาวชวี ิตชนก บิณฑวหิ ครหสั นสิ ิต 57262111ภมู ิลาเนา 18 หมู่ 1 ต.บ้านไร่ อ.บ้านไร่ จ.อทุ ยั ธานี 61140ประวตั กิ ารศึกษา ปจั จุบันกาลงั ศกึ ษาในระดบั ปริญญาตรชี นั้ ปที ่ี4 คณะมนุษยศาสตร์E-mail : [email protected] 29

30ช่อื นางสาวชนิสรา สขุ หร่องรหสั นสิ ิต 57346514ภูมลิ าเนา 459/1048 หม7ู่ หมบู่ า้ นชนิ ลาภ ต.สมอแข อ.เมือง จ.พิษณุโลก 56000ประวตั กิ ารศกึ ษา ปัจจบุ ันกาลังศกึ ษาในระดับปริญญาตรีชนั้ ปที ี่4 คณะบริหารธรุ กิจฯE-mail : [email protected]ชอ่ื นายวโรดม คีรีวงศ์รหัสนสิ ติ 57241833ภมู ลิ าเนา -ประวัติการศึกษา ปจั จุบันกาลังศกึ ษาในระดับปริญญาตรชี ัน้ ปีที่4 คณะสังคมศาสตร์E-mail : - 30


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook