Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามแนวคิด STEAM ร่วมกับการสอนเชิงผลิตภาพ เพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการและความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงาน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามแนวคิด STEAM ร่วมกับการสอนเชิงผลิตภาพ เพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการและความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงาน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

Published by pupa rung, 2021-04-12 11:05:51

Description: การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามแนวคิด STEAM ร่วมกับการสอนเชิงผลิตภาพ เพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการและความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงาน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

Search

Read the Text Version

วิจยั ในชนั้ เรยี น กำรจัดกิจกรรมพัฒนำผู้เรียนตำมแนวคิด STEAM ร่วมกับกำรสอนเชิง ผลิตภำพ เพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนกำรและควำมสำมำรถในกำร สร้ำงสรรคผ์ ลงำน ของนกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษำปีที่ 6 ภำคเรียนท่ี 1 ปกี ำรศกึ ษำ 2562 นำงสำวสำยรงุ้ ทองสูง ตำแหนง่ ครู โรงเรยี นสระแกว้ สำนักงำนเขตพน้ื ท่ีกำรศกึ ษำมัธยมศกึ ษำ เขต 7 สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขนั้ พน้ื ฐำน

งานวจิ ยั ในช้ันเรียนภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 1 การจดั กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี นตามแนวคดิ STEAM รว่ มกบั การสอนเชงิ ผลติ ภาพ เพอื่ สง่ เสริมทกั ษะกระบวนการและความสามารถในการสรา้ งสรรคผ์ ลงาน ของ นกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 Learner’s Development Activities by STEAM and Productivity Based learning to Enhance the Process Skills and Creative Ability in 12th GRADE STUDENTS นางสาวสายรุ้ง ทองสูง โรงเรียนสระแกว้ อาเภอเมอื งสระแกว้ จังหวัดสระแกว้ Corresponding Author, E-mail: [email protected] บทคดั ย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) เพื่อศึกษาทักษะกระบวนการของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 โดยใช้กิจกรรมการเรียนร้ตู ามแนวคิด STEAM รว่ มกับการสอนเชิงผลติ ภาพ 2) เพ่ือศกึ ษาความสามารถในการ สรา้ งสรรค์ผลงานของนักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 6 โดยใช้กจิ กรรมการเรียนรู้ตามแนวคดิ STEAM ร่วมกบั การ สอนเชิงผลิตภาพ 3) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ต่อกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตาม แนวคิด STEAM ร่วมกับการสอนเชิงผลิตภาพ กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสระแก้ว ท่ีกาลังเรียนภาค เรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2562 ซ่ึงผู้วิจัยได้มาจากการสุ่ม แบบอาสาสมัคร (Volunteer Sampling) จานวน 26 คน เคร่ืองมือที่ใช้ในงานวิจัย คือ 1) แผนการจัดการ เรียนรู้ 2) แบบประเมนิ ทกั ษะกระบวนการ 3) แบบประเมินการสร้างสรรค์ผลงาน และ 4) แบบสอบถามความ คิดเหน็ แบบปลายเปดิ ของนักเรียน การวิเคราะหข์ ้อมลู ใช้ คา่ เฉลยี่ คา่ สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย 1) ผลการประเมินทักษะกระบวนการ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้กิจกรรม การเรียนรู้ ตามแนวคิด STEAM ร่วมกับการสอนเชิงผลิตภาพ มีเกณฑ์การประเมินอยู่ในระดับดี (ค่าเฉล่ีย= 3.43, ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐาน= 0.37) 2) ความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงาน ของนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีท่ี 6โดยใช้กิจกรรมการ เรียนรู้ตามแนวคิด STEAM ร่วมกับการสอนเชิงผลิตภาพ มีเกณฑ์การ ประเมินอย่ใู นระดบั ดีมาก (ค่าเฉลีย่ = 3.59 ,คา่ ส่วนเบยี่ งเบนมาตราฐาน=0.44) 3) ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ต่อกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามแนวคิด STEAM ร่วมกับการ สอนเชิงผลิตภาพ นักเรียนมีความช่ืนชอบในการเรียน และมีความต้องการที่จะเรียนในโอกาส ต่อไปเป็น สว่ นมาก

งานวิจัยในช้นั เรยี นภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 2 คาสาคญั : กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน / สะตีม / เชงิ ผลิตภาพ / ทักษะกระบวนการ / การสรา้ งสรรคผ์ ลงาน Abstract The purposes of this research were 1) to study student’ s process skills in Learner’ s Development Activities by STEAM and Productivity Based Learning 2) to study student’ s creative abilities in Learner’ s Development Activities by STEAM and Productivity Based Learning and 3) to study the satisfaction of students after learning through Learner’ s Development Activities by STEAM and Productivity Based Learning. The sample group in this research was chosen by volunteer sampling technique which comprised 26 12th GRADE STUDENTS Students of Sakaeo School who were studying in the 2nd semester of B. E. 2562. The research tools were 1) lesson plans 2) an observation form on process skills 3) a scoring rubric on creative abilities 4) a questionnaire survey of student’s opinions toward the Learner Development Activities by STEAM and Productivity Based Learning. The mean and standard deviation are applied for data analysis. The research summary as follows, 1) The evaluation results of student’s process skills after learning through Learner’ s Development Activities by STEAM and Productivity Based Learning were positive at a good level on the criteria. (The mean= 3.43, standard deviation = 0.3) 2) The student’s creative abilities after learning through Learner’s Development Activities by STEAM and Productivity Based Learning were positive at a very good level on the criteria. (The mean= 3.59, standard deviation = 0.44) Keywords: LEARNER DEVELOPMENT / STEAM / PRODUCTIVITY BASED / PROCESS SKILLS / CREATIVE ABILITY ความเปน็ มาของปญั หา ประเทศไทยในปจั จบุ นั กาลังก้าวเขา้ สู่ยุค \"ประเทศไทย 4.0\" ตามนโยบายการขบั เคลอ่ื นเศรษฐกิจด้วย นวัตกรรม เป็นการใช้วิทยาการในด้านความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและ พัฒนา (สุวิทย์ เมษินทรีย์, 2559) จากการรายงานของสานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพ เยาวชน (2562) นักเรียนจบการศึกษาออกมาแล้วไม่มีทักษะในการทางานหรือความรู้พื้นฐานที่สามารถ นามาใช้กบั การทางานได้จรงิ ส่งผลใหเ้ ป็นแรงงานที่ขาดทักษะ และประสบการณ์ในการทางาน จึงกลายเปน็ ผล พวงสะสมท่ีทาให้เราได้แรงงานท่ีไม่มีคุณภาพ รวมท้ังการเปล่ียนแปลงโครงสร้างประชากร ในอีก 30 ปี ข้างหน้า ประเทศไทยจะมีประชากรผู้สูงอายุเพิ่มมากข้ึนถึงหนึ่งในสามของประชากรท้ังหมดมีผลให้แรงงาน ของไทยลดลง ซ่ึงจะทาให้ปัญหาการขาดแคลนแรงงานจะมีแนวโน้มรุนแรงขึ้นในอนาคต การจัดการศึกษาจึง

งานวจิ ัยในชน้ั เรียนภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2562 3 ต้องมีการปฏิรูประบบการเรียนการสอน เพื่อให้นักเรียนจบออกมาแล้วสามารถทางานได้ การออกแบบการ เรียนการสอนจึงตอ้ งเน้นให้นักเรยี นได้เรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง มีความคดิ รเิ ร่มิ สร้างสรรค์ มที กั ษะท่สี าคญั และจาเป็น ในการทางาน และสามารถนาความรู้ที่ได้รับมาบูรณาการเพ่ือพัฒนาตนเอง กระทรวงศึกษาธิการได้มีนโยบาย ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอน แบบสะเต็มศึกษา (STEM Education) โดยกาหนดให้เป็นโครงการสาคัญ ด้านหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ ซึ่งเป็นการบูรณาการของ 4 สาขาวิชาท่ีมาเชื่อมโยง คือกลุ่มวิชา วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี ร่วมกับกระบวนการทางวิศวกรรมศาสตร์ เพื่อใช้แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นใน ชีวิตจริงเน้นการลงมือปฏิบัติจริง Yakman (2008) ได้ทาการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการใช้ศิลปะ ภาษาเข้ามาใน บูรณาการเพ่ิมใน STEM Education เป็น STEAM Education ซึง่ ได้นาศลิ ปะ เชน่ การใช้ภาษา ศิลปะ ดนตรี เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาช้ินงานเป็นการพัฒนาสมองท้ังซีกซ้ายและขวาในการทาผลงานแต่ละช้ินของ นักเรียนจาเป็นท่ีจะต้องอาศัยท้ังภาษาและศิลปะลงไปในช้ินงาน เพื่อให้งานเกิดความสมบูรณ์ที่สุด การเรียนรู้ เชิงผลติ ภาพ เปน็ รปู แบบการเรียนการสอนแบบหน่ึงทที่ ่ีมุ่งเนน้ ให้นักเรียนมีผลผลิตของตนเอง อาจเปน็ ผลผลิต ด้านความคิดด้านผลงานในทางสร้างสรรค์เป็นผลผลิตใหม่ๆ ท่ีเกิดจากความคิด สติปัญญา รวมทั้งทักษะ กระบวนการก็เป็นสิ่งที่สาคัญในศตวรรษ ท่ี 21 เน่ืองจาการเรียนการสอนในปัจจุบัน เป็นการเรียนวิชาความรู้ อย่างเดียวอาจไม่เพียงพอกับการดารงชีวิต การศึกษาที่ดีควรเตรียมบุคคลให้พร้อมเรียนรู้และเป็นคนทางานที่ ใช้ความรู้ การจัดการเรียนการสอนนักเรียนในระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนสระแกว้ พบวา่ หลักสตู รและ สาระรายวิชา การจัดการเรียนการสอนแยกสาระวิชาออกจากกัน แต่ละรายวิชาก็มุ่งให้ความรู้กับผู้เรียนตาม เน้ือหาที่กาหนด เน้ือหาของบางสาระวิชาได้ซ้าซ้อนกับวิชาอ่ืน ๆ ทาให้นักเรียนอาจเกิดการเบ่ือหน่ายต่อการ เรียนทีซ่ า้ ซ้อน และเมอื่ นักเรียนพบสถานการณใ์ นชีวติ ประจาวนั หรือการพบเจอปัญหา หรอื ในการสรา้ งสรรค์ ผลงานหรือส่ิงใหม่ ๆ โดยที่แต่ละสภาพ หรือสถานการณ์ที่นักเรียนพบไม่สามารถใช้วิชาหนึ่งวิชาใดเข้าแก้ไข ปัญหาได้ แต่จาเป็นต้องบูรณาการ กลุ่มความรู้มวลประสบการณ์หลายสาระวิชา และทักษะต่างๆเพ่ือจัดการ กับปัญหาที่ต้องแก้ไข จากแนวคิดในการศึกษากิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามแนวคิด STEAM ร่วมกับการสอนเชงิ ผลิตภาพเพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการ และความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงาน ท่ีผู้วิจัยสร้างขึ้นเพ่ือมุ่ง ส่งเสริมให้นักเรียนได้เรียนรู้แบบบูรณาการ โดยเช่ือมโยงความรู้ท่ีได้รับนาสร้างชิ้นงาน โดยมีการวางแผนเป็น ขั้นตอนในการการทางาน ส่งเสริมการทางานเป็นกลุ่มได้เรียนรู้แบบสนุกสนาน มีส่วนร่วมในการเรียนและลง มอื ปฏบิ ตั ดิ ว้ ยตนเอง โดยจัดในกิจกรรมชมุ นมุ นักประดิษฐน์ ้อย สอดคลอ้ ง วศณิ สี ์ อิศรเสนา ณ อยุธยา (2559) กล่าวว่า STEAM เป็นการจัดการเรียนการสอนที่บูรณาการที่เชื่อมโยงความรู้ โดยบูรณาการพฤติกรรมที่ ต้องการหรอื คาดหวังให้เกิดขึ้นกับผเู้ รียน เพ่อื พฒั นาใหม้ นุษย์มีทักษะในศตวรรษท่ี 21 บนพืน้ ฐานความรู้ความ เข้าใจ ในการแก้ปัญหาความคิดสร้างสรรค์กระตุ้นให้เกิดความสนใจในการสืบเสาะหาความรู้ การสารวจ ตรวจสอบการคดิ อยา่ งมีเหตุมผี ลในเชงิ ตรรกะ การส่ือสารการเป็นผู้นาและการทางานร่วมกับผูอ้ ่นื เน้น

งานวิจยั ในชัน้ เรียนภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2562 4 ให้สามารถนาความรู้ ทักษะ และประสบการณ์จากการเรียนรู้ไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตจริง และสอดคล้องกับ งานวิจยั สอดคล้องกับงานวิจยั ของ จารีพร ผลมูล (2558) พบว่า หน่วยบูรณา STEAM เปิดโอกาสใหน้ ักเรียนมี อสิ ระในการสร้างสรรคผ์ ลงาน นกั เรยี นเกดิ ความคิดรวบยอดจากการเรยี นแบบบูรณาการ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ต้องหลากหลายเพ่ือให้สอดคล้องกับความสามารถและความถนัดของนักเรียน และสอดคล้องกับ วิสูตร โพธิ์เงิน (2562) กล่าวว่า การเรียนรู้ตามแนวคิด STEAM ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติในการแก้ไขปัญหา ท่ีส่ง ประเมินค่าและสร้างสรรค์ชิ้นงานสะท้อนส่ิงท่ีผู้เรียนได้คิดทาให้ผู้เกิดความภูมิใจและสร้างแรงจูงใจ ในการ เรียนวิทยาศาสตร์ ผู้วิจัยจึงสนใจท่ีจะศึกษาการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามแนวคิดSTEAM ร่วมกับการสอน เชิงผลิตภาพเพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการ และความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงาน ของนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 6เป็นกิจกรรมที่ให้นักเรียนได้ฝึกทักษะท่ีจาเป็นมุ่งให้นักเรียนพัฒนาตนเอง โดยใช้เน้ือหาใน กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ศาสตร์ คณิตศาสตร์ ศิลปะ ภาษา รวมทั้งการใช้เทคโนโลยีและกระบวนการทาง วิศวกรรมศาสตร์ บูรณาการ ความรู้ที่ได้รับร่วมกับการส่งเสริมทักษะกระบวนการ เพ่ือการสร้างสรรค์ผลงาน ของนกั เรยี น วตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ัย 1) เพื่อศึกษาทักษะกระบวนการของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ตาม แนวคิด STEAM ร่วมกับการสอนเชงิ ผลติ ภาพ 2) เพื่อศึกษาความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงานของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 โดยใช้กิจกรรม การเรยี นรตู้ ามแนวคิด STEAM รว่ มกบั การสอนเชงิ ผลิตภาพ 3) เพ่ือศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 ต่อกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามแนวคิด STEAM รว่ มกับการสอนเชิงผลิตภาพ วิธีการวจิ ยั ขอบเขตของการวจิ ัย 1. ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง 1.1 ประชากรนกั เรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 ปกี ารศกึ ษา 2562 สงั กดั โรงเรียนสระแกว้ 1.2 กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสระแก้ว ตาบลสระแก้ว อาเภอเมืองสระแก้ว ท่ีกาลังเรียนภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 ซ่ึงผู้วิจัยได้มาจากการสุ่ม แบบอาสาสมคั ร (volunteer sampling)

งานวจิ ยั ในชัน้ เรียนภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2562 5 2. เครอื่ งมือท่ใี ชใ้ นการวจิ ัยครั้งน้ี 1) แผนการจัดการเรียนรู้การจัดกิจกรรมพฒั นาผู้เรียนตามแนวคิด STEAM รว่ มกับการสอน เชงิ ผลิตภาพเพ่ือสง่ เสรมิ ทักษะกระบวนการและความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงาน จานวน 3 แผน ใชเ้ วลา ในการจัดกจิ กรรม 16 ชั่วโมง ประกอบไปดว้ ยเน้ือหาดังน้ี 1.1) แผนการจัดการเรยี นรู้ เร่อื ง ไฮดรอลกิ หรรษา 1.2) แผนการจัดการเรยี นรเู้ รือ่ ง แรงลอยตัว 1.3) แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง คล่นื แม่เหล็กไฟฟ้า 2) แบบประเมินทกั ษะกระบวนการในกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี นตามแนวคดิ STEAM ร่วมกบั การ สอนเชิงผลิตภาพเกณฑ์การประเมินรูบริค ประเมิน 3 ทักษะ ได้แก่ 1) ทักษะการคิดวิเคราะห์ 2) ทักษะการ แก้ปัญหา และ 3) ทักษะการทางานกลุ่ม 3) แบบประเมนิ การสรา้ งสรรค์ผลงานในกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี นตามแนวคิด STEAM รว่ มกบั การสอนเชิงผลิตภาพเกณฑ์การประเมินรูบริค ประเมิน 5 ด้าน ประกอบไปด้วย 1 ) ด้านความคิดสร้างสรรค์ 2) ด้านความถูกต้องในการทางาน 3) ด้านคุณสมบัติของช้ินงาน 4) ทักษะการทางาน และ 5) ด้าน ความสามารถในการประยุกตใ์ ช้ความรู้ STEAM 4) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนต่อกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามแนวคิด STEAM ร่วมกับการสอนเชิงผลิตภาพเพ่ือส่งเสริมทักษะกระบวนการและความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงาน แบบ ปลายเปิด จานวน 5 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการจัดการเรียนการสอน 2) ด้านความรู้ STEAM 3) ด้านครูผู้สอนใน การเตรียมการสอน 4) ด้านบรรยากาศในการจัดกจิ กรรม และ 5) ด้านประโยชนท์ ไี่ ด้รับ การเก็บรวบรวมขอ้ มลู 1) ดาเนินการทดลองในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 กับกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่นักเรียน โรงเรียน สระแกว้ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 6 จานวน 26 คน 2) ผู้วิจัยได้ดาเนินการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีจัดทาขึ้น จานวน 3 แผน เป็นระยะเวลา 16 ช่ัวโมง 3) เมื่อดาเนินการจัดการเรียนรู้เสร็จตามท่ีกาหนด คะแนนท่ีได้มาทาการประเมินทักษะกระบวนการ การประเมินความสามารถในการสร้างผลงาน และตอบแบบสอบถามความคิดเหน็ มาวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ เพ่ือทดสอบสมมตฐิ านต่อไป

งานวิจยั ในชัน้ เรียนภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2562 6 ผลการวจิ ยั ตอนท่ี 1 ผลการประเมินทักษะกระบวนการ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้กิจกรรมการ เรียนร้ตู ามแนวคดิ STEAM ร่วมกับการสอนเชงิ ผลิตภาพ ตาราง 1 ผลการประเมินทักษะกระบวนการ ของนกั เรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 โดยใช้กิจกรรม การเรียนรู้ตาม แนวคดิ STEAM รว่ มกบั การสอนเชิงผลิตภาพแผนการจัดการคิดวเิ คราะห์ การแก้ปัญหาการทางานกล่มุ แผนการ การคดิ วเิ คราะห์ การแกป้ ญั หา การทางานกลมุ่ จดั การ X S.D เรยี นรู้ X S.D ระดบั X S.D ระดั ระดบั บ X S.D ระดั (รวม) บ ดี แผนท่ี 1 ไฮด 3.17 0.60 ดี (3) รอลิกหรรษา 3.17 0.43 ดี 2.86 0.34 ดี 3.07 0.46 แผนที่ 2 2.78 0.42 ดี 3.74 0.45 ดมี าก 3.91 0.19 ดมี าก 3.48 0.35 ดี แรงลอยตัว (2) แผนท่ี 2 3.77 0.35 ดมี าก 3.88 0.21 ดมี าก 3.62 0.37 ดีมาก 3.76 0.31 ดีมาก (1) คลื่น แม่เหล็กไฟฟ้ า รวม 3.24 0.40 ดี 3.60 0.42 ดีมาก 3.46 0.30 ดี 3.43 0.37 ดี จากตาราง 1 พบว่า ผลการประเมินทักษะกระบวนการ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 โดยใช้กิจกรรมการ เรยี นร้ตู ามแนวคดิ STEAM รว่ มกับการสอนเชงิ ผลติ ภาพ พบวา่ ทักษะกระบวนการของนักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษา ปีท่ี 6 โดยภาพรวมมีเกณฑ์การประเมินอยู่ในระดับดี (X = 3.43, S.D. = 0.37) เป็นไปตามสมมุติฐานข้อท่ี 1 เม่ือพิจารณารายด้านของทักษะกระบวนการ พบว่านักเรียนมีทักษะการแก้ปัญหาอยู่ในลาดับท่ี 1 (X = 3.60, S.D. =0.42) รองลงมาคือทักษะการทางานกลุ่ม (X = 3.46, S.D. = 0.30) และทักษะการคิดวิเคราะห์ (X = 3.24, S.D. = 0.40) ตามลาดบั เม่ือพิจารณาพัฒนาการของทักษะกระบวนการในภาพรวม พบว่า มีระดับพัฒนาการท่ีสูงขึ้น แต่เมื่อ พิจารณารายด้าน พบว่านักเรียนมีพัฒนาการในด้านทักษะการแก้ปัญหามีพัฒนาการที่สูงข้ึน ซึ่งแตกต่างจาก ทกั ษะการวเิ คราะหแ์ ละทักษะการทางานกล่มุ ทีม่ ีพัฒนาการสงู ต่า ไมเ่ ปน็ ไปในทิศทางเดยี วกนั ตอนท่ี 2 ผลการศกึ ษาความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงาน ของนกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 โดยใชก้ ิจกรรม การเรียนรู้ตามแนวคดิ STEAM ร่วมกบั การสอนเชงิ ผลติ ภาพ

งานวจิ ยั ในชน้ั เรียนภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2562 7 ตาราง 2 คะแนนการศึกษาความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงาน ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 โดยใช้ กิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิด STEAM ร่วมกบั การสอนเชิงผลติ ความถกู ตอ้ ง’ แผนการจัดการ ความคดิ สรา้ งสรรค์ ความถกู ตอ้ งในการ คณุ สมบตั ชิ น้ิ งาน การทางาน การประยกุ ตใ์ ช้ รวม เรียนรู้ ทางาน STEAM ���̅��� S.D ระดบั ���̅��� S.D ระดบั ���̅��� S.D ระดบั ���̅��� S.D ระดับ ���̅��� S.D ระดบั ���̅��� S.D ระดับ แ ผ น ท่ี 1 ไ ฮ ด 3.43 0.51 ดี 3.70 0.47 ดีมาก รอลิกหรรษา 3.83 0.39 ดีมาก 3.65 0.49 ดมี าก 3.65 0.57 ดีมาก 3.65 0.48 ดีมาก แผนท่ี 2 แรง 3.17 0.58 ดี 3.35 0.65 ดี 3.26 0.69 ดี 3.74 0.54 ดมี าก 3.17 0.65 ดี 3.34 0.62 ดี ลอยตวั 4.00 - ดมี าก 4.00 - ดีมาก 3.79 0.20 ดมี าก แผนท่ี 2 คล่ืน 3.57 0.51 ดมี าก 4.00 ดีมาก แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ 3.39 0.50 ดี รวม 3.39 0.53 ดี 3.68 0.37 ดีมาก 3.49 0.53 ดี 3.80 0.34 ดมี าก 3.61 0.41 ดีมาก 3.59 0.44 ดมี าก จากตาราง 2 ผลการศึกษาความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงาน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิด STEAM ร่วมกับการสอนเชิงผลิตภาพ พบว่า ผลการประเมิน ความสามารถในการสรา้ งสรรค์ผลงาน ในภาพรวมความสามารถในการสรา้ งสรรคผ์ ลงานอยู่ในระดับดีมาก สงู กว่าเกณฑ์ท่ีต้ังไว้ (X=3.59, 5.D. = 0.44) เป็นไปตามสมมุติฐานข้อท่ี 2 เมื่อพิจารณาด้านพบว่า นักเรียนมี ความสามารถในภารสร้างสรรค์ผลงานด้านทักษะการทางาน อย่ใู นลาดบั ที่ 1 (X = 3.80, 5.D. = 0.34) ลาดับ ท่ี 2 ดา้ นความถูกต้องในการทางาน (X = 3.68, S.D. = 0.37) ลาดับที่ 3 ดา้ นความสามารถในการประยุกต์ใช้ ความรู้ STEAM (X = 3.61, S.D. = 0.41) ลาดับท่ี 4 ด้านคุณสมบัติของช้ินงาน (T= 3.49, 5.0. = 0.53) และ ลาดับท่ี 5 ด้านความคิดสร้างสรรค์ (X = 3.39, S.D. = 0.50) ตามลาดับและเม่ือพิจารณาด้านพัฒนาการ ความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงานโดยแบ่งออกเป็น 3 แผน พบว่า แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เร่ืองคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้าอยู่ในลาดับท่ี 1 (X= 3.79, S.D. = 0.20) ความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงานอยู่ในระดับดี มาก รองลงมาแผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 1 เรื่องไฮดรอลิกหรรษา (X = 3.65, S.D. = 0.48) ความสามารถในการ สรา้ งสรรคผ์ ลงานอยู่ในระดับดมี าก และแผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 2 เรื่อง แรงลอยตัว (X = 3.34, 5.D. = 0.62) ความสามารถในการสรา้ งสรรคผ์ ลงานอยใู่ นระดับดี ตามลาดบั

งานวจิ ยั ในชัน้ เรียนภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2562 8 ตอนที่ 3 ผลการศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ต่อกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามแนวคิด STEAM รว่ มกบั การสอนเชิงผลติ ภาพ เปน็ แบบสอบถามความคิดเหน็ ปลายเปิด เก่ยี วกบั กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน ตามแนวคดิ STEAM จานวน 5 ข้อ ดังน้ี 1) ด้านการจัดการเรียนการสอนพบว่า นักเรียนชอบการจัดการเรียนการสอนในเรื่องคล่ืน แม่เหล็กไฟฟ้ามากที่สุด นักเรียนชอบเพราะสนุกมากได้การเกิดคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าเอง มีการทดลองและสร้าง สนามแข่ง ชอบรองลงมาคือชอบท้ัง 3 เร่ือง มีความคิดเห็นว่าทั้ง 3 เรื่องมีความสนุกได้เรียนรู้หลายอย่างไป พรอ้ มกนั เขา้ ใจงา่ ย และไดเ้ ลน่ สนุกกบั เพื่อนๆในกลุม่ 2) ด้านความรู้ STEAM พบว่านักเรียนได้รับความรู้ในด้านวิทยาศาสตร์คือ ความรู้เก่ียวกับโครงสร้าง ทางวิศวกรรม ด้านคณิตศาสตร์ คือรูปส่ีเหล่ียม สามเหลี่ยม มุม การวัด การช่ังตวง ศิลปะการร่างภาพ การ ระบายสี เทคโนโลยีการใชค้ อมพวิ เตอร์ การรว่ มมอื กนั ทางาน 3) ด้านครูผู้สอนในการเตรียมการสอน นักเรียนมีความคิดเห็นในทางเดียวกันว่าคุณครูมีการเตรียม อปุ กรณแ์ ละเตรยี มการสอนทุกคร้ัง 4) ด้านบรรยากาศในการจัดกิจกรรม นักเรียนมีความคิดเห็นว่าดี สนุกสนาน เป็นส่วนมาก ได้ความรู้ มีการพดู คยุ สง่ เสยี งดงั และมีการเล่นในห้องเรยี นเปน็ ความคิดเห็นรองลงมา 5) ด้านประโยชน์ท่ีได้รับกิจกรรมชุมนุมนักประดิษฐ์น้อย นักเรียนมีความคิดเห็นว่า ได้ใช้ความคิด สร้างสรรค์ในการสร้างชนิ้ งาน ได้เรียนรู้ส่ิงใหม่ ๆ เกิดความรู้และความสนุกสนาน รู้จักวิธีการประดิษฐ์เพิ่มขึน้ ทาให้มสี มาธิ จินตนาการ รวมทง้ั ไดเ้ รยี นรวู้ ิธีการพับกระดาษเปน็ รูปสัตว์ต่าง ๆ และแรงลอยตัว ข้อเสนอแนะเพ่มิ เตมิ พบวา่ นกั เรยี นซอบเรียนและต้องการท่ีจะเรยี นอีก สนกุ มาก ได้รับความรู้ต่าง ๆ มคี วามสุขที่ไดเ้ รยี น และเบ่ือเพอ่ื นเสยี งดงั บ้างคร้ังทะเลาะกนั อภปิ รายผล 1. การประเมินทักษะกระบวนการของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หลังใช้กิจกรรมการตามแนวคิด STEAM รว่ มกบั การสอนเชงิ ผลติ ภาพเป็นการประเมินทักษะ 3 ทกั ษะ คือ 1) ทักษะการคดิ วิเคราะห์ 2) ทักษะ การแก้ปัญหา และ 3) ทักษะการทางานกลุ่ม โดยภาพรวมมีเกณฑ์การประเมินอยู่ในระดับดีเมื่อพิจารณาราย ด้านของทักษะกระบวนการ พบว่านักเรียนมีทักษะการแก้ปัญหาอยู่ในลาดับที่ 1 มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ ทกั ษะการทางานกลมุ่ และทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ มีค่าเฉล่ยี ตา่ สุด ทั้งนเี้ ปน็ เพราะการจดั การเรียนการสอนโดย ใช้กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามแนวคิด STEAM ร่วมกับการสอนเชิงผลิตภาพน้ันเป็นแนวทางให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ดว้ ยตนเอง แกป้ ญั หาจากการสร้างชน้ิ งาน มีการระบุปญั หาทไี่ ดร้ บั มีวางแผนการทางาน ตาเนินการแกไ้ ข และ ตรวจสอบผลลัพธ์ของงาน ฝึกประสบการเณ์ในการแก้ปัญหาในแต่แผนการจัดการเรียนรู้จนเกิดความชานาญ ทาให้นักเรียนได้พัฒนาทักษะด้านการแก้ปัญหามีข้ึนตามลาดับ สอดคล้องกับแนวคิด วิศินีส์ อิศรเสนา ณ

งานวิจยั ในชนั้ เรียนภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2562 9 อยธุ ยา (2559) และสุคนธ์ สนิ ธพานนท์ (2558) ได้ให้ความหมายของการแก้ปญั หาวา่ เป็นการใช้ประสบการณ์ ท่ีเกิดจากการเรียนรู้มาเป็นพ้ืนฐานในแก้ปัญหา ซึ่งต้องใช้การคิดอย่างมีเหตุผลและการคิดตัดสินใจในปัญหา น้ัน ในด้านทักษะการทางานนักเรียนขาดประสบการณ์การทางานกลุ่มลักษณะน้ี จึงส่งผลให้การแบ่งงานใน กลุ่มยังไม่ชัดเจน นักเรียนยังไม่รู้หน้าท่ีของตนเองในกลุ่มไม่สามารถจาแนก จัดหมวดหมู่ เชื่อมโยงข้อมูล สรุปผลจากสง่ิ ที่กาหนดให้ ขาดการวางแผนแก้ไขปัญหา ตรวจสอบผลลัพธ์ ครูจึงกระตุ้นให้นักเรียนแบ่งหนา้ ท่ี ฟังเพ่ือนในกลุ่ม และฝึกการวิเคราะห์ปัญหา หรือสิ่งท่ีโจทย์กาหนดให้ นักเรียนค่อยๆปรับตัว ทางานกับเพ่ือน ๆ ได้มากข้ึนความขัดแย้งน้อยลง รับฟังความคิดเห็นของเพื่อนสามารถปรับตัวเข้ากับการทางานของกลุ่มได้ใน ด้านทักษะการคิดวิเคราะห์ มีค่าเฉลี่ยต่าสุด นักเรียนยังมีประสบการณ์ในทักษะการคิดวเิ คราะหท์ ี่น้อย ในการ ทางานกลมุ่ รวมกันย่อมมีความขดั แยง้ ในดา้ นความคดิ เพราะเปน็ ความสามารถเฉพาะบคุ คล เมอ่ื พจิ ารณาในด้านพัฒนาการของแตล่ ะทักษะกระบวนการ ในภาพรวมมรี ะดับการพฒั นาทสี่ งู ขึ้น แต่ เมื่อพิจารณารายด้านพบว่านักเรียนมีพัฒนาการในด้านทักษะการแก้ปัญหาที่สูงขึ้นตามลาดับ ซึ่งแตกต่างจาก ทักษะการวิเคราะห์และทักษะการทางานกลุ่มที่มีพัฒนาการสูง ต่า ไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งพัฒนาการ ด้านทักษะการแก้ปัญหามีผลในการพัฒนาที่สูงข้ึนตามลาดับการจัดกิจกรรม เน่ืองจากนักเรียนได้เรียนรู้ด้วน ตนเองในการแก้ปญั หา และการจัดการเรียนการสอนเปน็ การมุ่งเน้นใหน้ ักเรียนได้แก้ไขปัญหา หรือสร้างสรรค์ ช้ินงานที่ได้รับในแต่ละกิจกรรม นักเรียนจึงมีประสบการณ์ในการแก้ไขปัญหาท่ีได้รับพัฒนาการด้านทักษะ ความคิดสร้างสรรค์ มีค่าเฉล่ียต่าสดุ ในแผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 2 เป็นเพราะนักเรียนขาดประสบการณ์ในเร่อื ง ท่ีเรียน เวลาท่ีใช้ในการทาความเข้าใจในเน้ือเรื่องอาจน้อยเกินไป และพัฒนาการด้านทักษะการทางานกลุ่ม พบว่ามคี ่าเฉลย่ี สูง - ต่าไมเ่ ปน็ ไปตามสาดับ เนื่องจากแผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 2 มกี ารทางานกลุ่ม เพียง 1 ครั้ง และเป็นช้ันการเตรียมบริบทตามสภาพจริง เป็นข้ันตอนที่นักเรียนเรียนรู้ข้อมูลที่จะเรียน ซ่ึงไม่ใช่ช้ันดอนการ ดาเนนิ งานทาใหน้ ักเรยี นมีการแสดงความคดิ เหน็ ท่ไี มห่ ลากหลาย 2. ผลการศึกษาความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงาน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 โดยใช้ กิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิด STEAM ร่วมกับการสอนเชิงผลิตภาพ พบว่านักเรียนมีผลการประเมิน ความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงานอยู่ในระดับดีมาก ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ท่ีตั้งไว้ เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า 1) ด้านทักษะการทางานที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด เนื่องจากนักเรียนได้รับการฝึกฝนในการทางานที่เป็นขั้นตอน และ ต่อเน่ืองจากทาให้เกิดประสบการณ์ในการเรียนรู้ จนเกิดความชานาญในการทางานสอดคล้องกับแนวคิดของ วิจารณ์ พาณิชน์ (2556) และ ทิศนา แขมมณี (2557) ผู้เรียนต้องมีความรู้ความเข้าใจทั้งสาระวิชาทักษะชีวิต และทักษะการทางาน ผู้เรียนต้องลงมือทา ซ่ึงต้องอาศัยความรู้ ความคิดหรือประสบการณ์เป็นพื้นฐานในการ กระทา 2) ด้านความถูกต้องในการทางาน นกั เรยี นสามารถสรา้ งสรรค์ชนิ้ งานได้ตรงตามหวั ข้อ และระยะเวลา ที่กาหนดเกิดจากการสร้างข้อกาหนดหรือการตกลงร่วมกันในขั้นท่ี 2 การกาหนดเป้าหมาย ซึ่งครูและนักเรียน ร่วมกันสร้างข้อกาหนดเป้าหมาย นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอนเกิดความรับผิดชอบต่อการ

งานวจิ ัยในช้ันเรียนภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2562 10 เรียนรู้ของตนเอง สอดคลอ้ งกับแนวคดิ ของ วศิณีส์ อศิ รเสนา ณ อยุธยา (2559) กลา่ วว่ากระบวนการเรียนรู้ท่ี เหมาะสมท่ีสุดเพื่อให้ผู้เรียนได้รับความรู้อย่างเต็มที เพราะเกิดจากความต้องการเรียนรู้และสนใจของผู้เรียน เองก่อให้เกิดการเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต 3) ด้านความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้ STEAM นักเรียนได้รับ การพัฒนาความรู้ผ่านแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด STFAM ที่มุ่งให้นักเรียนสร้างผลผลิตเป็นช้ินงาน สง่ เสรมิ ให้นกั เรียนได้ใชส้ มองท้ังซกี ซ้ายและขวาท้งั ดา้ นวชิ าการ ตรรกะและด้านศลิ ปะ ภาษา 4) ด้านคุณสมบัติ ของชน้ิ งานอย่ใู นระดบั ดี นกั เรียนได้พัฒนาชิน้ งานตามแผนการจัดการเรยี นรู้ ทาใหเ้ กดิ การสะสมประสบการณ์ ในการพัฒนาช้ินงานจนได้ช้ินงานใหม่ท่ีมีและสามารถใช้งานได้ตามเกณฑ์ท่ีกาหนด สอดคล้องกับชมแข พงษ์ เจริญ (2555) ไพฑูรย์ สิลารัตน์ (2549) และ สมพร โกมารทัต (2557) ที่กล่าวว่า การสอนเชิงผลิตภาพเป็น วิธีการสอนเพอื่ ให้นักเรียนได้ปฏิบัตจิ นเกิดช้นิ งาน โดยใช้ความคดิ สร้างสรรค์ ในการสร้างนวตั กรรมใหมๆ่ ท้ังใน ด้านวิชาการและด้านผลผลิต ค้นคว้าด้วยตนเอง 5) ด้านความคิดสร้างสรรค์ นักเรียนสร้างช้ินงานที่มีความ แปลกใหม่ มีเอกลักษณ์ เป็นกระบวนการคิดที่มองเห็นความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ และทาให้เกิดความคิดใหม่ ต่อเนื่องกันไปเกิดผลงานในลักษณะต่าง ๆ ท่ีเป็นตัวของตัวเองและไม่ซ้าซ้อนแบบของคนอื่น สอดคล้องกับ แนวคิด Yakman (2008 บทคดั ย่อ) คิดค้นการเพ่ิม ตัว A (Arts) เขา้ ไปในการสอนแบบ STEM ซง่ึ กลายมาเป็น STEAM มีออกแบบการเรียนรู้ที่หลากหลายเน้นการบูรณาการ นกั เรียนมีความสนใจท่จี ะค้นหาฝึกทักษะต่าง ๆ และเข้าใจการทางานเป็นทีม สอนให้นักเรียนรู้จักการคิดอย่างสร้างสรรค์ Ylip (2012: บทคัดย่อ) ศึกษาเร่ือง ผลกระทบของการศึกษา STEAM ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาศึกษาปีท่ี 3 กับการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ เป็นการศึกษาการปลูกฝังให้ผู้เรียนได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์จนนาไปสกู่ ารการประดิษฐ์ สอดคล้องกับงานวิจัย ของ จารีพร ผลมูล (2558) พบว่า หน่วยบูรณา STEAM เปดิ โอกาสให้นักเรียนมีอสิ ระในการสร้างสรรคผ์ ลงาน นักเรียนเกิดความคิดรวบยอดจากการเรียนแบบบูรณาการ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ต้องหลากหลายเพื่อให้ สอดคลอ้ งกบั ความสามารถและความถนดั ของนักเรียน เมื่อพิจารณาในด้านพัฒนาการของความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงาน พบว่าพัฒนาการในด้าน ทักษะการทางานมีค่าเฉลี่ยที่สูงขึ้นตามลาดับ ซ่ึงเกิดจากการการฝึกฝนการทางานในแผนการจัดการเรียนรู้ที่ เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องจนทาให้เกิดทักษะในการทางานในส่วนของพัฒนาการค้านความคิดสร้างสรรค์ ด้าน ความถูกต้องในการทางาน ด้านคุณสมบัติชิ้นงาน และด้านความสามารถในการประยุกต์ใช้ความสามารถ STEAM มีค่าเฉลย่ี สูง ตา่ ไมเ่ ปน็ ไปในทิศทางเดยี วกัน พิจารณาแลว้ พบวา่ ในแผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 2 เรื่องแรง ลอยตวั นกั เรยี นมพี ัฒนาการที่ตา่ เน่ืองจากนกั เรียนขาดประสบการณแ์ ละเวลาในการศึกษาในเร่ืองท่ีเรียนทาให้ มีการลอกชิ้นงานกัน ขาดความเป็นอัตลักษณ์ ทาให้เกิดข้อผิดพลาดชิ้นงานไม่ตรงกับหัวข้อที่กาหนดช้ินงานมี คุณสมบัติที่ไม่ครบตามกาหนดรวมทั้งความสามารถในการประยุกต์ใช้ STEAM ในรายแผนที่ 2 ไม่ปรากฏ ชัดเจนเพ่ือให้ประเมินผลได้ เป็นผลให้คะแนนเฉลี่ยต่ากว่าแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 และ 3 การจัดการเรียน การสอนท่ีเหมาะสมกับผู้เรียนท้ังด้านเนื้อหาและระยะเวลามีส่วนช่วยให้นักเรียนประสบความสาเร็จในการ

งานวจิ ยั ในช้นั เรยี นภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 11 เรียนรอู้ ยา่ งเตม็ ความสามารถ การเรยี นรู้ท่ีดี นกั เรยี นควรได้รบั การพัฒนาในทุกดา้ น สอดคลอ้ งกบั วศิณสี ์ อศิ ร เสนา ณ อยุธยา (2559) และ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2558) ท่ีระบุว่าSTEAM เป็นการจัดการเรียนการสอนที่เชื่อมโยงความรู้ ความรู้ท้ัง 4 สาขาวิชา คือวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี วศิ วกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ โดยบูรณาการพฤติกรรมท่ีต้องการหรือคาดหวังให้เกิดข้นึ กับผู้เรยี น บนพ้ืน ฐานความรู้ความเข้าใจในการแก้ปัญหา ความคิดสร้างสรรค์กระตุ้นให้เกิดความสนใจในการสบื เสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การคิดอย่างมีเหตุมีผลในเชิงตรรกะ การส่ือสารการเปน็ ผ้นู าและการทางานร่วมกับผ้อู ื่น เน้นให้สามารถนาความรู้ทักษะ และประสบการณ์จากการเรียนรู้ไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตจริง และสอดคล้องกับ วิสูตร โพธ์ิเงิน (2562) ไดศ้ ึกษาการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้สรา้ งสรรค์ศลิ ปะตามแนวคิด STEAM ซ่ึงผูเ้ รยี นได้ลง มือปฏิบัติในการแก้ไขปัญหา และใช้ศิลปะเป็นสื่อในการสร้างสรรค์ชิ้นงานสะท้อนสิ่งที่ผู้เรียนได้คิดทาให้ผู้เกดิ ความภมู ใิ จและสร้างแรงจูงใจในการเรยี นวทิ ยาศาสตร์ 3. ผลจากการวิเคราะห์ความคิดเห็นของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 ต่อกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตาม แนวคิด STEAM ร่วมกับการสอนเชิงผลิตภาพ เป็นการสอบถามแบบปลายเปิดจานวน 5 ด้าน มีรายละเอียด ดังน้ี นักเรียนช่ืนชอบกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามแนวคิด STEAM ร่วมกับการสอนเชิงผลิตภาพ เพราะเป็นการ เรียนที่ได้ลงมือปฏิบัติ ใช้ความคิดสร้างสรรค์อย่างอิสระในการสร้างผลงาน เรียนรู้ผ่านการเล่น สนุกสนาน ท้า ทายความสามารถ นักเรียนหาวิธีในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนเป็นการเรียนรู้ด้วยตนเอง การสร้างชิ้นงาน ได้จากความสามารถของแต่ละบุคคล ทาให้เกิดความภูมิใจในการทางานมีความเช่ือมั่นในการเรียนท่ีดีขึ้น บรรยากาศในห้องเรียนตอนจัดกิจกรรม นักเรียนมีความคิดเห็นว่าดี สนุกสนาน เป็นส่วนมากได้ความรู้ มีการ พูดคุยส่งเสียงดัง การทางานเป็นกลุ่มจึงเกิดการโต้เถียงเพ่ือหาข้อสรุปบางครั้งความคิดเห็นไม่ตรงกันจึงทาให้ นักเรียนเกิดการทะเลาะเบาะแวงได้ ประโยชน์ท่ีนักเรียนได้รับ คือได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการสร้างช้ินงาน ได้เรียนรู้ส่ิงใหม่ ๆ เกิดความรู้และความสนุกสนาน รู้จักวิธีการประดิษฐ์เพิ่มข้ึนทาให้มีสมาธิ จีนตนาการ ซึ่ง กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามความสนใจของผู้เรียน ทาให้นักเรียนได้พัฒนาครบทุกด้าน ด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการ เจตคติท่ีดี ค่านิยม คุณธรรมจรยิ ธรรม การดารงชีวติ ในสังคม เพื่อใช้ในการดารงชวี ติ ที่มีคุณภาพ ในสงั คม จากการวิจัยผู้วิจัยพบว่าการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามแนวคิด STEAM ร่วมกับการสอนเชิงผลิต ภาพ เพอ่ื ส่งเสรมิ ทักษะกระบวนการ และความสามารถในการสรา้ งสรรคผ์ ลงาน เปน็ เครือ่ งมือที่ช่วยให้ผู้เรียน มีความรคู้ วามเข้าใจ และความสามารถในการในการสร้างสรรคผ์ ลงานดีขน้ึ ตามลาดบั โดยผ่านการเรียนรู้แบบ บรู ณาการ 4 กลมุ่ สาระความรูท้ าให้นกั เรียนสามารถใชค้ วามร้ทู ่ไี ดร้ บั สรา้ งชนิ้ งานทมี่ ีอัตลกั ษณข์ องตนเองอย่าง เป็นข้ันตอนและการได้รับการพัฒนาตามกระบวนการ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ปัญหาหรือสิ่งที่ท่ี เกิดขึ้นได้ มีพัฒนาการด้านการเขียน การออกแบบ การใช้ความคิดสร้างสรรค์ในชิ้นงานดีขึ้นตามลาดับ ด้าน การทางานร่วมกับผู้อื่น แบ่งหน้าที่การทางานและความรบั ผิดชอบงานรวมท้ังยอมรับความคิดเห็นทแี่ ตกต่างที่

งานวิจัยในชัน้ เรยี นภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2562 12 เกิดขึ้นภายในกลุ่มจากปัญหาความขัดแย้งที่มากสามารถลดน้อยลงตามพัฒนาการและกระบวนการที่จัดขึ้นใน กิจกรรม ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื การนาไปใช้ 1. ควรมีศึกษาเรื่องกระบวนการกลุ่ม เพ่ือให้นักเรียนทราบถึงการแบ่งหน้าท่ีความรับผิดชอบในกลุ่ม และเป็นการช่วยลดปัญหาการโต้เถียงในการทางานและยอมรับความคิดเหน็ ของส่วนรวม 2. แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง แรงลอยตัว นักเรียนมีประสบการณ์ในเรื่องที่เรียนยงั น้อยทาใหช้ ้ินงาน ที่ผลิตมีความคล้ายคลึงกันเป็นบางส่วนขาดความเป็นเอกลักษณ์ของตนเอง นักเรียนควรมีเวลาศึกษา ขอ้ มลู ภาพตา่ ง ๆ ใหม้ ากขนึ้ เพอื่ ให้นักเรียนมีแนวคดิ ในการสรา้ งชน้ิ งานทม่ี เี อกลักษณ์ของตนเอง 3. การจัดเตรียมอุปกรณ์ ในชั่วโมงท่ีเป็นการสร้างช้ินงานนักเรียนควรมีส่วนช่วยในการเตรียม ทาให้ นักเรียนมีความกระตือรือรน้ ในการเรียนเกิดความอยากเรยี นรู้ สร้างความรับผดิ ชอบและการมีสว่ นรว่ มในการ เรียน ขอ้ เสนอแนะเพอื่ การวจิ ัยครงั้ ต่อไป 1. ควรมีการศึกษาวิจัยเก่ียวกับตัวแปรอ่ืน ๆ ท่ีมีความสัมพันธ์กับการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตาม แนวคิด STEAM ร่วมกับการสอนเชิงผลิตภาพ เพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการและความสามารถในการ สรา้ งสรรค์ผลงาน เชน่ ทกั ษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการส่อื สาร ทกั ษะความร่วมมอื ทักษะชีวติ และอาชพี และ ทกั ษะด้านสารสนเทศสื่อและเทคโนโลยี 2. ควรมีการศึกษาวิจัย การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามแนวคิด STEAM ร่วมกับการสอนเชิงผลิต ภาพ เพ่ือส่งเสริมทักษะกระบวนการ และความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงาน โดยบูรณาการร่วมกับกลุ่ม สาระการเรียนรู้อื่น ๆ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาต่างประเทศ เปน็ ตน้ เอกสารอ้างองิ จารีพร ผลมลู . (2558), การพฒั นาหน่วยการเรียนร้บู รู ณาการแบบ STEAM สาหรบั นกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3: กรณีศึกษาชุมชนวังตะกอ จังหวัดชุมพร (วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต ไม่ได้ดีพิมพ์) มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒประสานมิตร, กรุงเทพฯ. ชมแข พงษ์เจริญ, (2555) การพัฒนารูปแบบการจัดการโรงเรียนเชิงสร้างสรรค์และผลิตภาพในประเทศไทย (วทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ ไม่ได้ดีพมิ พ์), มหาวทิ ยาลัยธรุ กจิ บณั ฑติ ย์, กรุงเทพฯ. ทิศนา แขมมณ,ี (2557), ปลกุ โลกการสอนใหม้ ชี วี ติ สู่ห้องเรยี น แห่งศตวรรษใหม่ (พิมพค์ รงั้ ท่ี 1), กรุงเทพฯ:

งานวิจัยในช้ันเรียนภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2562 13 สหมติ รพร้ินติง้ แอนดห์ บั ลิสซงิ่ ไพฑูรย์ สนิ ลารตั น์, (2549), การศกึ ษาเชิงสรา้ งสรรคแ์ ละผลิตภาพ. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย วศิณีส์ อิศรเสนา ณ อยธุ ยา, (2559), เรื่องน่ารู้เกีย่ วกบั STEM Educotion (สะเต็มศกึ ษา)(พิมพ์ครงั้ ที่ 1), กรุงเทพฯ: สานักพมิ พจ์ ฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย วจิ ารณ์ พาณิช (2556), การสร้างการเรียนรู้ส่ศู ตวรรษที่ 21 (พมิ พค์ รง้ั ที่ 1), กรุงเทพฯ ส.เจริญการพิมพ์ วิสตู ร โพธิ์เงิน (2560), STEAM ศิลปะเพอ่ื สะเต็มศกึ ษา: การพฒั นาการรับรู้ความสามารถและแรงบันดาลใจให้ เด็ก, วารสารครศุ าสตร์, 45(1), 320 - 334. สมพร โกมารทัต. (2557), การเรยี นร้เู ชิงฝผลิตภาพ. สืบค้นจาก http://www.edujournai,psu.ac.th สานกั งานส่งเสริมสงั คมแห่งการเรยี นรูแ้ ละคุณภาพเยาวชน. แรงงานรนุ่ ใหม่ ขับเคลอื่ น สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท.) (2558), การศึกษาคณิตศาสตร์ในระดับโรงเรยี น ไทย: การพัฒนา-ผลกระทบ-ภาวะถดถอยในปัจจุบัน สืบคน้ จากhttp://pisathailand.ipst.ac.th สุวทิ ย์ เมษินทรีย์ (2559), ไขรหสั \"ประเทศไทย 4.0\" สรา้ งเศรษฐกจิ ใหมก่ ้าวขา้ มกบั ดกั รายได้ปานกลาง, สบื คน้ จาก http://www.thairath.co.th สุคนธ์ สินธพานนท.์ (2558), การจัดการเรียนรขู้ องครยู ุคใหม่ เพ่อื พฒั นาทักษะผ้เู รยี นในศตวรรษที่ 21 (พิมพ์ ครั้งท่ี 1), กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พแ์ หง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั Yakman,G.G.(2008). STEAM education: An overview of creating a model of integrative education.Retrieved from http://www.iteaconnect.org/Conference/PATT/PATT19/Yakmanfnal19.pdf Yilip, K. (2012). The effect of STEAM education on elementary school student creativity improvement.Retrieved from https://www.researchgate.net/ publication/288986941

โรงเรยี นสระแกว้ สำนกั งำนเขตพน้ื ทก่ี ำรศกึ ษำมธั ยมศกึ ษำ เขต 7