การเรียนรูโดยใชป ญ หาเปนฐาน (Problem-Based Learning) การจัดการเรียนการสอนแบบใชปญหาเปนฐาน (Problem-Based Learning) คือ การเรียนรูโดยใช ปญหาที่เกิดขึ้นจริงเปนจุดเร่ิมตนในการเชื่อมโยงความรูท่ีมีอยูเดิม ใหผสมผสานกับขอมูลใหมที่ผูเรียนทําการ สืบคนเองผานกระบวนการเรียนรูดวยตนเอง แลวประมวลเปนความรูใหม เพ่ือใหผูเรียนเกิดทักษะในการคิด วิเคราะหและคิดแกปญหา รวมทั้งไดความรูตามศาสตรในสาขาวิชาที่ตนศึกษาไปพรอมกันดวย โดยผูเรียนจะ ไดพ ฒั นาผลการเรยี นรใู นหลายดา น ไดแ ก การตัดสินใจทด่ี ี การคิดอยางมีวิจารณญาณ การทํางานเปนทีม ใฝรู และการเรยี นรอู ยา งตอ เนื่องตลอดชวี ิต เพอื่ ใหส ามารถกาวทนั กับสภาพการเปล่ียนแปลงของโลก วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี ลกั ษณะของปญหาทนี่ ํามาใชใ นการสอน ลักษณะของปญหาท่ีดีของ PBL คือ สมจริง เปดโอกาสใหนักศึกษาฝกวิเคราะหและสังเคราะห ประเด็น มีความไมแนนอนและมีความเสี่ยง โดยปญหาที่เปนเลิศน้ันนักศึกษาควรไดฝกประเมินวิธีการเรียนรู และวธิ กี ารพฒั นาวธิ กี ารเรยี นรขู องตน ปญ หาท่ีใชใ นการเรยี นรสู ามารถแบง ออกไดเปน 2 ระดับ ดงั นี้ 1. ศึกษาจากปญหาท่ีเกิดขึ้นจริงในปจจุบัน มาเปนแนวทางในการคิดวิเคราะหเพ่ือหาสาเหตุและหา ทางแกไขปญ หาท่เี กดิ ขน้ึ ซึ่งใชเ วลาในการดําเนินงานประมาณ 1-3 สปั ดาห 2. สรา งหรือพัฒนาชิ้นงาน/ผลงาน โดยอา งอิงจากปญ หาท่ีพบจากชน้ิ งาน/ผลงานเดิม หรือการใชงาน ในปจ จุบัน ซงึ่ ใชเวลาในการดาํ เนินงานประมาณ 5-10 สัปดาห โดยลกั ษณะของปญหาทใี่ ชใ นการเรียนรูสามารถแบง ออกไดดังนี้ 1. เกดิ ขนึ้ ในชวี ิตประจําวันหรือประสบการณของผูเรยี น หรอื ผูเรยี นอาจมีโอกาสเผชญิ กับปญ หาน้นั 2. เปนปญ หาท่พี บบอย มีความสาํ คญั มีขอ มูลประกอบเพียงพอสําหรบั การคนควา 3. เปนปญหาที่ยังไมมีคําตอบชัดเจนตายตัว เปนปญหาที่มีความซับซอนคลุมเครือ หรือผูเรียนเกิด ความสงสยั จาํ เปน ตองสํารวจคน ควา และรวบรวมขอ มลู หรอื ทดลองกอ นจึงจะไดคาํ ตอบ 4. ปญ หาท่ีอยูในความสนใจ เปนประเด็นขัดแยง ขอถกเถียงในสังคม เปนสิ่งท่ีอยากรูแตไมรู ยังไมมี ขอสรปุ 5. ปญ หาท่สี รา งความเดือดรอ น เสียหาย เกิดโทษภัยและเปนส่ิงไมดีหากใชขอมูลโดยลําพังคนเดียว อาจทําใหต อบปญ หาผดิ พลาด 6. เปนปญหาที่มีการยอมรับวาจริง ถูกตอง แตผูเรียนไมเช่ือวาจริง ไมสอดคลองกับความคิดของ ผเู รียน 7. ปญหาท่ีอาจมีคําตอบหรือแนวทางในการแสวงหาคําตอบไดหลายทาง ครอบคลุมการเรียนรูท่ี กวา งขวางหลากหลายเนื้อหา 8. เปน ปญหาทมี่ คี วามยากงา ยเหมาะสมกบั พื้นฐานของผเู รียน 9. เปน ปญ หาสง เสริมความรดู า นเนอ้ื หา ทกั ษะ สอดคลอ งกบั หลกั สูตร
รปู ท่ี 1 แสดงการเตรยี มการของผสู อน และข้นั ตอนการจดั การเรยี นรูแบบ PBL
วธิ กี ารดําเนินงาน รปู ท่ี 1 แสดงขนั้ ตอนการจัดการเรียนรูแบบใชปญหาเปนฐาน ซึ่งจะแสดงถึงบทบาทของผูสอนในการ จัดการเรียนรแู ละบทบาทของผเู รยี น โดยแบงเปน 6 ข้นั ตอน ไดแ ก 1. การกําหนดปญหา 2. ทําความเขาใจปญหา 3. ดาํ เนินการศกึ ษาคนควา 4. ตรวจสอบแลกเปลยี่ น สังเคราะหความรู 5. สรุปและประเมนิ คา ของคําตอบ 6. นําเสนอและประเมนิ ผลงาน วธิ กี ารวัดผล 1. ประเมินจากคุณภาพของงานที่ไดร บั มอบหมาย 2. สังเกตพฤติกรรมการมสี วนรวมของนกั ศกึ ษา 3. ประเมนิ จากความกาวหนาของการดาํ เนนิ งาน 4. ผลการดาํ เนนิ งานสามารถตอบโจทยทกี่ าํ หนดได 5. การนาํ เสนอผลงาน และการถามตอบ 6. การสอบ 7. ผลงานทีม่ คี ุณภาพระดบั ดเี ดน สามารถนาํ ไปตอยอดทางอุตสาหกรรมหรือเผยแพรได ผลการเรียนรทู ี่เกิดขึ้น 1. นกั ศึกษามีคณุ ธรรมจรยิ ธรรมในการปฏบิ ตั งิ าน 2. นักศึกษาสามารถนําแนวคดิ หลักการ และทฤษฎีมาใชในการแกปญ หาได 3. นกั ศกึ ษาสามารถคนควา ขอมูล วเิ คราะห และนําไปแกป ญ หาได 4. นกั ศกึ ษาเขาใจความสาํ คญั ของปญ หา และใสใ จกบั การเรียนมากข้ึน 5. นักศึกษามีความเขาใจในเน้อื หาบทเรยี นมากขนึ้ 6. นกั ศึกษาเขาใจบทบาทหนา ท่ี มคี วามรบั ผดิ ชอบ สามารถทาํ งานเปนกลมุ ได 7. นกั ศกึ ษาสามารถใชเ ทคโนโลยีในการสืบคน และนําเสนอได 8. นกั ศึกษาสามารถปฏิบัตงิ านทมี่ อบหมายได 9. นกั ศกึ ษามีทกั ษะการใชเครื่องมือทีเ่ ก่ยี วของ
ปญ หาทม่ี ักเกดิ ในการจัดการเรยี นการสอนแบบ PBL และแนวทางแกไ ข ปญ หา แนวทางแกไ ข 1. ปญหาความรวมมือใน - ใหห วั หนา /สมาชิกทําการประเมินการทํางานของสมาชิกคนอ่ืนๆ ในกลุมเพ่ือ การทาํ งานกลมุ เปนการกระตุนใหเกิดความรวมมือ และนําผลการประเมินมาเปนสวนหนึ่งของ การพิจารณาคะแนน - มีการติดตามความกาวหนาในการทํางานเปนระยะ โดยสับเปล่ียนผูนําเสนอ ความกาวหนาในทกุ ๆครง้ั - มกี ารซกั ถามสมาชิกในกลุมที่ไมไดเปนผูรายงาน เพื่อกระตุนใหสมาชิกทุกคน ในกลุมตองรูและเขา ใจในงานอยา งแทจรงิ 2. ปญหาความใสใจและ - ใชกิจกรรมท่ีเนนการมีสวนรวมของนักศึกษาตามรูปแบบของ Active ความใฝร ู learning เพือ่ กระตนุ ความสนใจของนักศึกษา เชน กิจกรรม STEM, การแขงขัน ตอบปญหาโดยใชแอพลิเคช่ัน Kahoot, เทคนิค Game based Learning, Gamification ฯลฯ - พยายามสงเสริมการเรียนรู กระตุนการคนหาขอมูล โดยใชแผนงาน (Scenario) และการใชเ ทคโนโลยีใหเ กดิ ประโยชนส ูงสดุ - กระตุนใหนักศึกษาเขาใจสถานการณ ตระหนักถึงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การเรยี นรู เพอ่ื ใหกา วทันการเปลีย่ นแปลงของโลกในปจ จบุ นั 3. ปญหาการสงงานลาชา - มกี ารติดตามความกา วหนา เปนระยะ ไมเ สรจ็ ตามเวลา - กาํ หนดบทลงโทษในกรณสี งงานลาชา หรอื งานไมเสร็จตามเวลา - สอนใหน กั ศกึ ษารูจกั การวางแผนการทํางานอยางเปน ระบบ - ใชกรณีปญหาท่ีมีข้ันตอนการดําเนินงานตอเน่ือง ซึ่งหากทําแตละขั้นตอนไม ทันตามเวลาทกี่ ําหนด จะสงผลใหไมสามารถทาํ ขนั้ ตอนตอ ไปได 4. ปญหาการสบื คน - ผสู อนคอยควบคมุ และใหคําแนะนําในระหวางการสืบคน โดยอาจแนะนําคํา ท่ใี ชในการสืบคน และแหลง ขอ มลู ท่มี คี วามนา เชือ่ ถือ - บอกแนวทางการประเมนิ ความนาเชื่อถือของแหลงขอมลู - ใหน ักศึกษาวเิ คราะหและกลนั่ กรองขอมลู ทส่ี ืบคน - มีการตั้งคําถามกับนักศึกษาเพื่อตรวจสอบขอมูลที่สืบคน เชน ขอมูลท่ีสืบคน เพียงพอหรือไม จําเปนตองมีขอมูลใดเพิ่มเติมอีกบาง หรือคุณรูไดอยางไรวา ขอมูลทสี่ ืบคน มามีความถกู ตอ ง 5. ป ญ ห า ก า ร นํ า เ ส น อ - ใหมีการนําเสนอความกาวหนาของการดําเนินงานเปนระยะ เพ่ือใหเกิดการ ผลงาน พัฒนาทักษะในการนาํ เสนอ - เปดโอกาสนักศกึ ษาไดม ีโอกาสพัฒนาทกั ษะการนาํ เสนอบอยๆ ใหนักศึกษาได เหน็ ตัวอยางการนําเสนอทดี่ ี - ใหคําแนะนําในการเตรียมตัวเพ่ือนําเสนอ เทคนิคการนําเสนอท่ีดี ทันสมัย เทคนิคการคัดเลือกขอมูลในการทําสื่อ เทคนิคการทําสื่อ เชน อาจารยนําเสนอ เปนตัวอยา ง หรอื เปดสอื่ การนําเสนอท่ดี ี และยกตัวอยา งส่ือนําเสนอทดี่ นี าสนใจ
ปญ หา แนวทางแกไข 6. ปญ หาจํานวนนกั ศึกษา - หากจํานวนนักศึกษาในชั้นเรียนนอยกวา 12 คน ควรเลือกปญหาหรือ กรณศี กึ ษาทไี่ มใ หญเ กนิ ไป - หากจํานวนนักศึกษาในช้ันเรียนมากกวา 30 คน อาจมีการคัดเลือกนักศึกษา กลุมท่ีทํางานมีประสิทธิภาพ เปนทีมแมไกเพื่อชวยเหลือผูสอนในการดําเนิน กิจกรรมในช้นั เรยี น ตัวอยา งปญหาทไี่ ดมีใชการจดั การเรียนการสอนของคณะวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี รายวชิ า หวั ขอปญหา อาจารยผ ูสอน นวิ เมตกิ สแ ละไฮดรอลกิ ส การออกแบบระบบนิวเมติกสหรือไฮโดรลิกส นายนพรุจ เขยี วนาค อตุ สาหกรรม โดยใชการจําลองจากงานในภาคอตุ สาหกรรม ผศ.ดร.ตวงศิริ สยมภาค (หลักสูตรวิศวกรรมแมคคาทรอนกิ ส) นายญาธิปกร ธีระภทั ร การพฒั นาผลติ ภณั ฑอ าหาร การพัฒนาผลิตภัณฑอาหารสําหรับบุคคล พลชยั (หลักสูตรวิทยาศาสตรและ ท่ั ว ไ ป โ ด ย ใ ช วั ต ถุ ดิ บ ใ น ท อ ง ถ่ิ น เ ป น นายชวลิต ปญญาอิสระ เทคโนโลยกี ารอาหาร) องคประกอบหลกั อาหารไทย การทดสอบการทําอาหารตํารับโบราณและ ผศ.ปราณี นมิ ิบุตร (หลักสตู รอุตสาหกรรมอาหารและ อาหารตํารับที่มีเผยแพรท่ัวไปในปจจุบัน ใน นางสาวจนิ ตนา เพชร การบริการ) แงม มุ ของการใชนํ้าตาลทแี่ ตกตางกัน มณีโชติ การออกแบบวศิ วกรรมเมคคาทรอ จากวิถีชีวิตการตอเรือและการทํากะปของ ผศ.คมกฤช กิตติพร นิกส ชมุ ชนชายทะเลบางพระ (หลักสูตรวิศวกรรมแมคคาทรอนกิ ส) - ออกแบบลกั ษณะเรือทีใ่ ชใ นการหาปลาของ ชาวประมง จากเดิมเปนการตอเรือโดยใชมือ เทคโนโลยกี ารเพาะเลย้ี งสาหราย ทั้งหมด (หลักสูตรเทคโนโลยีชีวภาพ) - ออกแบบเครื่องบรรจุกะปท่ีไดมาตรฐาน จุลชวี วทิ ยาอาหาร เพอื่ ลดระยะเวลาในการบรรจุและเพิ่มผลผลิต (หลักสตู รเทคโนโลยชี ีวภาพ) กลมุ ของสาหรา ยที่มีผลกระทบตอส่ิงแวดลอม การทาํ ความเย็นและระบบหองเย็น และวธิ ีการแกปญ หา (หลักสูตรวศิ วกรรมเกษตร) การแปรรูปปลานิลเพื่อลดปญหาปลาลน ตลาด และเก็บรักษาไดนานโดยใชความรูทาง เทคโนโลยีชีวภาพ วิทยาการในดานการทําความเย็นมีความ เจริญกาวหนา มีการพัฒนาเทคโนโลยีใหมๆ ซึ่งมีความซับซอน ยากตอการทําความเขาใจ จึงตองการโมเดลท่ีอธิบายกลไกการทํางาน และชวยใหสามารถเลือกใชระบบการทํา ความเยน็ ใหเ หมาะสมกบั การใชง านได
รายวชิ า หัวขอปญ หา อาจารยผูส อน การวเิ คราะหและออกแบบระบบ นําหลักการวิเคราะหและออกแบบระบบมา ผศ.ณฐั ธยาน รจุ ิราธ (หลกั สูตรวิทยาการคอมพวิ เตอร) ชวยแกปญหาสมุดบันทึกกิจกรรมของ นาพัฒน นักศกึ ษา ขัน้ ตอนวิธแี ละโครงสรางขอ มูล ออกแบบอัลกอริทึมสําหรับพัฒนาโปรแกรม นายอรรถนิติ วงศจ ักร (หลักสูตรเทคโนโลยสี ารสนเทศและ เพื่อใชในการตรวจสอบความเหมือนของ การสอ่ื สาร) ขอความ ชวี เคมที างสัตวแพทย การปองกนั และรกั ษาโรคท่เี กิดกับสัตวเลย้ี ง นางสาวกรรณกิ าร พมิ พ (หลกั สตู รสัตวแพทยศาสตร) รส เคมอี นิ ทรยี ดว ยสารชีวโมเลกุล (หลกั สูตรสัตวแพทยศาสตร) ฟสกิ สท ัว่ ไป วกิ ฤตพลังงานและพลงั งานทดแทนจาก นายมาโนช รตั นคุณ (หลักสูตรวทิ ยาศาสตรและ เทคโนโลยกี ารอาหาร) ปฏิกิรยิ าเคมีอินทรีย (หลกั สตู รเกษตรกลวิธาน) ฟส ิกสเบอื้ งตน การหาตําแหนงของสนามสอบ เพ่ือใหเกิด นางสาววรภี รณ รตั (หลกั สตู รพืชศาสตร สัตวศาสตร ปญหาเสียงรบกวนจากสถานที่ใกลเคียงใหได นิสสัย ประมง และวิทยาศาสตรส ขุ ภาพ นอยทีส่ ดุ สัตว) แนวทางในการออกแบบระบบไฟฟา การตอ นางเพยี งขวัญ เครอื ภู วงจรไฟฟา และการเลือกอุปกรณไฟฟาให เหมาะสม เม่ือตองสรางที่อยูอาศัยหรือพ้ืนที่ การเกษตรในพ้นื ท่วี างเปลา ทไี่ มมไี ฟฟา เขา ถึง ขอเสนอแนะ การใช PBL อยางไดผล ตองฝกผูสอน และผูสอนตองเอาใจใสในการทําหนาที่อยางจริงจัง โดยผูสอน ควรหาโจทยท่ีมีอยูแลว เอามาปรับหรือเขียนใหมใหเขากับรายวิชาท่ีตนสอน หรือหากจะเขียนเองก็ได โดยมี คําแนะนาํ ข้นั ตอนตอไปน้ี 1. กาํ หนด หลักการ ความรู และทกั ษะท่ีตอ งการสําหรบั แกปญหา 2. เขยี นผลลพั ธการเรยี นรขู องผูเรียน 3. เสาะหาปญหาจริงที่เหมาะสม และสอดคลองกับอาชีพในอนาคตของกลมุ ผเู รียน 4. เขยี นเรื่องราวกรณศี ึกษาเพ่ือระบุปญหา มีขอมูลจําเพาะ พรอมท้ังตัวบุคคลท่ีจะแสดงบทบาทหนึ่ง หรือหลายบทบาทที่ผูเรียนเขา ไปสวมบทได 5. เขยี นเรื่องราวปญหาใหม สี วนขยาย โดยยดึ แนววาใหม คี วามสมจริง 6. กําหนดผลงานที่ตองสง เชน ขอตัดสินใจ บันทึก รายงาน งบประมาณ แผนปฏิบัติ หรือการ นําเสนอท่ีโนมนาวใจ แลวพัฒนารูปแบบสําหรับประเมินคุณภาพของผลงาน หลังจากนั้นอาจเขียนคูมือผูสอน (Facilitator's guide) และนาํ ออกเผยแพรทางอนิ เทอรเ น็ต ใหผูสอนทานอนื่ ๆ เลือกนําไปใช
Search
Read the Text Version
- 1 - 6
Pages: