Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการจัดการเรียนการสอนแบบ Problem-based Learning

คู่มือการจัดการเรียนการสอนแบบ Problem-based Learning

Published by piangkhwan.kru, 2019-06-13 04:14:59

Description: คู่มือการจัดการเรียนการสอนแบบ Problem-based Learning
จัดทำโดยคณะกรรมการการจัดการความรู้ด้านการเรียนการสอน
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก

Search

Read the Text Version

การเรียนรูโดยใชป ญ หาเปนฐาน (Problem-Based Learning) การจัดการเรียนการสอนแบบใชปญหาเปนฐาน (Problem-Based Learning) คือ การเรียนรูโดยใช ปญหาที่เกิดขึ้นจริงเปนจุดเร่ิมตนในการเชื่อมโยงความรูท่ีมีอยูเดิม ใหผสมผสานกับขอมูลใหมที่ผูเรียนทําการ สืบคนเองผานกระบวนการเรียนรูดวยตนเอง แลวประมวลเปนความรูใหม เพ่ือใหผูเรียนเกิดทักษะในการคิด วิเคราะหและคิดแกปญหา รวมทั้งไดความรูตามศาสตรในสาขาวิชาที่ตนศึกษาไปพรอมกันดวย โดยผูเรียนจะ ไดพ ฒั นาผลการเรยี นรใู นหลายดา น ไดแ ก การตัดสินใจทด่ี ี การคิดอยางมีวิจารณญาณ การทํางานเปนทีม ใฝรู และการเรยี นรอู ยา งตอ เนื่องตลอดชวี ิต เพอื่ ใหส ามารถกาวทนั กับสภาพการเปล่ียนแปลงของโลก วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี ลกั ษณะของปญหาทนี่ ํามาใชใ นการสอน ลักษณะของปญหาท่ีดีของ PBL คือ สมจริง เปดโอกาสใหนักศึกษาฝกวิเคราะหและสังเคราะห ประเด็น มีความไมแนนอนและมีความเสี่ยง โดยปญหาที่เปนเลิศน้ันนักศึกษาควรไดฝกประเมินวิธีการเรียนรู และวธิ กี ารพฒั นาวธิ กี ารเรยี นรขู องตน ปญ หาท่ีใชใ นการเรยี นรสู ามารถแบง ออกไดเปน 2 ระดับ ดงั นี้ 1. ศึกษาจากปญหาท่ีเกิดขึ้นจริงในปจจุบัน มาเปนแนวทางในการคิดวิเคราะหเพ่ือหาสาเหตุและหา ทางแกไขปญ หาท่เี กดิ ขน้ึ ซึ่งใชเ วลาในการดําเนินงานประมาณ 1-3 สปั ดาห 2. สรา งหรือพัฒนาชิ้นงาน/ผลงาน โดยอา งอิงจากปญ หาท่ีพบจากชน้ิ งาน/ผลงานเดิม หรือการใชงาน ในปจ จุบัน ซงึ่ ใชเวลาในการดาํ เนินงานประมาณ 5-10 สัปดาห โดยลกั ษณะของปญหาทใี่ ชใ นการเรียนรูสามารถแบง ออกไดดังนี้ 1. เกดิ ขนึ้ ในชวี ิตประจําวันหรือประสบการณของผูเรยี น หรอื ผูเรยี นอาจมีโอกาสเผชญิ กับปญ หาน้นั 2. เปนปญ หาท่พี บบอย มีความสาํ คญั มีขอ มูลประกอบเพียงพอสําหรบั การคนควา 3. เปนปญหาที่ยังไมมีคําตอบชัดเจนตายตัว เปนปญหาที่มีความซับซอนคลุมเครือ หรือผูเรียนเกิด ความสงสยั จาํ เปน ตองสํารวจคน ควา และรวบรวมขอ มลู หรอื ทดลองกอ นจึงจะไดคาํ ตอบ 4. ปญ หาท่ีอยูในความสนใจ เปนประเด็นขัดแยง ขอถกเถียงในสังคม เปนสิ่งท่ีอยากรูแตไมรู ยังไมมี ขอสรปุ 5. ปญ หาท่สี รา งความเดือดรอ น เสียหาย เกิดโทษภัยและเปนส่ิงไมดีหากใชขอมูลโดยลําพังคนเดียว อาจทําใหต อบปญ หาผดิ พลาด 6. เปนปญหาที่มีการยอมรับวาจริง ถูกตอง แตผูเรียนไมเช่ือวาจริง ไมสอดคลองกับความคิดของ ผเู รียน 7. ปญหาท่ีอาจมีคําตอบหรือแนวทางในการแสวงหาคําตอบไดหลายทาง ครอบคลุมการเรียนรูท่ี กวา งขวางหลากหลายเนื้อหา 8. เปน ปญหาทมี่ คี วามยากงา ยเหมาะสมกบั พื้นฐานของผเู รียน 9. เปน ปญ หาสง เสริมความรดู า นเนอ้ื หา ทกั ษะ สอดคลอ งกบั หลกั สูตร

รปู ท่ี 1 แสดงการเตรยี มการของผสู อน และข้นั ตอนการจดั การเรยี นรูแบบ PBL

วธิ กี ารดําเนินงาน รปู ท่ี 1 แสดงขนั้ ตอนการจัดการเรียนรูแบบใชปญหาเปนฐาน ซึ่งจะแสดงถึงบทบาทของผูสอนในการ จัดการเรียนรแู ละบทบาทของผเู รยี น โดยแบงเปน 6 ข้นั ตอน ไดแ ก 1. การกําหนดปญหา 2. ทําความเขาใจปญหา 3. ดาํ เนินการศกึ ษาคนควา 4. ตรวจสอบแลกเปลยี่ น สังเคราะหความรู 5. สรุปและประเมนิ คา ของคําตอบ 6. นําเสนอและประเมนิ ผลงาน วธิ กี ารวัดผล 1. ประเมินจากคุณภาพของงานที่ไดร บั มอบหมาย 2. สังเกตพฤติกรรมการมสี วนรวมของนกั ศกึ ษา 3. ประเมนิ จากความกาวหนาของการดาํ เนนิ งาน 4. ผลการดาํ เนนิ งานสามารถตอบโจทยทกี่ าํ หนดได 5. การนาํ เสนอผลงาน และการถามตอบ 6. การสอบ 7. ผลงานทีม่ คี ุณภาพระดบั ดเี ดน สามารถนาํ ไปตอยอดทางอุตสาหกรรมหรือเผยแพรได ผลการเรียนรทู ี่เกิดขึ้น 1. นกั ศึกษามีคณุ ธรรมจรยิ ธรรมในการปฏบิ ตั งิ าน 2. นักศึกษาสามารถนําแนวคดิ หลักการ และทฤษฎีมาใชในการแกปญ หาได 3. นกั ศกึ ษาสามารถคนควา ขอมูล วเิ คราะห และนําไปแกป ญ หาได 4. นกั ศกึ ษาเขาใจความสาํ คญั ของปญ หา และใสใ จกบั การเรียนมากข้ึน 5. นักศึกษามีความเขาใจในเน้อื หาบทเรยี นมากขนึ้ 6. นกั ศึกษาเขาใจบทบาทหนา ท่ี มคี วามรบั ผดิ ชอบ สามารถทาํ งานเปนกลมุ ได 7. นกั ศกึ ษาสามารถใชเ ทคโนโลยีในการสืบคน และนําเสนอได 8. นกั ศึกษาสามารถปฏิบัตงิ านทมี่ อบหมายได 9. นกั ศกึ ษามีทกั ษะการใชเครื่องมือทีเ่ ก่ยี วของ

ปญ หาทม่ี ักเกดิ ในการจัดการเรยี นการสอนแบบ PBL และแนวทางแกไ ข ปญ หา แนวทางแกไ ข 1. ปญหาความรวมมือใน - ใหห วั หนา /สมาชิกทําการประเมินการทํางานของสมาชิกคนอ่ืนๆ ในกลุมเพ่ือ การทาํ งานกลมุ เปนการกระตุนใหเกิดความรวมมือ และนําผลการประเมินมาเปนสวนหนึ่งของ การพิจารณาคะแนน - มีการติดตามความกาวหนาในการทํางานเปนระยะ โดยสับเปล่ียนผูนําเสนอ ความกาวหนาในทกุ ๆครง้ั - มกี ารซกั ถามสมาชิกในกลุมที่ไมไดเปนผูรายงาน เพื่อกระตุนใหสมาชิกทุกคน ในกลุมตองรูและเขา ใจในงานอยา งแทจรงิ 2. ปญหาความใสใจและ - ใชกิจกรรมท่ีเนนการมีสวนรวมของนักศึกษาตามรูปแบบของ Active ความใฝร ู learning เพือ่ กระตนุ ความสนใจของนักศึกษา เชน กิจกรรม STEM, การแขงขัน ตอบปญหาโดยใชแอพลิเคช่ัน Kahoot, เทคนิค Game based Learning, Gamification ฯลฯ - พยายามสงเสริมการเรียนรู กระตุนการคนหาขอมูล โดยใชแผนงาน (Scenario) และการใชเ ทคโนโลยีใหเ กดิ ประโยชนส ูงสดุ - กระตุนใหนักศึกษาเขาใจสถานการณ ตระหนักถึงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การเรยี นรู เพอ่ื ใหกา วทันการเปลีย่ นแปลงของโลกในปจ จบุ นั 3. ปญหาการสงงานลาชา - มกี ารติดตามความกา วหนา เปนระยะ ไมเ สรจ็ ตามเวลา - กาํ หนดบทลงโทษในกรณสี งงานลาชา หรอื งานไมเสร็จตามเวลา - สอนใหน กั ศกึ ษารูจกั การวางแผนการทํางานอยางเปน ระบบ - ใชกรณีปญหาท่ีมีข้ันตอนการดําเนินงานตอเน่ือง ซึ่งหากทําแตละขั้นตอนไม ทันตามเวลาทกี่ ําหนด จะสงผลใหไมสามารถทาํ ขนั้ ตอนตอ ไปได 4. ปญหาการสบื คน - ผสู อนคอยควบคมุ และใหคําแนะนําในระหวางการสืบคน โดยอาจแนะนําคํา ท่ใี ชในการสืบคน และแหลง ขอ มลู ท่มี คี วามนา เชือ่ ถือ - บอกแนวทางการประเมนิ ความนาเชื่อถือของแหลงขอมลู - ใหน ักศึกษาวเิ คราะหและกลนั่ กรองขอมลู ทส่ี ืบคน - มีการตั้งคําถามกับนักศึกษาเพื่อตรวจสอบขอมูลที่สืบคน เชน ขอมูลท่ีสืบคน เพียงพอหรือไม จําเปนตองมีขอมูลใดเพิ่มเติมอีกบาง หรือคุณรูไดอยางไรวา ขอมูลทสี่ ืบคน มามีความถกู ตอ ง 5. ป ญ ห า ก า ร นํ า เ ส น อ - ใหมีการนําเสนอความกาวหนาของการดําเนินงานเปนระยะ เพ่ือใหเกิดการ ผลงาน พัฒนาทักษะในการนาํ เสนอ - เปดโอกาสนักศกึ ษาไดม ีโอกาสพัฒนาทกั ษะการนาํ เสนอบอยๆ ใหนักศึกษาได เหน็ ตัวอยางการนําเสนอทดี่ ี - ใหคําแนะนําในการเตรียมตัวเพ่ือนําเสนอ เทคนิคการนําเสนอท่ีดี ทันสมัย เทคนิคการคัดเลือกขอมูลในการทําสื่อ เทคนิคการทําสื่อ เชน อาจารยนําเสนอ เปนตัวอยา ง หรอื เปดสอื่ การนําเสนอท่ดี ี และยกตัวอยา งส่ือนําเสนอทดี่ นี าสนใจ

ปญ หา แนวทางแกไข 6. ปญ หาจํานวนนกั ศึกษา - หากจํานวนนักศึกษาในชั้นเรียนนอยกวา 12 คน ควรเลือกปญหาหรือ กรณศี กึ ษาทไี่ มใ หญเ กนิ ไป - หากจํานวนนักศึกษาในช้ันเรียนมากกวา 30 คน อาจมีการคัดเลือกนักศึกษา กลุมท่ีทํางานมีประสิทธิภาพ เปนทีมแมไกเพื่อชวยเหลือผูสอนในการดําเนิน กิจกรรมในช้นั เรยี น ตัวอยา งปญหาทไี่ ดมีใชการจดั การเรียนการสอนของคณะวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี รายวชิ า หวั ขอปญหา อาจารยผ ูสอน นวิ เมตกิ สแ ละไฮดรอลกิ ส การออกแบบระบบนิวเมติกสหรือไฮโดรลิกส นายนพรุจ เขยี วนาค อตุ สาหกรรม โดยใชการจําลองจากงานในภาคอตุ สาหกรรม ผศ.ดร.ตวงศิริ สยมภาค (หลักสูตรวิศวกรรมแมคคาทรอนกิ ส) นายญาธิปกร ธีระภทั ร การพฒั นาผลติ ภณั ฑอ าหาร การพัฒนาผลิตภัณฑอาหารสําหรับบุคคล พลชยั (หลักสูตรวิทยาศาสตรและ ท่ั ว ไ ป โ ด ย ใ ช วั ต ถุ ดิ บ ใ น ท อ ง ถ่ิ น เ ป น นายชวลิต ปญญาอิสระ เทคโนโลยกี ารอาหาร) องคประกอบหลกั อาหารไทย การทดสอบการทําอาหารตํารับโบราณและ ผศ.ปราณี นมิ ิบุตร (หลักสตู รอุตสาหกรรมอาหารและ อาหารตํารับที่มีเผยแพรท่ัวไปในปจจุบัน ใน นางสาวจนิ ตนา เพชร การบริการ) แงม มุ ของการใชนํ้าตาลทแี่ ตกตางกัน มณีโชติ การออกแบบวศิ วกรรมเมคคาทรอ จากวิถีชีวิตการตอเรือและการทํากะปของ ผศ.คมกฤช กิตติพร นิกส ชมุ ชนชายทะเลบางพระ (หลักสูตรวิศวกรรมแมคคาทรอนกิ ส) - ออกแบบลกั ษณะเรือทีใ่ ชใ นการหาปลาของ ชาวประมง จากเดิมเปนการตอเรือโดยใชมือ เทคโนโลยกี ารเพาะเลย้ี งสาหราย ทั้งหมด (หลักสูตรเทคโนโลยีชีวภาพ) - ออกแบบเครื่องบรรจุกะปท่ีไดมาตรฐาน จุลชวี วทิ ยาอาหาร เพอื่ ลดระยะเวลาในการบรรจุและเพิ่มผลผลิต (หลักสตู รเทคโนโลยชี ีวภาพ) กลมุ ของสาหรา ยที่มีผลกระทบตอส่ิงแวดลอม การทาํ ความเย็นและระบบหองเย็น และวธิ ีการแกปญ หา (หลักสูตรวศิ วกรรมเกษตร) การแปรรูปปลานิลเพื่อลดปญหาปลาลน ตลาด และเก็บรักษาไดนานโดยใชความรูทาง เทคโนโลยีชีวภาพ วิทยาการในดานการทําความเย็นมีความ เจริญกาวหนา มีการพัฒนาเทคโนโลยีใหมๆ ซึ่งมีความซับซอน ยากตอการทําความเขาใจ จึงตองการโมเดลท่ีอธิบายกลไกการทํางาน และชวยใหสามารถเลือกใชระบบการทํา ความเยน็ ใหเ หมาะสมกบั การใชง านได

รายวชิ า หัวขอปญ หา อาจารยผูส อน การวเิ คราะหและออกแบบระบบ นําหลักการวิเคราะหและออกแบบระบบมา ผศ.ณฐั ธยาน รจุ ิราธ (หลกั สูตรวิทยาการคอมพวิ เตอร) ชวยแกปญหาสมุดบันทึกกิจกรรมของ นาพัฒน นักศกึ ษา ขัน้ ตอนวิธแี ละโครงสรางขอ มูล ออกแบบอัลกอริทึมสําหรับพัฒนาโปรแกรม นายอรรถนิติ วงศจ ักร (หลักสูตรเทคโนโลยสี ารสนเทศและ เพื่อใชในการตรวจสอบความเหมือนของ การสอ่ื สาร) ขอความ ชวี เคมที างสัตวแพทย การปองกนั และรกั ษาโรคท่เี กิดกับสัตวเลย้ี ง นางสาวกรรณกิ าร พมิ พ (หลกั สตู รสัตวแพทยศาสตร) รส เคมอี นิ ทรยี  ดว ยสารชีวโมเลกุล (หลกั สูตรสัตวแพทยศาสตร) ฟสกิ สท ัว่ ไป วกิ ฤตพลังงานและพลงั งานทดแทนจาก นายมาโนช รตั นคุณ (หลักสูตรวทิ ยาศาสตรและ เทคโนโลยกี ารอาหาร) ปฏิกิรยิ าเคมีอินทรีย (หลกั สตู รเกษตรกลวิธาน) ฟส ิกสเบอื้ งตน การหาตําแหนงของสนามสอบ เพ่ือใหเกิด นางสาววรภี รณ รตั (หลกั สตู รพืชศาสตร สัตวศาสตร ปญหาเสียงรบกวนจากสถานที่ใกลเคียงใหได นิสสัย ประมง และวิทยาศาสตรส ขุ ภาพ นอยทีส่ ดุ สัตว) แนวทางในการออกแบบระบบไฟฟา การตอ นางเพยี งขวัญ เครอื ภู วงจรไฟฟา และการเลือกอุปกรณไฟฟาให เหมาะสม เม่ือตองสรางที่อยูอาศัยหรือพ้ืนที่ การเกษตรในพ้นื ท่วี างเปลา ทไี่ มมไี ฟฟา เขา ถึง ขอเสนอแนะ การใช PBL อยางไดผล ตองฝกผูสอน และผูสอนตองเอาใจใสในการทําหนาที่อยางจริงจัง โดยผูสอน ควรหาโจทยท่ีมีอยูแลว เอามาปรับหรือเขียนใหมใหเขากับรายวิชาท่ีตนสอน หรือหากจะเขียนเองก็ได โดยมี คําแนะนาํ ข้นั ตอนตอไปน้ี 1. กาํ หนด หลักการ ความรู และทกั ษะท่ีตอ งการสําหรบั แกปญหา 2. เขยี นผลลพั ธการเรยี นรขู องผูเรียน 3. เสาะหาปญหาจริงที่เหมาะสม และสอดคลองกับอาชีพในอนาคตของกลมุ ผเู รียน 4. เขยี นเรื่องราวกรณศี ึกษาเพ่ือระบุปญหา มีขอมูลจําเพาะ พรอมท้ังตัวบุคคลท่ีจะแสดงบทบาทหนึ่ง หรือหลายบทบาทที่ผูเรียนเขา ไปสวมบทได 5. เขยี นเรื่องราวปญหาใหม สี วนขยาย โดยยดึ แนววาใหม คี วามสมจริง 6. กําหนดผลงานที่ตองสง เชน ขอตัดสินใจ บันทึก รายงาน งบประมาณ แผนปฏิบัติ หรือการ นําเสนอท่ีโนมนาวใจ แลวพัฒนารูปแบบสําหรับประเมินคุณภาพของผลงาน หลังจากนั้นอาจเขียนคูมือผูสอน (Facilitator's guide) และนาํ ออกเผยแพรทางอนิ เทอรเ น็ต ใหผูสอนทานอนื่ ๆ เลือกนําไปใช


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook