Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสารเพื่อนวิทยากร: วิทยาการสู่วิทยากรยาเสพติด ฉบับที่ 2/65

วารสารเพื่อนวิทยากร: วิทยาการสู่วิทยากรยาเสพติด ฉบับที่ 2/65

Published by Warwae 119, 2022-05-27 07:49:45

Description: วารสารเพื่อนวิทยากร: วิทยาการสู่วิทยากรยาเสพติด ฉบับที่ 2/65

Search

Read the Text Version

ÇÔ · Â Ò ¡ Ò Ã ÊÙ‹ ÇÔ · Â Ò ¡ Ã Â Ò à Ê ¾ µÔ ´ สำ�นักงาน ป.ป.ส. ปที ่ี ๒๔ ฉบับท่ี ๒ กมุ ภาพนั ธ์ – พฤษภาคม ๒๕๖๕ friend of lecturersกระทรวงยุติธรรม

ใคร...ท�ำ อะไร...ท่ีไหน การฝึกอบรมหลกั สูตร เจา้ พนักงาน ป.ป.ส. พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๖๔ มาตรา ๕ ใหส้ �ำ นกั งานคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามยาเสพตดิ จัดให้เจ้าพนักงาน ป.ป.ส.เข้ารับการฝึกอบรมก่อนเข้าปฏิบัติหน้าท่ี เพอ่ื ใหม้ กี ารพฒั นาความรู้ ความสามารถ และมปี ระสบการณภ์ าคปฏบิ ตั ิ รวมถึงการจัดฝึกอบรมเพ่ือเพิ่มทักษะและความเชี่ยวชาญ ทั้งน้ี ตามหลกั สตู รการฝกึ อบรมทไ่ี ดร้ บั ความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามยาเสพตดิ สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด จึงได้จัดฝึกอบรมหลักสูตรเจ้าพนักงาน ป.ป.ส. ประเภท ๑-๓ ในห้วง เดอื นมกราคมถงึ เมษายน ๒๕๖๕ ซงึ่ องคป์ ระกอบของหลกั สตู รแบง่ เปน็ ๕ หมวดวชิ า ไดแ้ ก่ ภาควชิ าการ การเสรมิ สรา้ งสมรรถนะและระเบยี บ วินัย มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม การศึกษาดูงาน และ การทดสอบและประเมนิ ผล ภายหลงั การฝกึ อบรมเจา้ พนกั งาน ป.ป.ส.ทง้ั ๘๗๔ นาย พรอ้ มทจี่ ะ น�ำ ความรใู้ นหลกั การส�ำ คญั ของพระราชบญั ญตั ใิ หใ้ ชป้ ระมวลกฎหมาย ยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๖๔ และพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดียาเสพติด (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๔ ไปใช้เป็นแนวปฏิบัติเพ่ือให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ในหน้าท่ีตามหลักนิติธรรม เป็นไปตามสมรรถนะ มีระเบียบวินัย ตลอดจนมีวิสัยทัศน์ที่ทันสมัยเพ่ือการปฏิบัติภารกิจด้านยาเสพติด ทม่ี คี วามสลบั ซบั ซอ้ นในสถาณการณ์ปจั จบุ ัน

เ พื่ อ น วิ ท ย า ก ร วทิ ยาการสู่วทิ ยากรยาเสพติด ปีที่ ๒๔ ฉบบั ท่ี ๒ กุมภาพันธ์ – พฤษภาคม ๒๕๖๕ สารบัญ วัตถุประสงค์ ๓ บอกเล่าเก้าสิบ ๑. เพ่ือเสริมสร้างความรู้และข้อมูลข่าวสารแก่ผู้ปฏิบัติ พชื กระท่อมสรา้ งเศรษฐกิจไทย หนา้ ทวี่ ทิ ยากร ทง้ั วทิ ยากรปอ้ งกนั ยาเสพตดิ วทิ ยากร ใชอ้ ย่างไรให้มีคณุ ค่าและยัง่ ยนื กระบวนการ กองบรรณาธิการ ๒. เพื่อเสริมสร้างและให้ข้อมูลข่าวสารแก่ผู้ปฏิบัติงาน ด้านป้องกัน ปราบปราม บำ�บัดรักษา และบริหาร ๑๐ บอกเลา่ เกา้ สบิ จัดการ การตรวจหาสารเสพติด จากการตายผดิ ธรรมชาติ ๓. เพ่ือให้เกิดการแลกเปล่ียนความรู้ ประสบการณ์ ดา้ นการป้องกันและแกไ้ ขปัญหายาเสพตดิ รองศาสตราจารย์ นายแพทยว์ ศิ าล วรสวุ รรณรักษ์ เง่ือนไขการสง่ บทความตพี มิ พ์เผยแพร่ ๑๓ วทิ ยาการปอ้ งกันยาเสพตดิ วารสารสำ�นกั งาน ป.ป.ส. รว่ มผนึกพลงั ลดอปุ สงคย์ าเสพตดิ : พฒั นาชมุ ชนอาสาบำ�บัดฟืน้ ฟู ผู้สนใจสามารถสง่ บทความด้านยาเสพตดิ เพอื่ ให้ กองบรรณาธกิ ารวารสารเพอื่ นวิทยากรฯ พิจารณา พิศมัย ทองเทีย่ ง ตีพมิ พ์เผยแพรไ่ ดต้ ามเงื่อนไขดังน้ี ๑. บทความที่ส่งมาขอรับการตพี ิมพ์ในวารสารต้องมี ๑๘ กฎหมายกบั การป้องกันแก้ไขปญั หายาเสพตดิ ประมวลกฎหมายยาเสพตดิ  : ตอนรกั ษา สารประโยชน์ในเชงิ วิชาการเกีย่ วกบั ยาเสพตดิ และตอ้ งไม่เคยตีพิมพ์หรืออยรู่ ะหวา่ งการ อ�ำ นาจ เหลา่ กอที พิจารณาเพอ่ื ตีพมิ พใ์ นวารสารอนื่ ๒. ตน้ ฉบับบทความตอ้ งเป็นไฟล์ Word โดยการ ๒๔ กฎหมายกบั การป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด ต้ังค่าหนา้ กระดาษ ให้กำ�หนดขอบบน ๓ นวิ้ การคดั กรอง การบ�ำ บดั รักษา ขอบลา่ ง ๒ นว้ิ รปู แบบตวั อกั ษร TH SarabunPSK และการฟ้ืนฟสู ภาพทางสงั คม  ตอนท่ี ๒ ขนาด ๑๖ point ๓. ผู้เขยี นจะไดร้ บั คา่ ตอบแทนตามระเบียบ ส�ำ นกั พฒั นาการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหายาเสพติด กระทรวงการคลงั อัตราหน้าละ ๒๕๐ บาท (สองรอ้ ยหา้ สิบบาทถ้วน) ๓๐ จุดเปลย่ี น ๔. ส่งบทความมาทก่ี องบรรณาธกิ ารวารสาร โอกาส ทต่ี อ้ งไขวค่ วา้ ... เพือ่ นวทิ ยากร ได้ ๒ ชอ่ งทาง ๕.๑ ทางไปรษณยี ท์ ี่ มนสั นันท์ นนุ่ เกดิ กองบรรณาธกิ ารวารสารเพ่ือนวทิ ยากร ส่วนพัฒนาบคุ ลากรด้านปอ้ งกนั ยาเสพติด สถาบันพฒั นาบุคลากรดา้ นการป้องกันและปราบ ปรามยาเสพติด สำ�นกั งานคณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปราม ยาเสพตดิ เลขที่ ๕ ถนนดินแดง แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรงุ เทพฯ ๑๐๔๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๒๔๗ ๐๙๐๑-๑๐ ต่อ ๓๓๐๑๑/๓๓๐๑๔ และ ๐ ๒๒๔๕ ๙๔๐๙ ๕.๒ ทางอีเมล [email protected] ทงั้ นี้ โปรดระบุชื่อ สกลุ หมายเลขโทรศัพท์ ของผเู้ ขยี นให้ชัดเจน หมายเหตุ การตพี ิมพเ์ ผยแพร่บทความเปน็ ไปตามที่ กองบรรณาธกิ ารวารสารเพ่ือนวทิ ยากร พิจารณา

บรรณาธิการแถลง วารสารเพ่ือนวิทยากร : วิทยาการสู่วิทยากร อยู่ท่ี “ชุมชน” ซึ่งได้รับผลกระทบจากปัญหาโดยตรง ยาเสพติด ฉบับที่ ๒ ของปี ๒๕๖๕ ประกอบด้วย และเป็นตัวแปรสำ�คัญไขปัญหาไปสู่ความสำ�เร็จ เนื้อหาท่ีน่าสนใจหลากหลายเช่นเคย โดยรวบรวม บทความประมวลกฎหมายยาเสพติด ตอนรักษา ความรดู้ า้ นยาเสพตดิ ทสี่ อดคลอ้ งกบั ความเปลยี่ นแปลง แสดงกรอบความคิด (Mindset) ท่ีส่งผลกระทบ ของสถานการณ์ทเ่ี ป็นประโยชน์ โดยตรงต่อสภาพปัญหายาเสพติดย่อมเริ่มต้นท่ี เริ่มต้นด้วยการขับเคล่ือนกิจกรรม พืชกระท่อม ปัจเจกชน ซ่ึงข้ึนอยู่กับภูมิหลังและกระบวนการ​ทาง สร้างเศรษฐกิจไทย ใช้อย่างไรให้มีคุณค่าและยั่งยืน ความคิดอันเป็นความเช่ือท่ีมีผลต่อพฤติกรรมที่ฝังอยู่ เป็นกิจกรรมการขับเคล่ือนงานเพ่ือพัฒนาต่อยอด ในตัวมนุษย์ และบทความการคัดกรอง การบำ�บัด ภายหลังการปลดล็อกพืชกระท่อม โดยจัดกิจกรรม รักษา และการฟื้นฟูสภาพทางสังคมตามประมวล สัญจรใน ๔ จังหวัดต่อเน่ือง และในฉบับน้ีมีบทความ กฎหมายยาเสพตดิ การจดั ตงั้ และการด�ำ เนนิ งานของ ด้านยาเสพติดท่ีนำ�มาจากผลการศึกษาวิจัยทาง​ ศูนย์คัดกรอง เพ่ือประเมินความรุนแรงของผู้เสพและ การแพทย์เรื่องการตรวจหาสารเสพติดจากการตาย สง่ ตอ่ เขา้ รบั การบ�ำ บดั รกั ษาและน�ำ เสนอเกย่ี วกบั สถาน ผิดธรรมชาติ โดยนายแพทย์และนักวิจัย คณะ พยาบาลยาเสพติดหรือสถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยา แพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัย เสพติด ตามประมวลกฎหมายยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๖๔ มหิดล ที่ร่วมผนึกพลังลดอุปสงค์ยาเสพติด: พัฒนา สุดท้ายหวังเป็นอย่างย่ิงว่าท่านผู้อ่านจะได้รับ ชุมชนอาสาบำ�บัดฟื้นฟู กล่าวถึงความสำ�คัญในการ สารประโยชนแ์ ละความรจู้ ากวารสาร “เพอ่ื นวทิ ยากร : ดำ�เนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพ้ืนท่ี วิทยาการส่วู ทิ ยากรยาเสพติด” เล่มน้คี รับ 2 เพ่ือนวิทยากร

กองบรรณาธิการ บอกเล่าเก้าสิบ พืชกระทอ่ ม สรา้ งเศรษฐกจิ ไทย ใช้อยา่ งไรใหม้ ีคุณค่าและย่ังยืน นับตั้งแต่ “วันปลดล็อกพืชกระท่อม ๒๔ สิงหาคม ๒๕๖๔” ซ่ึง เป็นวันท่ีพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๖๔ มีผลบังคับใช้ โดยการริเริ่มและส่ังการของนายสมศักด์ิ เทพสุทิน รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงยุติธรรม และขับเคลอ่ื นการดำ�เนนิ งานโดย สำ�นักงาน ป.ป.ส. ส่งผลให้พืชกระท่อมไม่เป็นยาเสพติดให้โทษ อกี ตอ่ ไป ซงึ่ กอ่ ใหเ้ กดิ คณุ ประโยชนแ์ กท่ กุ ภาคสว่ น ทงั้ ภาคประชาชน ทสี่ ามารถใชพ้ ชื กระทอ่ มตามวถิ ชี าวบา้ นไดอ้ ยา่ งเสรี และนกั วชิ าการ สามารถค้นคว้าศึกษาวิจัยเพ่ือ นำ�ไปใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ และทางเศรษฐกิจ ในการขับเคล่ือนการ ดำ�เนนิ งานใหเ้ ป็นไปอยา่ งต่อเน่ือง และสร้างการรบั รู้ให้แกป่ ระชาชน สำ�นกั งาน ป.ป.ส.จึงไดจ้ ดั กิจกรรม “พชื กระท่อม สร้างเศรษฐกิจไทย ใช้อย่างไรให้มคี ุณคา่ และยง่ั ยืน” โดยได้มกี ารเปิดกิจกรรม ในเดอื นมนี าคม ๒๕๖๕ ต่อด้วยการสญั จร ล่องใต้ ๔ จงั หวดั คอื สงขลา นครศรีธรรมราช พทั ลุง และสรุ าษฎรธ์ านี ในเดือนเมษายน-พฤษภาคม ๒๕๖๕ 3เพ่ือนวิทยากร

เปดิ กจิ กรรม “พชื กระทอ่ ม สรา้ งเศรษฐกิจไทย ใชอ้ ยา่ งไรใหม้ คี ุณคา่ และยงั่ ยืน” ในเวทีเปิดกิจกรรม “พืชกระท่อม สร้างเศรษฐกิจไทย ในการทำ�ตลาดเพื่อ ใช้อย่างไรให้มีคุณค่าและย่ังยืน” เมื่อวันท่ี ๑๐ มีนาคม ส่งออกต่างประเทศ ๒๕๖๕ ณ สำ�นักงาน ป.ป.ส. โดยมีนายสมศักดิ์ เทพสุทิน ซึ่งในช่วงแรกคงทำ�เป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมเป็นประธาน พร้อมทั้ง ในลักษณะของกระท่อม ผู้บริหารระดับสูงกระทรวงยุติธรรมร่วมเป็นเกียรติ รวมทั้ง บดผง และคอ่ ยพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ มนี กั วชิ าการ ผมู้ ชี อ่ื เสยี งทางสงั คม และผแู้ ทนวสิ าหกจิ ชมุ ชน อน่ื  ๆ ตอ่ ไป เชอ่ื วา่ อกี ๒ ปี การสง่ ออก รว่ มใหค้ วามคิดเห็นทน่ี า่ สนใจในแง่มมุ ตา่ ง ๆ อาทิ คงเปน็ ลํา่ เปน็ สนั มากขึน้ นายสมศกั ดิ์ เทพสทุ นิ กลา่ วถงึ การปลดลอ็ กพชื กระทอ่ ม สำ�หรับนายวิชัย ไชยมงคล เลขาธิการ ป.ป.ส. กล่าวว่า วา่ ในชว่ งแรกหลายคนยงั กงั วลวา่ จะมปี ญั หาอาชญากรรมหรอื ในระยะแรกสำ�นักงาน ป.ป.ส. จัดให้มีหมู่บ้านนำ�ร่อง เรอ่ื งสขุ ภาพหรอื ไม่ แตว่ นั นพ้ี บวา่ มผี ลดมี ากกวา่ ทห่ี ลายคนคดิ ท่ีอำ�เภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยจะทำ�ลายใน เดมิ มคี นทท่ี �ำ ความผดิ เกย่ี วกบั พชื กระทอ่ มกวา่ ๑๐๐,๐๐๐ คน พน้ื ทีอ่ น่ื ๆ แตท่ า่ นรฐั มนตรสี มศกั ดิ์ เทพสุทนิ เหน็ ประโยชน์ มหี มบู่ า้ นน�ำ รอ่ งทเ่ี ปน็ หมบู่ า้ นอนรุ กั ษ์ ๑๕๗ หมบู่ า้ น แตว่ นั นี้ ในการท่ีจะใช้เป็นพื้นที่ศึกษาวิจัย จึงได้ขออนุญาตจาก มคี นทใ่ี ชป้ ระโยชนจ์ ากพชื กระทอ่ มนา่ จะมเี พม่ิ ขน้ึ เปน็ ๑๐ เทา่ คณะกรรมการอาหารและยา (อย.) และจดั ท�ำ หมบู่ า้ นน�ำ รอ่ ง ในช่วงท่ีประเทศไทยประสบปัญหาวิกฤตจากการ รวม ๑๕๗ แห่งข้ึนมา ซึ่งสามารถคงพื้นท่ีปลูกไว้ได้ถึง แพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา่ หรอื โควดิ ๑๙ ท�ำ ให้ ๒๔,๐๐๐ ไร่ โดยปจั จบุ นั หลงั จากการปลดลอ็ กแลว้ มพี น้ื ทป่ี ลกู เศรษฐกิจติดขัด แต่พืชกระท่อมกลับเป็นพืชตัวใหม่ท่ีทำ�เงิน เพ่ิมข้ึนเป็น ๔๐,๐๐๐ ไร่ ซึ่งก็ยังไม่เพียงพอต่อการบริโภค ได้มหาศาล จะเห็นได้ว่าจากวันท่ี ปลดล็อกพืชกระท่อม ในประเทศ คงต้องใช้เวลาอีกระยะถึงจะมีจำ�นวนเพียงพอ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๖๔ จนถึงปัจจุบัน สามารถเปล่ียนใบไม้ที่ ในการสง่ ออกได้ ผดิ กฎหมายใหเ้ ปน็ เงนิ ไดถ้ งึ แสนลา้ นบาท ตอ่ ไปคงตอ้ งตอ่ ยอด​ 4 เพ่ือนวิทยากร

บอกเล่าเก้าสิบ ในแง่มุมด้านการศึกษาวิจัย นายสมชาย พืชกระท่อมกลบั เปน็ พืชตัวใหม่ ศรีวิริยะจันทร์ หัวหน้าสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ที่ทำ�เงนิ ไดม้ หาศาล จะเหน็ ไดว้ า่ และวิทยาศาสตร์ประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ และ จากวันท่ีปลดลอ็ กพืชกระทอ่ ม ประธานกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ สาขา ๒๔ สิงหาคม ๒๕๖๔ จนถงึ ปจั จุบัน วิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สามารถเปลีย่ นใบไมท้ ่ผี ดิ กฎหมาย กลา่ ววา่ การศกึ ษาวจิ ยั เกยี่ วกบั พชื กระทอ่ มหลาย ๆ เรอ่ื ง เริ่มดำ�เนินการมาตั้งแต่ปี ๒๕๔๕ โดยผลการวิจัย ใหเ้ ป็นเงินได้ถงึ แสนล้านบาท พน้ื ฐานพบวา่ สามารถใชท้ ดแทนสารเสพตดิ บางประเภทได้ ส�ำ หรบั การวจิ ยั ผลกระทบตอ่ สมองทไ่ี ดท้ ดลองในผทู้ ใ่ี ช้ 5เพ่ือนวิทยากร นานกว่า ๑ ปี และผู้ทดลองใช้นานท่ีสุดคือ ๔๗ ปี โดยใชก้ ารวดั คลน่ื สมองเทยี บกบั คนทไี่ มเ่ คยใชเ้ ลยพบวา่ ไม่มีความแตกต่างกัน ส่วนการวิจัยอ่ืน ๆ ที่เสริมเข้ามา เชน่ ผลติ ภณั ฑต์ น้ แบบ ยาตา่ ง ๆ และอตุ สาหกรรมอน่ื  ๆ อยรู่ ะหวา่ งการหาตัวอยา่ งการวิจยั มารว่ มพจิ ารณา ในเวทเี ปดิ กจิ กรรมครงั้ น้ี ยงั ไดร้ บั เสยี งสะทอ้ นจาก ภาคประชาชนโดยนายณรงค์ชัย สงไข่ ผู้แทนวิสาหกิจ ชุมชนสมุนไพรไทยทุ่งนารี จังหวัดพัทลุง กล่าวว่า ในอดีตชาวบ้านใช้เคี้ยวและปลูกพืชกระท่อมไว้เอง แต่เมื่อมีการปลดล็อกก็มีการเพาะต้นกล้าและขายใบ และมีการรวมกลุ่มกันสร้างวิสาหกิจชุมชนเพื่อทำ� ผลิตภัณฑ์แปรรูปท่ีสามารถสร้างรายได้ให้กับชุมชน และครอบครวั และจากการทค่ี นในพน้ื ทใี่ ชใ้ บกระทอ่ ม ในวิถีชีวิตมาอย่างยาวนานยืนยันว่ากระท่อมเป็น พชื มหศั จรรย์ และตอ้ งขอบคณุ รฐั บาลและนายสมศกั ด์ิ เทพสุทิน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ท่ีช่วย ผลักดนั กฎหมายดี ๆ ทีเ่ ปน็ ประโยชน์ต่อชาวบา้ น สำ�หรับนายคฑาวุธ ทองไทย หรือ อาจารย์ไข่ วงมาลฮี วนนา่ กลา่ ววา่ ในฐานะคนใตต้ อ้ งขอบคณุ รฐั บาล และนายสมศักด์ิ เทพสุทิน ​เนื่องจากวิถีชีวิตท่ีปู่ย่า ตายายเคย้ี วใบกระทอ่ มเพอ่ื ใหส้ แู้ ดด มกี �ำ ลงั ท�ำ ไรไ่ ถนา และเลี้ยงวัวถือเป็นวิถีด้ังเดิมท่ีแสดงให้เห็นถึงความ อุดมสมบูรณ์ของประเทศ เพราะพืชกระท่อมไม่ได้ สร้างเศรษฐกิจอย่างเดียวแต่ยังทำ�ให้เกิดการใช้ชีวิต แบบพอเพยี งดว้ ย และไดแ้ ตง่ เพลง “วนั ทร่ี อคอย” ขนึ้ เพอ่ื สอ่ื สารกบั ทกุ คน และในการจดั กจิ กรรมพชื กระทอ่ ม สร้างเศรษฐกิจไทย ใช้อย่างไรให้มีคุณค่าและยั่งยืน สัญจร ๔ จังหวัด วงมาลีฮวนน่าจะไปร่วมแสดงดนตรี ด้วย

กิจกรรม “พืชกระท่อม สร้างเศรษฐกิจไทย ใชอ้ ยา่ งไรใหม้ คี ณุ คา่ และยงั่ ยนื ” สญั จรใน ๔ จงั หวดั คอื สงขลา นครศรธี รรมราช พทั ลงุ และสรุ าษฎรธ์ านี มีนายสมศักดิ์ เทพสุทิน รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ยุติธรรมเป็นประธานในพิธี พร้อมด้วยผู้บริหาร กระทรวงยุติธรรม และเลขาธิการ ป.ป.ส. ร่วมเป็น เกยี รตใิ นงานมนี กั วชิ าการจากมหาวทิ ยาลยั ในพน้ื ที่ รว่ มใหข้ อ้ มลู ทางการศกึ ษาวจิ ยั กลมุ่ วสิ าหกจิ ชมุ ชน ร่วมแสดงผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่มาจากพืชกระท่อม ทั้งกาแฟ ยาแก้ปวด ชาชงสมุนไพร ชากระท่อม พรอ้ มดม่ื นาํ้ มนั กระทอ่ ม ไอศกรมี หมากฝรงั่ ฯลฯ ตลอดจนการแสดงคอนเสิร์ตของวงมาลีฮวนน่าท่ี สอดแทรกความรแู้ ละการใชป้ ระโยชนจ์ ากพชื กระทอ่ ม ผา่ นภาษาทอ้ งถิน่ แกป่ ระชาชนผู้มาร่วมงาน 6 เพ่ือนวิทยากร

บอกเล่าเก้าสิบ ประเดิมสงขลา เดินสายขอบคณุ ชาวใต้ กิจกรรมสัญจร “พืชกระท่อมสร้างเศรษฐกิจไทย ใช้อย่างไรให้มีคุณค่าและย่ังยืน” คร้ังท่ี ๑ จัดข้ึนเม่ือ วันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๖๕ ณ มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ ซึ่งนายสมศักดิ์ เทพสุทิน ได้กล่าวแสดง ความขอบคุณพ่ีน้องประชาชนชาวสงขลาท่ีมีส่วนร่วม ทำ�ให้กฎหมายพืชกระท่อมผ่าน เพราะหากขาดการ สนับสนุนจากพ่ีน้องชาวใต้การปลดล็อกพืชกระท่อม คงไม่ประสบความสำ�เร็จ ในเวลานี้สามารถนำ�พืช กระท่อมมาซ้ือ-ขาย และนำ�มาใช้กินตามวิถีชาวบ้าน ไดโ้ ดยไมผ่ ดิ กฎหมาย การเร่ิมเดินหน้าและได้ศึกษาเรื่องพืชกระท่อม เพราะเหน็ วา่ เปน็ ประโยชน์ โดยเมอื่ ศกึ ษาขอ้ กฎหมาย วา่ มคี วามเปน็ ไปไดจ้ งึ ด�ำ เนนิ การตามขนั้ ตอนเพอ่ื ปลด ล็อกพืชกระท่อม ทำ�ให้เปล่ียนใบกระท่อมที่ผิด กฎหมายมา ๗๘ ปี ใหเ้ ปน็ เงนิ มหาศาล และพบวา่ ยงั มีความตอ้ งการใบกระทอ่ มสงู มากกวา่ การผลิต ด้านการส่งออกประเทศไทยมีข้อได้เปรียบท่ีพืช กระท่อมปลูกได้ดีในเขตร้อนชื้น โดยเฉพาะภาคใต้ รวมทั้งการท่ีคนในพ้ืนท่ีมีความใกล้ชิดกับพืชกระท่อม มานานจนเกดิ ภมู ปิ ญั ญาทสี่ บื ตอ่ กนั มา สามารถพฒั นา ตอ่ ยอดสกู่ ารเปน็ สนิ คา้ สมนุ ไพร จงึ เปน็ โอกาสส�ำ หรบั ผู้ประกอบการไทยท่ีสนใจทำ�ตลาดสินค้าพืชกระท่อม ในการเพม่ิ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั คอื ตอ้ งเรง่ พัฒนาคุณภาพให้มีมาตรฐานในการผลิตและการ บรโิ ภคทปี่ ลอดภยั ซง่ึ จะชว่ ยใหส้ นิ คา้ กระทอ่ มไทยเปน็ ที่ยอมรับ ตลอดจนต้องต่อยอดงานศึกษาวิจัยเพ่ือ พฒั นาผลิตภัณฑ์ไปสตู่ ลาดโลก 7เพื่อนวิทยากร

พบปะประชาชนนครศรีธรรมราช หวังชาวบา้ นรเิ รม่ิ พฒั นาตอ่ ยอดกระท่อม เม่ือวันท่ี ๒ เมษายน ๒๕๖๕ ณ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จังหวัด นครศรีธรรมราช มีการจัดกิจกรรม “พืชกระท่อมสร้างเศรษฐกิจไทย ใชอ้ ยา่ งไรใหม้ คี ณุ คา่ และยง่ั ยนื ” ครง้ั ท่ี ๒ ในครง้ั นน้ี ายสมศกั ด์ิ เทพสทุ นิ กไ็ ดแ้ สดงความขอบคณุ ชาวนครศรธี รรมราชทร่ี ว่ มสนบั สนนุ กนั จนท�ำ ให้ กฎหมายปลดล็อกพืชกระท่อมผ่านสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา ไดส้ �ำ เรจ็ โดยในพนื้ ทจี่ งั หวดั นครศรธี รรมราชมพี น้ื ทน่ี �ำ รอ่ งอยหู่ ลายแหง่ ทไ่ี ดเ้ กบ็ รกั ษาตน้ กระทอ่ มไวถ้ งึ ๘๘๔ ตน้ และขอขอบคณุ ๔๔๐ ครวั เรอื น ท่ีช่วยกันรักษาไว้ และหวังว่าจะใช้ในการต่อยอดทำ�ธุรกิจสร้างรายได้ ให้แก่ครอบครัว เพราะพืชกระท่อมของไทยน่าจะเป็นสายพันธุ์ท่ีดีท่ีสุด และทางมหาวทิ ยาลยั วลยั ลกั ษณก์ พ็ รอ้ มชว่ ยสนบั สนนุ ท�ำ การศกึ ษาวจิ ยั พบปะประชาชนพัทลุงขอบคณุ ชาวบ้าน ช่วยหนุนปลดลอ็ กกระท่อม ปิดท้ายกิจกรรม “พืชกระท่อมสร้างเศรษฐกิจไทย ใช้อย่างไร ให้มีคุณค่าและย่ังยืน” ครั้งที่ ๔ ใน วันที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๖๕ ณ มหาวทิ ยาลยั ทกั ษณิ วทิ ยาเขตพทั ลงุ จงั หวดั พทั ลงุ ซง่ึ นายสมศกั ดิ์ เทพสุทิน ได้กล่าวไว้ว่าการปลดล็อกกระท่อมได้ดำ�เนินมา ๘-๙ เดือน แล้ว มพี ่ีน้องประชาชนชว่ ยกันผลกั ดัน และมี ๑๕๗ หม่บู า้ นท่อี นุรักษ์ ไวเ้ พอ่ื ใหศ้ กึ ษาวจิ ยั ซงึ่ จ�ำ เปน็ ตอ้ งหาแนวทางของการเพม่ิ มลู คา่ และตอ้ ง พ่ึงมหาวิทยาลัยและกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรม (อว.) ในการศึกษาวจิ ัยต่อยอดให้มากขนึ้ และยังได้ทิ้งท้ายไว้ว่า “โอกาสของไทยยังก้าวไปได้อีก เราจะ เดินไปด้วยความระมัดระวัง รักษาคุณภาพ ต้องซื่อสัตย์จึงจะ เดนิ หนา้ ไปได้ และขอขอบคุณพีน่ ้องทุกคนท่ีชว่ ยกนั ผลักดนั ” 8 เพื่อนวิทยากร

ขอบคุณชาวสรุ าษฎรธ์ านี เก็บกระท่อมมา ๗๘ ปี “พืชกระท่อมสร้างเศรษฐกิจไทย ใช้อย่างไรให้มีคุณค่าและยั่งยืน” ครงั้ ท่ี ๓ จดั ขน้ึ เมอ่ื วนั ท่ี ๖ พฤษภาคม ๒๕๖๕ ณ โรงแรมแกว้ สมยุ จงั หวดั สุราษฎร์ธานี ภายหลังเป็นประธานในการเปิดงาน นายสมศักดิ์ เทพสุทิน กลา่ ววา่ ภายหลงั จากการปลดลอ็ กพชื กระทอ่ มพบวา่ มคี วามตอ้ งการพชื กระทอ่ ม มากขน้ึ แตต่ นเกรงวา่ หากปลกู มากไปสกั วนั หนงึ่ ราคาจะตก ดงั นน้ั ตอ้ งหา แนวทางที่จะทำ�ให้พืชกระท่อมมีมูลค่าทางเศรษฐกิจจากการศึกษาดูงาน ท่ีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่มีการทำ�วิจัยที่น่าสนใจ และเชื่อว่ายังมีอีกหลาย มหาวทิ ยาลยั ทศ่ี กึ ษาวจิ ยั เรอ่ื งน้ี หากท�ำ ส�ำ เรจ็ จะตอ่ ยอดได้ ซง่ึ เปน็ ความหวงั และอาชีพใหม่ของเกษตรกร และขอขอบคุณชาวสุราษฎร์ ที่เก็บกระท่อม มา ๗๘ ปี ซง่ึ ท�ำ ใหไ้ ดน้ �ำ ไปใชศ้ กึ ษาวจิ ยั และน�ำ มาสกู่ ารปลดลอ็ กได้ ส�ำ หรบั เปา้ หมายในการสง่ ออกพชื กระทอ่ มนน้ั พบวา่ ราคาบา้ นเรายงั สงู กวา่ ประเทศ เพื่อนบ้าน จงึ ขอใหอ้ ดทนอกี นิด ตนไมท่ ิ้งโครงการด ี ๆ แบบน้แี นน่ อน ในกิจกรรมสัญจรพืชกระท่อมฯ  คร้ังที่  ๑-๔  สำ�นกั งาน ป.ป.ส. ไดจ้ ดั กจิ กรรม “ขายทอดตลาด ทรพั ยส์ นิ ของกองทนุ ปอ้ งกนั  ปราบปราม และแก้ไข ปัญหายาเสพติด”  ควบคู่ไปด้วย  โดยรายได้จาก การขายทอดตลาดจะนำ�ไปใช้สนับสนุนกิจกรรม ประโยชน์ต่อไป  ซ่ึงการขายทอดตลาดได้รับ ความสนใจจากประชาชนในการยื่นประมวลสินค้า ท่ีหลากหลายทั้งทองรูปพรรณ  เคร่ืองประดับ  วัตถมุ งคล โมเดล รวมทั้งท่ดี นิ และสิ่งปลกู สรา้ ง 9เพื่อนวิทยากร

บอกเล่าเก้าสิบ การตรวจหาสารเสพตดิ จากการตาย ผดิ ธรรมชาต*ิ รองศาสตราจารย์ นายแพทยว์ ิศาล วรสวุ รรณรกั ษ*์ * การติดตามข้อมูลยาเสพติดจากการตรวจทาง ด้านนิติเวชศาสตร์/นิติวิทยาศาสตร์ เป็นวิธีการที่มี ความน่าเชื่อถือสูงมาก เน่ืองจากมีผลการตรวจทาง วิทยาศาสตร์เป็นส่ิงยืนยันชนิดของสารเสพติดท่ี ตรวจพบ ข้อมูลด้านนิติเวชศาสตร์นี้เป็นข้อมูลจาก การศึกษาจากผู้ท่ีเสียชีวิตผิดธรรมชาติที่ต้องได้รับ การตรวจชันสูตรพลิกศพตามประมวลกฎหมายวิธี พิจารณาความอาญา มาตรา ๑๔๘ ซึ่งได้แก่ ศพทฆี่ า่ ตวั ตาย ถกู ผอู้ นื่ ทที่ �ำ ใหต้ าย ถกู สตั ว์ ทำ�ร้าย ตายโดยอุบัติเหตุ หรือตายโดย มิปรากฏเหตุ ในแต่ละปีที่มีผู้เสียชีวิต โดยผดิ ธรรมชาตทิ ม่ี กี ารรายงานในระบบ ของสถาบนั ทม่ี แี พทยน์ ติ เิ วชประมาณ ๒๐,๐๐๐ รายทั่วประเทศ ซ่ึงตาม กฎหมายพนกั งานสอบสวนรว่ มกบั แพทย์นิติเวชหรือผู้ท่ีเกี่ยวข้องมี อ�ำ นาจในการตรวจชนั สตู รพลกิ ศพ และหากสงสัยว่าการเสียชีวิต ผดิ ธรรมชาตนิ น้ั อาจเกย่ี วขอ้ งกบั สารเสพตดิ กส็ ามารถตรวจพสิ จู นห์ า สารเสพติดในผู้เสยี ชวี ิตนั้น ๆ ได้ โดยสามารถตรวจจากสารคัดหล่ังต่าง ๆ ในศพได้หลายทาง เช่น เลือด ปัสสาวะ สารใน กระเพาะอาหาร นํ้าในลูกตา รวมถึงเส้นผมและ สารคดั หล่ังทุกชนดิ จากศพ   * บทความนี้นำ�มาจากบทสรุปสำ�หรบั ผบู้ ริหารในรายงานผลการดำ�เนินงานโครงการเฝ้าระวังการแพรร่ ะบาดสารเสพติดจากงานนิติเวชศาสตร์ ตามยุทธศาสตรช์ าติด้านความม่นั คง ปี ๒๕๖๔ ดำ�เนินการโดย เครือขา่ ยเฝ้าระวงั ปญั หาสารเสพติดจากการตรวจหาสารเสพติดจากชีววัตถุ ทางนติ เิ วชศาสตร/์ นิตวิ ทิ ยาศาสตร์ สนบั สนุนโดย สำ�นกั งานคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามยาเสพติด กระทรวงยตุ ิธรรม ** นายแพทย์/นกั วิจยั สาขาวิชานติ ิเวชศาสตร์ ภาควิชาพยาธิวทิ ยา คณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 10 เพื่อนวิทยากร

ประเทศไทยมีแพทย์นิติเวชกระจายอยู่ในหลายสถาบัน บอกเล่าเก้าสิบ ทวั่ ประเทศ ทงั้ หนว่ ยงานของมหาวทิ ยาลยั ส�ำ นกั งานต�ำ รวจ แห่งชาติ สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ และโรงพยาบาลสังกัด ผลการดำ�เนินงานตั้งแต่ปี ๒๕๕๐-๒๕๖๔ พบว่า กระทรวงสาธารณสุข หน่วยงานเหล่านี้มีการตรวจชันสูตร มจี �ำ นวนผเู้ สยี ชวี ติ ทบี่ นั ทกึ ในระบบฐานขอ้ มลู โดยเครอื ขา่ ย พลิกศพ และตรวจสารพิษหรือสารเสพติดจากศพทั้งส้ิน เฝา้ ระวงั ฯ ทง้ั หมด ๒๗๗,๙๔๖ ราย และไดร้ บั การพจิ ารณา หากสามารถนำ�ข้อมูลผลการตรวจสารเสพติดจากหลาย สง่ ตรวจสารเสพตดิ แอลกอฮอล์ สารอนื่  ๆ หรอื การตรวจ สถาบนั ทว่ั ประเทศไทยมาวเิ คราะหร์ ว่ มกนั จะเปน็ ประโยชน์ คัดกรอง (screening) ท้ังส้ิน ๑๕๖,๙๙๕ ราย คิดเป็น อย่างมากท่ีจะแสดงให้เห็นถึงภาพรวมของสถานการณ์การ ร้อยละ ๕๖ โดยตรวจพบสารเสพติดอย่างน้อย ๑ ชนิด แพร่ระบาดของสารเสพติด และแนวโน้มของการใช้ยาเสพ คิดเป็นร้อยละ ๙.๗๗ เม่ือพิจารณาการส่งตรวจและ ตดิ ในประเทศไทย ซงึ่ ผลทไ่ี ดจ้ ากการวจิ ยั นจ้ี ะเปน็ ประโยชน์ การตรวจพบสารเสพตดิ ในปี ๒๕๖๔ ในชว่ งอายตุ า่ ง ๆ พบ อย่างมากที่จะนำ�มาซึ่งแผนการป้องกันและปราบปรามยา แนวโน้มท่ีสูงขึ้นอย่างต่อเน่ืองในกลุ่มผู้ท่ีมีอายุ ในกลุ่มอายุ เสพติดต่อไปในอนาคต ๔๐-๔๙ ปี มากที่สุด และรองลงมากลุ่มอายุ ๕๐-๕๙ ปี จงึ สะทอ้ นใหเ้ หน็ วา่ มกี ารใชส้ ารเสพตดิ ทงั้ ในกลมุ่ วยั กลางคน ตั้งแต่ปี ๒๕๕๐ เป็นต้นมา หน่วยงานที่ปฏิบัติงาน เพ่ิมข้ึนมาก นอกจากนี้ยังตรวจพบสารเสพติดอย่างน้อย ด้านนิติเวชศาสตร์และนิติวิทยาศาสตร์ได้ร่วมกันจัดต้ัง ๑ ชนดิ เพม่ิ ขน้ึ ในกลมุ่ ผเู้ สยี ชวี ติ โดยผดิ ธรรมชาตทิ ปี่ ระกอบ “เครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาสารเสพติดจากการตรวจหา อาชพี ธรุ กจิ สว่ นตวั และอาชพี คา้ ขาย ทงั้ นส้ี ว่ นหนงึ่ อาจเปน็ สารเสพติดจากชีววัตถุทางนิติเวชศาสตร์/นิติวิทยาศาสตร์” ผลเนื่องมาจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือ ซง่ึ ปจั จบุ นั มที ง้ั หมด ๓๖ หนว่ ยงาน จากทง้ั หมด ๔๔ หนว่ ยงาน ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ เมอื่ พจิ ารณาจากพนื้ ทเี่ กดิ เหตุ ในเขต ทม่ี ศี กั ยภาพ ทเ่ี ขา้ รว่ มกบั เครอื ขา่ ยเฝา้ ระวงั ฯ เพอ่ื ด�ำ เนนิ การ ภาคเหนือและกรุงเทพมหานคร มีตรวจพบสารเสพติด ติดตามการตรวจพบสารเสพติดในผู้ท่ีเสียชีวิตผิดธรรมชาติ เพิม่ มากขึน้ อยา่ งมาก ตง้ั แตป่ ี ๒๕๖๒ เปน็ ต้นมา โดยมีสำ�นักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม ยาเสพตดิ (สำ�นกั งาน ป.ป.ส.) เปน็ ผสู้ นับสนุนหลัก รวมถงึ 11เพื่อนวิทยากร ได้มีการพัฒนาฐานข้อมูลร่วมกัน บันทึกข้อมูลผ่าน อนิ เทอรเ์ นต็ และมรี ะบบเชอื่ มโยงทท่ี �ำ ใหม้ กี ารใชท้ รพั ยากร เครอื่ งมอื ในการตรวจวเิ คราะหร์ ว่ มกนั เพอ่ื ใหเ้ กดิ ประโยชน์ สงู สดุ จากศกั ยภาพของเครอ่ื งมอื งบประมาณ และก�ำ ลงั คน ที่มีอยู่ในแต่ละหน่วยงานเพื่อช่วยในการแก้ไขปัญหาสำ�คัญ ของประเทศ

บอกเล่าเก้าสิบ เมื่อพิจารณาการตรวจพบสารเสพติดอย่างน้อย ๑ ชนดิ ในผเู้ สยี ชวี ติ จ�ำ แนกรายสาร พบวา่ มกี ารตรวจพบ เมตแอมเฟตามีน กัญชาและโอปิเอตส์ (เฮโรอีน มอร์ฟีน 6-MAM และโคเดอีน) เพิ่มมากข้ึน ตรวจพบพืชกระท่อม ลดลง มกี ารตรวจพบเมตแอมเฟตามนี จากผทู้ เ่ี สยี ชวี ติ จาก โรคธรรมชาติและอุบัติเหตุเพิ่มข้ึน พบในเขตภาคกลาง และภาคเหนือเพ่ิมมากขึ้น ในขณะที่ภาคอื่น ๆ ตรวจพบ เมตแอมเฟตามีนค่อนข้างคงที่ มีการตรวจพบยากล่อม ประสาท ในเขตภาคเหนือมีแนวโน้มเพ่ิมมากข้ึน มีการ ตรวจพบยาอีในพฤติการณ์การเสียชีวิตจากอุบัติเหตุ และไม่สามารถระบุได้ เพ่ิมสูงขึ้น มีการตรวจพบสารกลุ่มโอปิเอตส์ ในพฤตกิ ารณก์ ารเสยี ชวี ติ จากอบุ ตั เิ หตแุ ละโรคธรรมชาตเิ พม่ิ สงู ขน้ึ และในกลมุ่ ผเู้ สยี ชวี ติ ชาวตา่ งชาตติ รวจพบในพน้ื ทภ่ี าคกลาง เพม่ิ มากขน้ึ และตรวจพบสารโอปิเอตสเ์ พม่ิ ขน้ึ ๑ เท่าตวั เมื่อเทยี บกับปี ๒๕๖๓ โดยพบมอรฟ์ นี มากที่สดุ เมอ่ื พจิ ารณาการใชส้ ารเสพตดิ เกนิ ขนาด ในชว่ งปี ๒๕๕๐-๒๕๖๔ พบมากในพื้นท่ีภาคเหนือและ กรุงเทพมหานคร โดยสารเสพติดที่ตรวจพบส่วนใหญ่ คอื สารกลมุ่ กลอ่ มประสาทและเมตแอมเฟตามนี และ ตรวจพบใน ๓ จังหวัดต่อเน่ืองสองปีติดต่อกัน ได้แก่ จงั หวดั เชยี งใหม่ กรงุ เทพมหานคร และจงั หวดั นครปฐม นอกจากน้ีพบว่าผู้ที่อายุน้อยที่สุดที่ตรวจพบการใช้ ยาเกินขนาดคือ ๑๒ ปี ท่ีจังหวัดพิษณุโลก ในปี ๒๕๖๓ และ ๑๙ ปี ทกี่ รงุ เทพมหานคร จึงควรมกี าร เฝา้ ระวงั การใชย้ าในกลมุ่ เยาวชนเปน็ พเิ ศษ นอกจากน้ี จากขอ้ มลู ทง้ั ๑๕ ปี พบวา่ มกี ารตรวจพบสารเสพตดิ ร่วมกันต้ังแต่ ๒ ชนิดขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ ๒๖.๒ มีการใช้สารเสพติดร่วมกันสูงสุดถึง ๖ ชนิด ซ่ึงสารเสพติดที่ใช้ร่วมกัน มากท่ีสดุ คอื เมตแอมเฟตามนี และยากลอ่ มประสาท โดยสรปุ การเฝา้ ระวงั สารเสพตดิ โดยการตรวจคดั กรองจากผทู้ เี่ สยี ชวี ติ โดยผดิ ธรรมชาตสิ ามารถประเมนิ สถานการณข์ อง สารเสพตดิ ไดด้ ใี นระดบั หนงึ่ เนอ่ื งจากถอื ไดว้ า่ ผเู้ สยี ชวี ติ ดงั กลา่ วอาจเปน็ ตวั แทนของประชากรในประเทศไทยได้ และมตี วั อยา่ ง จำ�นวนมาก ทุกเพศ ทุกวัย และกระจายท่ัวประเทศไทย นอกจากน้ีการตรวจด้วยเคร่ืองมือทางนิติเวชและนิติวิทยาศาสตร์ ยงั เปน็ เคร่ืองมือทมี่ ีความทนั สมัยและนา่ เช่อื ถือสงู จึงสามารถนำ�ข้อมูลทัง้ หมดน้มี าวิเคราะห์ ประเมนิ สถานการณค์ วามชกุ ของสารเสพติด เพือ่ เปน็ ข้อมูลสนบั สนุนในการวางนโยบายเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามสารเสพตดิ ของประเทศต่อไป 12 เพ่ือนวิทยากร

วิทยาการป้องกันยาเสพติด รว่ มผนกึ พลัง พศิ มัย ทองเทย่ี ง* ลดอปุ สงคย์ าเสพติด: พัฒนาชุมชนอาสาบ�ำ บดั ฟืน้ ฟู ดว้ ยหลักพรหมวิหาร-สังคหวตั ถุ ๔ กบั หลักการทรงงาน เข้าใจ เขา้ ถึง พัฒนา <<๔ ป.เปิดใจอาสาคนื คนดสี สู่ ังคม>> *นักวเิ คราะห์นโยบายและแผนชำ�นาญการ สำ�นกั พัฒนาการป้องกนั และแก้ไขปญั หายาเสพติด สำ�นักงาน ป.ป.ส. 13เพ่ือนวิทยากร

  จุดเร่มิ ตน้   ท�ำ ไม? ต้องชมุ ชนอาสา การด�ำ เนนิ งานปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ ทผ่ี า่ นมา กับกรอบแนวคิดหลักพุทธธรรมผสานศาสตร์พระราชา จะเหน็ วา่ จดุ แตกหกั ในการด�ำ เนนิ งานปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หา สบื สานพระราชปณธิ าน มงุ่ หวงั เขา้ ถงึ ความตอ้ งการทแ่ี ทจ้ รงิ ยาเสพตดิ ในพน้ื ทอ่ี ยทู่ ่ี “ชมุ ชน” เนอ่ื งจากไดร้ บั ผลกระทบจาก ภายในจิตใจของสมาชิก ในพ้ืนที่ชุมชน โดยพัฒนาเป็น ปญั หาโดยตรงและเปน็ ตวั แปรส�ำ คญั ไขปญั หาไปสคู่ วามส�ำ เรจ็ แนวปฏิบัติสำ�หรับพัฒนาชุมชนอาสา ดูแล เฝ้าระวัง บำ�บัด และมักจะมีคำ�ถามว่า “แล้วชุมชนต้องทำ�อย่างไร” ถึงจะ ฟื้นฟู ป้องกันกันเองไม่ให้หลงผิดเข้าไปยุ่งเก่ียวกับยาเสพติด ปอ้ งกนั สมาชกิ ทกุ คนไมใ่ หเ้ ขา้ ไปยงุ่ เกยี่ วกบั ยาเสพตดิ ผเู้ ขยี น วัตถุประสงค์เพ่ือเสริมเติมเต็มและพัฒนากระบวนการ/ จงึ ไดศ้ กึ ษา ทบทวน ท�ำ ความเขา้ ใจรปู แบบการท�ำ งานตา่ ง ๆ แนวปฏบิ ตั ขิ องชมุ ชนอาสาแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ สคู่ วามส�ำ เรจ็ และสังเคราะห์ประสบการณ์ทำ�งาน การลงพ้ืนท่ี หลอมรวม ดยี งิ่ มีภูมิปอ้ งกนั และปลอดภยั จากยาเสพตดิ   ตอบโจทย์พื้นที:่  แนวปฏิบตั พิ ฒั นาชมุ ชนอาสาบำ�บัดฟน้ื ฟู ดว้ ยหลกั พรหมวหิ าร-สงั คหวัตถุ ๔ กบั หลกั การทรงงาน เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา <<๔ ป.เปิดใจอาสาคืนคนดสี ู่สังคม>> จากประสบการณ์ทำ�งานได้สังเคราะห์กับกรอบแนวคิดสำ�คัญ ประกอบด้วย หลักการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข (หลัก พรหมวหิ าร 4 และหลกั สงั คหวตั ถุ 4) ผสานศาสตรพ์ ระราชา หลกั การทรงงานของในหลวงรชั กาลท่ี 9 เขา้ ใจ เขา้ ถงึ พฒั นา และ “จิตอาสา” ของในหลวงรัชกาลท่ี 10 พัฒนาเป็น “แนวปฏิบัติพัฒนาชุมชนอาสาบำ�บัดฟื้นฟู ด้วยหลักพรหมวิหาร- สังคหวัตถุ 4 กับหลักการทรงงาน เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา <<4 ป.เปิดใจอาสาคืนคนดี สู่สังคม>>” โดยความร่วมมือ ศอ.ปส.จ./ศป.ปส.อ. หรอื ศป.ปส.เขต ซงึ่ รบั ผดิ ชอบดแู ลหมบู่ า้ น-ชมุ ชน บรู ณาการอบรมใหค้ วามรกู้ บั เจา้ หนา้ ทอี่ �ำ เภอ-เขต/ เทศบาล/อบต. เกี่ยวกับแนวปฏิบัติพัฒนาชุมชนอาสาบำ�บัดฟื้นฟูฯ ตามความเหมาะสมในพ้ืนที่ เพ่ือถ่ายทอดความรู้ไปยัง แกนนำ�หมู่บ้าน-ชุมชน ได้แก่ กำ�นัน ผู้ใหญ่บ้าน ประธานชุมชน กรรมการหมู่บ้าน-ชุมชน อสม./ อสส. สมาชิกสภาเทศบาล/อบต. ฯลฯ จัดเวที ประชุม/ประชาคม/ประชาสัมพันธ์เสียงตามสาย ในหมู่บ้าน-ชุมชนช้ีแจงทำ�ความเข้าใจ สร้างการ รับรู้แนวปฏิบัติพัฒนาชุมชนอาสาบำ�บัดฟื้นฟู ดังกล่าว ระบุไว้ในแผนพัฒนาชุมชนของแต่ละ หมู่บ้าน-ชุมชน เชิญชวนสมาชิกในชุมชนมี สว่ นรว่ มด�ำ เนนิ งานอาสาปอ้ งกนั ตนเอง ครอบครวั และคนใกล้ชิดไม่ให้เข้าไปยุ่งเก่ียวกับยาเสพติด และทุกปีมีเวทีร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ด�ำ เนนิ งานตามแนวปฏบิ ตั ิ พรอ้ มสรปุ รายงานผล หรือสรุปบทเรียน  ปัญหา อุปสรรค และ ข้อเสนอแนะ​แนวทางแก้ไขปัญหา พัฒนา​ การดำ�เนินงานตามแนวปฏิบัติให้เหมาะสมและ ใชไ้ ดจ้ รงิ ยงิ่ ขึ้น เรมิ่ จากทุกคนในชุมชนอาสา... 14 เพื่อนวิทยากร

วิทยาการป้องกันยาเสพติด ๑ เปดิ ใจเมตตาหมนั่ ชว่ ยเหลอื เขา้ ใจกนั : มใี จรกั เมตตา ๒ เปดิ ใจกรณุ าหมน่ั ใหอ้ ภยั เขา้ ถงึ ใจสมาชกิ : มใี จกรณุ า ปรารถนาดีต่อกัน เข้าไปถึงจิตใจความรู้สึกนึกคิดของ สงสาร คิดช่วยเหลือผู้ที่กำ�ลังจะหลงผิดหรือพลาด ผปู้ ว่ ยยาเสพตดิ วา่ คดิ และตอ้ งการเหมอื นกนั กบั เราทกุ คน หลงผดิ เขา้ ไปใชย้ าเสพตดิ แลว้ ใหพ้ น้ ทกุ ขจ์ ากโทษพษิ ภยั คอื รกั ความสขุ เกลยี ดความทกุ ข์ โดยทกุ คนอยากเปน็ หรือฤทธ์ิของยาเสพติด ด้วยการหมั่นให้คำ�ปรึกษา คนดมี ชี วี ติ ทด่ี ี และมคี วามสขุ แตบ่ างครง้ั ในชว่ งเวลาหนง่ึ แนะนำ� ให้กำ�ลังใจ และให้อภัย กับสมาชิกผู้หลงผิด ของชีวิตเขาอาจใช้ชีวิตพลาดพลั้ง หลงผิดเข้าไปใช้ เข้าไปใช้ยาเสพติด พร้อมโน้มน้าวจิตใจผู้หลงผิดฯ ยาเสพติด ฉะน้ัน ทุกคนในชุมชนจึงควรหม่ันดูแล ใหส้ มคั รใจเขา้ รบั การบ�ำ บดั รกั ษาหรอื พยายามลด ละ เฝา้ ระวงั ชว่ ยเหลอื ปอ้ งกนั กนั เองไมใ่ หส้ มาชกิ ในชมุ ชน เลิกใช้ยาเสพติด โดยใช้คำ�พูดท่ีเป็นปิยวาจา จริงใจ หลงผดิ เขา้ ไปยงุ่ เกย่ี วกบั ยาเสพตดิ (ทาน) โดยใชใ้ จทม่ี ี หวังดี และเป็นประโยชน์เข้าถึงภายในใจของสมาชิก ความรกั เมตตาปรารถนาดแี ละชว่ ยเหลอื กนั อยา่ งเขา้ ใจ ทกุ คนในชมุ ชน ๓ เปดิ ใจมทุ ติ าหมน่ั ใหโ้ อกาสเขา้ ถงึ ประโยชนส์ ขุ : มจี ติ ๔ เปิดใจอุเบกขาเพียรพัฒนาดีอย่างต่อเนื่อง: มีใจ มุทิตา พลอยยินดี สนับสนุนกันทำ�ดีเป็นประโยชน์ อเุ บกขา เปน็ กลาง มเี หตผุ ล เพยี รพฒั นาการท�ำ ความดี (อตั ถจรยิ า) และความสขุ ตอ่ ตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน ปอ้ งกนั กนั เองไมใ่ หห้ ลงผดิ เขา้ ไปยงุ่ เกยี่ วกบั ยาเสพตดิ และสังคม พร้อมให้โอกาสที่ยืนกับสมาชิกที่หลงผิด สรา้ งภมู ปิ อ้ งกนั ในชมุ ชน เพม่ิ พนื้ ทปี่ ลอดภยั ยาเสพตดิ เข้าไปใช้ยาเสพติดกลับคืนเป็นคนดี โดยส่งเสริม อยา่ งตอ่ เนือ่ งเสมอตน้ เสมอปลาย (สมานัตตตา) สนบั สนนุ การศกึ ษาตอ่ หรอื การประกอบอาชพี ทซ่ี อ่ื สตั ย์ สุจริต ให้อยู่อย่างมีศักดิ์ศรี และมีคุณค่าต่อตนเอง 15เพื่อนวิทยากร ครอบครวั และสงั คม เพอ่ื ประโยชนส์ ขุ ของชมุ ชนรว่ มกนั

วิทยาการป้องกันยาเสพติด  แล้วอะไรบา้ ง? เป็นปัจจยั ความสำ�เร็จ เปดิ ใจอาสาเมตตา กรณุ า มทุ ิตา อเุ บกขา คนื คนดีส่สู ังคม สบื สาน จากแนวปฏบิ ตั พิ ฒั นาชมุ ชนอาสาบ�ำ บดั ฟน้ื ฟฯู มปี จั จยั พระราชปณิธานต่อยอด เพมิ่ พน้ื ท่ี ทท่ี �ำ ใหก้ ารด�ำ เนนิ งานปอ้ งกนั และแกไ้ ขบ�ำ บดั ฟน้ื ฟยู าเสพตดิ ปลอดภัยตามแนวปฏบิ ัติสันติวิธี ในชุมชนประสบความส�ำ เรจ็ โดยสมาชิกในชุมชนมีจติ ... พฒั นาประเทศมนั่ คง มั่งค่งั ยง่ั ยนื 1. เมตตา: รัก และปรารถนาดี อยากเห็นทุกคนมี ความสุข 2. กรณุ า: สงสาร คิดช่วยเหลอื กนั ให้พ้นทกุ ข์ 3. มทุ ิตา: พลอยยนิ ดี สนบั สนนุ กนั เมอ่ื เหน็ คนอนื่ ไดด้ ี 4. อเุ บกขา: ย ตุ ธิ รรม เปน็ กลาง และมเี หตผุ ล ปฏบิ ตั ิ ดีต่อทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน เสมอต้น เสมอปลาย  ระยะต่อไป… ผนกึ กำ�ลัง พฒั นาชมุ ชนอาสาบ�ำ บดั ฟน้ื ฟฯู โดยในระยะต่อไป มุ่งหวังท่ีจะเข้าไปถึงภายในใจของ สมาชิกทุกคนในชุมชนมีส่วนร่วมผนึกกำ�ลังดำ�เนินงานตาม แนวปฏบิ ตั พิ ฒั นาชมุ ชนอาสาบ�ำ บดั ฟน้ื ฟู ดว้ ยหลกั พรหมวหิ าร– หลกั สงั คหวตั ถุ 4 กบั หลกั การทรงงาน เขา้ ใจ เขา้ ถงึ พฒั นา <<4 ป. เปิดใจอาสาคืนคนดีสู่สังคม>> สืบสานต่อยอด ศาสตร์พระราชา “พ่อภูมิพล” ก่อกำ�เนิดพลังจิตอาสา “เราทำ�ดี ด้วยหัวใจ” (ในหลวง ร. 10) มุ่งสร้างสังคมไทย ปลอดภัยยาเสพติดด้วยสันติวิธี เพื่อทุกคนมีศักยภาพพร้อม แข่งขันพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้า มั่นคง ม่ังคั่ง และ ยั่งยนื ตอ่ ไป 16 เพ่ือนวิทยากร

แผนภาพ: กรอบแนวปฏบิ ัติพัฒนาชุมชนอาสาบ�ำ บัดฟ้นื ฟู ด้วยหลักพรหมวิหาร-สงั คหวัตถุ ๔ กับหลกั การทรงงาน เขา้ ใจ เข้าถงึ พัฒนา <<๔ ป. เปดิ ใจอาสาคนื คนดสี ูส่ ังคม>> กระบวนการดำ�เนินงาน ๑. อบรม+สรา้ งการรบั รู+้ ระบุในแผนชุมชน ๒. อาสาด�ำ เนินงานตามแนวปฏบิ ัติ ๓. เรยี นรู้ สรปุ ผล ปรบั ใหเ้ หมาะสมกบั ตนเอง (ศอ.ปส.จ.-อ.-เขต/แกนน�ำ ชมุ ชน) (แกนน�ำ /สมาชกิ ในหมบู่ า้ น-ชุมชน) (แกนนำ�/สมาชิกในหมบู่ า้ น-ชมุ ชน) แนวปฏิบตั พิ ัฒนาชุมชนอาสาบำ�บดั ฟื้นฟูฯ <<๔ ป. เปิดใจอาสาคืนคนดีสูส่ งั คม>>* • เเสสมมออตป้นลาย • ด แู ล เฝ้าระวัง (สมานัตตตา) (เปขทอ้ า้างในกจ)นั อกยัน่าเงอง ๔.เพเปยี ิดรพใจัฒอนุเบากดขี า ๑ห.มเปั่นดิชใว่ จยเเมหตลตือา ๓. เปิดใจมทุ ติ า ๒. เปดิ ใจกรณุ า • ม ีปยิ วาจา จริงใจ • (สอนัตับถสจนรุนยิ ทา)ำ�ดี หมนั่ ให้โอกาส หม่นั ใหอ้ ภัย หวงั ดี เข้าถึงใจ เขา้ ถงึ ประโชนส์ ขุ สมาชิก คลังองคค์ วามรู้-พศิ มัย *ที่มา: พศิ มัย ทองเทีย่ ง, ๒๕๖๕. ผลงานดา้ นลดอปุ สงคย์ าเสพติด 17เพ่ือนวิทยากร

กฎหมายกับการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด ประมวลกฎหมาย ยาเสพตดิ ตอน  รกั ษา อำ�นาจ เหล่ากอที* “กรอบความคิด (Mindset) ทีส่ ง่ ผลกระทบโดยตรงตอ่ สภาพปัญหายาเสพตดิ ยอ่ มเร่ิมตน้ ท่ี ปัจเจกชน ซึง่ ขึ้นอย่กู ับภมู หิ ลงั และ กระบวนการทางความคดิ อันเปน็ ความเชื่อทมี่ ีผลตอ่ พฤตกิ รรมที่ ฝังอยู่ในตวั มนุษย์แตไ่ ม่ได้แสดงออก ชัดเจน ทำ�ให้เกดิ เป็นทศั นคติและ ประสบการณ์ต่างๆ ในตวั มนุษย”์ 18 เพ่ือนวิทยากร * ผูอ้ ำ�นวยการกองกฎหมาย สำ�นักงาน ป.ป.ส.

กฎหมายกับการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด แนวคดิ และทฤษฎีเพ่ือการป้องกันและแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ ตามประมวลกฎหมายยาเสพติดได้วางกรอบแนวคิด คอื การแสดงอำ�นาจในการควบคมุ ตนเอง สำ�หรับการป้องกัน ปราบปรามและแก้ไขปัญหาไว้ตาม มาตรการปราบปราม ท่ีมุ่งให้ความสำ�คัญต่อการขจัด องคป์ ระกอบของปญั หา อนั ไดแ้ ก่ คน ยาเสพตดิ และทรพั ยส์ นิ ปัจจัยที่ส่งผลโดยตรงและโดยอ้อมต่อการเข้าไปเก่ียวข้องกับ สังคมและส่ิงแวดล้อม โดยเฉพาะ “คน” ซ่ึงจำ�แนกเป็น การกระทำ�ความผิด โดยใช้หลักการกำ�หนดให้เป็นความผิด ผู้กระทำ�ความผิด (ผู้เป็นนายทุน/หัวหน้าหรือผู้ส่ังการ ผู้ค้า (Prohibited) หรือกฎหมายบัญญัติให้เป็นความผิด เช่น ผู้สนับสนุนในฐานะแรงงาน และเหย่ือหรือผู้เสพ) และ ยาเสพติด หรือ ทรัพย์สินท่ีได้รับมาเน่ืองจากการกระทำ�​ ผู้มีหน้าท่ีและอำ�นาจหรือมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไข ความผดิ เกย่ี วกบั ยาเสพตดิ ตลอดถงึ ก�ำ หนดวธิ กี ารด�ำ เนนิ การ ปัญหา โดยนำ�มาก�ำ หนดมาตรการสู่การปฏบิ ัติ กลา่ วคือ หรอื วธิ พี จิ ารณาไว้ ซง่ึ ใหค้ วามส�ำ คญั ตอ่ กระบวนการด�ำ เนนิ การ มาตรการป้องกัน ที่มุ่งให้ความสำ�คัญต่อการขจัดปัจจัย ท่ีชอบดว้ ยกฎหมาย (due process) ทส่ี ง่ ผลโดยตรงและโดยออ้ มตอ่ การเขา้ ไปเกย่ี วขอ้ งกบั ยาเสพตดิ มาตรการบำ�บัดรักษาและฟื้นฟู ที่มุ่งให้ความสำ�คัญต่อ ในทางทผี่ ดิ ในขณะเดยี วกนั กส็ ง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ ความตระหนกั รู้ การเสริมสร้างปัจจัยแก้ไขผู้ที่เสพหรือติดยาเสพติด ซึ่งใช้ ในโทษหรอื พษิ ภยั ของยาเสพตดิ ตลอดถงึ การมสี ว่ นรว่ มของ หลักคิด “ผู้เสพเป็นผู้ป่วย” โดยเน้นการบำ�บัดรักษาและ ประชาชนกับองค์กรภาครัฐ และภาคเอกชน โดยใช้ทฤษฎี ฟ้ืนฟูทั้งทางร่างกายและจิตใจ รวมถึงการฟ้ืนฟูสภาพทาง แรงจูงใจเพื่อป้องกัน ซ่ึงเกิดข้ึนจากความพยายามท่ีจะ สังคม เพือ่ ใหผ้ ลการบ�ำ บัดรกั ษาและฟ้ืนฟูมีประสิทธิภาพ ทำ�ความเข้าใจในกฎเกณฑ์ของการกระตุ้นให้เกิดความกลัว มาตรการควบคุมพิเศษ ที่มุ่งให้ความสำ�คัญต่อการใช้ โดยเนน้ เกย่ี วกบั การประเมนิ การรบั รดู้ า้ นขอ้ มลู ขา่ วสารทเ่ี ปน็ หรอื ใหอ้ �ำ นาจพเิ ศษเพอื่ ปอ้ งกนั ปราบปรามมใิ หม้ กี ารกระท�ำ ความรู้ หรอื ประสบการณท์ างสขุ ภาพ และการใหค้ วามส�ำ คญั ทส่ี ง่ ผลตอ่ ปญั หายาเสพตดิ ซง่ึ ใชห้ ลกั คดิ บรหิ ารจดั การ หรอื กับส่ิงที่มาคุกคาม และขบวนการของบุคคลเพ่ือใช้ขบคิดแก้ ทางปกครอง ปญั หาในสงิ่ ทกี่ �ำ ลงั คกุ คามอยนู่ นั้ ลกั ษณะส�ำ คญั ของทฤษฎนี ี้ กลไก หนา้ ท่แี ละอำ�นาจในการป้องกัน ปราบปราม บำ�บดั รกั ษาฟ้นื ฟู ประมวลกฎหมายยาเสพตดิ ไดว้ างกลไกไวเ้ พอ่ื การปอ้ งกนั ปราบปราม ควบคมุ ยาเสพตดิ บ�ำ บดั รกั ษาและการฟน้ื ฟสู ภาพ ทางสังคมแกผ่ ้ตู ิดยาเสพตดิ ไว้ภายใตก้ ลไกส�ำ คัญ ดงั นี้ โครงสรา้ งการแก้ไขปัญหายาเสพตดิ สำ�นักงาน ป.ป.ส. คณะรัฐมนตรี นโยบายและแผนระดับชาติว่าดว้ ยการปอ้ งกัน กองทนุ ป้องกัน ปราบปราม ปราบปราม และแกป้ ญั หายาเสพตดิ และแก้ไขปญั หายาเสพติด คณะกรรมการ ป.ป.ส. หนว่ ยงานที่เกย่ี วข้อง ทำ�หน้าที่ในการกำ�หนดนโยบาย และกำ�กบั ดูแลการแก้ไขปัญหายาเสพติด คณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สนิ คณะกรรมการควบคมุ ยาเสพตดิ คณะกรรมการบ�ำ บดั รกั ษาและฟน้ื ฟผู ตู้ ดิ ยาเสพตดิ ทำ�หน้าท่ีในการตรวจสอบทรัพยส์ ิน ยดึ และอายดั ทำ�หน้าท่กี ำ�หนดมาตรการเกี่ยวกับการอนุญาต ท�ำ หนา้ ท่ีในการก�ำ หนดมาตรการดแู ลบำ�บดั รักษา ผลติ น�ำ เขา้ สง่ ออก จ�ำ หนา่ ย ครอบครอง เสพ ทรัพยส์ นิ ท่ีไดม้ าจากการค้ายาเสพติด ยาเสพติดให้โทษ วัตถอุ อกฤทธิ์ และสารระเหย ผ้เู สพผู้ติดยาเสพติด ตลอดจน การตดิ ตามดแู ลชว่ ยเหลือ ส�ำ นักงาน ป.ป.ส. คณะอนกุ รรมการ ส�ำ นกั งาน อย. คณะอนกุ รรมการ ส�ำ นักงานปลดั คณะอนุกรรมการ ตรวจสอบทรพั ย์สนิ กระทรวงสาธารณสุข 19เพ่ือนวิทยากร

กฎหมายกับการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด กลไกเชิงนโยบาย ถือเป็นกลไกสำ�คัญในการกำ�หนด เก่ียวกับยาเสพติด เพื่อให้มีการดำ�เนินการสอดคล้องกับ ทิศทางของการดำ�เนินการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติดให้ นโยบายและแผนระดบั ชาติ การใหค้ �ำ แนะน�ำ หรอื ขอ้ เสนอแนะ เกิดประสิทธิภาพประสิทธิผลสูงสุดบรรลุเจตนารมณ์หรือ แกค่ ณะกรรมการควบคมุ ยาเสพตดิ คณะกรรมการตรวจสอบ วัตถุประสงค์ตามที่กำ�หนดไว้ในประมวลกฎหมายยาเสพติด ทรัพย์สิน และคณะกรรมการบำ�บัดรักษาและฟ้ืนฟูผู้ติด ซ่ึงก็คือ คณะรัฐมนตรี มีหน้าท่ีกำ�หนดนโยบายและแผน ยาเสพติด การให้ความเห็นชอบต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวง ระดับชาติว่าด้วยการป้องกัน ปราบปราม และแก้ไขปัญหา สาธารณสุขในการระบุชื่อยาเสพติดให้โทษ การกำ�หนด ยาเสพตดิ และคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามยาเสพตดิ มาตรการป้องกัน ปราบปราม และแก้ไขปัญหาการกระทำ� (คณะกรรมการ ป.ป.ส.) ประกอบด้วยนายกรัฐมนตรี ความผดิ เกย่ี วกบั ยาเสพตดิ ในสถานประกอบการและก�ำ หนดให้ เป็นประธาน รัฐมนตรี ปลัดกระทรวง หัวหน้าส่วนราชการ สถานทซ่ี ง่ึ ใชใ้ นการประกอบธรุ กจิ ใด ๆ เปน็ สถานประกอบการ ท่ีเก่ียวข้อง และผู้ทรงคุณวุฒิ เป็นกรรมการ โดยมีหน้าที่ ภายใตม้ าตรการดงั กลา่ ว การก�ำ กบั และตดิ ตาม และอ�ำ นาจทส่ี �ำ คญั อาทิ การเสนอนโยบายและแผนระดบั ชาติ การใช้งบประมาณ การพิจารณาอนุมัติ วา่ ดว้ ยการปอ้ งกนั ปราบปราม และแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ ตอ่ หรือมอบหมายให้คณะอนุกรรมการ คณะรัฐมนตรี การติดตาม ดูแล ประสาน สนับสนุน และ พจิ ารณาอนมุ ัติการแตง่ ตง้ั เรง่ รดั การด�ำ เนนิ การของคณะกรรมการทมี่ หี นา้ ทแี่ ละอ�ำ นาจ เจ้าพนักงาน ป.ป.ส. กลไกเชิงอำ�นวยการนโยบายและปฏิบัติการ ถือเป็น สมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด และ กลไกลำ�ดับรองจากคณะกรรมการ ป.ป.ส. โดยมีบทบาท ศูนย์ฟ้นื ฟูสภาพทางสังคม การให้ เป็นการอำ�นวยการและปฏิบัติการตามนโยบายและแผน ความเหน็ ชอบในการก�ำ หนดหลกั เกณฑ์ ระดับชาติว่าด้วยการป้องกัน ปราบปราม และแก้ไขปัญหา วธิ กี ารและเงอื่ นไขในการฟนื้ ฟสู ภาพทาง ยาเสพติด ซ่ึงก็คือ (ก) คณะกรรมการควบคุมยาเสพติด สงั คม และตดิ ตาม ดแู ล และชว่ ยเหลอื ผตู้ ดิ ประกอบด้วยปลัดกระทรวงสาธารณสุขเป็นประธาน ยาเสพติดหรือผู้ผ่านการบำ�บัดรักษา การกำ�กับ ปลัดกระทรวง หัวหน้าส่วนราชการท่ีเก่ียวข้อง และ ติดตาม ดูแล ให้คำ�ปรึกษา และแนะนำ�หน่วยงานในพ้ืนที่ ผู้ทรงคุณวุฒิ เป็นกรรมการ โดยมีหน้าที่และอำ�นาจที่สำ�คัญ ในการให้ความช่วยเหลือและสงเคราะห์ผู้ติดยาเสพติดหรือ อาทิ การกำ�หนดมาตรการควบคุมยาเสพติด การเสนอแนะ ผผู้ า่ นการบ�ำ บดั รกั ษา ตลอดถงึ การวางแนวทางการด�ำ เนนิ งาน ตอ่ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสขุ หรอื รฐั มนตรวี า่ การ ของหนว่ ยงานในการชว่ ยเหลอื (ค) คณะกรรมการตรวจสอบ กระทรวงสาธารณสขุ และรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงอตุ สาหกรรม ทรพั ยส์ นิ ประกอบดว้ ยปลดั กระทรวงยตุ ธิ รรม เปน็ ประธาน ในการระบุชื่อประเภทของยาเสพติด รวมถึงให้ความเห็นต่อ หวั หนา้ สว่ นราชการทเ่ี กย่ี วขอ้ ง และผทู้ รงคณุ วฒุ ิ เปน็ กรรมการ กระทรวงสาธารณสขุ หรอื ผซู้ งึ่ กระทรวงสาธารณสขุ มอบหมาย โดยมีหน้าท่ีและอำ�นาจท่ีสำ�คัญ อาทิ เสนอแนะรัฐมนตรี ในการทำ�ลายหรือนำ�ไปใช้ประโยชน์ซึ่งยาเสพติดให้โทษหรือ ว่าการกระทรวงยุติธรรมเก่ียวกับการออกกฎกระทรวง วัตถุออกฤทธิ์ (ข) คณะกรรมการบำ�บัดรักษาและฟื้นฟู การตรวจสอบทรัพย์สินที่เกี่ยวเน่ืองกับการกระทำ�ความผิด ผตู้ ดิ ยาเสพตดิ ประกอบดว้ ยรองนายกรฐั มนตรซี ง่ึ นายกรฐั มนตรี ร้ายแรงเกี่ยวกับยาเสพติด การวินิจฉัยว่าทรัพย์สินใดเป็น มอบหมายเป็นประธาน ปลัดกระทรวง หัวหน้าส่วนราชการ ทรพั ยส์ นิ ทเ่ี กย่ี วเนอ่ื งกบั การกระท�ำ ความผดิ รา้ ยแรงเกย่ี วกบั ที่เก่ียวข้อง และผู้ทรงคุณวุฒิ เป็นกรรมการ โดยมีหน้าที่ ยาเสพติดและการมีมติให้ยึดหรืออายัดทรัพย์สินดังกล่าว และอ�ำ นาจทีส่ ำ�คัญ อาทิ การก�ำ หนดนโยบายและมาตรการ การวางระเบียบท่ีเก่ียวกับการส่ังตรวจสอบทรัพย์สินและ เกย่ี วกบั การบ�ำ บดั รกั ษาและฟน้ื ฟผู ตู้ ดิ ยาเสพตดิ การก�ำ หนด การยตุ กิ ารตรวจสอบทรพั ยส์ นิ การคนื ทรพั ยส์ นิ การเกบ็ รกั ษา หลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขในการจัดต้ังและการรับรอง ทรพั ยส์ นิ การน�ำ ทรพั ยส์ นิ ออกขายทอดตลาด การน�ำ ทรพั ยส์ นิ คุณภาพศูนย์คัดกรอง สถานพยาบาลยาเสพติด สถานฟ้นื ฟู ไปใชป้ ระโยชน์ การประเมินคา่ เสียหายและคา่ เส่อื มราคา 20 เพื่อนวิทยากร

กฎหมายกับการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด กลไกปฏิบัติการ ถือเป็นกลไกสำ�คัญในการเสริมสร้าง และบุคคล อาทิ พนักงานเจ้าหน้าท่ี พนักงานฝ่ายปกครอง สัมฤทธิผลหรือประสิทธิผลของการบังคับใช้กฎหมาย ตำ�รวจ เจ้าพนักงาน ป.ป.ส. ในท่ีน้ีจะกล่าวถึงเพียงกลไก (supremacy of law) ให้เป็นไปตามเจตนารมณ์หรือ ปฏิบัติท่ีเป็นเจ้าพนักงาน ป.ป.ส. สำ�หรับกลไกปฏิบัติอ่ืน วัตถุประสงค์ของกฎหมาย ซ่ึงประกอบด้วยองค์กร อาทิ ท่เี กย่ี วข้องจะได้กลา่ วในผงั ภมู ิต่อไป ส�ำ นกั งาน ป.ป.ส. ส�ำ นกั งาน อย. ส�ำ นกั งานอยั การสงู สดุ ศาล เจา้ พนกั งาน ป.ป.ส. เปน็ ผทู้ เ่ี ลขาธกิ าร ป.ป.ส. แตง่ ตง้ั โดย ขอ้ มลู เอกสาร หรอื วตั ถใุ ด ๆ มาเพอื่ ตรวจสอบหรอื ประกอบ การอนมุ ตั ขิ องคณะกรรมการ ป.ป.ส. หรอื คณะอนกุ รรมการ การพิจารณา (ข) การตรวจหรือทดสอบหรือส่ังให้รับการ ท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ส. มอบหมาย เพื่อให้มีหน้าท่ีและ ตรวจหรือทดสอบว่าบุคคลหรือกลุ่มบุคคลใดเสพยาเสพติด อำ�นาจที่สำ�คัญในการดำ�เนินการตามประมวลกฎหมาย ในกรณีจำ�เป็นและมีเหตุอันควรเช่ือว่าผู้นั้นเสพยาเสพติด ยาเสพติด และกฎหมายวิธีพิจารณาคดียาเสพติด อาทิ (ค) การเข้าถึงข้อมูลเพ่ือประโยชน์ในการสืบสวนและใช้เป็น (ก) การเขา้ ไปในเคหสถานหรอื สถานทใ่ี ด ๆ เพอ่ื ตรวจคน้ พยานหลกั ฐานในการด�ำ เนนิ คดี ในกรณจี �ำ เปน็ และมเี หตอุ นั ควร เมอ่ื มเี หตอุ นั ควรสงสยั ตามสมควรวา่ มยี าเสพตดิ หรอื เชื่อว่าเอกสารหรือข้อมูลข่าวสารอ่ืนใดซ่ึงส่งทางไปรษณีย์ มบี คุ คลซงึ่ มเี หตอุ นั ควรสงสยั วา่ กระท�ำ ความผดิ เกย่ี วกบั โทรศัพท์ โทรสาร คอมพิวเตอร์ เคร่ืองมือ หรืออุปกรณ์ใน ยาเสพติดหลบซ่อนอยู่ หรือมีทรัพย์สินซึ่งมีไว้เป็น การส่ือสาร สื่ออิเล็กทรอนิกส์หรือสื่อทางเทคโนโลยี ความผิด หรือได้มาโดยกระทำ�ความผิดหรือได้ใช้หรือ สารสนเทศใด ถกู ใชห้ รอื อาจถกู ใชเ้ พอ่ื ประโยชนใ์ นการกระท�ำ ​ จะใช้ในการกระทำ�ความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด หรือซ่ึง ความผดิ เกยี่ วกับยาเสพตดิ (ง) การตรวจสถานประกอบการ อาจใชเ้ ปน็ พยานหลกั ฐานได้ ประกอบกบั มเี หตอุ นั ควรเชอ่ื วา่ มกี ารฝา่ ฝนื หรอื ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามมาตรการปอ้ งกนั ปราบปราม ว่าเนื่องจากเน่ินช้ากว่าจะเอาหมายค้นมาได้ บุคคลนั้นจะ และแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานประกอบการหรือมีการ​ หลบหนี หรือทรัพย์สินน้ันจะถูกโยกย้าย ซุกซ่อน ทำ�ลาย กระทำ�ความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดหรือไม่ (จ) ส่งผู้ที่มี หรือทำ�ให้เปลี่ยนสภาพไปจากเดิม การค้นบุคคลหรือยาน พฤตกิ ารณอ์ นั ควรสงสยั วา่ กระท�ำ ความผดิ ฐานเสพยาเสพตดิ พาหนะใด ๆ ท่ีมีเหตุอันควรสงสัยว่ามียาเสพติดซุกซ่อนอยู่ หรือครอบครองซ่ึงยาเสพติดเพ่ือเสพ และสมัครใจเข้ารับ โดยไมช่ อบดว้ ยกฎหมาย การคน้ ตามบทบญั ญตั แิ หง่ ประมวล การบำ�บัดรักษา ไปยังสถานพยาบาลหรือศูนย์คัดกรอง กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา การจับกุมบุคคลใด ๆ  (ฉ) ดำ�เนินการเก่ียวกับการบำ�บัดรักษาผู้ติดยาเสพติด เช่น ทกี่ ระท�ำ ความผดิ เกยี่ วกบั ยาเสพตดิ และการควบคมุ ตวั ไวเ้ พอื่ ตรวจหรือค้นผู้มีพฤติการณ์อันควรสงสัยว่าเสพยาเสพติด ทำ�การสืบสวนสอบสวนได้เป็นเวลาไม่เกินสามวันโดยมิให้ ยึดยาเสพติดจากผู้ครอบครองยาเสพติด ตรวจหรือทดสอบ ถอื วา่ เปน็ การควบคมุ ของพนกั งานสอบตามประมวลกฎหมาย หรอื สง่ั ใหร้ บั การตรวจหรอื ทดสอบสารเสพตดิ ในรา่ งกายของ วิธีพิจารณาความอาญา การยึดหรืออายัดยาเสพติดท่ีมีไว้ บุคคล เม่ือมีเหตุจำ�เป็นประกอบกับมีเหตุอันควรเช่ือว่า โดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย หรือทรัพย์สินอื่นใดที่ใช้ได้หรือ บุคคลนนั้ เสพยาเสพตดิ ในเคหสถาน สถานที่ใด ๆ จะใชใ้ นการกระท�ำ ความผดิ เกยี่ วกบั ยาเสพตดิ หรอื ทไี่ ดร้ บั มา หรอื ยานพาหนะ เน่ืองจากการกระทำ�ความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดหรือท่ีอาจใช้ เปน็ พยานหลกั ฐานได้ การยดึ หรอื อายดั ทรพั ยส์ นิ ทม่ี เี หตอุ นั ควร สงสยั วา่ เปน็ ทรพั ยส์ นิ ทเ่ี กย่ี วเนอ่ื งกบั การก​ ระท�ำ ความผดิ รา้ ยแรง เกยี่ วกบั ยาเสพตดิ เปน็ กรณเี รง่ ดว่ น กอ่ นด�ำ เนนิ การตรวจสอบ ทรัพย์สิน การตรวจสอบทรัพย์สิน ยึดหรืออายัดทรัพย์สิน ตามท่ีได้รับมอบหมาย การสอบสวนผู้ต้องหาในคดีความผิด เกย่ี วกบั ยาเสพตดิ การมหี นงั สอื สอบถาม หรอื เรยี กบคุ คลใด ๆ หรอื เจา้ หนา้ ทข่ี องหนว่ ยราชการใด ๆ มาใหถ้ อ้ ยค�ำ หรอื สง่ บญั ชี 21เพื่อนวิทยากร

กระบวนการดำ�เนนิ งาน จากกลไกท่ีกล่าวข้างต้น สามารถแสดงให้เห็นกระบวนการดำ�เนินการในภาพรวมด้วยผังภูมิ ซ่ึงจะขอแสดงในด้าน ตรวจสอบทรัพย์สิน และดา้ นบ�ำ บดั รักษา โดยสังเขป ดังนี้ แนวทางการดำ�เนนิ การตรวจสอบทรพั ยส์ ินตามประมวลกฎหมายยาเสพติด ผสู้ บื สวนด�ำ เนินการสืบสวนพฤตกิ ารณค์ วบคู่กับการสืบสวนทางการเงิน ส่งมอบทรพั ย์สนิ เจ้าพนกั งาน ป.ป.ส. / ผูจ้ ับกมุ / พนกั งานสอบสวนประสานงานเพ่อื ใหม้ ีค�ำ สงั่ ตรวจสอบทรัพยส์ ิน ท่ยี ดึ ตาม วิ.ยาฯ ม.11/1 (6) ส�ำ นกั งาน ป.ป.ส. กลน่ั กรองข้อมูล / เสนอสงั่ ตรวจสอบและยึดอายัดทรพั ย์สนิ เกบ็ รกั ษากอ่ นมคี ำ�สั่ง คณะกรรมการ / เลขาธกิ ารมีค�ำ สั่งใหต้ รวจสอบ/ยดึ อายัดทรัพย์สนิ /มอบหมายเจา้ พนักงาน ป.ป.ส. เจ้าพนักงาน ป.ป.ส. ดำ�เนินการตรวจสอบทรัพย์สินและยดึ หรืออายดั ทรัพยส์ ิน เจ้าพนักงาน ป.ป.ส. ส่งมอบทรพั ย์สิน เจ้าพนกั งาน ป.ป.ส. สรปุ ผลการตรวจสอบทรพั ยส์ นิ ผู้เก็บรักษาทรพั ยส์ ินจดั การทรัพย์สิน คณะอนกุ รรมการกลนั่ กรองผลการตรวจสอบทรัพยส์ นิ เกบ็ รกั ษา คณะกรรมการวินิจฉยั ทรพั ย์สิน ใชป้ ระโยชน์ ขายทอดตลาด คณะกรรมการส่งั คืนทรัพย์สิน คณะกรรมการสงั่ ยดึ หรืออายดั /ค�ำ นวณมูลคา่ คนื ศาลสัง่ คนื อัยการยื่นคำ�รอ้ งขอริบทรัพยส์ ิน ส่งมอบทรัพยส์ นิ ศาลสั่งรบิ ทรัพย์เจาะจง ให้กองทุน สบื ทรัพย์/ เจาะจง/ทดแทน มลู คา่ บงั คบั คดี ศาลสง่ั รบิ ทดแทน ศาลสั่งริบตามมลู ค่า ศาลไต่สวน กองทุนจัดการทรพั ย์สิน สนบั สนนุ งานแก้ไขปญั หายาเสพตดิ จ่ายเปน็ สวสั ดิการ จ่ายเงินสินบน/รางวัล กระบวนการตรวจสอบทรัพย์สินเร่ิมต้นท่ีมีหมายจับ ตรวจสอบทรัพย์สิน และคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน ของศาลหรือมีการจับกุมผู้กระทำ�ความผิดร้ายแรงเก่ียวกับ ตามลำ�ดับ เมื่อคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินวินิจฉัย ยาเสพติด โดยเจ้าพนักงาน ป.ป.ส. ตำ�รวจหรือพนักงาน และมคี �ำ สง่ั ตรวจสอบทรพั ยส์ นิ โดยแบง่ เปน็ ทรพั ยส์ นิ เฉพาะ ฝ่ายปกครอง จะทำ�การยึดหรืออายัดทรัพย์สินไว้เจ็ดวันเป็น ทรัพย์สินทดแทน หรือทรัพย์สินตามมูลค่า ก็จะส่งสำ�นวน กรณเี รง่ ดว่ น แลว้ เสนอเลขาธกิ าร ป.ป.ส. หรอื คณะกรรมการ ให้กับพนักงานอัยการเพื่อยื่นคำ�ร้องขอริบทรัพย์สินต่อศาล ตรวจสอบทรัพย์สิน เพ่ือมีคำ�สั่งตรวจสอบทรัพย์สิน และ เม่ือศาลพิจารณาแล้วก็จะมีคำ�พิพากษาหรือคำ�ส่ังให้ริบ มอบหมายเจ้าพนักงาน ป.ป.ส. รับผิดชอบดำ�เนินการ หรือให้คืนทรัพย์สินท่ีพนักงานได้ย่ืนคำ�ร้อง หากมีคำ�ส่ังให้ ตรวจสอบทรัพย์สิน ซ่ึงจะมีหน้าท่ีตั้งแต่รับมอบทรัพย์สิน ริบทรัพย์สินใด ทรัพย์สินน้ันก็จะตกเป็นของกองทุนป้องกัน ที่มีการยึดหรืออายัดในชั้นจับกุม ทำ�การประเมินราคา ปราบปราม และแก้ไขปัญหายาเสพติด หากมีคำ�สั่งให้ และส่งให้ผู้มีหน้าท่ีเก็บรักษา แล้วตรวจสอบรายละเอียด คืนทรัพย์สินใด คณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินก็ต้องมี พรอ้ มสรปุ ผลการตรวจสอบทรพั ยส์ นิ เสนอคณะอนกุ รรมการ คำ�ส่งั คนื ทรัพยส์ นิ น้ันให้แกเ่ จ้าของหรือผถู้ ูกตรวจสอบ 22 เพ่ือนวิทยากร

กฎหมายกับการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด แผนภมู กิ ารบำ�บดั รกั ษาและฟนื้ ฟูผูเ้ สพ/ผตู้ ิดยาเสพติดตาม “ประมวลกฎหมายยาเสพตดิ ” ลกั ษณะ 3 การบ�ำ บัดรักษาผ้ตู ดิ ยาเสพตดิ (ม.113-117) ม.113 ผ้เู สพ/ผู้ครอบครองเพอ่ื เสพ ม.114 ความผิดตาม ม.162/ม.163/ม.164 อตั ราโทษ เสพ : จำ�คกุ ไม่เกิน 1 ปี หรือปรบั ไมเ่ กนิ 20,000 บาท (ม.162,163) ครอบครองเพื่อเสพ : จ�ำ คกุ ไม่เกิน 2 ปี หรือปรบั ไมเ่ กิน 40,000 บาท (ม.164) สมคั รใจเขา้ บำ�บัด จพง.ป.ป.ส./ฝา่ ยปกครองหรอื ตร. พบผูต้ ้องสงสัย ไม่สมัครใจเข้าบำ�บดั ไม่เขา้ เง่อื นไข ม.113/ม.114 สถานพยาบาลยาเสพติด/คดั กรอง/บ�ำ บัด สมคั รใจเขา้ บ�ำ บดั ศูนย์คัดกรอง สธ จัดต้ังศูนยค์ ัดกรอง พนกั งานสอบสวน ศาลต้องคำ�นงึ ถึงการสงเคราะห์ ไม่เป็นผู้ต้องหา/ถูกดำ�เนนิ คดอี ่ืนทม่ี ี หลกั เกณฑ์การจดั ตั้ง พนกั งานอัยการ ให้จำ�เลยเขา้ รบั การบำ�บัดรกั ษา วิธบี ำ�บดั สถานท่ีบ�ำ บัด โทษจำ�คกุ /ระหวา่ งรบั โทษ/ไม่มพี ฤตกิ รรม เป็นไปตามประกาศ ยง่ิ กวา่ การลงโทษ หากจะลงโทษ ตามประกาศ ตามประกาศ ทอี่ าจกอ่ อันตราย จดั ให้อยู่ในความดูแล คกก. บำ�บัดฯ (ม.116) ศาลแขวง ให้พจิ ารณาลงโทษใหเ้ หมาะสม คกก.บำ�บัดฯ ม.113 คกก. บำ�บัดฯ ม.111(4) สถานทีบ่ �ำ บัด ตามประกาศ ไมเ่ กนิ 24 ชม. ม.115 (6) คกก. บ�ำ บดั ฯ ม.111(4) ตามลักษณะของความผิด และข้อเทจ็ จริงเกี่ยวกับ วธิ ีบำ�บดั ตามประกาศ สถานพยาบาลยาเสพตดิ ผู้กระท�ำ ความผิด (ม.165 ว.1) คกก. บำ�บดั ฯ ม.114 ว.2 โดยศาลสัง่ พนักงานคมุ ประพฤติ สบื เสาะหาขอ้ เทจ็ จริงเพือ่ หส. รับรองผ่านการบ�ำ บดั ฯ สำ�เร็จ ไม่สำ�เรจ็ ประกอบการพจิ ารณาของศาล นส. รบั รองผา่ นการบ�ำ บดั ฯ ไม่ใหค้ วามร่วมมอื (ม.165 ว.3 ว.4) ไม่มคี วามผิด ม.113 ไม่มคี วามผิด จัดทำ�ประวัติพฤตกิ ารณ์ ยงั ไมส่ มควร สมควรลงโทษ ม.114 ว.2 ม.114 ว.3 ลงโทษ ม.168 ม.166 เสพ : จำ�คกุ ไม่เกนิ 1 ปี/ ครอบครองฯ : จำ�คุก ไมเ่ กิน 2 ปี มท. และ กทม. จัดต้ัง ศนู ย์ฟื้นฟู วิธบี ำ�บดั ตามประกาศ สถานทบ่ี ำ�บัด ตามประกาศ สถานพยาบาลยาเสพติด คำ�สง่ั ศาลเปน็ ทส่ี ุด ม.170 ศูนยฟ์ นื้ ฟสู ภาพทางสังคม สภาพทางสังคม คกก.บำ�บัดฯ ม.169 คกก.บำ�บดั ฯ ม.111(4) ศาลมดี ุลพนิ จิ ในการเปลย่ี น หลกั เกณฑก์ ารจัดต้งั เป็นไปตาม ติดตาม/ดูแล/ ประกาศ คกก.บำ�บดั ฯ (ม.118 ว.1) ให้ค�ำ ปรกึ ษา/ ม.169 ว.1 ม.169 ว.2 โทษจ�ำ คุกเป็นวิธีการเพอ่ื **ศนู ยฟ์ ื้นฟูฯ สามารถให้ ช่วยเหลือ/สงเคราะห์ หนา้ ท่/ี อำ�นาจ ความปลอดภัย/คมุ ประพฤติ ความชว่ ยเหลือได้ต้งั แต่ นส. รับรอง ตาม ปอ. ม.56 (ม.166) ภายใต้ ม.120 ผา่ นการบำ�บัดฯ ไม่ใหค้ วามรว่ มมอื การดแู ลของกรมคุมประพฤติ เรม่ิ เขา้ รับ การบำ�บดั รกั ษา โดยไมต่ อ้ งรอให้ ศาลยุตคิ ด/ี พน้ ความผดิ ศาลยกคดีขึน้ พจิ ารณา เสพ : จ�ำ คกุ ไมเ่ กนิ 1 ป/ี ม.169 ว.1 ต่อไป ครอบครองฯ : จ�ำ คุก ไมเ่ กนิ 2 ปี ผ่านการบำ�บดั ก่อน กระบวนการบำ�บัดรักษาและฟ้ืนฟูผู้เสพผู้ติดยาเสพติด เป็นหนังสือว่าผู้นั้นผ่านการบำ�บัดรักษาเป็นท่ีน่าพอใจจาก จะเร่ิมต้นในสามลักษณะ คือ (ก) การสมัครใจขอเข้ารับ หัวหน้าสถานพยาบาลยาเสพติดหรือสถานฟ้ืนฟูสมรรถภาพ การบำ�บัดรักษาในสถานพยาบาลยาเสพติดก่อนท่ีความผิด ผู้ติดยาเสพติด โดยให้ผู้นั้นไม่มีความผิดดังกล่าว นอกจากน้ี ฐานเสพยาเสพติด หรือมีไว้ในครอบครองซ่ึงยาเสพติดเพ่ือ ผู้ผ่านการบำ�บัดรักษายังได้รับการติดตาม ดูแล ช่วยเหลือ เสพจะปรากฏตอ่ เจา้ พนกั งาน ป.ป.ส. พนกั งานฝา่ ยปกครอง หรือให้ความสงเคราะห์จากศูนย์ฟ้ืนฟูสภาพทางสังคมเพื่อให้ หรอื ต�ำ รวจ (ข) การสมคั รใจขอเขา้ รบั การบ�ำ บดั รกั ษาในกรณี สามารถเปน็ คนดีท้งั กายใจกอ่ นกลับคืนสู่สังคมต่อไป ท่ีเจ้าพนักงาน ป.ป.ส. พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำ�รวจ เมื่อพิจารณาจากกระบวนการดำ�เนินการตรวจสอบ ได้ตรวจพบผู้ที่มีพฤติการณ์อันควรสงสัยว่ากระทำ�ความผิด ทรัพย์สิน  หรือการบำ�บัดรักษาฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติด ฐานเสพยาเสพตดิ หรอื มไี วใ้ นครอบครองซงึ่ ยาเสพตดิ เพอื่ เสพ ท่ียกตัวอย่างไว้ ย่อมเห็นได้ว่ามีบางส่วนเป็นกลไก หน้าท่ี (ค) สมัครใจขอเข้ารับการบำ�บัดรักษาในชั้นการพิจารณาคดี และอำ�นาจในการดำ�เนินการคล้ายหรือลักษณะเดียวกับ ของศาล เมื่อเข้าสู่กระบวนการบำ�บัดรักษาก็จะได้รับการ ทกี่ ฎหมายเดมิ ก�ำ หนดไวเ้ พยี งแตม่ กี ารเสรมิ ดว้ ยกลไก หนา้ ท่ี คัดกรองโดยศูนย์คัดกรอง แล้วเข้ารับการบำ�บัดรักษาหรือ และอำ�นาจใหม่ในบางส่วนให้สมบูรณ์ ซ่ึงถือว่าเป็นการ ฟ้ืนฟูการติดยาเสพติดในสถานพยาบาลยาเสพติดหรือ “รกั ษา” สง่ิ ทด่ี ไี วเ้ พอ่ื พฒั นาใหก้ ารด�ำ เนนิ การมปี ระสทิ ธภิ าพ สถานฟน้ื ฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ ซงึ่ หากไดร้ บั การรบั รอง ประสิทธิผลสงู ข้นึ 23เพ่ือนวิทยากร

กฎหมายกับการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด การคดั กรอง ตอนที่  ๒ การบำ�บัดรกั ษา และการฟน้ื ฟู สภาพทางสังคม ตามประมวลกฎหมายยาเสพตดิ สำ�นักพฒั นาการป้องกันและแกไ้ ขปัญหายาเสพติด ตามท่ีได้แบ่งปันความเข้าใจเกี่ยวกับความ “การบ�ำ บัดรกั ษา” หมายความวา่ เป็นมา หลักคิดสำ�คัญ และจุดเปล่ียนแปลง การบ�ำ บดั รักษาผู้ติดยาเสพตดิ ในการดำ�เนินการบำ�บัดรักษาผู้ติดยาเสพติด​ ซ่งึ รวมตลอดถงึ การคัดกรอง ตามประมวลกฎหมายยาเสพติดไปแล้วใน คราวกอ่ น ในครงั้ นจ้ี ะขอแบง่ ปนั กรอบแนวทาง การประเมนิ ความรนุ แรง การด�ำ เนนิ งานตามประมวลกฎหมายยาเสพตดิ การบำ�บัดดว้ ยยา การฟ้ืนฟู อนั ประกอบดว้ ย การจดั ตง้ั และการด�ำ เนนิ งาน สมรรถภาพ การลดอันตราย ของศนู ยค์ ดั กรอง เพอื่ ประเมนิ ความรนุ แรงของ จากยาเสพติด และการติดตาม ผู้เสพและส่งต่อเข้ารับการบำ�บัดรักษา และ นำ�เสนอเก่ียวกับสถานพยาบาลยาเสพติดหรือ หลงั การบำ�บัดรักษา สถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ตาม ประมวลกฎหมายยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๖๔ โดยมี รายละเอยี ดดงั ต่อไปน้ี 24 เพ่ือนวิทยากร

ศูนยค์ ัดกรอง: ประตบู านแรกสูก่ ารบ�ำ บัดรกั ษา ศนู ยค์ ดั กรอง ถอื เปน็ กลไกแรกสดุ ของการด�ำ เนนิ การตอ่ ส่วนท้องถ่ินกำ�หนด ศูนย์บริการสาธารณสุข สำ�นักงานเขต ผเู้ สพตามหลกั ประมวลกฎหมายยาเสพตดิ เปน็ ชอ่ งทางทผ่ี เู้ สพ หรือสถานท่ีอื่นที่กรุงเทพมหานครกำ�หนด และให้มีการ ทถ่ี กู เจา้ หนา้ ทพ่ี บตวั และสมคั รใจเขา้ รบั การบ�ำ บดั รกั ษาจะตอ้ ง ขน้ึ ทะเบยี นทศ่ี นู ยอ์ �ำ นวยการปอ้ งกนั และปราบปรามยาเสพตดิ ไปรายงานตวั และเขา้ สกู่ ระบวนการคดั กรองเขา้ สกู่ ารบ�ำ บดั กระทรวงสาธารณสขุ โดยเปน็ ไปตามมาตรฐานศนู ยค์ ดั กรอง รกั ษาทเ่ี หมาะสมตามสภาพการเสพตดิ ซง่ึ กระทรวงสาธารณสขุ ตามระเบยี บคณะกรรมการบ�ำ บดั รักษาฯ ไดว้ างกรอบการด�ำ เนนิ งานจดั ตง้ั ศนู ยค์ ดั กรองใหก้ ระจายลงใน การด�ำ เนนิ งานของศนู ยค์ ดั กรอง เมอื่ เจา้ พนกั งานสง่ ตวั ระดับพื้นท่ีให้มากท่ีสุด เพ่ือรองรับการบริการต่อผู้เสพ โดย ผู้เสพหรือผู้ที่มียาเสพติดไว้ในครอบครองเพ่ือเสพไปยัง ผเู้ สพหรอื ผมู้ ยี าเสพตดิ ไวใ้ นครอบครองเพอ่ื เสพทเ่ี จา้ พนกั งาน ศนู ยค์ ดั กรอง เจา้ หนา้ ทใี่ นศนู ยค์ ดั กรองจะใชผ้ ลการตรวจหา ป.ป.ส. พนักงานฝ่ายปกครอง หรือตำ�รวจพบตัว ตรวจสอบ สารเสพติดในร่างกายจากเจ้าพนักงานหรือทำ�การตรวจหา แล้วไม่มีพฤติกรรมต้องห้ามเข้าบำ�บัดและสมัครใจเข้ารับ สารเสพติดในร่างกายเพ่ือประกอบการประเมิน จากนั้นจะ การบำ�บัด จะถูกส่งตัวมายังศูนย์คัดกรอง พร้อมเอกสาร ท�ำ การคดั กรอง และประเมนิ ความรนุ แรงของการตดิ ยาเสพตดิ ประกอบด้วย ภาวะความเสี่ยงทางสุขภาพกาย หรือสุขภาพจิตตามแบบ ๑) ผลการตรวจหรอื ทดสอบสารเสพตดิ ในปสั สาวะเปน็ บวก คดั กรองการใชย้ าเสพตดิ เพอ่ื พจิ ารณาสง่ ตอ่ ไปยงั สถานพยาบาล ๒) เอกสารสมคั รใจเข้ารบั การบำ�บัดรกั ษา ยาเสพติดหรือสถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด แล้วแต่ ๓) ข้อมูลบุคคล อาทิ ช่ือ สกุล อาชีพ ท่ีอยู่ ประวัติ กรณีตามสภาพการเสพติด ซ่ึงเจ้าหน้าท่ีในศูนย์คัดกรอง พฤติกรรมอ่นื  ๆ ตอ้ งไดร้ บั การฝกึ อบรม ชแ้ี จง วธิ กี ารวเิ คราะหผ์ ลการประเมนิ การจัดต้ังศูนย์คัดกรอง กำ�หนดให้จัดตั้งในระดับพื้นที่ ในแบบคดั กรองจากกระทรวงสาธารณสขุ รวมถงึ การตรวจสอบ จะเปน็ สถานพยาบาลระดบั ต�ำ บล สถานทอ่ี น่ื ทอ่ี งคก์ รปกครอง มาตรฐานการประเมินจากกระทรวงสาธารณสุข การด�ำ เนนิ งานศนู ย์คัดกรองตามระเบียบคณะกรรมการบ�ำ บัดรักษาและฟนื้ ฟู ผ้ตู ดิ ยาเสพตดิ ว่าด้วยหลกั เกณฑว์ ธิ กี ารและเงือ่ นไขในการจดั ต้ังศูนย์คัดกรอง พ.ศ. … ผเู้ สพทเ่ี จา้ หน้าที่พบตัวตามกฎกระทรวง ศนู ย์คดั กรอง คดั กรองและประเมนิ เครื่องมือ วา่ ดว้ ยการด�ำ เนนิ การเพอื่ ประโยชน์ ความรนุ แรงเพ่ือประเมนิ แบบคัดกรอง จดั ตง้ั ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ความรุนแรงของการตดิ ยาเสพตดิ แนบทา้ ยระเบียบ ในการบำ�บดั รกั ษาของเจา้ พนกั งาน ป.ป.ส. เรื่อง กำ�หนดสถานท่ีทีเ่ ปน็ ศูนยค์ ัดกรอง ภาวะความเส่ียงทางกาย คณะกรรมการ หรอื พนกั งานฝา่ ยปกครองหรือตำ�รวจ พ.ศ. .... (สถานพยาบาลระดับต�ำ บล หรือสถานทอ่ี ่ืนของ บำ�บัดรักษาฯ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ทเ่ี หมาะสม) หรือสุขภาพจิต วา่ ด้วยหลักเกณฑ์ 1 ผลการตรวจหรอื ทดสอบ วิธกี ารและเงอื่ นไข สารเสพติดในปสั สาวะเปน็ บวก เจ้าหน้าทีท่ ่ีปฏิบัตงิ านในศนู ยค์ ดั กรอง พิจารณาส่งต่อผรู้ ับการตรวจ ในการจดั ตัง้ หวั หนา้ ศูนยค์ ดั กรอง : ผอ.รพ.สต., ปลดั อปท., ไปยังสถานพยาบาลยาเสพตดิ ศนู ย์คัดกรอง ผอ.ศบส., ผอ.เขต หรือผทู้ ่ีไดร้ บั มอบหมาย หรือสถานฟืน้ ฟสู มรรถภาพผู้ ติดยาเสพตดิ ตามแนวทาง พ.ศ. .... เจ้าหน้าท่ีสาธารณสขุ (7 สาขา) การประเมินในแบบคดั กรอง 2 เอกสาร ก�ำ นนั หรอื ผู้ใหญ่บ้าน หรอื สมัครใจเขา้ รบั การบำ�บดั รักษา ประธานชมุ ชน หรือ ผู้แทน การใชย้ าเสพตดิ อาสาสมคั รสาธารณสุขประจำ�หมบู่ า้ น นำ�ส่งดว้ ยตนเอง 3 ข้อมูลบุคคล ชื่อ อาชพี ทอ่ี ยู่ ประวัติ พฤติกรรมอนื่ ๆ ต�ำ รวจ ผแบู้ปบบว่เขยำ�ก้ายบารารดับั เสรสกง่กัพาตษรตอ่ าดิ สแาบรกบเาสครพดั ใชตก้ดิรอง เอกสารประกอบการน�ำ สง่ เพื่อนวิทยากร 25

กฎหมายกับการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด จากนน้ั เจา้ หนา้ ทจี่ ะตอ้ งจดั ท�ำ ขอ้ มลู เกยี่ วกบั การคดั กรอง สมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ให้จัดทำ�ประวัติเพ่ือประโยชน์ และข้อมูลอื่นใดที่จำ�เป็นของผู้รับการตรวจประกอบด้วย ในการพจิ ารณาเขา้ รบั การบ�ำ บดั รกั ษาตอ่ ไป ผลการประเมินในแบบคัดกรองการใช้ยาเสพติด บันทึก ผลการตรวจหรอื ทดสอบสารเสพตดิ เบอ้ื งตน้ หรอื ขอ้ มลู อน่ื ท่ี ท้ังน้ี ในช่วงที่ยังไม่ได้มีการจัดตั้งศูนย์คัดกรองในพ้ืนท่ี เกย่ี วขอ้ ง รวบรวมไวด้ ว้ ยกนั และเมอ่ื หวั หนา้ ศนู ยค์ ดั กรองไดร้ บั พระราชบญั ญตั ใิ หใ้ ชป้ ระมวลกฎหมายยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๖๔ รายงานผล การคดั กรองแลว้ จะพจิ ารณาสง่ ตอ่ ผรู้ บั การตรวจ มาตรา ๒๒ กำ�หนดให้ศูนย์เพื่อการคัดกรองผู้เข้ารับ ไปยังสถานพยาบาลยาเสพติด หรือสถานฟ้ืนฟูสมรรถภาพ การบำ�บัดฟื้นฟู ตามประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ผู้ติดยาเสพติด ตามแนวทางการประเมินในแบบคัดกรอง ฉบับท่ี ๑๐๘/๒๕๕๗ ลงวันท่ี ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ การใชย้ าเสพตดิ เป็นศูนย์คัดกรอง  ตามประมวลกฎหมายยาเสพติด ท้ายพระราชบญั ญตั ิน้ี จนกว่าจะมกี ารจดั ตั้ง กรณผี รู้ บั การตรวจหลบหนหี รอื ไมใ่ หค้ วามรว่ มมอื ในการ ศูนย์คัดกรอง ตามประมวลกฎหมาย บำ�บัดรักษาในสถานพยาบาลยาเสพติดหรือสถานฟื้นฟู ยาเสพติด การบ�ำ บดั รกั ษาผู้ติดยาเสพติด: หัวใจในการแก้ไขปัญหายาเสพติดเชงิ ปัจเจกบคุ คล เมื่อพิจารณานิยามของการบำ�บัดรักษาตามประมวล ร่างกายและจติ ใจในการเขา้ สกู่ ระบวนการบำ�บดั รักษาตอ่ ไป กฎหมายยาเสพตดิ ก�ำ หนดไวด้ ังน้ี ๒) ข้ันตอนการบำ�บัดด้วยยา/ถอนพิษยา เป็นข้ันตอน “การบำ�บัดรักษา” หมายความว่า การบำ�บัดรักษา การใหก้ ารบ�ำ บดั รกั ษาผตู้ ดิ ยาเสพตดิ ดว้ ยรปู แบบตา่ ง ๆ เชน่ ผู้ติดยาเสพติด ซ่ึงรวมตลอดถึง การคัดกรอง การประเมิน การใหเ้ มทาโดนในกลมุ่ ผถู้ อนพษิ ในกลมุ่ โอปอิ อยด์ การบ�ำ บดั ความรนุ แรง การบ�ำ บดั ดว้ ยยา การฟนื้ ฟสู มรรถภาพ การลด ด้วยยาเพ่ือลดอาการถอนยาในกรณีมีอาการแทรกซ้อนทาง อนั ตรายจากยาเสพตดิ และการติดตามหลังการบำ�บดั รกั ษา กายและจิตใจ เช่น อาการนอนไม่หลับ ความดันโลหิตสูง วณั โรคปอด โรคจิตเภท หรือโรคซึมเศรา้ เปน็ ต้น ทั้งนี้เม่ือพิจารณากระบวนการบำ�บัดรักษายาเสพติด จะพบว่า มดี ว้ ยกัน ๔ ข้ันตอน ดงั น้ี ๓) ขั้นตอนการฟื้นฟูสมรรถภาพ เป็นขั้นตอนเพ่ือให้ ผู้เข้ารับการบำ�บัดรักษา สามารถฟื้นฟูสมรรถภาพกลับคืน ๑) ขั้นตอนการประเมิน/คัดกรอง เป็นขั้นตอนการ สภาพร่างกายและจิตใจท่ีเข้มแข็งมั่นคง และไม่เส่ียงต่อ คัดกรองทางการแพทย์ การตรวจในห้องปฏิบัติการ และ การกลับไปใช้ยาเสพติด โดยครอบครัวมีส่วนสำ�คัญใน ประเมนิ ความรนุ แรงจากการใชย้ าเสพตดิ รวมทง้ั สรา้ งแรงจงู ใจ กระบวนการต้ังแต่เริ่มจนกลับไปดูแลต่อท่ีบ้านได้ โดยใช้ เพ่ือให้ผู้ป่วยและครอบครัวเตรียมพร้อมในการเข้ารับ วธิ กี าร เชน่ การบ�ำ บดั เพอ่ื เสรมิ สรา้ งแรงจงู ใจ (MET) เทคนคิ การบำ�บัดรักษาตามรูปแบบที่เหมาะสม โดยขั้นตอนนี้ จะมี การปรับความคิดและพฤติกรรม (CBT) ชุมชนบำ�บัด (TC) การสร้างสัมพันธภาพกับผู้เข้ารับ การบำ�บัดฯ ครอบครัว เปน็ ตน้ และญาติ มีการซักประวัติการใช้ยา มีการคัดกรองและ ประเมนิ สภาพดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ สงั คม และระดบั ความรนุ แรง ๔) ข้ันตอนการติดตาม เป็นขั้นตอนการติดตามดูแล ในการใชย้ าเสพตดิ มกี ารตรวจหาสารเสพตดิ การตรวจเลอื ด ช่วยเหลือ และส่งเสริมให้ผู้ที่ได้รับการบำ�บัดรักษาสามารถ เพ่ือประกอบการวินิจฉัย หลังจากวิเคราะห์และวินิจฉัย ดำ�รงชีวิตในสังคมได้อย่างปกติสุข รวมท้ังวิเคราะห์ปัญหา สภาพปัญหา จะนำ�มาวางแผนการรักษาหรือฟ้ืนฟูต่อไป และดำ�เนินการให้ความช่วยเหลือ โดยมวี ิธีการทีห่ ลากหลาย นอกจากน้ัน อาจให้คำ�ปรึกษาแบบสั้น (BA) หรือการบำ�บัด เช่น การนัดหมายพบปะพูดคุย ผ่านทางโทรศัพท์ จดหมาย แบบส้ัน (BI) ตลอดจนให้กำ�ลังใจและความเช่ือม่ันเพื่อให้ หรือการเยี่ยมบ้าน ตลอดจนประสานส่งต่อศูนย์ฟ้ืนฟูสภาพ ผู้เข้ารับการบำ�บัดฯ เกิดแรงจูงใจและความพร้อมทั้งทาง ทางสังคม เพอ่ื ให้การช่วยเหลือต่อไป 26 เพื่อนวิทยากร

กฎหมายกับการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด กระบวนการบ�ำ บดั รกั ษา 1 ประเมนิ /คดั กรอง 2 บำ�บดั ดว้ ยยา/ถอนพษิ ยา 3 ฟน้ื ฟสู มรรถภาพ 4 ตดิ ตาม เปน็ การคดั กรองทางการแพทย์ และ • การให้ยาเพื่อลดอาการถอนพิษยา เปน็ การฟนื้ ฟูผูเ้ ข้ารบั ติดตามดแู ลช่วยเหลอื ประเมนิ ความรนุ แรงจากการใช้ยาเสพตดิ • การใหย้ าทดแทน การบำ�บัดรกั ษาใหก้ ลับคืนสภาพ ส่งเสริมให้ผูท้ ี่ได้รบั การบ�ำ บดั รกั ษา • การรักษาโรคร่วมและ สามารถดำ�รงชวี ติ ในสังคมไดอ้ ย่าง รวมทั้ง การสร้างแรงจูงใจ เพือ่ ให้ โดยใชว้ ธิ ีต่างๆ ปกตสิ ขุ รวมทง้ั วเิ คราะห์ปัญหา ผ้ปู ่วยและครอบครวั เตรียมพรอ้ ม โรคแทรกซ้อน ทั้งทางกาย และดำ�เนนิ การให้ความช่วยเหลอื ในการเข้ารบั การบ�ำ บัดรกั ษา และทางจติ การบ�ำ บัดเพอื่ เสริมสรา้ งแรงจูงใจ (MET) เทคนคิ การปรบั ความคดิ และพฤตกิ รรม (CBT) หรอื ประสานสง่ ต่อศูนยฟ์ ้นื ฟู ตามรูปแบบทเ่ี หมาะสม ชุมชนบ�ำ บัด (TC) สภาพทางสงั คม เพ่อื ให้การช่วยเหลือต่อไป สถานท่ีบำ�บัดรักษายาเสพติด ตามประมวลกฎหมาย ๒) สถานฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด คือ สถาน ยาเสพตดิ มาตรา ๑๐๘ แบ่งเป็น ๒ ประเภท คอื พยาบาล สถานฟ้ืนฟู หรือสถานที่อ่ืนใด ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขท่ีคณะกรรมการบำ�บัดรักษาและฟื้นฟู ๑) สถานพยาบาลยาเสพติด คือ โรงพยาบาล หรือ ผตู้ ดิ ยาเสพตดิ ก�ำ หนดใหเ้ ปน็ สถานทที่ �ำ การฟน้ื ฟสู มรรถภาพ สถานพยาบาล ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขท่ี ผู้ติดยาเสพติด เชน่ คณะกรรมการบ�ำ บดั รกั ษาและฟน้ื ฟผู ตู้ ดิ ยาเสพตดิ ก�ำ หนดให้ เปน็ สถานทท่ี �ำ การบ�ำ บดั รกั ษาผตู้ ดิ ยาเสพตดิ เชน่ โรงพยาบาล สถานฟ้ืนฟูเอกชน และวัดท่ีเป็นศูนย์สงเคราะห์ฯ ส่งเสริมสุขภาพตำ�บล ศูนย์บริการสาธารณสุข โรงพยาบาล ทจ่ี ัดตั้งและไดร้ ับการขึ้นทะเบยี นเป็นสถานพยาบาล ชุมชน โรงพยาบาลท่ัวไป โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาล เฉพาะทางสังกัดกรมการแพทย์ และโรงพยาบาลเฉพาะทาง ศนู ยฟ์ น้ื ฟฯู /ศนู ยว์ วิ ฒั นพ์ ลเมอื งฯ ในสงั กดั กระทรวง สังกัดกรมสุขภาพจิต ที่ได้รับการจัดต้ังและขึ้นทะเบียนเป็น ยุติธรรม กระทรวงกลาโหม กระทรวงมหาดไทย กระทรวง สถานพยาบาลยาเสพติด สาธารณสขุ ส�ำ นกั งานต�ำ รวจแหง่ ชาติ และกรงุ เทพมหานคร ทีจ่ ัดต้ังและไดร้ ับการขึ้นทะเบยี นเป็นสถานฟ้ืนฟฯู ผลของประมวลกฎหมายยาเสพติดตอ่ ระบบการบำ�บดั รกั ษา เดิมที ระบบการบำ�บัดรักษาฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติด มี ๓ ในความผิดอื่นซึ่งเป็นความผิดท่ีมีโทษจำ�คุก ให้เจ้าหน้าที่ ระบบ ไดแ้ ก่ (๑) ระบบสมคั รใจ (๒) ระบบบงั คบั บ�ำ บดั และ สง่ ตัวสถานพยาบาลยาเสพตดิ หรอื ศนู ย์คดั กรองต่อไป และ (๓) ระบบตอ้ งโทษ (๒) ระบบการบำ�บัดโดยศาล เม่ือเจ้าหน้าท่ีฯ พบตัว แต่ประมวลกฎหมายยาเสพติดนั้น ส่งผลให้ระบบ และปรากฏพบว่าผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดไม่สมัครใจ ให้ส่ง การบ�ำ บดั รกั ษายาเสพตดิ มเี พยี ง ๒ ระบบ คอื ระบบสมคั รใจ ดำ�เนินคดีตามกระบวนการยุติธรรมต่อไป โดยในกรณีที่ และระบบการบ�ำ บดั โดยศาล กล่าวคอื ไม่สมัครใจและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมาย ศาลอาจ ส่งเข้ารับการบำ�บัดรักษาในสถานพยาบาลยาเสพติด หรือ (๑) ระบบสมัครใจ น้ัน ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดสมัครใจ ใช้วิธีการอ่ืนเพื่อความปลอดภัย หรือกำ�หนดเงื่อนไขเพ่ือ เข้ารับการบำ�บัดรักษาได้ตามสถานพยาบาล ยาเสพติดของ คมุ ความประพฤตขิ อ้ เดยี วหรอื หลายขอ้ ตามมาตรา ๕๖ แหง่ รัฐและเอกชนใกล้บ้าน และกรณีท่ีเจ้าหน้าที่ฯ พบตัว และ ประมวลกฎหมายอาญา แทนการลงโทษจำ�คกุ ก็ได้ ไม่ปรากฏว่าเป็นผู้ต้องหาหรืออยู่ในระหว่างถูกดำ�เนินคดี 27เพ่ือนวิทยากร

การฟ้ืนฟูสภาพทางสงั คม: การแกไ้ ขและพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ เพอื่ เสริมแรงการบ�ำ บัดรักษา การฟนื้ ฟสู ภาพทางสงั คม เปน็ ค�ำ ใหมท่ เี่ กดิ ขน้ึ ในประมวล สภาพทางสังคม จะมี “ศูนย์ฟื้นฟูสภาพทางสังคม” เป็น กฎหมายยาเสพติด ซึ่งเป็นระบบและกลไกท่ีกำ�หนดขึ้นเพื่อ สถานที่ทำ�การฟ้ืนฟูสภาพทางสังคม ให้แก่ ผู้ติดยาเสพติด ใหผ้ ตู้ ดิ ยาเสพตดิ และผผู้ า่ นการบ�ำ บดั รกั ษายาเสพตดิ สามารถ หรอื ผผู้ า่ นการบ�ำ บดั รกั ษา โดยก�ำ หนดใหก้ ระทรวงมหาดไทย กลบั มาด�ำ รงชวี ติ ในสงั คมไดอ้ ยา่ งปกตสิ ขุ ซง่ึ เปน็ มาตรการหนง่ึ และกรุงเทพมหานคร จัดต้ัง “ศูนย์ฟ้ืนฟูสภาพทางสังคม” ของการแก้ไขปญั หายาเสพตดิ ท�ำ หนา้ ท่ี ตดิ ตาม ดแู ล ใหค้ �ำ ปรกึ ษา แนะน�ำ ใหค้ วามชว่ ยเหลอื และสงเคราะห์แก่ผู้เข้ารับการบำ�บัดรักษายาเสพติด ซึ่ง ตามประมวลกฎหมายยาเสพตดิ ก�ำ หนดนยิ าม “การฟน้ื ฟู หนว่ ยงานทสี่ นบั สนนุ และชว่ ยเหลอื การฟน้ื ฟสู ภาพทางสงั คม สภาพทางสังคม” หมายถึง การกระทำ�ใด ๆ อันเป็นการ จะประกอบด้วย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคง สงเคราะห์สนับสนุนให้ผู้ติดยาเสพติดหรือผู้ผ่านการบำ�บัด ของมนุษย์ กระทรวงแรงงาน กระทรวงศึกษาธิการ และ รักษาได้รับการพัฒนาคุณภาพชีวิตทางด้านท่ีอยู่อาศัย สำ�นกั งาน ป.ป.ส. การศึกษา อาชีพ ตลอดจนการติดตามดูแลช่วยเหลือจน สามารถกลับมาใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างปกติสุข ซ่ึงการฟื้นฟู การสนบั สนุนและช่วยเหลอื ของศูนย์ฟืน้ ฟูสภาพทางสงั คม ด้านสงเคราะหอ์ ืน่ ๆ สง่ เสริมอาชีพและรายได้ สง่ เสรมิ การศกึ ษา ส่งเสริมให้ไดร้ บั สวสั ดิการ บรู ณาการ ทง้ั ในและนอกระบบ ทางด้านสงั คมและก$$ารรกั ษาพยาบาล ภรา่วคมเอกกบั ชภนา$$คแรลัฐะ ให้เกดิ ความเท่าเทยี มและทว่ั ถงึ ภาคประชาชน$ $ $ $$ $ $$ จัดหา/ซอ่ มแซมให้มีที่อยู่อาศัย เปน็ การชัว่ คราวตามสมควร และในระยะเวลาท่ีเหมาะสม กลไกการดำ�เนินงานของศูนย์ฟ้ืนฟูสภาพทางสังคม การก�ำ หนดเงอ่ื นไขการสนบั สนนุ ชว่ ยเหลอื แตง่ ตง้ั คณะท�ำ งาน กำ�หนดไว้ ๒ ระดบั คอื ระดับนโยบาย และระดับพน้ื ท่ี เพ่ือศึกษาและวิเคราะห์การดำ�เนินงานในภาพรวมประเทศ ๑) ระดับนโยบาย กำ�หนดให้มี “คณะอนุกรรมการ ซ่ึงไดก้ �ำ หนดให้มีการประชมุ ทกุ ไตรมาส ประสานนโยบายและอำ�นวยการศูนย์ฟื้นฟูสภาพทางสังคม” ๒) ระดับพื้นท่ี กำ�หนดให้มี “คณะทำ�งานอำ�นวยการ ซ่ึงมีปลัดกระทรวงมหาดไทยเป็นประธาน และผู้แทน ฟื้นฟูสภาพทางสังคมจังหวัดและกรุงเทพมหานคร” โดยให้ กระทรวงมหาดไทยเปน็ อนุกรรมการ และเลขานกุ าร/ผู้แทน ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั หรอื ผวู้ า่ ราชการกรงุ เทพมหานคร แตง่ ตงั้ ปปส./ผู้แทน สำ�นักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและ คณะทำ�งานชุดน้ีข้ึน โดยมี ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือปลัด ความม่ันคงของมนุษย์ เป็นอนุกรรมการและเลขานุการร่วม กรุงเทพมหานคร เป็นประธาน และ มีหัวหน้าสำ�นักงาน มีอำ�นาจหน้าท่ีจัดทำ�ข้อเสนอเชิงนโยบาย/มาตรการเพ่ือ คณะท�ำ งานอ�ำ นวยการฟนื้ ฟสู ภาพทางสงั คม เปน็ เลขานกุ าร การฟน้ื ฟสู ภาพทางสงั คม ตลอดจนวางแนวทางการด�ำ เนนิ งาน​ ในกรุงเทพมหานคร กำ�หนดให้ผู้อำ�นวยการสำ�นักงาน 28 เพ่ือนวิทยากร

กฎหมายกับการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด สวัสดิการสังคม สำ�นักพัฒนาสังคมเป็นเลขานุการ มีอำ�นาจ  จ ัดหา/ซ่อมแซมให้มีที่อยู่อาศัยเป็นการช่ัวคราวตาม หนา้ ทใ่ี นการรวบรวมการสนบั สนนุ ความชว่ ยเหลอื สงเคราะห์ สมควร และในระยะเวลาท่เี หมาะสม จากองค์กรพัฒนาเอกชน องค์กรชุมชน หรือองค์กรอื่น ๆ   สง่ เสรมิ ใหไ้ ดร้ บั สวสั ดกิ ารทางดา้ นสงั คมและการรกั ษา ไปยงั ศนู ยฟ์ น้ื ฟสู ภาพทางสงั คมระดบั ตา่ ง ๆ ในพน้ื ที่ ตลอดจน พยาบาลให้เกิดความเทา่ เทยี มและทวั่ ถึง ก�ำ หนดชอ่ งทางการสนบั สนนุ จดั ใหก้ ารสนบั สนนุ ชว่ ยเหลอื  ดา้ นสงเคราะห์อน่ื  ๆ สงเคราะห์ ตลอดจนกำ�กับติดตามผลการดำ�เนินงานของ รูปแบบการดำ�เนินงานและบริหารจัดการของศูนย์ฟื้นฟู ศนู ย์ฟืน้ ฟสู ภาพทางสังคมระดับตา่ ง ๆ สภาพทางสังคม คอื การสนับสนุนและช่วยเหลือของศูนย์ฟื้นฟูสภาพทาง ๑) รับคำ�ร้อง/วิเคราะห์/ประสานข้อมูลการสนับสนุน สังคม จะดำ�เนินการในรูปแบบการบูรณาการร่วมกับภาครัฐ ชว่ ยเหลือ ภาคเอกชน และภาคประชาชน โดยใหก้ ารสนบั สนนุ ทางดา้ น ๒) ให้บริการ/ส่งตอ่ เพ่ือให้การชว่ ยเหลือ ต่าง ๆ ไดแ้ ก่ ๓) ติดตาม/แก้ไขปญั หา/ประเมินผล  สง่ เสริมอาชีพและรายได้ ๔) สรุปและรายงานผลการฟื้นฟูสภาพทางสังคมไปยัง  สง่ เสริมการศกึ ษาท้ังในและนอกระบบ สนง.คณะท�ำ งานอำ�นวยการฟ้นื ฟู จงั หวดั /กรุงเทพมหานคร รูปแบบการดำ�เนนิ งานและบรหิ ารจัดการ ผู้ขอรับการช่วยเหลอื ผวจ./กทม. จดั ตั้ง ศนู ยฟ์ ื้นฟสู ภาพทางสงั คม หน่วยบงูราณนทาก่ีเกาย่ีรวข้อง 1 เข้าบ�ำ บัดโดยสมคั รใจ 2 เข้าบ�ำ บัดโดย พนง./จนท. พบเจอ 1 ศนู ยฟ์ นื้ ฟฯู จ./อ./ต. BO/NGO 3 เขา้ บ�ำ บดั โดยค�ำ สั่งศาล 2 ศนู ย์ฟน้ื ฟูฯ กทม./เขต ภาคประชาชน 3 ศนู ย์ฟน้ื ฟฯู อปท. 4 ศูนยฟ์ ื้นฟูฯ เอกชน/ภาคประชาชน 5 ศนู ยฟ์ น้ื ฟูฯ เฉพาะกรณี การดำ�เนนิ งานของศนู ยฟ์ ้นื ฟู 1 รับค�ำ ร้อง /วเิ คราะห์ /ประสานขอ้ มลู การสนับสนนุ ช่วยเหลือ 2 ใหบ้ ริการ/ส่งตอ่ เพอ่ื ใหก้ ารชว่ ยเหลอื 3 ตดิ ตาม /แก้ไขปัญหา/ประเมนิ ผล 4 สรุป/รายงานผลการฟนื้ ฟไู ปยงั สนง.คณะท�ำ งานอำ�นวยการฟ้ืนฟู จ./กทม. ท่านจะเห็นได้ว่าประมวลกฎหมายยาเสพติดมุ่งเน้นให้ผู้ใช้ยาเสพติดได้เข้ารับการบ�ำ บัดรักษา มากกว่ามุ่งเน้นการลงโทษ และสง่ เสรมิ ใหไ้ ดร้ บั ความช่วยเหลอื ในดา้ นต่าง ๆ โดยบูรณาการความรว่ มมือจากหน่วยงาน/องค์กร ทุกภาคส่วนในการดูแล และชว่ ยเหลอื ผใู้ ชย้ าเสพตดิ เพอ่ื ใหผ้ เู้ สพ/ผตู้ ดิ สามารถเลกิ ใชย้ าเสพตดิ และสามารถใชช้ วี ติ ปกตใิ นสงั คม และไดร้ บั การยอมรบั จากครอบครัว ชมุ ชน และสงั คม ซ่งึ จะเปน็ การแก้ไขปัญหาผเู้ สพไดอ้ ย่างยั่งยนื 29เพื่อนวิทยากร

จุดเปลี่ยน โอกาส ที่ต้องไขว่ควา้ ... มนัสนนั ท์ น่นุ เกิด* 30 เพื่อนวิทยากร สวัสดีค่ะ กลับมาพบกันอีกครั้งกับเพ่ือนสมาชิก วารสาร “เพ่ือนวิทยากร : วิทยาการสู่วิทยากร ยาเสพตดิ ” ส�ำ หรบั การกลบั มาครง้ั น้ี ดฉิ นั ขอน�ำ เสนอ ชวี ติ ของบคุ คลทา่ นหนงึ่ ทเ่ี คยไดเ้ ขา้ ไปอยใู่ นบา้ นใหญ่ หรอื คกุ หรอื เรอื นจ�ำ นนั่ เอง ซง่ึ หลงั จากหลดุ พน้ จาก บ้านใหญ่ เขาก็ได้ใช้ความสามารถในการวาดภาพ เพ่ือยึดเป็นอาชีพ ซึ่งถ้าเอ่ยชื่อออกไปอาจจะมี หลายคนทร่ี จู้ กั เปน็ อยา่ งดกี ไ็ ด้ แตถ่ า้ ยงั ไมร่ จู้ กั ดฉิ นั เช่ือแน่เหลือเกินว่าส่ิงที่จะนำ�เสนอในวันนี้จะเป็น ประโยชนส์ ำ�หรับเพอ่ื นสมาชิกทุกทา่ นค่ะ เร่ิมกันเลยนะคะ บอมม์คือชื่อของคนต้นเร่ือง บอมม์ต้องโทษในคดียาเสพติดซ่ึงต้องเข้าไปอยู่ใน บ้านใหญ่ ท่ีนี่ทุกคนต้องเข้าเรียนวิชาที่หลากหลาย ช่วงแรกท่ีวิทยากรมาสอนวิชาวาดรูป งานปั้น รวม ท้ังงานศิลปะต่าง ๆ บอมม์ไม่สนใจที่จะเรียนและ พยายามหลีกเล่ียง เมื่อวิทยากรอยู่ข้างบนบอมม์อยู่ ข้างล่าง ไม่คิดอยากจะเจอวิทยากร เพราะตอนน้ัน คดิ วา่ เรยี นไปกไ็ มไ่ ดใ้ ชป้ ระโยชน์ ไรค้ า่ และเสยี เวลา เปล่า ประเด็นสำ�คัญคือบอมม์คิดว่ามันยากมาก ๆ ท่บี อมม์จะท�ำ ความเข้าใจและเรยี นร้มู นั ได้ แต่มาช่วงหลัง ๆ บอมม์ไม่สามารถท่ีจะหลบ วิทยากรได้อีกจึงต้องมาน่ังเรียนกับเพ่ือน ๆ ก็พบว่า วิทยากรพูดเชิงบวกโดยให้กำ�ลังใจว่าบอมม์ทำ�ได้ ซ่ึงไม่ใช่แค่ทำ�ได้อย่างเดียวแต่ทำ�เก่งด้วย และมัน สามารถนำ�ไปประกอบอาชีพได้หลังจากพ้นโทษ ออกไป ต่อจากนั้น บอมม์ใช้เวลาประมาณ ๓-๔ ปี ท่ีอยู่ในเรือนจำ� เรียนและฝึกฝนการวาดรูปจนเกิด ความมั่นใจว่าตวั เองท�ำ ได้ *เจ้าหนา้ ท่วี ิเคราะหน์ โยบายและแผน สถาบันพฒั นาบุคลากรด้านการป้องกันและปราบปรามาเสพตดิ สำ�นักงาน ป.ป.ส.

จุดเปลี่ยน เมื่อบอมม์ได้ออกมาจากเรือนจำ�ก็นำ�วิชาวาดรูปที่ได้เล่าเรียน ในเรือนจำ�มาประกอบอาชีพ ซงึ่ บอมม์คดิ วา่ การทไี่ ด้ออกมาใชช้ วี ิต ข้างนอกอีกครั้ง กลายเป็นคนท่ีผ่านการเข้าคุกเข้าตะรางมาแล้ว สงั คมจะใหโ้ อกาสและมที ย่ี นื ในสงั คมไดห้ รอื เปลา่ เพราะคนขา้ งนอก บางคนมักจะเรียกบุคคลที่ออกจากเรือนจำ�ว่าคนขี้คุก และการท่ี คนกลมุ่ นจ้ี ะไปสมคั รงานทไ่ี หนกจ็ ะไมไ่ ดร้ บั โอกาส หรอื มนี อ้ ยคนมาก ที่จะได้รับโอกาสกลับมายืนในสังคมได้อย่างสง่าผ่าเผยอีกคร้ัง แต่ถึงอยา่ งไรบอมมก์ ย็ ังพยายามท�ำ ในส่ิงที่ตงั้ ใจอย่างไม่ย่อทอ้ นอกจากความมงุ่ มนั่ ตง้ั ใจแลว้ สงิ่ ส�ำ คญั ทที่ �ำ ใหบ้ อมมม์ ที กุ วนั น้ี คอื บอมมไ์ ด้รับโอกาสจากผ้หู วังดี ซ่งึ เปน็ โอกาสหนง่ึ เดียวท่บี อมม์ ไดไ้ ขวค่ วา้ ไวท้ �ำ ใหไ้ ดป้ ระกอบอาชพี สจุ รติ นน่ั กค็ อื บอมมไ์ ดร้ บั เงนิ ทนุ จำ�นวน ๒๐,๐๐๐ บาท สำ�หรับไปซ้ืออุปกรณ์ในการวาดภาพ และว่าจ้างให้บอมม์วาดภาพให้ นับต้ังแต่วันนั้นจนถึงวันนี้บอมม์ก็ ตั้งใจรังสรรค์ผลงานอย่างเต็มที่ เปรียบเสมือนเป็นการตอบแทน กลับไปยังผู้ท่ีหยิบย่ืนโอกาสให้ แทนท่ีจะออกมาเพื่อเดินกลับไปสู่ วงั วนเดิม คือ วงั วนยาเสพติด ต่อยอดโอกาส ในวันน้ีบอมม์คิดว่าเขาเลือกเส้นทางท่ีถูกต้องแล้ว เพราะมี หลายคนท่ตี ดิ คุกแล้วคดิ วา่ โชคร้ายหรือดวงไม่ดี แต่ส�ำ หรบั เขาแล้ว เขาคดิ วา่ มนั คอื สงิ่ ดี เขาเปน็ คนโชคดเี พราะไดอ้ าชพี ใหมจ่ ากขา้ งใน เมื่อออกมาข้างนอกก็ได้ใช้วิชาความรู้ติดตัวไปประกอบอาชีพเป็น หลักแหล่ง ซ่ึงเขาไม่กล้าคิดต่อเลยว่าถ้าวันน้ันเขาไม่ถูกจับหรือ รอดพน้ จากการถกู จบั กมุ ชวี ติ ทกุ วนั นจี้ ะเปน็ อยา่ งไร เพราะฉะนนั้ เขาอยากบอกทุกคนที่เคยผ่านการอยู่ข้างในอย่างเขาว่าอย่ากลัว หากทกุ คนจะเรยี กว่าคนขค้ี ุก ปัจจุบันแม้ว่าบอมม์จะผ่านจุดที่สังคมให้โอกาสมาแล้ว ถึงต้อง ใช้เวลาไม่น้อยที่สังคมจะยอมรับความเป็นตัวตนของเขาได้ แม้กระทั่งทุกวันนี้เขายังต้องฝึกฝนฝีมืออยู่เสมอ โดยใช้เวลาในการ วาดรูป ซ่ึงเป็นสิ่งท่ีบอมม์รักและสามารถทำ�มันได้ดีด้วย สามารถ นำ�ไปประกอบสัมมาชีพเล้ียงตัว ได้กลับมายืนในสังคมแม้เคย ต้องโทษ แต่ก็ต้องบอกทุกคนว่าต้องใช้ความพยายามในการฝึกฝน อย่างที่เขาฝึกวาดรูปประกอบ ใช้ความมุ่งมั่น และอาจจะโชคดี ไดร้ ับโอกาสด ี ๆ อย่างเขากไ็ ด้ 31เพ่ือนวิทยากร

ทิง้ ท้ายไว้ให้คิด มาใหเ้ ราบอ่ ย ๆ และขอใหจ้ ติ ใจมน่ั คงเขม้ แขง็ แลว้ เราจะผา่ น จดุ แย ่ ๆ ในชวี ติ ได้ สงิ่ ทบ่ี อมมอ์ ยากทงิ้ ทา้ ยใหก้ บั วยั รนุ่ หรอื คนทค่ี ดิ อยากจะ เข้าไปในวังวนในยาเสพติดคือ อย่าคิดริเร่ิม และอยากคิด ทกุ วนั นบ้ี อมมภ์ มู ใิ จกบั สงิ่ ทเ่ี ปน็ ภมู ใิ จทช่ี วี ติ กา้ วผา่ นเวลา ทดลองเป็นอันขาด แม้จะคิดว่าเพียงคร้ังเดียวก็ไม่ติดซ่ึงมัน ท่ีแย่ ๆ มาได้ และสิ่งนี้ก็ทำ�ให้ครอบครัวภาคภูมิใจในตัวเขา เปน็ ไปไมไ่ ด้ เพราะเมอ่ื มคี รง้ั ทห่ี นงึ่ กจ็ ะมคี รง้ั ทสี่ องและสาม ดว้ ย ตามมา เมอ่ื ไมม่ เี งนิ ซอ้ื ยากจ็ ะตอ้ งผนั ตวั เองเปน็ นกั คา้ ยาเสพตดิ และก็ต้องมีสักวัน ท่ีต้องโดนเจ้าหน้าที่จับได้และเข้าเรือนจำ� สำ�หรับสมาชิกเพ่ือนวารสารฯ ท่านใดสนใจอยากจะ หรือถ้าไม่ได้เข้าเรือนจำ�ก็ต้องมีอันเป็นไปกับยาเสพติด เขยี นรปู วาดภาพ หรอื ตอ้ งการใหบ้ อมมห์ รอื ตอ้ งการงานปน้ั เพราะฉะนั้นอย่าหลงระเริงกับสิ่งยั่วยุช่ัวครั้งช่ัวคราว งานหล่อ งานวาดภาพสีน้ํามัน หรือจะเป็นงานศิลปะต่าง ๆ เพราะน่ันหมายถึงทั้งหมดท่ีเราต้องเสียไป ไม่ว่าจะเป็น กส็ ามารถติดต่อได้ที่ “เพจบอมมข์ ้คี กุ คนเขยี นรูป” ครอบครวั สังคม และอนื่  ๆ หรือแมแ้ ตช่ วี ติ อย่าลืมนะคะ การให้โอกาสเป็นการให้ท่ียิ่งใหญ่และ มีหลายคนที่ออกมาจากเรือนจำ�แล้วก็ยังใช้ชีวิตวนเวียน เปน็ การสรา้ งบญุ เพราะฉะนน้ั ถา้ มโี อกาสให้ จงให้ เพอื่ สรา้ ง ไปกบั สงิ่ เดมิ  ๆ เชน่ กลบั ไปใชย้ าเสพตดิ หรอื หนั ไปเปน็ นกั คา้ คนด ี ๆ สรา้ งคนทเ่ี คยพลาดพลง้ั ใหม้ ที ย่ี นื บนสงั คม เพราะเขา ยาเสพติดเหมือนเดิม ชีวิตเขาก็จะเหมือนเดิม เพราะฉะน้ัน จะไมไ่ ดม้ ที ยี่ นื เพยี งคนเดยี ว แตเ่ ขาจะดงึ เพอ่ื น ๆ ใหม้ ที ย่ี นื ได้ เมอ่ื สงั คมใหโ้ อกาสกต็ อ้ งควา้ โอกาสนน้ั ไว้ เพราะโอกาสไมไ่ ด้ อยา่ งเขาได้ด้วย 32 เพื่อนวิทยากร

แนะนำ�เพื่อนวิทยากร รอ้ ยตำ�รวจตรีสทุ ธศิ ักด์ิ มณเฑียรทอง ประวัติ ร้อยตำ�รวจตรีสุทธิศักด์ิ มณเฑียรทอง ปฏิบัติงานตำ�รวจชุดชุมชนและ มวลชนสมั พนั ธข์ องสถานตี �ำ รวจนครบาลปทมุ วนั อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง โดยผา่ นการอบรม หลักสูตรครูแดร์ หรือ D.A.R.E. (Drug Abuse Resistance Education) และ ไดถ้ า่ ยทอดความรเู้ กย่ี วกบั โทษพษิ ภยั และการปอ้ งกนั ยาเสพตดิ ไปยงั กลมุ่ นกั เรยี น นักศึกษา พนักงานในสถานประกอบการ และประชาชนทั่วไป ด้วยเทคนิค การสอนที่เข้าใจง่ายและนำ�ไปใช้ในชีวิตประจำ�วันได้จริง รวมท้ังเป็นวิทยากร ป้องกันยาเสพติดเชิงรุก ( MOBILE TEAM ) ร่วมกับวิทยากรจากหน่วยงาน ภาครฐั ภายใตก้ ารสนบั สนนุ ของสำ�นกั งาน ป.ป.ส. ประวัตริ บั ราชการ  ปี 2517-2540 สายตรวจงานปอ้ งกันปราบปราม  ปี 2540-2554 งานชมุ ชนและมวลชนสัมพันธ์  ปัจจุบันเป็นท่ีปรึกษาคณะกรรมการตรวจสอบ ติดตามการบริหารงาน ต�ำ รวจ สถานตี ำ�รวจนครบาลปทมุ วัน ผลงาน  ปี 2546 รางวัลขา้ ราชการพลเรือนดเี ดน่ (ครุฑทองคำ�)  ป ี 2547 รางวลั ขา้ ราชการพลเรอื นดเี ดน่ ของส�ำ นกั งานต�ำ รวจแหง่ ชาติ  ปี 2544 ประกาศเกียรติคุณการดำ�เนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพตดิ ไดอ้ ยา่ งดยี ง่ิ จากพนั ต�ำ รวจโททกั ษณิ ชนิ วตั ร นายกรฐั มนตรี  ป ี 2546 ประกาศเกยี รตคิ ณุ ผปู้ ราบปรามยาเสพตดิ ดเี ดน่ สมควรไดร้ บั การยกยอ่ งเปน็ นกั รบพลงั แผน่ ดนิ ขจดั สนิ้ ยาเสพตดิ จากนายวนั มหู ะมดั นอร์ มะทา รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทย  ป ี ๒๕๖๔ ประกาศเกยี รตคิ ณุ ผมู้ ผี ลงานดา้ นการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หา ยาเสพตดิ ดีเดน่ ประจำ�ปี ๒๕๖๔ จากส�ำ นักงานคณะกรรมการปอ้ งกัน และปราบปรามยาเสพตดิ กระทรวงยุตธิ รรม ติดตอ่ ประสานงาน สถานีตำ�รวจนครบาลปทุมวัน เลขที่ 1775 ซอยจุฬาลงกรณ์ 5 ถนนพระราม 4 แขวงวงั ใหม่ เขตปทมุ วัน กรงุ เทพมหานคร 10330 หมายเลขโทรศัพท์ 08-4164-1624

คณะทีป่ รึกษา : นายวชิ ยั ไชยมงคล  นายธนากร คยั นนั ท ์  นายมานะ ศิรพิ ิทยาวฒั น ์  นายปิยะศิริ วัฒนวรางกรู บรรณาธิการ : นายศริ สิ ุข ยนื หาญ กองบรรณาธิการ : นายสืบสกุล สอนใจ  นางสาวโชตริ ส อตุ สาหกจิ  นายชินภาค สอนชื่อ  นางสาวสริ ิธร หาญใจไทย นางสาวทพิ ย์สุรางค์ วะชมุ   นางสาววงเดือน เกตุคำ�  นางสาวกันตฤ์ ทยั ภาชนสมบรู ณ์ชัย *บ ทความทตี่ ีพิมพเ์ ผยแพรใ่ นวารสารเพ่อื นวทิ ยากร : วทิ ยาการสวู่ ิทยากรยาเสพติดฉบับน้ีเปน็ ข้อคดิ เห็นสว่ นบคุ คลของผู้เขียนและเจา้ ของผลงาน โดยไม่มีข้อผกู พันกบั กองบรรณาธิการ ช่องทางการติดตอ่ กองบรรณาธกิ ารวารสารเพอื่ นวทิ ยากร ส่วนพัฒนาบคุ ลากรดา้ นปอ้ งกนั ยาเสพติด สถาบนั พฒั นาบคุ ลากรด้านการปอ้ งกันและปราบปรามยาเสพติด ส�ำ นกั งานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพตดิ เลขที่ ๕ อาคาร ๓ ชนั้ ๓ ถนนดนิ แดง แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรงุ เทพ ๑๐๔๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๒๔๗ ๐๙๐๑-๑๐ ต่อ ๓๓๐๑๑/๓๓๐๑๔ และ ๐ ๒๒๔๕ ๙๔๐๙ อีเมล [email protected] Scan QR Code วารสาร สำ�นกั งานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด การจัดการองค์ความรู้ สำ�นกั งาน ป.ป.ส. พิมพ์ท ี่ : อพั ทรยู ู ครเี อทนิว จำ�กดั Office of the Narcotics Control Board http://km.oncb.go.th/main.php?lename=index# โทร. ๐ ๒๙๖๔ ๘๔๘๔ / ๐๘ ๕๘๔๕ ๘๔๖๘  E – mail: [email protected]