Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปผลการปฏิบัติงาน ครั้งที่1 ปีงบ66 ผอ.ลำพอง

สรุปผลการปฏิบัติงาน ครั้งที่1 ปีงบ66 ผอ.ลำพอง

Description: สรุปผลการปฏิบัติงาน ครั้งที่1 ปีงบ66 ผอ.ลำพอง

Search

Read the Text Version

สรปุ ผลการปฏิบตั ิงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา สายงานบริหารสถานศึกษา เพ่ือประกอบการพิจารณาเล่ือนเงินเดือน สำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสระแก้วเขต 1 ครัง้ ที่ 1 (1 ตุลาคม 2565 – 31 มนี าคม 2566) จดั ทำโดย นายลำพอง ภาษาเวส ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนวนาสงเคราะห์ อำเภอเมอื งสระแกว้ จงั หวดั สระแก้ว สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาสระแก้วเขต 1 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

คำนำ รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานบริหาร สถานศึกษาฉบับน้ี จัดทำข้ึนเพ่ือประกอบการพิจาณาประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการ ปฏิบัติงาน เพื่อการเล่ือนเงินเดือนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานผู้บริหาร สถานศึกษา ตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาท่ี ก.ค.ศ. กำหนด (ว23/2564) ซึ่งผู้ขอรับการประเมินได้เรียบเรียงและรวบรวมข้อมูล นำเสนอผลการปฏิบัติงานตามหน้าที่และความรับผิดชอบและผลงานตามลักษณะงานท่ีปฏิบัติตาม มาตรฐานตำแหน่งและมาตรฐานวิทยฐานะ รวมท้งั งานหน้าที่อื่นท่ีได้รับมอบหมายในดา้ นปริมาณงาน และคณุ ภาพของงาน รวมท้ังผลงานทป่ี รากฏตอ่ การจัดการศกึ ษา ขอขอบคุณ คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานโรงเรียนวนาสงเคราะห์ คณะครูและ นักเรียนท่ไี ด้รว่ มกนั รับผิดชอบในงานหน้าท่ีของตนและไดร้ ่วมคิด รว่ มปรกึ ษาหารอื ร่วมตัดสินใจ รว่ ม ดำเนินการและร่วมประเมินผล เพื่อพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง ทำให้การดำเนินงานในโรงเรียนประสบ ผลสำเรจ็ ตามเป้าหมายและขอขอบคุณผ้เู กี่ยวขอ้ งทกุ คนท่ที ำให้เอกสารฉบับนส้ี ำเรจ็ เรียบร้อยดว้ ยดี นายลำพอง ภาษาเวส ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการสถานศึกษา โรงเรยี นวนาสงเคราะห์ สพป.สระแก้ว เขต 1 20 มนี าคม 2566

ข สารบัญ เรื่อง หนา้ คำนำ ก สารบัญ ข ขอ้ มลู ของผู้รับการประเมนิ 1 องคป์ ระกอบที่ 1 1 1 ดา้ นการบริหารวิชาการและความเปน็ ผนู้ ำทางวิชาการ 2 ดา้ นการบริหารจดั การสถานศึกษา 3 ดา้ นการบริหารการเปลยี่ นแปลงเชิงกลยุทธแ์ ละนวตั กรรม 4 ดา้ นการบริหารงานชมุ ชนและเครือขา่ ย 4 ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ 6 องคป์ ระกอบที่ 2 ความสำเร็จของงานที่ได้รบั มอบหมายจากผู้บงั คบั บัญชา 6 ประเดน็ รายงานการปฏิบตั ิงานตามนโยบาย ดงั น้ี............................................................... 7 1. เสริมสรา้ งโอกาสและความปลอดภัย 7 2. มงุ่ อา่ นออกเขยี นไดค้ ิดเลขเปน็ 9 3. เน้นคณุ ภาพองค์กรท่ีเป็นเลิศ 9 4. เกดิ ทกั ษะและอาชีพ 5. มี Active Learning ทั้งระบบ 10 6. ผลการปฏิบตั ิงานดีเด่น ผลงานนวตั กรรม วธิ ีการปฏบิ ัตทิ ี่เปน็ เลิศ Best Practice หรือผลงานที่ภาคภูมใจทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การจัดการศึกษา ที่เกิดจากการปฏิบตั ิงานในหน้าที่ ในรอบ 6 เดือน (1 ตลุ าคม 2565 – 31 มนี าคม 2566) ภาคผนวก 12 ดา้ นการบริหารวิชาการ 13 ดา้ นการบริหารจดั การสถานศึกษา 20 ดา้ นการบริหารการเปลีย่ นแปลงกลยทุ ธ์และนวตั กรรม 23 ดา้ นการบรหิ ารงานชุมชนและเครือขา่ ย 25 ดา้ นการพัฒนาตนเองและวชิ าชีพ 27

ค หนา้ 41 สารบัญ (ต่อ) 47 เรอื่ ง ความสำเรจ็ ของงานที่ไดร้ ับมอบหมายจากผู้บังคบั บัญชา ประเดน็ รายงาน การปฏบิ ัตงิ านตามนโยบาย ผลการปฏิบตั ิงานดีเดน่ ผลงานนวตั กรรม วธิ กี ารปฏบิ ตั ทิ ี่เป็นเลิศ Best Practice หรอื ผลงานทภ่ี าคภมู ใจทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับการจดั การศึกษา ที่เกิดจากการปฏิบัตงิ านในหนา้ ที่ ในรอบ 6 เดือน (1 ตุลาคม 2565 – 31 มีนาคม 2566)

1 สรุปผลการปฏบิ ตั งิ านของข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา สายงานบรหิ ารสถานศึกษา เพือ่ ประกอบการพจิ ารณาเล่อื นเงนิ เดอื น โรงเรียนวนาสงเคราะห์ สังกดั สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสระแกว้ เขต 1  คร้งั ที่ 1 (1 ตลุ าคม 2565 – 31 มนี าคม 2566) ------------------------------------------------------------------------- ชื่อ – สกลุ นายลำพอง ภาษาเวส โรงเรยี น วนาสงเคราะห์ กลมุ เครือขา่ ยพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ป่ีฆ้องฉลองราชย์ อำเภอ เมืองสระแก้ว จงั หวัดสระแกว้ องค์ประกอบที่ 1 1. ด้านการบริหารวชิ าการและความเป็นผนู้ ำทางวชิ าการ 1.1 การวางแผนพัฒนามาตรฐานการเรยี นร้ขู องผเู้ รยี น ดำเนินการแผนพัฒนามาตรฐานการเรียนรู้ของผู้เรียน ท่ีสอดคล้องกับนโยบาย ของสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้วเขต 1 ครอบคลมุ ภารกจิ หลกั ของสถานศึกษา ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ของผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 ผ่านการมีส่วนร่วมของทุกๆ ฝ่ายในการพัฒนา มาตรฐานการเรยี นรู้ของผ้เู รียนอยา่ งเป็นระบบ 1.2 การจัดทำและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ดำเนินการปรับปรุงหลักสูตร สถานศึกษา ให้มีความทันสมัย สอดคล้องกับความ ต้องการของผู้เรียนและท้องถิ่น ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา ผู้บริหาร สถานศึกษาและครูแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีการนำหลักสูตรสถานศกึ ษาไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร มีการนิเทศ ติดตามการใช้หลักสูตรและนำผลการนิเทศ ติดตาม และ การประเมินผล การใช้หลักสูตรมาปรับปรุง พฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษาตอ่ ไป 1.3 การพฒั นากระบวนการจัดการเรียนรู้ทีเ่ น้นผเู้ รียนเปน็ สำคัญและปฏิบตั ิการสอน ด ำเนิ น การ พั ฒ น า กระบ วน กา รจั ด ก ารเรี ย น รู้ ท่ี เน้ น ผู้ เรี ย น เป็ น ส ำคั ญ โด ย ใช้ กระบวนการ Active Learning และครูมีการเตรียมการจัดการเรียนการรู้ มีการวิเคราะห์ผู้เรียน การ ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ การเลือกสื่อ และแหล่งเรียนรู้ เครื่องมือวัดและประเมินผล จัด กระบวนการเรียนรู้ ตามแผนพัฒนากระบวนการจัดการเรยี นรทู้ เี่ น้นผเู้ รียนเปน็ สำคัญ 1.4 การส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาหรือการนำส่ือนวัตกรรมและเทคโนโลยี ทางการศึกษามาใช้ในการจัดการเรยี นรู้ ดำเนนิ การส่งเสรมิ สนบั สนุนการนำสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษามา ใช้ในการจัดการเรียนรู้ ให้ตรงตามหลักสูตรสถานศึกษา และส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ของผู้เรียนใน

2 ศตวรรษท่ี 21 มีการติดตามประเมินผลการใช้สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา มีการรายงงาน ผลและนำไปใชป้ รับปรงุ พัฒนาต่อไป 1.5 การนิเทศ กำกับติดตาม ประเมนิ ผลการจัดการเรยี นรู้ของครูในสถานศึกษาและ มกี ารประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา ดำเนินกิจกรรมนิเทศภายในสถานศึกษาในรูปแบบปกติและแบบออนไลน์ เพื่อ กำกับ ติดตามประเมินผลการจัดการเรียนรู้ของครู ครบ 100% ตลอดจนดำเนินการพัฒนาคุณภาพ ผู้เรยี นตามมาตรฐานการศกึ ษาบรรลตุ ามเปา้ หมายของสถานศึกษา 1.6 การศึกษา วิเคราะห์เพ่ือแก้ปัญหาและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ เพื่อยกระดับ คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ดำเนินการขับเคล่ือนกระบวนการ PLC ทั้งระบบเพ่ือแก้ปัญหาการจัดการเรียนรู้ โดยใช้นวัตกรรมการบริหาร POSCoRB พัฒนาครูจัดทำวิจัยในช้ันเรียน เพื่อยกระดับคุณภาพ การศกึ ษาสกู่ ารเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21 (เอกสารแนบท้ายหน้าที่ 13-19) 2. ด้านการบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษา 2.1 การบริหารจัดการสถานศึกษาให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ นโยบายและตามหลกั บริหารกิจการบา้ นเมืองทด่ี ี โรงเรียนมีการบริหารจัดการท้ัง 4 ฝ่าย ได้แก่ กลุ่มบริหารงานวิชาการ กลุ่ม บรหิ ารงานงบประมาณ กลมุ่ บริหารงานบุคคล และกลุ่มบรหิ ารงานทว่ั ไป 2.2 การส่งเสรมิ กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น ดำเนินการพัฒ นาและส่งเสริมกิจกรรมพัฒ นาผู้เรียน โดยจัดและสร้าง ประสบการณ์ด้านต่างๆ ให้แก่นักเรียน ตามความสนใจ ความถนัดและความต้องการของนักเรียน มุ่งเน้นพัฒนาองค์รวมของความเป็นบุคคลที่สมบูรณ์ทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคม ให้ เป็นผ้มู ศี ีลธรรม จริยธรรม มีคุณภาพ 2.3 การจัดระบบดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียน โรงเรียนวนาสงเคราะห์ได้นำระบบเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดระบบดูแลช่วยเหลือ ผู้เรียนไว้ใน Application และ Website ให้ทุกฝ่ายที่เก่ียวข้อง เข้าถึง และนำมาใช้ได้ทันเวลา ด้วย การบรหิ ารจัดการสถานศึกษาให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอ้ บังคับ นโยบายและตามหลักบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี ครูดำเนินการดูแลช่วยเหลือนักเรียนเรียนอย่างมีคุณภาพ นักเรียนได้รับการดูแล ช่วยเหลอื อย่างมีคณุ ภาพส่งเสรมิ คณุ ลกั ษณะของผูเ้ รียนในศตวรรษท่ี 21 (เอกสารแนบทา้ ยหน้าที่ 20-22)

3 3. ด้านการบริหารการเปล่ยี นแปลงกลยุทธ์และนวัตกรรม 3.1 การกำหนดนโยบาย กลยุทธ์ การใชเ้ คร่ืองมือ หรอื นวตั กรรมทางการบริหาร โรงเรียนวนาสงเคราะห์ได้กำหนดนโยบายต่างๆ โดยยึดแนวนโยบายของเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษาสระแก้วเขต 1 ดังนี้ 1) เสริมสร้างโอกาสและความปลอดภัย 2) มุ่งอ่านออก เขียนได้คิดเลขเป็น 3) เน้นคุณภาพองค์กรท่ีเป็นเลิศ 4) เกิดทักษะและอาชีพ และ 5) มี Active Learning ทงั้ ระบบ 3.2 การบริหารการเปลีย่ นแปลงและนวัตกรรมในสถานศึกษาเพือ่ พัฒนาสถานศกึ ษา ดำเนินการกำหนดกลยุทธ์จัดทำสารสนเทศ และแผนปฏิบัติการการใช้นวัตกรรม POSCoRB เพื่อการบริหาร ให้เหมาะสมตามบริบทของโรงเรียน พัฒนา ปรับปรุง ระบบการบริหาร จดั การด้วยนวัตกรรม POSCoRB สร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้เพ่ือส่งเสริมทักษะการเรยี นรู้ของผู้เรียน ในศตวรรษท่ี 21 ดำเนนิ งานตามแผนปฏิบตั ิการ บริหารงานโปร่งใส ตรวจสอบได้ ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ให้ บุคลากรทางการศึกษามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการสถานศึกษา ผลการดำเนินงาน บรรลุตาม วัตถุประสงค์ (เอกสารแนบทา้ ยหน้าท่ี 23-24)

4 4. ด้านการบรหิ ารงานชุมชนและเครือขา่ ย 4.1 การสร้างและพัฒนาเครือข่ายเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้/ 4.2 การจัดระบบการ ใหบ้ ริการในสถานศกึ ษา โรงเรียนมีเครือข่ายความร่วมมือและผู้ที่เกี่ยวข้อง บริหารด้วยนวัตกรรม POSCoRB อย่างสร้างสรรค์กับผู้เรียน ครู คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ผู้ท่ีเกี่ยวข้อง ชุมชน และเครือข่าย เพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม ช่วยเหลือและพัฒนาคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ของผู้เรียน ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 เครือข่ายในการพัฒนา คุณภาพการศกึ ษา (เอกสารแนบทา้ ยหน้าที่ 25-26) 5. ด้านการพัฒนาตนเองและวชิ าชีพ 5.1 การพัฒนาตนเองและวชิ าชพี ที่ วนั /เดือน/ ปี เรื่อง สถานที่ หน่วยงานทจ่ี ดั สพป.สก1 สพป.สก1 1 20-22 ก.ย.65 ผ่านการอบรมโครงการ “ป้ันครูเปน็ ยูทปู เบอร”์ 5.2 การนำความรู้ ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ในการ พัฒนาการบริหารจดั การสถานศกึ ษาที่สง่ ผลตอ่ คณุ ภาพผู้เรียน ครู และสถานศึกษา 1) รางวลั ผลงาน ดา้ นการพัฒนาตนเอง ท่ี วัน/เดือน/ปี รางวลั /เกียรติคณุ หนว่ ยงานที่ หลักฐาน มอบ 1 16 ม.ค.2566 ครูดีศรีสระแกว้ (ประเภทผบู้ ริหาร) สพป.สก1 เกียรติบตั ร 2) ด้านผเู้ รียน ที่ วนั /เดือน/ปี รางวลั /เกยี รติคุณ หน่วยงานทีม่ อบ หลักฐาน กระทรวง เกยี รตบิ ัตร 1 25-27 ม.ค. การแขง่ ขนั แกะสลักผักและผลไม้ ศึกษาธิการ 2566 งานศิลปหัตถกรรมนักเรยี น ระดบั ชาติ ครงั้ ท่ี 70 1. ด.ญ.ธดิ าพร บญุ กาญจน์ 2. ด.ญ.นภิ าพร ชัยสมมารถ 3. ด.ญ.พรทิยา เสาะด้น

5 2) ดา้ นผู้เรียน (ต่อ) ที่ วัน/เดือน/ปี รางวลั /เกยี รติคุณ หน่วยงานท่ีมอบ หลกั ฐาน กระทรวง เกยี รตบิ ัตร 2 25-27 ม.ค. การประกวดภาพยนต์ส้ัน ศกึ ษาธกิ าร 2566 งานศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรยี น ระดับชาติ ครง้ั ท่ี 70 1. ด.ญ.ธดิ าพร บุญกาญจน์ 2. ด.ญ.นภิ าพร ชยั สมมารถ 3. ด.ญ.พรทยิ า เสาะด้น 4. ด.ญ.มนัญญา หนกระโทก 5. ด.ช.พงศพทั ธ์ ป่ินแก้ว 3) ดา้ นครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ท่ี วัน/เดอื น/ปี รางวลั /เกยี รตคิ ุณ หนว่ ยงานทีม่ อบ หลกั ฐาน กระทรวง เกียรตบิ ัตร 1 25-27 ม.ค. การแข่งขันแกะสลกั ผักและผลไม้ ศกึ ษาธกิ าร 2566 งานศลิ ปหัตถกรรมนกั เรียน ระดบั ชาติ ครั้งท่ี 70 1. ครูนรินทร รตั ธิจนั ทา 2. ครูจักรกฤษณ์ ศริ ิชยานันท์ 2 25-27 ม.ค. การประกวดภาพยนตส์ ัน้ กระทรวง เกยี รติบตั ร ศกึ ษาธกิ าร 2566 งานศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรียน ระดบั ชาติ ครั้งท่ี 70 1. ครูจกั รกฤษณ์ ศิรชิ ยานนั ท์ 2. ครูลภสั รดา มุ่งดี 4) ด้านสถานศึกษา ที่ วัน/เดือน/ปี รางวลั /เกียรตคิ ุณ หนว่ ยงานท่ีมอบ หลักฐาน 1 2 (เอกสารแนบท้ายหนา้ ที่ 27-40)

6 5) การได้รับเชิญเป็นวิทยากร/ กรรมการตัดสนิ ภายในและภายนอก สถานศึกษา ที่ วนั /เดือน/ปี รายการ / เร่ือง หนว่ ยงานทเี่ ชญิ หลักฐาน 1 19-25 ธ.ค.65 กรรมการตัดสนิ การแข่งขัน กิจกรรมการ สพป.สก.1 เกยี รตบิ ัตร ประกวดภาพยนต์สัน้ ระดับชั้น ม.1-ม.3 งานศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรยี น ระดบั เขตพ้ืนท่ีการศึกษา ครั้งท่ี 70 2 13-14 เปน็ วิทยากร โครงการคา่ ยพกั แรมลกู เสือ - เครอื ข่ายปฆ่ี อ้ ง เกียรตบิ ัตร กมุ ภาพนั ธ์ 66 เนตรนารี เครอื ข่ายพัฒนาคุณภาพ ฉลองราชย์ การศึกษาปฆี่ ้องฉลองราชย์ 3 16-17 เป็นวทิ ยากรอบรมโครงการค่ายปฏบิ ตั ิธรรม เครือข่ายปฆี่ อ้ ง เกียรติบัตร กมุ ภาพันธ์ 66 สู่เยาวชนต้านยาเสพติด ประจำปี 2566 ฉลองราชย์ (เอกสารแนบทา้ ยหนา้ ที่ 57-58) องคป์ ระกอบท่ี 2 ความสำเรจ็ ของงานทไ่ี ด้รบั มอบหมายจากผู้บังคบั บัญชาประเด็นรายงานการ ปฏบิ ตั ิงานตามนโยบาย ดังน้ี 1. เสริมสร้างโอกาสและความปลอดภัย โรงเรียนวนาสงเคราะห์ มีการเสริมสร้างโอกาสในการเรียนรู้โดยยึดแนวคิด \"แหล่ง เรียนรู้หลากหลาย ครอบคลุมทั่วถึง ครบทุกพ้ืนที่ เกิดการเรียนรู้เชิงรุก มีการพัฒนาอาชีพ การมีงาน ทำและรายได้ ประสบความสำเร็จอย่างภาคภูมิใจ\" โดยมีแนวทางในการดำเนินงาน ดังนี้ สร้างความ เสมอภาคเป็นธรรมให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย พัฒนา ระบบสารสนเทศเพื่อการศึกษาให้ ทนั สมัย สามารถนำมาใช้ในการบริหารและจดั การศึกษาอย่างมปี ระสิทธภิ าพ เข้าถึงแหลง่ เรยี นร้แู ละ เทคโนโลยีสารสนเทศที่ ทันสมัยอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม ใช้นวัตกรรมในการขับเคล่ือน การจัดการ ศึกษา เพ่ืออาชีพ ส่งเสริมสนับสนุนให้ครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนได้มีเวทีที่ เปิดกว้างท่ี เข้าถึงและแสดงศักยภาพได้ตลอดเวลาและต่อเน่ือง พัฒนาระบบและช่องทางในการเลือกศึกษาต่อ เพ่อื การมีงานทำและอาชีพ ตามความต้องการและความถนัดของตนเอง พฒั นาแหล่งเรียนรู้ใหม้ ีความ หลากหลาย ครอบคลุมท่ัวถึงครบทุกพ้ืนที่ เกิดการเรียนรู้เชิงรุก มีการพัฒนาอาชีพ การมีงานทำและ สร้างรายได้ ประสบความสำเร็จในชวี ติ อย่างภาคภมู ิใจ ในด้านความปลอดภัย โรงเรียนวนาสงเคราะห์มีแนวทางในการดำเนินงาน ดังน้ี การ สร้างความตระหนักในการเสริมสร้างความปลอดภัยในสถานศึกษา พัฒนา ความรู้และทักษะในการ

7 คุ้มครอง ป้องกัน ด้านความปลอดภัยของตนเองและผู้รับบริการ เป็นแบบอย่างในการเสริมสร้าง ความปลอดภัยในวิชาชีพของตนและ การแสดงออกที่ถูกต้องทั้งในระดับสถานศกึ ษาและชุมชน สร้าง กลไกและมาตรการ รักษาความปลอดภัยในสถานศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล พัฒนาระบบ รูปแบบ แนวทาง การป้องกันและแก้ปัญหาให้กับผู้เรียนปลอดภัยจากการถูกคุกคามทุกรูปแบบได้อย่าง ทนั ท่วงที พัฒนาภาคเี ครือขา่ ยใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพในการเสริมสร้าง ความปลอดภัยในทกุ ระดับ (เอกสารแนบทา้ ยหน้าที่ 41) 2. มุง่ อา่ นออกเขียนไดค้ ิดเลขเปน็ ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนวนาสงเคราะห์ มีแนวนโยบายที่จะพัฒนานักเรียนทุกคน ตัง้ แต่ระดับชั้นอนุบาล-ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ให้อ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น ตามระดับของตนเอง จากผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและผลการประเมินการอ่านของนักเรียน พบว่ายังมีนักเรียนอยู่จำนวน หน่ึงซ่ึงยังอ่านไม่ได้ อ่านไม่คล่อง คิดคำนวณไม่เป็นและจากการพูดคุยกับครูผู้สอนทุกๆ คน ทำให้ได้ ทราบขอ้ มลู และสรุปไดว้ ่า พนื้ ฐานดา้ นการอ่านของนักเรียนยังไมเ่ ป็นไปในทิศทางเดียวกัน ดังนน้ั ทาง โรงเรียนจึงต้องระดมความคิดจากคณะครู ผู้บริหาร และบุคลากรที่เก่ียวข้อง เพื่อแก้ปัญหาการอ่าน เขียนทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ รวมถึงการคิดคำนวณอย่างเป็นระบบ โดยจัดทำโครงการหนู นอ้ ยยอดนกั อา่ น โครงการภาษาอังกฤษแถวหนา้ โครงการคิดดีๆ มีรางวัล เป็นตน้ โดยมวี ัตถุประสงค์ ดังน้ี 1) เพ่ือพัฒนาความสามารถด้านการอ่านภาษาไทยของนักเรียนอนุบาล –ป.6 2) เพ่ือพัฒนา ความสามารถด้านการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันอนุบาล-ป.6 3) เพื่อพัฒนาทักษะการคิด คำนวณของนักเรยี นชั้นอนบุ าล-ป.6 4) เพอ่ื ปลูกฝังนิสัยรกั การเรยี นให้กบั นกั เรยี นช้นั อนุบาล-ป.6 (เอกสารแนบท้ายหนา้ ท่ี 42) 3. เนน้ คุณภาพองคก์ รทเี่ ป็นเลิศ “การพัฒนาสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศ” องค์กร (Organization) คือกลุ่มบุคคล หลายๆ คน ร่วมกันทำกิจกรรมเพื่อทำให้บรรลุเป้าหมายท่ีต้ังไว้ การรวมกันของกลุ่มถาวร มีการจัด ระเบียบภายในกลุ่มเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของแต่ละคน ตลอดจนกำหนดระเบียบข้อบังคับต่างๆ ให้ ยึดถือปฏิบัติ แสดงว่า โรงเรียนเกิดจากการรวมตัวของกลุ่มบุคคลอย่างมีระบบ มีเป้าหมายหรือ วัตถุประสงค์ร่วมกัน มีการดำเนินงานประสานงานเพ่ือให้บรรลุตามเป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์ที่ ต้องการ องค์ป ระกอบ ท่ีสำคัญ คือ 1) กลุ่มบุ คคล (Human Grouping) 2) วัตถุป ระสงค์ (Objectives) หรือเป้าหมาย (Goals) การพัฒนาสถานศึกษา คือ ความพยายามที่จะปรับปรุง เปล่ียนแปลงระบบของสถานศึกษาทุกระบบ โดยมีการวางแผนการดำเนินงานอย่างดี เพื่อให้ สถานศึกษาท่ีได้รับการปรับปรุงแล้วสามารถดำเนินการไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ และประสิทธผิ ล และ

8 “การพัฒนาสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศ” คือพยายามปรับปรุงเปล่ียนแปลงทุกระบบของสถานศึกษา โดยมีแผนการดำเนินการ เพื่อให้การศึกษา อบรม ส่ังสอน ให้นักเรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ มี ความรู้คู่คุณธรรม เก่ง ดี มีสุข เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์เป็นพลเมืองที่ดีของประเทศ ของโลกและอยู่ใน สังคมอย่างมีความสุข วิธีการพัฒนาของแต่ละโรงเรียนน้ัน บริบทย่อมไม่เหมือนกัน หลักการบริหาร หลกั การพัฒนา ไมม่ ีหลักสตู ร ทฤษฎที ตี่ ายตวั แตอ่ ยา่ งไรก็ตาม กรอบท่ีจะดำเนนิ การได้ คอื 1. การพฒั นาคนในสถานศกึ ษา ซง่ึ ประกอบดว้ ย 1.1 ผูท้ ี่ตอ้ งรบั การพัฒนา ได้แก่ - ผู้บริหาร เป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญท่ีสุดในการพัฒนา และต้องพัฒนาให้ มากที่สุด - ครู เป็นหัวใจของกระบวนการผลิต (Process) โดยโรงเรียนวนาสงเคราะห์มีแนวการปฏิบัติท่ียึดเป็นแนวทางเดียวกัน คือ แนวของ WANA (W=Willingness มีความมุ่งม่ันตั้งใจทำงาน, A= Accounttability มีความรับผิดชอบ, N=Network and Communication การสร้างเครือข่ายในการพัฒนาร่วมกัน, A=Abide เคารพ กติกาในองคก์ ร) 1.2 ส่วนประกอบของการพฒั นา ไดแ้ ก่ - พัฒนาแนวคิด เจตคติ ทุกคนมีความรู้สึกเป็นเจ้าของโรงเรียนและ รว่ มกันสรา้ งวัฒนธรรมท่ดี ีในโรงเรียน - พัฒนาทักษะ การบริหาร การจัดการ ทักษะการอบรมสั่งสอนให้ได้ มาตรฐาน ให้ไดช้ ่ือวา่ มืออาชีพท้ังผ้บู รหิ ารและครู 2. การพฒั นาวัตถุประสงคห์ รือเปา้ หมายของการจดั การศึกษา 2.1 พัฒนาสถานศึกษา ให้ได้มาตรฐานทั้งด้านผู้เรยี น ครู และผบู้ ริหาร ด้วยการ มีส่วนร่วมของทุกฝ่าย เพื่อกำหนดวิสัยทัศน์ กำหนดภารกิจ กำหนดเป้าหมาย วางแผน กำหนด แผนปฏบิ ัติการ กำหนดกิจกรรมของโรงเรยี น และประเมนิ ผล 2.2 ยุทธศาสตร์ท่ีใช้ในการพัฒนา ได้แก่ การพัฒนาท้ังระบบโดยใช้ทฤษฎี กระบวนการบริหาร (POSDCoRB) รวมใชว้ งจรพฒั นาของเดรมม่งิ PDCA หลังจากการดำเนินการพัฒนาท้ัง “คน” และ “เป้าหมาย” แล้วภาพของสถานศึกษา คือ โรงเรียนได้มาตรฐานตามมาตรฐานการศึกษาชาติ มาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และได้ มาตรฐานของการประเมินภายนอก (สมศ.) ซึ่งเป็นพื้นฐานลำดับแรกที่จะต้องทำให้บรรลุและรักษา คุณภาพเอาไว้ เพ่ือประกันในเรื่องคณุ ภาพ มาตรฐานการปฏบิ ัติตอ่ ผรู้ บั บริการ (เอกสารแนบท้ายหนา้ ท่ี 43)

9 4. เกดิ ทกั ษะและอาชีพ การพัฒนาทักษะชีวิตและทักษะอาชีพ มีความสำคัญสำหรับนักเรียนในศตวรรษที่ 21 เน่ืองจากเป็นทักษะท่ีนักเรียนจะต้องนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต และเป็นทักษะท่ีจำเป็นสำหรับใน อนาคต ทักษะชวี ติ และทักษะอาชีพ คือ ความสามารถในการแสวงหาความรู้ นำพาตนเองไดเ้ รียนรู้ มี ความม่ันใจในตัวเอง กระตือรือร้นใฝ่รู้ มุ่งความเป็นเลศิ ดำรงชีวิตด้วยความรับผิดชอบต่อตนเองและ ผู้อื่น เป็นพลเมืองที่ดีเคารพกติกา มีระเบียบวินัย คำนึงถึง สังคม มีคุณธรรม มีความเป็นไทยเข้า ใจความหลากหลายทางวัฒนธรรม และแบ่งปันประสบการณ์ทักษะ การทำงานหรืออาชีพ คือ ความสามารถประยุกตใ์ ช้ความรู้และทักษะในการทำงาน การติดต่อสอ่ื สาร การทำงานเป็นทีม แสดง ภาวะผู้นำและความรับผิดชอบ มีความยืดหยุ่นและปรับตัวได้ดี ริเร่ิมงาน ดูแลตนเองได้ อดทนและ ขยันทำงาน ทักษะชีวิตและทักษะอาชีพ คือการเรียนรู้ที่จะปรับตัวได้อย่างดีในสภาวะการ เปล่ียนแปลง หรือมภี ัยคุกคามได้อย่างชาญฉลาด ถอื เปน็ เร่ืองสำคญั ในการดำรงชีวติ ท่ีมที ักษะ ชีวติ ใน โลกศตวรรษที่ 21 และการคิดสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ เพื่อตอบสนองการดำรงชีวิตในสภาพแวดล้อมที่ ต่างกันไป รวมถึงการเผยแพร่ การนำเทคนิควิธีการมาใช้ เกิดเป็นกลยุทธการขาย เกิดเป็น ผู้ประกอบการในงานอาชพี ทีป่ รบั ตวั ได้ทันในยุคการเปลยี่ นแปลง โรงเรียนวนาสงเคราะห์ได้ส่งเสริมให้นักเรียนพัฒนาทักษะชีวิตและทักษะอาชีพ ตาม บริบทของชุมชนโดยใช้แหล่งเรียนรู้ทางด้านอาชีพท่ีมีเป็นองค์ความรู้ในการพัฒนาทักษะอาชีพของ นักเรียน เช่น การเพาะปลูกบอนสี (โครงการเด็กมือบอน) การเพาะปลูกเห็ดฟาง (ผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับ เห็ดฟาง น้ำพริกเห็ด ข้าวเกรียบ แหนมเห็ด) การปลูกสมุนไพรในชุมชน (ยาดมสมุนไพร) ซ่ึงองค์ ความรู้ตามบริบทของชุมชนเหล่านี้ไดน้ ำไปบูรณาการร่วมกับการจัดการเรียนรใู้ นกลุ่มสาระวิชาต่างๆ เพือ่ ให้นักเรยี นได้เรียนร้ผู ่านกระบวนการในการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ (เอกสารแนบทา้ ยหนา้ ที่ 44) 5. มี Active Learning ทงั้ ระบบ โรงเรียนวนาสงเคราะห์มีการส่งเสริมการมีอิสระทางด้านความคิดและการกระทำของ ผู้เรียน การมีวิจารณญาณ และการคิดสร้างสรรค์ ผู้เรยี นจะมีโอกาส มีส่วนร่วมในการปฏิบัติจริงและ มีการใช้ วิจารณญาณในการคิดและตัดสินใจในการปฏิบัติกิจกรรมนั้น มุ่งสร้างให้ผู้เรียนเป็นผู้กำกับ ทิศทางการเรียนรู้ ค้นหาสไตล์การเรียนรู้ของตนเอง สู่การเป็นผู้รู้คิด โดยมีครูผู้สอนทำหน้าที่ผู้ให้ คำแนะนำ และเป็นพ่ีเล้ียงให้นักเรียนเรียนรู้ได้อย่างเต็มศักยภาพ ผ่านกิจกรรมต่างๆ ในโรงเรียน มากมาย (เอกสารแนบท้ายหน้าท่ี 45-46)

10 6. ผลการปฏบิ ตั งิ านดีเดน่ ผลงานนวัตกรรม วธิ ีการปฏิบัติท่ีเปน็ เลิศ Best Practice หรอื ผลงานที่ภาคภูมใจทเ่ี กีย่ วขอ้ งกบั การจัดการศึกษา ทเ่ี กดิ จากการปฏิบัตงิ านในหน้าที่ ในรอบ 6 เดือน (1 ตลุ าคม 2565 – 31 มีนาคม 2566) 1. ดา้ นผู้เรยี น ที่ วัน/เดือน/ปี รางวลั /เกยี รตคิ ณุ หน่วยงานทมี่ อบ หลักฐาน กระทรวง เกียรตบิ ัตร 1 25-27 ม.ค. การแขง่ ขนั แกะสลักผักและผลไม้ ศึกษาธกิ าร 2566 งานศลิ ปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติ ครั้งท่ี 70 จ.ราชบรุ ี 1. ด.ญ.ธดิ าพร บญุ กาญจน์ 2. ด.ญ.นภิ าพร ชัยสมมารถ 3. ด.ญ.พรทิยา เสาะด้น 2 25-27 ม.ค. การประกวดภาพยนตส์ น้ั กระทรวง เกียรตบิ ตั ร ศกึ ษาธิการ 2566 งานศลิ ปหตั ถกรรมนักเรียน ระดับชาติ ครัง้ ที่ 70 จ.ราชบุรี 1. ด.ญ.ธิดาพร บญุ กาญจน์ 2. ด.ญ.นภิ าพร ชัยสมมารถ 3. ด.ญ.พรทยิ า เสาะด้น 4. ด.ญ.มนญั ญา หนกระโทก 5. ด.ช.พงศพทั ธ์ ปน่ิ แก้ว 2. ดา้ นครูผสู้ อน ที่ วนั /เดือน/ปี รางวลั /เกียรตคิ ณุ หนว่ ยงานทม่ี อบ หลกั ฐาน กระทรวง เกียรติบตั ร 1 25-27 ม.ค. การแขง่ ขันแกะสลักผักและผลไม้ ศึกษาธิการ 2566 งานศลิ ปหัตถกรรมนกั เรียน ระดบั ชาติ คร้งั ท่ี 70 จ.ราชบรุ ี 1. ครนู รนิ ทร รัตธิจันทา 2. ครจู กั รกฤษณ์ ศริ ชิ ยานันท์

11 2. ด้านครผู สู้ อน (ตอ่ ) ท่ี วนั /เดือน/ปี รางวัล/เกียรตคิ ุณ หนว่ ยงานท่ีมอบ หลักฐาน กระทรวง เกียรตบิ ตั ร 2 25-27 ม.ค. การประกวดภาพยนต์สั้น ศึกษาธกิ าร 2566 งานศิลปหตั ถกรรมนักเรียน ระดับชาติ คร้งั ท่ี 70 จ.ราชบุรี 1. ครจู กั รกฤษณ์ ศิรชิ ยานันท์ 2. ครูลภัสรดา มงุ่ ดี 3. ด้านตนเอง ที่ วัน/เดอื น/ปี รางวัล/เกียรติคุณ หนว่ ยงานท่ี หลักฐาน มอบ เกยี รติบตั ร 1 16 ม.ค.2566 ครูดีศรสี ระแกว้ (ประเภทผบู้ ริหาร) สพป.สก1 (เอกสารแนบท้ายหน้าท่ี 47-58)

ภาคผนวก

13 ด้านการบริหารวิชาการและความเป็นผู้นำทางวิชาการ การวางแผนพัฒนาการศึกษาร่วมกับบุคลากรและชุมชน

14 ด้านการบริหารวิชาการและความเป็นผู้นำทางวิชาการ การวางแผนการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา

15 ด้านการบริหารวิชาการและความเป็นผู้นำทางวิชาการ การวางแผนจัดทำและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา

16 ด้านการบริหารวิชาการและความเป็นผู้นำทางวิชาการ การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและปฏิบัติการสอน

17 ด้านการบริหารวิชาการและความเป็นผู้นำทางวิชาการ การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและปฏิบัติการสอน

18 ด้านการบริหารวิชาการและความเป็นผู้นำทางวิชาการ การส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาหรือการนำสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา มาใช้ในการจัดการเรียนรู้

19 ด้านการบริหารวิชาการและความเป็นผู้นำทางวิชาการ การนิเทศ กำกับติดตาม ประเมินผลการจัดการเรียนรู้ของครูในสถานศึกษา และมีการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา

20 ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา การบริหารจัดการสถานศึกษาให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ นโยบายและตามหลักบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

21 ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา การส่งเสริมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

22 ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา การจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน

23 ด้านการบริหารการเปลี่ยนแปลงกลยุทธ์และนวัตกรรม การกำหนดนโยบาย กลยุทธ์ การใช้เครื่องมือ หรือนวัตกรรมทางการบริหาร

24 ด้านการบริหารการเปลี่ยนแปลงกลยุทธ์และนวัตกรรม การบริหารการเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรมในสถานศึกษาเพื่อพัฒนาสถานศึกษา

25 ด้านการบริหารงานชุมชนและเครือข่าย การสร้างและพัฒนาเครือข่ายเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ และการจัดระบบการให้บริการในสถานศึกษา

26 ด้านการบริหารงานชุมชนและเครือข่าย การสร้างและพัฒนาเครือข่ายเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ และการจัดระบบการให้บริการในสถานศึกษา

27 ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ การพัฒนาตนเองและวิชาชีพ

28 ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ การพัฒนาตนเองและวิชาชีพ

29 ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ การนำความรู้ ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนา การบริหารจัดการสถานศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน ครู และสถานศึกษา

30 ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ การนำความรู้ ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนา การบริหารจัดการสถานศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน ครู และสถานศึกษา รางวัล ผลงาน ด้านการพัฒนาตนเอง

31 ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ การนำความรู้ ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนา การบริหารจัดการสถานศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน ครู และสถานศึกษา รางวัล ผลงาน ด้านผู้เรียน

32 ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ การนำความรู้ ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนา การบริหารจัดการสถานศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน ครู และสถานศึกษา รางวัล ผลงาน ด้านผู้เรียน (ต่อ)

33 ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ การนำความรู้ ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนา การบริหารจัดการสถานศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน ครู และสถานศึกษา รางวัล ผลงาน ด้านผู้เรียน (ต่อ)

34 ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ การนำความรู้ ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนา การบริหารจัดการสถานศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน ครู และสถานศึกษา รางวัล ผลงาน ด้านผู้เรียน (ต่อ)

35 ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ การนำความรู้ ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนา การบริหารจัดการสถานศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน ครู และสถานศึกษา รางวัล ผลงาน ด้านผู้เรียน (ต่อ)

36 ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ การนำความรู้ ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนา การบริหารจัดการสถานศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน ครู และสถานศึกษา รางวัล ผลงาน ด้านครูผู้สอน

37 ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ การนำความรู้ ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนา การบริหารจัดการสถานศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน ครู และสถานศึกษา รางวัล ผลงาน ด้านครูผู้สอน (ต่อ)

38 ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ การนำความรู้ ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนา การบริหารจัดการสถานศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน ครู และสถานศึกษา รางวัล ผลงาน ด้านครูผู้สอน (ต่อ)

39 ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ การนำความรู้ ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนา การบริหารจัดการสถานศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน ครู และสถานศึกษา รางวัล ผลงาน ด้านครูผู้สอน (ต่อ)

40 ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ การนำความรู้ ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนา การบริหารจัดการสถานศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน ครู และสถานศึกษา รางวัล ผลงาน ด้านครูผู้สอน (ต่อ)

41 ความสำเร็จของงานที่ได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชา ประเด็นรายงานการปฏิบัติงานตามนโยบาย ดังนี้ เสริมสร้างโอกาสและความปลอดภัย

42 ความสำเร็จของงานที่ได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชา ประเด็นรายงานการปฏิบัติงานตามนโยบาย ดังนี้ มุ่งอ่านออกเขียนได้คิดเลขเป็น

43 ความสำเร็จของงานที่ได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชา ประเด็นรายงานการปฏิบัติงานตามนโยบาย ดังนี้ เน้นคุณภาพองค์กรที่เป็นเลิศ

44 ความสำเร็จของงานที่ได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชา ประเด็นรายงานการปฏิบัติงานตามนโยบาย ดังนี้ เกิดทักษะและอาชีพ

45 ความสำเร็จของงานที่ได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชา ประเด็นรายงานการปฏิบัติงานตามนโยบาย ดังนี้ มี Active Learning ทั้งระบบ