แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 4 เรอ่ื งแตง่ ใหง้ ามตามทเี่ หมาะ แผนจัดการเรียนรูท้ ี่ 3 เรื่อง การอ่านตคี วามสรุปความ รายวิชาภาษาไทยรหัสวิชา ท 21101 ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2562 น้าหนกั เวลาเรียน 1.5 (นน./นก.) เวลาเรยี น 3 ชัว่ โมง/สัปดาห์ เวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1 ช่วั โมง ............................................................................................................................. ............................. 1. สาระสาคญั (ความเขา้ ใจทคี่ งทน) การตีความสรุปความและหาข้อคิดจากเรื่องท่ีอ่าน หรือฟัง คือการทาความเข้าใจเรื่องท้ังหมด ไม่ว่าจะเป็น เร่ืองจากการฟัง การอ่านก็ตาม แล้วตีความเพ่ือสรุปและหาข้อคิดไม่ได้ การทาความเข้าใจเร่ืองอย่างแจ่มแจ้งจึงเป็น สง่ิ จาเป็นสาหรบั การตีความ สรปุ ความและหาข้อคดิ ของเรื่อง 2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวัดชน้ั ป/ี ผลการเรยี นรู้/เป้าหมายการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ (ใหต้ รงกบั หลกั สตู รแกนกลาง 2551 ปรบั ปรุง 2560) มาตรฐาน ท ๑.๑ใช้กระบวนการอา่ นสรา้ งความรู้และความคดิ เพื่อนาไปใช้ตัดสนิ ใจ แก้ปัญหาในการดาเนินชีวิต และมนี สิ ัยรักการอา่ น ตัวช้ีวัด ตัวช้ีวัด/ผลการเรียนรู้ มาตรฐาน ท๑.๑ ม.๑/๘วิเคราะห์คุณค่าที่ได้รับจากการอ่านงานเขียนอย่างหลากหลายเพ่ือนาไปใช้ แกป้ ัญหาในชีวติ 3.1เนอ้ื หาสาระหลัก : Knowledge จกั การตคี วาม สรปุ ความและหาข้อคิดจากเรื่องท่ีฟัง หรืออา่ นได้ 3.2ทกั ษะ/กระบวนการ : Process ตีความ สรปุ ความและหาข้อคดิ จากเรอ่ื งทฟี่ ัง หรืออา่ นได้ 3.3 คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ : Attitude ผเู้ รียนมเี จตคติท่ดี ีต่อวชิ าภาษาไทย 4. สมรรถนะสาคญั ของนักเรยี น 4.1 ความสามารถในการสอื่ สาร ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาไทยมาตรฐานสอื่ สารในชีวติ ประจาวัน 4.2 ความสามารถในการคิด ผู้เรียนมีทักษะการคดิ วเิ คราะห์ 4.3 ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต ผูเ้ รยี นมีกระบวนการปฏบิ ตั ิ 5. คณุ ลกั ษณะของวชิ า ความรับผิดชอบ ความรอบคอบ 6. คุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ 1. มวี นิ ยั 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. มวี นิ ัย 4. ใฝ่เรยี นรู้ 5. อยู่อยา่ งพอเพยี ง
6. มุ่งมัน่ ในการทางาน 7. รกั ความเป็นไทย 7. ชิน้ งาน/ภาระงาน ๑.ใบความรู้ 8. กจิ กรรมการเรียนรู้ นั้น ๆ ครู ครูใชว้ ิธวี ิธสี อนแบบกระบวนการกล่มุ และวิธีสอนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการปฏิบตั )ิ ชัว่ โมงที่ 1 1.ขัน้ นา ๑. นักเรียนอ่านข้อความท่ีครูติดบนกระดาน แล้วฝึกตีความ สรุปความ และบอกข้อคิดของเร่ือง และนักเรียนสนทนา แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการตีความ สรุปความและการหาข้อคิดของเรื่อง ครูให้ความรู้เพ่ิมเติม และช้แี นะใหเ้ ข้าใจตรงกนั ๒.ข้ันสอน ๑. นักเรยี นออกไปศกึ ษา หาความรเู้ กยี่ วกับหลักการตีความ สรุปความและการหาข้อคิดจากเร่อื ง จากแหล่ง เรียนรู้ เช่น ห้องสมดุ มมุ ภาษาไทย ๒. จากนน้ั มารับใบความร้จู ากครู พรอ้ มศึกษาเน้ือหาจากหนังสือเรียนเมื่อนักเรียนศกึ ษาจบแล้ว ครูซักถามให้ นักเรยี นตอบปากเปล่า และครคู อยอธิบายและตอบข้อสงสัยของนักเรยี น ๓. นักเรียนแต่คนอ่านเรื่องท่ีกาหนดให้แล้วทาแบบฝึกหัดเขียนตีความสรุปความจากเร่ือง เสร็จแล้วนาส่งครู ตรวจสอบและประเมนิ ผล ๓.ข้นั สรุป ๑. ครูและนกั เรียนรว่ มกนั สรุปอภปิ รายเกย่ี วกับเรื่อง การอ่านตีความสรุปความ 9. สอ่ื การเรยี นการสอน / แหลง่ เรียนรู้ รายการส่ือ จานวน สภาพการใชส้ ือ่ 1. ใบงาน 1 ชุด ขน้ั สร้างความสนใจ 2. ใบความรู้ 1 ชุด ขั้นขยายความรู้
10. การวดั ผลและประเมินผล เป้าหมาย หลกั ฐานการเรยี นรู้ ประเด็น/ การเรยี นรู้ ชิน้ งาน/ภาระงาน วธิ ีวดั เคร่อื งมือวัดฯ เกณฑก์ ารให้ คะแนน ผู้เรียนสามารถ แบบทดสอบ ผู้เรียนอา่ น แบบประเมินการอ่าน ร้อยละ 60 บอกหลกั เกณฑ์ หลังเรยี น ประจาหน่วย ออกเสยี ง ในการอ่านออกเสียง การเรียนรู้ที่ 1 การอา่ น ครสู ังเกต บทออกเสยี ง ผา่ นเกณฑ์ ได้ถูกต้อง(K) ออกเสียง พฤติกรรม แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพ แบบประเมนิ การ การทางานกลมุ่ อา่ นออกเสียง ผูเ้ รยี น การทางานกลุ่ม 2 ผ่านเกณฑ์ แบบสังเกต ทาแบบทดสอบ แบบทดสอบ พฤติกรรมการทางาน หลังเรียน กลมุ่ หลังเรยี น
11. การบรู ณาการตามจดุ เนน้ ของโรงเรียน (ตัวอยา่ ง) หลักปรัชญาเศรษฐกจิ ครู ผู้เรยี น พอเพยี ง - -- - - -- - -- - -- ผู้เรยี น -- - สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ครู ผู้เรยี น - - - สิ่งแวดล้อม ครู - - ลงชื่อ..................................................ผสู้ อน (............................................)
ตวั อย่างข้อความ หวั ใจนกั ปราชญ์ เวน้ วจิ ารณ์วา่ งเวน้ สดบั ฟัง เวน้ ที่ถามอนั ยงั ไป่ รู้ เวน้ เล่าลิขิตสัง- เกตวา่ ง เวน้ นา เดก็ เอ๋ยเดก็ ไทย เดก็ เอ๋ย เดก็ ไทย จงคน้ ความ ภมู ิใจไทยวถิ ี ภูมิปัญญารากเหวา้ ของเรา มี สร้างศกั ด์ิศรีความเป็นไทยความเป็นเธอ เรียนรู้โลกเพ่อื ไม่ตกเป็นเหยอื่ เรา รู้ทนั เท่า ความจริง ทุกส่ิงเสมอ มีความฝันความใฝ่ ไม่ฟ้ ุงเพอ้ แต่ล้าเลอคุณธรรมนาสุขเอย
ใบความรู้ เร่ือง การตคี วาม สรุปความ การตีความ สรุปความ เมือ่ อ่าน ฟัง หรอื ดู เร่ืองใด ๆ ก็ตาม บางคร้งั เราควรจดบนั ทึกสรปุ ความรู้และข้อคิดจากเรือ่ งที่ได้อา่ น ได้ฟัง และไดด้ ูไว้ เพื่อช่วยการจาและนาไปใช้ประโยชน์ ในการรับสาร นอกจากผูอ้ า่ น ผ้ฟู ัง ผดู้ ูหรอื ผู้ชมจะต้องรู้จกั วเิ คราะหค์ วามแล้ว ยงั ตอ้ งร้จู กั ตีความ และสรุป ความ เพ่ือช่วยให้เรารับสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยต้องอาศัยการใช้เหตุผล และวิจารณญาณประกอบด้วย ดัง ตวั อยา่ งต่อไปนี้ ตวั อย่างท่ี ๑ เมื่อปี กลายสมชายอยกู่ ระบี่ พอปลายปี ยา้ ยไปเรียนที่สงขลา อีกสองปี ตอ้ งไปเรียนท่ียะลา ส่วนปี หนา้ กะจะไปอยชู่ ุมพร จากข้อความข้างต้นถ้าถามว่าสมชายอยู่ภาคใดของประเทศใด เราจะต้องวิเคราะห์ข้อความท้ังหมดให้ถ่องแท้ เสียกอ่ น จงึ จะสรุปความได้วา่ สมชายอยูภ่ าคใต้ ท้งั นเ้ี นื่องจากขอ้ ความท้งั หมดทเ่ี ป็นชอ่ื จังหวดั ล้วนแล้วแตเ่ ป็นจงั หวัด ท่ีอยู่ในภาคใต้ของประเทศไทย ในขั้นของการตีความถ้าถามวา่ พ่อแม่ของสมชายมอี าชีพใด หลังจากวเิ คราะห์ความเรา อาจตีความได้ว่า ครอบครัวของสมชายมีอาชีพท่ีต้องย้ายตามงานไปเรือ่ ย ๆ อาจเป็น ข้าราชการ ช่างก่อสร้าง เพราะ วรรคที่สองมีใจความว่า “พอปลายปีย้ายไปเรียนที่สงขลา” และวรรคท่ีสาม “อีกสองปตี ้องไปเรียนท่ียะลา” คาว่า เรียน จงึ เป็นสว่ นทีเ่ ราใชใ้ นการตีความได้ ตัวอย่างที่ ๒ ยา่ ของแดงแตง่ งานกบั บรรเจิด ยา่ มีลูก ๓คน ป่ ูต้งั ช่ือลูกทุกคนข้ึนตน้ วา่ “บรร” ลูกคนโต เป็นผชู้ ายชื่อบรรทดั ลูกสาวคนท่ีสองช่ือบรรจง ลูกสาวคนเล็กชื่อบรรทม ข้อความข้างต้นถ้าถามว่าปู่ของแดงช่ืออะไร คาตอบก็คือบรรเจิดเน่ืองจากข้อความ “ย่าของแดงแต่งงานกับ บรรเจดิ ” เป็นส่วนช่วยให้ตีความได้หลังจากเราได้อ่านหรือฟังเร่ืองนี้โดยตลอด และคิดวิเคราะห์หาคาตอบ และถา้ จะ สรุปความให้ได้ว่า พ่อของแดงช่ืออะไร เราก็ต้องตีความจากข้อความท่ีว่า “ลูกคนโตเป็นผู้ชายช่ือบรรทัด” ดังน้ันพ่อ ของแดงจึงช่ือ “บรรทัด” เพราะ “บรรทัด” เป็นลูกชายคนโตของปู่ สรุปความได้ว่าแดงเป็นลูกของบรรทัด ซึ่งเป็นลูก ชายคนโตของปู่ ทาไมจึงรู้ว่า พ่อของแดงชื่อบรรทัด คาตอบก็คือ บรรทัดเป็นลูกคนเดียว แดงเรียกปู่และย่า ดังนั้น แดงจะตอ้ งเปน็ ลูกของบรรทัดถ้าเปน็ ลูกของบรรจง หรอื บรรทม จะตอ้ งเรยี กวา่ ตาและยาย การหาขอ้ คดิ จากเร่ืองท่ีอา่ น
การหาข้อคิดจากเรอ่ื งท่ีอ่าน จะช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจเร่ืองทอี่ ่านไดล้ ึกซ้ึงและเข้าใจความคิดของผู้เขียนที่แฝงไว้ใน เร่อื ง เชน่ คตธิ รรม คาสอน มมุ มองต่าง ๆ อนั เป็นประโยชนต์ ่อการนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดารงชีวติ ได้ การหาข้อคิดจากเร่ืองที่อ่าน ผู้อ่ืนตอ้ งมีความเข้าใจความหมายของคาและประโยค ตั้งจดุ มุ่งหมายของการอ่าน ไว้และตอ้ งอา่ นอย่างพินิจพจิ ารณา ใช้การวเิ คราะหค์ า ความหมาย นยั ของคาและขอ้ ความ จดบันทึกความรู้ การแยกแยะข้อเท็จจริง การประเมินเหตุการณ์ โดยสามารถใช้การเขียนแผนภาพความคิดหรือ แผนภาพโครงเร่อื งมาลาดบั ความคิดได แผนภาพโครงเรอ่ื ง แม่ปูกบั ลกู ปู ตัวละคร แม่ปู ลกู ปู เหตุการณ์ที่ ๑ แมป่ ูกบั ลกู ปเู ดนิ ไปหากินในนา แมป่ เู ห็นลกู ปเู ดนิ ไม่ตรงทางจงึ ร้องบอก ใหล้ กู เดนิ ใหต้ รงทาง ข้อคิด ข้อบกพร่องของผู้อ่นื ย่อมเห็นได้ง่ายกว่าข้อบกพร่องของตนเอง เหตกุ ารณท์ ่ี ๒ แผนภาพโครงเรือ่ ง แมป่ ูกับลกู ปู ข้อคิด ลกู ปขู อใหแ้ มป่ ูเดนิ ให้ดูว่าเดนิ อยา่ งไรจึงจะเดินตรงแมป่ ูเดินให้ลกู ปดู ูก็ เดนิ ไมต่ รงทางเหมือนกนั การทจี่ ะบอกหรอื สอนผู้ใด ผู้บอกหรือผสู้ อนควรปฏบิ ัติได้ก่อน การทาสง่ิ ท่ีฝนื ธรรมชาตยิ ่อมทาได้ยาก จากข้อคิดของเร่ือง ผูอ้ า่ นอาจคิดเปรียบเทียบกับสานวนที่สอดคลอ้ งกนั ได้ เชน่ วา่ แตเ่ ขาอเิ หนาเป็นเอง เป็น ตน้
แบบฝกึ หัด คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนอ่านในใจ แล้วตอบคาถาม จงไปจากไรเ่ ถิด “จงไปจากไรเ่ ถดิ …มดจงไปจากปลวกจงไปจาก ด้วงจงไปจาก แมลง จงไปจาก หนอนจงไปจาก เพลี้ยจงไปจาก ตก๊ั แตนจงไปจาก จิ้งหรีดจงไปจากนกจงไปจา หนูจงไปจาก บรรดาส่ิงท่ีเป็นพิษเปน็ ภยั เป็นศตั รขู องข้าว จงไปจากเสียง ใหห้ มด ไปเสียให้ไกล ๆ หน่งึ วนั เดนิ ทาง หนึง่ คนื เดนิ ทาง อย่าอย่ใู กล้ไร่อยา่ อยู่ใกล้สวน อยา่ เฝา้ ไร่ อยา่ เฝ้าสวน ไป เสียใหพ้ ้นจากไร่ ไปเสียให้พน้ จากสวน ไปยงั ตะวนั ออก ไปยงั ตะวนั ตก ไปยังเหนอื ไปยังใต้ ไปยังบ้านใหญ่ ไปยัง เมืองโตเถิด” “ขา้ วเอย๋ ปกั เจ้าลง หวา่ นเจา้ ลงเสร็จแล้วสับคอหญ้า สับคอผักเสรจ็ แลว้ ต่อแตน่ ้ีไปทาตวั เจ้าใหท้ ิพย์ ทาตวั เจ้าให้อัศจรรย์ เจา้ เป็นผวู้ เิ ศษ เจ้าเปน็ ผู้มีมนตข์ ลงั เจ้าเปน็ ผซู้ อื่ สัตย์ เจา้ เปน็ ผซู้ อ่ื ตรง จงเรียกน้าฝนลงมา จงเรียก น้าคา้ งลงมา ใหฝ้ นดี ให้น้าค้างดก หลบตวั ใหเ้ ก่ง ซ่อนตัวใหม้ ดิ หนจู ะมากินฝังตัวเข้าไป นกจะมาจิกฝงั ตวั เขา้ ไว้ด้วง จะมากินฝงั ตวั ลงไป หนอนจะมากินฝังตวั ลงไป ให้ฝนตกตามฤดูกาลให้ฝนแลง้ ตามฤดูกาล ใหต้ กกลางคนื ให้หยดุ กลางวนั ให้ข้าได้มีกินอยา่ งอุดมสมบูรณ์ กับลกู กับเมยี กบั พ่ีกบั น้อง ตลอดทัง้ ปีตลอดทัง้ เดือน หากมีเสยี งจงปดิ หัว ใหม้ ิด หากมีเสยี งห่า จงแตกยอดให้เขียวขจีเถิด…” ๑. สิ่งที่เปน็ พษิ ภัยหรือเปน็ ศัตรูของต้นข้าวในไร่ไดแ้ ก่อะไรบ้างชว่ ยกัน รวบรวมมาใหม้ ากที่สุด ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… 3. ถ้าสัตวท์ ่เี ป็นพิษภยั ของตน้ ขา้ วพากันออกไปอยใู่ นบ้านใหญ่เมอื งโตบ้านใหญ่เมืองโตจะมีสภาพอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ๓. ถ้าสตั วท์ ่ีเป็นพิษภัยยังอยู่ในนาขา้ ว ชาวนาควรแกป้ ญั หาอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………
แบบฝึ กหัด คาชี้แจง ให้นักเรยี นเขยี นเล่าเรื่องที่ประทบั ใจตามลาดบั หวั ข้อที่กาหนดไวใ้ นแผนภาพความคิด พร้อมทั้งตงั้ ชื่อเรือ่ ง ๒. พบเหตกุ ารณ์ ๑. ก่อนพบ เรื่อง เหตกุ ารณ์ ประทบั ใจ เร่ือง…………….. ๓. สรุป/ข้อคดิ เรื่อง…………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………..................................................... ..................................................................................................................................................
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109