Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการเรียนรู้เต็มรูปรายวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ท21101 นางสาวพัชรญดา โอบเอื้อ

แผนการเรียนรู้เต็มรูปรายวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ท21101 นางสาวพัชรญดา โอบเอื้อ

Published by พัชรญดา โอบเอื้อ, 2019-09-02 00:55:19

Description: แผนการเรียนรู้เต็มรูปรายวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ท21101 นางสาวพัชรญดา โอบเอื้อ

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 เรือ่ ง ภาษามพี ลัง แผนจัดการเรียนรูท้ ี่ 3 เรอื่ ง การเลือกอ่านสือ่ สารสนเทศ รายวิชาภาษาไทยรหัสวชิ า ท 21101 ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2562 น้าหนกั เวลาเรยี น 1.5 (นน./นก.) เวลาเรยี น 3 ชว่ั โมง/สัปดาห์ เวลาที่ใช้ในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 1 ชวั่ โมง .......................................................................................................................................................... 1. สาระสาคัญ (ความเขา้ ใจทีค่ งทน) สารสนเทศ เป็นข้อมูลข่าวสาร ความรู้และเหตุการณ์ต่าง ๆ ซ่ึงรวบรวมไว้ และถ่ายทอดในรูปแบบต่าง ๆ การศึกษา ขอ้ มลู ข่าวสารท่ที นั สมัยและรวดเรว็ เราสามารถสบื คน้ ไดจ้ ากระบบสารสนเทศ 2. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชี้วดั ชัน้ ปี/ผลการเรียนรู้/เปา้ หมายการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ (ใหต้ รงกบั หลักสูตรแกนกลาง 2551 ปรับปรุง 2560) มาตรฐาน ท ๑.๑ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความรู้และความคิดเพ่ือนาไปใช้ตัดสนิ ใจ แก้ปัญหาในการดาเนินชีวิต และมนี ิสัยรกั การอ่าน ตัวชี้วดั ตัวชว้ี ัด/ผลการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ม.๑/๘ วิเคราะหค์ ณุ ค่าที่ได้รบั จากการอ่านงานเขยี นอย่าง หลากหลายเพอ่ื นาไปใช้แกป้ ัญหาในชวี ติ 3.1 เน้ือหาสาระหลกั : Knowledge การเลือกอา่ นสอ่ื สารสนเทศในภาษาไทยได้ถูกต้องตามอกั ขรวธิ แี ละสามารถบอก ใจความสาคญั ของเร่ืองทอ่ี ่านได้ 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process นักเรยี นสามารถอา่ นส่อื สารสนเทศได้ถกู ต้องตามอักขรวธิ แี ละสามารถบอก ใจความสาคัญของเร่ืองที่อ่านได้ 3.3 คณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ : Attitude ผู้เรียนมเี จตคติทีด่ ตี ่อวชิ าภาษาไทย 4. สมรรถนะสาคญั ของนักเรยี น 4.1 ความสามารถในการสอ่ื สาร ผูเ้ รยี นสามารถใช้ภาษาไทยมาตรฐานสื่อสารในชวี ติ ประจาวัน 4.2 ความสามารถในการคิด ผู้เรียนมีทกั ษะการคิดวิเคราะห์ 4.3 ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ ผเู้ รยี นมีกระบวนการปฏบิ ตั ิ 5. คุณลกั ษณะของวชิ า ความรับผิดชอบ ความรอบคอบ

6. คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. มวี ินยั 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยูอ่ ย่างพอเพียง 6. มงุ่ ม่ันในการทางาน 7. รักความเป็นไทย 7. ชิน้ งาน/ภาระงาน ๑.ใบความรู้ 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ครใู ช้วธิ วี ิธสี อนแบบกระบวนการกล่มุ และวิธสี อนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการปฏบิ ตั ิ) ชั่วโมงที่ 1 1.ข้ันนา ๑. ครูนาภาพหรือของจริงเก่ียวกับสอื่ สารสนเทศต่าง ๆ ให้นักเรยี นดู และสนทนาเรือ่ งสอื่ สารสนเทศเกี่ยวกับคา จากัดความของส่ือสารสนเทศ และประเภทของสื่อสารสนเทศ ๒.ข้ันสอน ๑. นักเรียนแต่ละกลุ่ม ศึกษาประเภทของสื่อสารสนเทศ และหลักการในการเลือกใช้โดยให้ส่วนหน่ึง ศึกษา เรอ่ื ง สือ่ ตีพมิ พ์ อกี สว่ นหน่งึ ศกึ ษาเร่อื ง ส่อื ไมต่ ีพิมพ์ ๒. ครูและนกั เรียนช่วยกันสรปุ ความรเู้ ร่อื ง การเลอื กอา่ นเรอ่ื งจากสอ่ื สารสนเทศ ดังนี้  สอ่ื สารสนเทศ เป็นส่ือที่แสดงขอ้ มูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริง ความรู้ และเหตุการณ์ต่างๆ ซึ่งได้รวบรวม ไว้ และถ่ายทอดเป็นรูปแบบต่าง ๆ  สือ่ สารสนเทศ แบง่ ออกเปน็ ๒ประเภท คือส่อื ตีพิมพ์ และส่อื ไม่ตีพิมพ์ ๑. ให้นักเรียนดูตัวอย่างบทความ แล้วครูอธิบายลักษณะของบทความ และประเภทของบทความว่ามีประเภท ใดบา้ ง พร้อมกบั ยกตวั อย่างประกอบ จากนั้น ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มชว่ ยกันหาบทความประเภทต่าง ๆ จาก หนงั สือพมิ พ์ และสื่อส่ิงพมิ พต์ า่ ง ๆ ๒. นกั เรียนทกุ คนทาแบบฝึกเสรมิ ทักษะเขยี นแผนภาพความคิดสรปุ ประโยชนท์ ี่ได้จากการเลือกอ่าน เสร็จแล้ว นาสง่ ครูตรวจสอบและประเมินผลงาน ๓.ขัน้ สรุป ๑. ครูและนักเรียนช่วยกนั สรปุ ความรเู้ ร่ือง บทความ ดงั น้ี ๑) บทความ คอื ความเรยี งชนดิ หนึ่ง ท่เี นื้อหามีข้อมูลจากความเปน็ จริง โดยมีจดุ มุ่งหมายแตกตา่ งกันไป ๒) บทความ แบง่ ออกเป็น ๕ ประเภท ตามจดุ มงุ่ หมาย ดงั น้ี  บทความท่องเทย่ี ว  บทความอธบิ าย

 บทความแสดงความคิดเหน็  บทความทางวิชาการ  บทความวจิ ารณ์ 9. ส่ือการเรยี นการสอน / แหล่งเรยี นรู้ รายการสอ่ื จานวน สภาพการใชส้ ือ่ 1. ใบงาน 1 ชดุ ข้นั สร้างความสนใจ 2. ใบความรู้ 1 ชุด ข้ันขยายความรู้ 10. การวัดผลและประเมินผล เปา้ หมาย หลกั ฐานการเรยี นรู้ ประเดน็ / การเรียนรู้ ชน้ิ งาน/ภาระงาน วธิ วี ัด เคร่ืองมือวัดฯ เกณฑ์การให้ คะแนน ผู้เรียนสามารถ  แบบทดสอบ  ผเู้ รยี นอา่ น  แบบประเมินการอ่าน  ร้อยละ 60 บอกหลกั เกณฑ์ หลงั เรียน ประจาหนว่ ย ออกเสยี ง ในการอ่านออกเสยี ง การเรียนรู้ท่ี 1 การอา่ น  ครสู ังเกต บทออกเสียง ผ่านเกณฑ์ ได้ถูกต้อง(K) ออกเสียง พฤติกรรม  แบบสงั เกตพฤติกรรม  ระดบั คุณภาพ  แบบประเมนิ การ การทางานกลุ่ม อ่านออกเสยี ง  ผูเ้ รียน การทางานกลุม่ 2 ผา่ นเกณฑ์  แบบสงั เกต ทาแบบทดสอบ  แบบทดสอบ พฤติกรรมการทางาน หลงั เรยี น กลุ่ม หลังเรยี น

11. การบูรณาการตามจดุ เน้นของโรงเรยี น (ตัวอย่าง) หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ ครู ผู้เรยี น พอเพียง - - 31. - - - - 32. - - 33. - - - 34. - - ผู้เรยี น 35. - - - สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ครู ผู้เรียน - - - สิ่งแวดล้อม ครู - - ลงชือ่ ..................................................ผู้สอน (............................................)

การเลอื กอ่านเรอ่ื งทีเ่ ป็นประโยชน์จากส่อื สารสนเทศ สื่อสารสนเทศ เป็นสื่อท่ีแสดงข้อมูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริง ความรู้ และเหตุการณ์ต่าง ๆ ซ่ึงได้รวบรวมไว้ และถ่ายทอดในรูปแบบตา่ ง ๆ สื่อสารสนเทศ แบง่ ออกเปน็ ๒ ประเภท ไดแ้ ก่ ๑. สอ่ื ตพี ิมพ์ เปน็ สื่อทบ่ี ันทึกเรอ่ื งราวต่าง ๆ ลงบนกระดาษ เชน่ หนังสือพิมพ์ เอกสาร ตาราต่าง ๆ ซงึ่ การเลือกอา่ นเร่ืองต่าง ๆ จากสื่อตพี มิ พ์ มีหลักการ ดงั นี้  เลอื กอ่านเรื่องที่ตรงกับความต้องการ เหมาะสมกับวยั  เลือกอ่านเรื่องทีม่ ีความน่าเชือ่ ถอื มีความเป็นไปได้  เลอื กอา่ นเรื่อท่ีมคี วามทนั สมัย มีเนือ้ หาที่น่าสนใจ ให้ความรู้ และมปี ระโยชน์ในการดาเนินชีวิต ๒. สื่อไมต่ ีพิมพ์ เปน็ ส่อื ทบี่ ันทึกความรู้ลงบนอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ตา่ ง ๆ เช่น ไปรษณยี อ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์ (e-mail) โทรสาร (Fax) สไลด์ (slide) การเลอื กอา่ นสือ่ ไมต่ พี ิมพ์ มีหลักการ ดงั นี้  เลือกอา่ นเร่อื งทม่ี เี นอื้ หาเหมาะสมกับวัย  เลอื กอ่านเร่ืองท่มี ปี ระโยชน์ ไม่ขัดตอ่ กฎหมาย และศลี ธรรมจรรยาทด่ี ี  เลือกอ่านเร่อื งทมี่ คี วามน่าเชือ่ ถอื มคี วามเปน็ ไปได้  เลือกอ่านเรื่องท่ไี มล่ ะเมดิ สิทธิของผูอ้ น่ื หรอื ไมอ่ ่านเรือ่ งทีท่ าให้ผ้อู ืน่ เดอื ดรอ้ น บทความ บทความ คอื ความเรียนชนิดหนงึ่ ทเ่ี นอ้ื หามีขอ้ มลู จากความเปน็ จรงิ โดยมีจุดมงุ่ หมายแตกต่างกันไป บทความ แบ่งออกเป็น ๕ประเภท ตามจุดม่งุ หมาย ดังน้ี ๑. บทความทอ่ งเท่ยี ว มจี ดุ มุ่งหมายเพ่อื ให้ผอู้ ่านเกดิ ความสนใจอยากไปเที่ยว ๒. บทความอธิบาย มีจุดมงุ่ หมายเพ่อื อธิบายส่ิงใดสง่ิ หนงึ่ ๓. บทความแสดงความคดิ เห็น มจี ดุ มุ่งหมายเพอื่ แสดงความคิดเห็นต่อสง่ิ ที่ไดพ้ บเหน็ ให้ผู้อื่นได้ทราบ ๔. บทความทางวิชาการ มีจุดมุ่งหมายเพื่อถ่ายทอดความรู้เก่ียวกับเรื่องใดเรื่องหน่ึง ซ่ึงมักเป็นความรู้ทาง วชิ าการ ๕. บทความวิจารณ์ มจี ุดมงุ่ หมายเพื่อวิจารณ์ส่ิงท่ีได้พบเห็นมา เช่น บทความวิจารณ์ภาพยนตร์ บทความ วจิ ารณก์ ารเมือง

แบบฝึกหัด คาชแี้ จง ให้นกั เรยี นแต่ละกลุ่มอ่านบทความต่อไปน้ี แลว้ ชว่ ยกันตอบคาถาม สมองลกู พัฒนาอยา่ งไร สมองของคนเราจะประกอบด้วย สมองซีกซา้ ยกับสมองซีกขวา ซ่ึงทางานพร้อม ๆ กัน แตท่ าหน้าท่ีแตกต่างกัน แตไ่ มว่ ่าจะส่งั การโดยสมองซกี ใด มนั จะหลอมเปน็ ความรู้สกึ เดียวกนั ในตัวคนเรา บริเวณส่วนต่าง ๆ ของสมองจะทาหน้าท่ีแตกต่างกัน บางส่วนควบคุมการเคล่ือนไหว บางส่วนควบคุมอารมณ์ และบางส่วนควบคมุ การไดย้ ิน ซึ่งพื้นที่สมองจะทางานอย่างเฉพาะเจาะจงเป็นส่วน ๆ ในคนถนัดขวาสมองซีกซ้ายจะควบคุมและสั่งการเกี่ยวกับการใช้มือขวา การเขียน สมองซีกซ้ายจะควบคุมการ ทางานที่มีรูปร่าง หรือมกี ารเคลื่อนไหวเปน็ ฐาน และต้องมีรูปธรรมชัดเจนกลา่ วคือ สมองซีกซ้ายจะทาใหเ้ ด็กพูดภาษาได้ ได้ยิน เสียงและเข้าใจความหมายของภาษาเข้าใจด้านคานวณ วิทยาศาสตร์ ความรู้สึกต่าง ๆ ที่เป็นหลักการที่ต้องใช้ เหตผุ ล ส่วนสมองซีกขวา ก็จะทาหน้าที่ควบคุมการทางานของมือซ้าย และส่ิงท่ีเกี่ยวข้องกับเรื่องนามธรรมความรัก ความซาบซ้ึงในสุนทรยี ภาพและคณุ ธรรมการสรา้ งงานศลิ ปะ ดนตรี การเคลื่อนไหวอยา่ งมีศิลปะ เช่น การเตน้ ตา การ สรา้ งจนิ ตนาการ เป็นเร่อื งราวต่าง ๆ ฯลฯ อย่างไรก็ดี ไม่ได้หมายความว่าเราควรพัฒนาสมองซึกใดซึกหนึ่งเป็นพิเศษ เพราะหากพัฒนาสมองซีกซ้ายมาก อย่างเดียว กอ็ าจทาให้ใชค้ วามฉลาดไปในทางเอารัดเอาเปรยี บผู้อื่น แต่ขณะเดียวกันถ้าพัฒนาเฉพาะสมองซึกขวาอย่าง เดยี วจะเน้นในเรอ่ื งความรกั ความเข้าใจ หรือคุณธรรม แต่ไมร่ ู้จักทามาหากิน คดิ เลขไม่เป็น คา้ ขายไม่ได้ ไมถ่ นดั ในการ พูดจาสือ่ ภาษา ซึ่งทาให้ไม่สามารถดารงชีวิตในสังคมได้อย่างเป็นสุขและมปี ระโยชน์ เพราะฉะน้ันถ้าเราจะพัฒนาสมอง ลูกโดยไมผ่ ดิ ธรรมชาติ ก็ควรจะพฒั นาสมองทง้ั ซกี ซ้ายและขวาไปเทา่ ๆ กัน เพื่อให้เกิดความสมดุลและการผสมผสานกัน คาถาม ๑. บทความนี้จดั อยใู่ นประเภทใด………………………………………….…………………………………………. ๒. บทความน้ี มจี ุดมุ่งหมายอย่างไร……………………………………….…………………………………………. ๓. บทความน้ี เหมาะสมกับใคร………………………………………………………………………………………. ๔. ใจความสาคัญ ของบทความน้ี คือ ……………………………………..……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๕. นกั เรยี นมคี วามคิดเห็นอย่างไรกบั บทความนี้ …………………………..………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………..…………………………..…………………………………………………………………………

แผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เร่อื ง ภาษามีพลัง แผนจัดการเรียนรู้ที่ 4 เร่อื ง อักษรทไี่ ม่ออกเสยี ง รายวิชาภาษาไทยรหัสวชิ า ท 21101 ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2562 น้าหนักเวลาเรียน 1.5 (นน./นก.) เวลาเรยี น 3 ชวั่ โมง/สัปดาห์ เวลาที่ใช้ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 1 ช่วั โมง ............................................................................................................................. ............................. 1. สาระสาคญั (ความเข้าใจทค่ี งทน) คาในภาษาไทยจานวนหน่ึงมีตัวพยัญชนะ สระ ไม่ออกเสยี งแต่ต้องเขยี นไว้เพื่อแสดงที่มาของคา ผู้เรียนต้องต้องฝึก สังเกตและจดจาจงึ จะทาใหก้ ารใช้ภาษาสอ่ื สารไดอ้ ย่างถกู ต้อง 2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้วี ัดชนั้ ปี/ผลการเรยี นรู้/เป้าหมายการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ (ใหต้ รงกบั หลักสูตรแกนกลาง 2551 ปรบั ปรุง 2560) มาตรฐาน ท ๑.๑ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพ่อื นาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดาเนินชีวิต และมนี สิ ัยรักการอ่าน ตวั ช้ีวัด ตัวช้ีวัด/ผลการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ม.๑/๘ วิเคราะหค์ ุณค่าท่ีไดร้ ับจากการอา่ นงานเขียนอย่าง หลากหลายเพ่ือนาไปใชแ้ กป้ ัญหาในชวี ติ 3.1 เน้อื หาสาระหลกั : Knowledge การเลือกอา่ นสื่อสารสนเทศในภาษาไทยไดถ้ ูกต้องตามอกั ขรวิธแี ละสามารถบอก ใจความสาคญั ของเร่ืองท่อี ่านได้ 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process นักเรยี นสามารถอา่ นสอ่ื สารสนเทศได้ถกู ตอ้ งตามอักขรวธิ ีและสามารถบอก ใจความสาคัญของเรื่องที่อา่ นได้ 3.3 คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ : Attitude ผูเ้ รียนมีเจตคตทิ ดี่ ตี ่อวิชาภาษาไทย 4. สมรรถนะสาคัญของนักเรียน 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร ผู้เรียนสามารถใชภ้ าษาไทยมาตรฐานสอื่ สารในชวี ติ ประจาวัน 4.2 ความสามารถในการคิด ผ้เู รียนมีทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ 4.3 ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต ผู้เรียนมีกระบวนการปฏิบตั ิ 5. คณุ ลักษณะของวชิ า ความรบั ผิดชอบ ความรอบคอบ

6. คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ 1. มวี ินัย 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. มวี ินัย 4. ใฝ่เรยี นรู้ 5. อยูอ่ ย่างพอเพียง 6. มุ่งม่ันในการทางาน 7. รักความเป็นไทย 7. ชิน้ งาน/ภาระงาน ๑.ใบความรู้ 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ครใู ชว้ ธิ ีวิธสี อนแบบกระบวนการกลุ่ม และวิธสี อนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการปฏิบตั )ิ ชั่วโมงที่ 1 1.ข้ันนา ๑. ครนู าภาพหรือของจริงเกี่ยวกับสือ่ สารสนเทศต่าง ๆ ให้นักเรยี นดู และสนทนาเรอ่ื งสอื่ สารสนเทศเก่ียวกับคา จากัดความของส่ือสารสนเทศ และประเภทของสอ่ื สารสนเทศ ๒.ข้ันสอน ๑. นักเรียนแต่ละกลุ่ม ศึกษาประเภทของส่ือสารสนเทศ และหลักการในการเลือกใช้โดยให้ส่วนหน่ึง ศึกษา เรอ่ื ง สือ่ ตีพมิ พ์ อกี สว่ นหน่งึ ศกึ ษาเร่ือง สือ่ ไม่ตพี ิมพ์ ๒. ครูและนกั เรียนช่วยกันสรปุ ความรเู้ รอ่ื ง การเลอื กอ่านเร่ืองจากส่ือสารสนเทศ ดังน้ี  สอ่ื สารสนเทศ เป็นสื่อที่แสดงขอ้ มูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริง ความรู้ และเหตุการณ์ตา่ งๆ ซึ่งไดร้ วบรวม ไว้ และถ่ายทอดเป็นรปู แบบต่าง ๆ  สือ่ สารสนเทศ แบง่ ออกเปน็ ๒ประเภท คือส่ือตีพิมพ์ และส่อื ไมต่ ีพมิ พ์ ๓. ให้นักเรียนดูตัวอย่างบทความ แล้วครูอธิบายลักษณะของบทความ และประเภทของบทความว่ามีประเภท ใดบา้ ง พร้อมกบั ยกตวั อยา่ งประกอบ จากนั้น ให้นกั เรยี นแต่ละกลุ่มช่วยกันหาบทความประเภทต่าง ๆ จาก หนงั สือพมิ พ์ และสื่อส่ิงพิมพ์ต่าง ๆ ๔. นักเรียนทกุ คนทาแบบฝกึ เสริมทักษะเขยี นแผนภาพความคดิ สรปุ ประโยชนท์ ี่ได้จากการเลอื กอา่ น เสร็จแล้ว นาสง่ ครูตรวจสอบและประเมนิ ผลงาน ๓.ขัน้ สรุป ๑. ครูและนักเรียนช่วยกนั สรุปความรเู้ รอื่ ง บทความ ดงั นี้ ๓) บทความ คอื ความเรียงชนิดหน่งึ ทเ่ี น้อื หามีข้อมูลจากความเปน็ จริง โดยมีจดุ มุ่งหมายแตกต่างกันไป ๔) บทความ แบง่ ออกเป็น ๕ ประเภท ตามจดุ มุ่งหมาย ดังน้ี  บทความท่องเทยี่ ว  บทความอธบิ าย

 บทความแสดงความคิดเหน็  บทความทางวิชาการ  บทความวจิ ารณ์ 9. ส่ือการเรยี นการสอน / แหล่งเรยี นรู้ รายการสอ่ื จานวน สภาพการใชส้ ือ่ 1. ใบงาน 1 ชดุ ข้นั สร้างความสนใจ 2. ใบความรู้ 1 ชุด ข้ันขยายความรู้ 10. การวัดผลและประเมินผล เปา้ หมาย หลกั ฐานการเรียนรู้ ประเดน็ / การเรียนรู้ ชน้ิ งาน/ภาระงาน วธิ วี ัด เคร่ืองมือวัดฯ เกณฑ์การให้ คะแนน ผู้เรียนสามารถ  แบบทดสอบ  ผเู้ รยี นอา่ น  แบบประเมินการอ่าน  ร้อยละ 60 บอกหลกั เกณฑ์ หลงั เรียน ประจาหนว่ ย ออกเสยี ง ในการอ่านออกเสยี ง การเรียนรู้ท่ี 1 การอา่ น  ครสู ังเกต บทออกเสียง ผ่านเกณฑ์ ได้ถูกต้อง(K) ออกเสียง พฤติกรรม  แบบสงั เกตพฤติกรรม  ระดบั คุณภาพ  แบบประเมนิ การ การทางานกลุ่ม อ่านออกเสยี ง  ผูเ้ รียน การทางานกลุม่ 2 ผา่ นเกณฑ์  แบบสงั เกต ทาแบบทดสอบ  แบบทดสอบ พฤติกรรมการทางาน หลงั เรยี น กลุ่ม หลังเรยี น

11. การบูรณาการตามจดุ เน้นของโรงเรยี น (ตัวอย่าง) หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ ครู ผู้เรยี น พอเพียง - - 36. - - - - 37. - - 38. - - - 39. - - ผู้เรยี น 40. - - - สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ครู ผู้เรียน - - - สิ่งแวดล้อม ครู - - ลงชือ่ ..................................................ผู้สอน (............................................)

แบบฝึ กหดั คาชี้แจง ใหแ้ ต่ละกลุ่มช่วยกนั เขียนคาอา่ นของคาที่กาหนดใหต้ อ่ ไปน้ี ท่ี คา คาอ่าน ๑ สรงน้า ๒ พระสรวล ๓ นกั ษตั ร ๔ พรหมา ๕ ชาติตระกลู ๖ สาส์นสมเดจ็ ๗ สุเมรุ ๘ โลกนิติ ๙ กอปร ๑๐ สรรเพชญ ๑๑ ฟี ลม์ ๑๒ กงจกั ร ๑๓ มาตุภมู ิ ๑๔ จกั รพรรดิ ๑๕ กบิลพสั ดุ์

ผงั มโนทศั น์ รายวชิ าภาษาไทย รหสั วชิ า ท 21101 ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 3 เร่ือง เพอ่ื นกัน จานวน 3 ช่ัวโมง : 10 คะแนน ชือ่ เรอ่ื ง การเขยี นแผนภาพโครงเรื่อง ชือ่ เรือ่ ง ภาษาพดู ภาษาเขียน จานวน 1 ช่ัวโมง : 3 คะแนน จานวน 1 ชว่ั โมง : 3 คะแนน หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 3 เร่ือง เพอื่ นกนั จานวน 3 ชว่ั โมง ชื่อเร่ือง อักษรทไี่ ม่ออกเสียง จานวน 1 ชวั่ โมง : 3 คะแนน

แผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เร่อื งเพื่อนกนั แผนจัดการเรียนรทู้ ี่ 1 เรอ่ื ง การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง รายวิชาภาษาไทยรหัสวชิ า ท 21101 ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 นา้ หนกั เวลาเรยี น 1.5 (นน./นก.) เวลาเรยี น 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลาท่ใี ช้ในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 1 ชั่วโมง ............................................................................................................................. ............................. 1. สาระสาคัญ (ความเขา้ ใจท่ีคงทน) แผนภาพโครงเรือ่ ง เป็นแผนภาพท่ีประกอบดว้ ยสว่ นของคาถามเกย่ี วกบั เรอ่ื งบอกใหท้ ราบวา่ ใคร ทาอะไร ท่ไี หน อย่างไร เพราะเหตใุ ด และข้อคิดจากเร่ืองแผนภาพโครงเรอื่ ง จะชว่ ยให้สามารถบอกเหตกุ ารณ์ของเร่อื งเป็นตอน ๆ โดย อาศัยการคิดคาตอบจากคาถามในแผนภาพ และช่วยลาดับเร่อื งได้อยา่ งต่อเนื่อง ทาใหส้ ามารถสรปุ เร่อื งท้ังหมดได้ 2. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตัวชี้วัดชั้นปี/ผลการเรยี นร้/ู เปา้ หมายการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ (ให้ตรงกับหลกั สูตรแกนกลาง 2551 ปรับปรุง 2560) มาตรฐาน ท ๒.๑ใชก้ ระบวนการเขียนเขียนส่ือสาร เขียนเรยี งความ ยอ่ ความ และเขยี นเรอ่ื งราวในรปู แบบต่างๆ เขยี นรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ คว้าอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ตัวช้วี ดั ตวั ช้ีวัด/ผลการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๒.๑ ม.๑/๓ เขียนบรรยายประสบการณ์โดยระบุสาระสาคญั และ รายละเอียดสนับสนนุ 3.1 เนื้อหาสาระหลัก : Knowledge การเขยี นแผนภาพโครงเร่อื งในภาษาไทยได้ถูกต้องตามอกั ขรวิธีและสามารถบอก ใจความสาคญั ของเรอ่ื งทอ่ี ่านได้ 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process นักเรียนสามารถการเขียนแผนภาพโครงเร่ืองได้ถูกต้องตามอักขรวิธแี ละสามารถบอก ใจความสาคัญของเร่ืองทีอ่ ่านได้ 3.3 คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ : Attitude ผเู้ รยี นมเี จตคติท่ดี ตี ่อวชิ าภาษาไทย 4. สมรรถนะสาคญั ของนกั เรยี น 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร ผู้เรียนสามารถใชภ้ าษาไทยมาตรฐานสอื่ สารในชวี ติ ประจาวัน 4.2 ความสามารถในการคิด ผู้เรยี นมีทักษะการคดิ วิเคราะห์ 4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ ผูเ้ รียนมีกระบวนการปฏิบตั ิ 5. คณุ ลักษณะของวชิ า ความรบั ผิดชอบ ความรอบคอบ

6. คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ 1. มวี ินยั 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มวี นิ ัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อยา่ งพอเพียง 6. มงุ่ มั่นในการทางาน 7. รักความเป็นไทย 7. ชนิ้ งาน/ภาระงาน ๑.ใบความรู้ 8. กจิ กรรมการเรียนรู้ ครูใชว้ ธิ วี ิธีสอนแบบกระบวนการกล่มุ และวธิ สี อนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการปฏิบตั )ิ ชวั่ โมงท่ี 1 1.ขั้นนา ๑. นกั เรยี นและครูรว่ มกันสนทนาทบทวนเนื้อเรอ่ื งผักเพ่ือนกนั โดยครใู ช้คาถามถามนานกั เรียนให้นักเรยี น ตอบคาถาม ดังน้ี  ในเรื่องนี้มตี วั ละครกี่คน  ใครคือเจ้าแจ้  ป่ขู องต้นเปน็ คนอยา่ งไร  นกั เรียนมสี ัตว์เลยี้ งทบ่ี ้านหรือไม่ เป็นสัตว์ชนิดใดมชี อ่ื อยา่ งไร  เร่ืองน้ใี ห้ข้อคิดอะไรกับนักเรียนบ้าง  นกั เรียนชอบสัตวเ์ ลีย้ งชนิดใดมากท่ีสดุ ในเรื่องน้กี ล่าวถึงหรือไม่ ๒. ครสู ุ่มนักเรยี นเลา่ เร่อื ง เพือ่ นกนั ทงั้ น้ใี ห้ต่อกนั คนละประโยคจนจบด้วยภาษาของตนเอง ๒.ข้นั สอน ๑. นกั เรียนและครชู ่วยกันอภปิ ราย และเตมิ คาถาม และเหตุการณต์ ามแผนภาพโครงเรอ่ื งได้ดังน้ี เชน่ ใคร : …………………….......................................... ทไ่ี หน : ……………………......................................... เม่ือไร : ……………………........................................ เหตกุ ารณ์ : ……………………………………………… อย่างไร : ……………………………………………… ขอ้ คิด : ……………………………………………… ……………………………………………… ๒. นกั เรยี นแตล่ ะคนเขียนแผนภาพโครงเรื่องเพอื่ นกันลงในแบบฝกึ หัด เสรจ็ นาส่งครตู รวจสอบและประเมิน คณุ ภาพ

๓.ขน้ั สรปุ ๑. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั ลาดับเหตกุ ารณ์ เร่ือง เพ่ือนกัน ตั้งแตต่ ้นจนจบ ๒. ครูและนักเรยี นร่วมกนั วิจารณ์การกระทาของตัวละครท่ีตนเองชื่นชอบ 9. ส่ือการเรียนการสอน / แหล่งเรียนรู้ รายการส่ือ จานวน สภาพการใช้สื่อ 1. ใบงาน 1 ชุด ขัน้ สรา้ งความสนใจ 2. ใบความรู้ 1 ชดุ ข้นั ขยายความรู้ 10. การวัดผลและประเมนิ ผล เป้าหมาย หลักฐานการเรียนรู้ ประเดน็ / การเรียนรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน วิธวี ัด เคร่อื งมอื วัดฯ เกณฑก์ ารให้ คะแนน ผเู้ รียนสามารถ  แบบทดสอบ  ผู้เรยี นอ่าน  แบบประเมินการอา่ น  รอ้ ยละ 60 บอกหลักเกณฑ์ หลังเรียน ประจาหนว่ ย ออกเสยี ง ในการอ่านออกเสียง  ครูสังเกต บทออกเสยี ง ผ่านเกณฑ์ ไดถ้ ูกต้อง(K) การเรียนรู้ที่ 1 การอ่าน พฤติกรรม  แบบสงั เกตพฤตกิ รรม  ระดบั คณุ ภาพ ออกเสยี ง การทางานกลุม่  แบบประเมนิ การ  ผู้เรียน การทางานกลมุ่ 2 ผา่ นเกณฑ์ อา่ นออกเสยี ง  แบบสังเกต ทาแบบทดสอบ  แบบทดสอบ พฤติกรรมการทางาน หลังเรยี น หลงั เรียน กลมุ่

11. การบูรณาการตามจดุ เน้นของโรงเรยี น (ตัวอย่าง) หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ ครู ผู้เรยี น พอเพียง - - 41. - - - - 42. - - 43. - - - 44. - - ผู้เรยี น 45. - - - สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ครู ผู้เรียน - - - สิ่งแวดล้อม ครู - - ลงชือ่ ..................................................ผู้สอน (............................................)

แผนภาพโครงเรือ่ งเพื่อนกนั ใคร : ………………………………………………………………… ท่ีไหน : ………………………………………………………………… เม่ือไร : ………………………………………………………………… เหตุการณ์ : …………………………………………………………..……………………………… …………………………..………………………………………………………….. …………………………………………………………..……………………………… …………………………..………………………………………………………….. …………………………………………………………..……………………………… …………………………..………………………………………………………….. …………………………………………………………..……………………………… …………………………..………………………………………………………….. อยา่ งไร : …………………………………………………………….. ……………………………………………………………..

แบบฝึกหดั คาช้ีแจงใหน้ ักเรยี นเขียนเลา่ เร่ืองเรอ่ื ง เพื่อนกันโดยใชภ้ าษาของตนเองลงในสมดุ ของตวั เอง ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................

แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 เรอ่ื งเพ่ือนกัน แผนจัดการเรียนรทู้ ่ี 2 เร่ือง ภาษาพดู ภาษาเขียน รายวชิ าภาษาไทยรหัสวิชา ท 21101 ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 น้าหนักเวลาเรยี น 1.5 (นน./นก.) เวลาเรียน 3 ชวั่ โมง/สัปดาห์ เวลาที่ใชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 1 ช่วั โมง ............................................................................................................................. ............................. 1. สาระสาคญั (ความเข้าใจทค่ี งทน) ภาษาทุกภาษาจะมีระดับของภาษา เราต้องเลือกใช้ตามสถานการณ์ และบริบทของภาษา ภาษาพูดเป็นการใช้ ภาษาท่ีไม่เคร่งครัดด้านกฎเกณฑ์และไม่เป็นทางการส่วนภาษาเขียนเป็นภาษาที่ใช้อย่างเป็นทางการต้องเลือกใช้ให้ ถกู ตอ้ งตามกฎเกณฑ์ และคานงึ ถงึ วฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา 2. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตวั ช้วี ดั ช้นั ป/ี ผลการเรยี นรู/้ เป้าหมายการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ (ให้ตรงกับหลกั สูตรแกนกลาง 2551 ปรบั ปรงุ 2560) มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลังของ ภาษา ภมู ิปัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัตขิ องชาติ ตัวชวี้ ัด ตวั ช้วี ัด/ผลการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๔.๑ ม.๑/๔ วเิ คราะหค์ วามแตกตา่ งของภาษาพูดและภาษาเขยี น ๑. 3.1 เน้อื หาสาระหลัก : Knowledge นักเรยี นสามารถเขียนเร่อื งตามแผนภาพโครงเรอ่ื งได้ ๒. 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process นักเรยี นสามารถเลา่ เรอื่ งตามแผนภาพโครงเรื่องไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง ใจความสาคัญของเร่อื งท่ีอา่ นได้ 3.3 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ : Attitude ผู้เรยี นมเี จตคติทีด่ ตี ่อวิชาภาษาไทย 4. สมรรถนะสาคญั ของนักเรียน 4.1 ความสามารถในการส่ือสาร ผู้เรยี นสามารถใช้ภาษาไทยมาตรฐานส่อื สารในชีวติ ประจาวัน 4.2 ความสามารถในการคิด ผเู้ รียนมีทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ 4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ผ้เู รียนมีกระบวนการปฏิบัติ 5. คณุ ลกั ษณะของวิชา ความรบั ผิดชอบ ความรอบคอบ

6. คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ 1. มวี ินัย 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มีวนิ ัย 4. ใฝเ่ รยี นรู้ 5. อยู่อยา่ งพอเพียง 6. มุ่งม่นั ในการทางาน 7. รักความเปน็ ไทย 7. ชน้ิ งาน/ภาระงาน ๑.ใบความรู้ 8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ครูใชว้ ธิ ีวิธสี อนแบบกระบวนการกลุ่ม และวิธสี อนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการปฏบิ ัติ) ชวั่ โมงท่ี 1 1.ขนั้ นา ๑. ครูเขยี นประโยคท่ีเปน็ ภาษาพูดบนกระดาน ๒ – ๓ ประโยค เชน่ - เศษกระดาษหล่นบนพ้นื เยอะแยะไปหมด - หมากาลงั ไล่งบั แมว - แมม่ าเจอเลยเปน็ เรื่อง ๒. ครอู ธบิ ายให้นักเรยี นฟงั ว่าภาษาท่ใี ช้ในประโยคเหลา่ นเ้ี ปน็ ภาษาทไ่ี มส่ ภุ าพให้นักเรยี นแตล่ ะคนเปล่ียนเปน็ ภาษาท่ีสุภาพกวา่ นีโ้ ดยการพูดปากเปลา่ ๒.ขนั้ สอน ๑. นักเรียนศึกษาเร่ืองภาษาพูดและภาษาเขียนจากบความรู้ จากน้ันใหแ้ ตล่ ะคนหาประโยคในบทเรียน “ เพื่อน กัน” ทเ่ี ป็นภาษาพูดให้ได้มากทีส่ ุด ๒. ครแู ละนกั เรยี นชว่ ยกนั สรปุ ความรเู้ รอ่ื ง ภาษาพดู และภาษาเขียนดงั น้ี - ภาษาพดู เป็นภาษาที่ใชก้ ับคนท่คี ุน้ เคยกนั - ภาษาเขียนจะใช้แบบเปน็ ทางการเช่นหนงั สือราชการ - ภาษาพดู ใชใ้ นงานเขียนประเภทนวนยิ าย การ์ตูน เรื่องสนั้ - ภาษาเขยี นใชใ้ นงานเขยี นประเภทสารคดี วารสารท่วั ไป - ภาษาพูดเปน็ ภาษาทีไ่ ม่เครง่ ครดั เร่ืองกฎเกณฑ์ - ภาษาเขียนเปน็ ภาษาที่เครง่ ครัดเรอ่ื งกฎเกณฑ์ ๓. นักเรยี นศึกษาเรื่องภาษาพูด ภาษาเขยี นเพ่ิมเติมในหนงั สอื เรียนภาษาไทย ชุดววิ ธิ ภาษา หน้า ๓๙ – ๔๒ ๔. นกั เรยี นทกุ คนทาแบบฝกึ หัด เปล่ียนภาษาทก่ี าหนดให้เปน็ ภาษาเขยี นเสร็จแล้วสง่ ครูตรวจสอบและประกาศ ผล

๓.ข้ันสรุป ๑. ครูและนักเรยี นร่วมกนั อภปิ รายเกยี่ วกบั เร่ือง ภาษาพูดและภาษาปาก 9. สอ่ื การเรยี นการสอน / แหลง่ เรียนรู้ รายการส่ือ จานวน สภาพการใชส้ ่ือ 1. ใบงาน 1 ชดุ ขนั้ สรา้ งความสนใจ 2. ใบความรู้ 1 ชุด ข้นั ขยายความรู้ 10. การวัดผลและประเมนิ ผล เป้าหมาย หลักฐานการเรียนรู้ ประเดน็ / การเรยี นรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน วิธีวดั เคร่อื งมอื วดั ฯ เกณฑก์ ารให้ คะแนน ผ้เู รยี นสามารถ  แบบทดสอบ  ผเู้ รียนอ่าน  แบบประเมนิ การอา่ น  ร้อยละ 60 บอกหลักเกณฑ์ หลงั เรยี น ประจาหน่วย ออกเสียง ในการอ่านออกเสียง  ครสู งั เกต บทออกเสียง ผา่ นเกณฑ์ ได้ถูกตอ้ ง(K) การเรยี นรู้ที่ 1 การอา่ น พฤติกรรม  แบบสงั เกตพฤตกิ รรม  ระดับคณุ ภาพ ออกเสียง การทางานกล่มุ  แบบประเมนิ การ  ผู้เรยี น การทางานกลุ่ม 2 ผา่ นเกณฑ์ ทาแบบทดสอบ อ่านออกเสยี ง หลงั เรียน  แบบทดสอบ  แบบสงั เกต พฤติกรรมการทางาน หลังเรียน กลุ่ม

11. การบูรณาการตามจุดเนน้ ของโรงเรียน (ตัวอยา่ ง) หลักปรัชญาเศรษฐกิจ ครู ผู้เรยี น พอเพยี ง - -- - - -- - -- - -- ผู้เรยี น -- - สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น ครู ผู้เรยี น - - - สิ่งแวดล้อม ครู - - ลงชื่อ..................................................ผสู้ อน (............................................)

ใบความรู้ เรอ่ื ง ภาษาพดู ภาษาเขียน ภาษาพดู ภาษาเขยี น การพดู และการเขียนมีความสาคญั ต่อการส่ือสารในชวี ติ ประจาวนั มากเพราะเราใช้แสดงความคดิ เห็น ความรู้สกึ และถ่ายทอดความรู้แก่ผ้อู ื่น ดังนั้นจึงจาเป็นอยา่ งยิ่งท่ีผพู้ ูดและผเู้ ขยี นต้องพจิ ารณาและเลือกสรรถอ้ ยคา สานวนภาษา ทเ่ี หมาะสมกบั บุคคล โอกาส และสถานที่ ภาษาพดู เป็นภาษาที่ใชพ้ ูดจากัน ไม่พิถีพิถนั ในการใชห้ ลักภาษามากนักสร้างความรูส้ ึกที่เปน็ กนั เอง ใชใ้ นหมู่ เพ่ือนฝงู ในครอบครวั ในการเขียน นวนิยายและการติดต่อส่อื สารกันอยา่ งไม่เป็นทางการ การใชภ้ าษาพูดจะใช้ภาษา ทเ่ี ปน็ กนั เอง สุภาพ คานงึ ถึงบุคคลและกาลเทศะ ใช้ในโอกาสที่มีการสนทนาสมั ภาษณ์ อภปิ ราย พดู รายงาน โต้วาที การซื้อขาย ฯลฯ ซ่ึงเปน็ โอกาสท่ผี พู้ ูดและผู้ฟงั ได้สื่อสารกันโดยตรง ภาษาเขียน เปน็ ภาษาทเ่ี คร่งครดั ตอ่ การใชถ้ ้อยคาและคานึงถึงหลักภาษา เพอ่ื ใช้สือ่ สารใหถ้ ูกต้องและใชใ้ นการ เขยี นมากกว่าการพูด ต้องใชถ้ อ้ ยคาสภุ าพ เขยี นให้เปน็ ประโยค เลอื กใชถ้ ้อยคาเหมาะกบั บุคคลและกาลเทศะ เป็น ภาษาทใ่ี ชใ้ นพธิ ีการและเป็นทางการ ไม่ใชค้ าฟุ่มเฟือย หรือการเล่นคาจนกลายเปน็ การพูดหรอื การเขยี นเล่น ๆ การ เขียนใชใ้ นโอกาสท่มี ีการบันทึกขอ้ ความจากการฟงั การแสดงความคดิ เหน็ แสดงความต้องการ เสนอความร้ใู นรปู แบบ ต่าง ๆ ได้แก่ การบนั ทึกรายงานการประชุม การเขยี นบรรยายเหตุการณจ์ ากประสบการณก์ ารเขียนบทความ สารคดี จดหมาย ย่อความ เรยี งความ เอกสารประกอบการพูด การกล่าวรายงาน กล่าวคาปราศรยั ตัวอยา่ งภาษาพดู และภาษาเขียน ภาษาพดู ภาษาเขยี น ๑. เป็นไง ๑. เป็นอย่างไร ๒. เอาไงดี ๒. ทาอย่างไรดี ๓. จรงิ ๆ แล้ว ๓. อันที่จริง ๔. งานยงุ่ ชะมัด ๔. มงี านมาก ๕. ขนุนลกู น้อี ร่อยจงั ๕. ขนุนลกู (ผล) นีอ้ ร่อยมาก ๖. ทรี่ มิ คลองมีตน้ ไมม้ ากมายหลายชนดิ ๗. ข้อสอบน้ีงา่ ยมาก ๖. ทีร่ มิ คลองมตี น้ ไม้เยอะแยะเลย ๗. ขอ้ สอบนีก้ ลว้ ยมาก

แบบฝกึ หัด ภาษาเขยี น คาชี้แจงใหน้ กั เรียนเปลี่ยนคา วลี ต่อไปนี้ใหเ้ ปน็ ภาษาเขียน ลาดับท่ี ภาษาพดู ๑ เยอะแยะ ๒ เลอะเทอะ ๓ ลามปาม ๔ ถยี่ ิบ ๕ ถบี หวั สง่ ๖ เฉไฉไปที่อื่น ๗ ฮลั โล จะพดู กับใครครับ ๘ เขาเอาน้องไปกรงุ เทพ ๙ คณุ เขารดุ ไปลว่ งหน้าแลว้ ๑๐ ธรุ ะผมกไ็ มใ่ ช่

แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 3 เรอ่ื งเพื่อนกัน แผนจัดการเรยี นร้ทู ี่ 3 เร่ือง คาบุรุษสรรพนาม รายวิชาภาษาไทยรหัสวิชา ท 21101 ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 นา้ หนกั เวลาเรยี น 1.5 (นน./นก.) เวลาเรยี น 3 ช่ัวโมง/สัปดาห์ เวลาทใี่ ช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1 ชวั่ โมง .......................................................................................................................................................... 1. สาระสาคัญ (ความเข้าใจท่คี งทน) คาบุรุษสรรพนามหมายถึงคาท่ีใช้แทนผู้พูด ผู้ฟัง และผู้ท่ีกล่าวถึงแบ่งคาบุรุษสรรพนามตามบริบทของการ สอื่ สารไดเ้ ปน็ ๓ บรุ ุษ คอื บรุ ุษที่ ๑ ใชแ้ ทนผูพ้ ูด บรุ ุษที่ ๒ใช้แทนผฟู้ ัง และบรุ ุษที่ ๓ ใช้แทนผูท้ พ่ี ูดถึง 2. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ช้วี ัดช้นั ปี/ผลการเรยี นรู/้ เปา้ หมายการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ (ใหต้ รงกับหลักสตู รแกนกลาง 2551 ปรบั ปรงุ 2560) มาตรฐาน ท ๔.๑เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา ภมู ปิ ัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบตั ขิ องชาติ ตวั ชี้วดั ตัวชี้วัด/ผลการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๔.๑ ม.๑/๔ วิเคราะห์ชนิดและหน้าท่ีของคาในประโยค 3.1 เน้ือหาสาระหลกั : Knowledge นักเรียนบอกความหมายของคาสรรพนามได้ 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process นักเรยี นสามารถใชค้ าบุรษุ สรรพนามได้ถูกต้อง 3.3 คณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงค์ : Attitude ผ้เู รยี นมเี จตคติท่ดี ตี อ่ วชิ าภาษาไทย 4. สมรรถนะสาคัญของนักเรียน 4.1 ความสามารถในการสือ่ สาร ผูเ้ รยี นสามารถใช้ภาษาไทยมาตรฐานส่อื สารในชวี ติ ประจาวนั 4.2 ความสามารถในการคิด ผู้เรยี นมีทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ 4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต ผู้เรียนมีกระบวนการปฏิบตั ิ 5. คณุ ลกั ษณะของวิชา ความรบั ผิดชอบ ความรอบคอบ 6. คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มวี นิ ัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยอู่ ย่างพอเพียง 6. ม่งุ ม่ันในการทางาน 7. รกั ความเป็นไทย

7. ชิน้ งาน/ภาระงาน ๑.ใบความรู้ 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ครูใชว้ ิธีวิธีสอนแบบกระบวนการกลมุ่ และวิธสี อนโดยเนน้ กระบวนการ : กระบวนการปฏบิ ตั )ิ ชวั่ โมงท่ี 1 1.ข้ันนา ๑. ครทู บทวนความรูเ้ ดมิ เรื่อง คาสรรพนาม ๒.ข้นั สอน ๑. นกั เรยี นศึกษาใบความร้เู รื่อง “ คาบุรุษสรรพนาม” จากใบความรู้ ๒ .ครูใหน้ กั เรียนแตล่ ะคนหาคาบุรษุ สรรพนามจากบทเรียนเรือ่ ง เพ่ือนกนั ให้ได้มากท่ีสุด แลว้ ครสู มุ่ ถาม ๒ – ๓ คน ๓. นักเรยี นแตล่ ะคนเขียนบทสนทนาเกยี่ วกบั สตั ว์เล้ียง โดยในบทสนทนาให้มีคาบุรุษสรรพนามครบท้งั ๓ บรุ ุษ ๔. ครอู ธิบายคาสรรพนาม โดยกลา่ วถงึ ความหมาย ชนิด การใช้คาสรรพนาม ๕. นักเรยี นทาแบบฝกึ หัด เติมคาบรุ ษุ สรรพนามในช่องวา่ งท่ีกาหนดให้ เสร็จแล้วครเู ฉลยบนกระดาน นกั เรยี น แลกเปล่ยี นกันตรวจผลงานตามครูเฉลย ๓.ขน้ั สรุป ๑. ครแู ละนักเรียนร่วมกนั อภปิ รายเก่ยี วกบั ความหมาย ชนิด การใช้คาสรรพนาม 9. สอ่ื การเรียนการสอน / แหลง่ เรยี นรู้ รายการสื่อ จานวน สภาพการใช้สอ่ื 1. ใบงาน 1 ชุด ขน้ั สรา้ งความสนใจ 2. ใบความรู้ 1 ชดุ ขน้ั ขยายความรู้

10. การวดั ผลและประเมินผล เป้าหมาย หลกั ฐานการเรยี นรู้ ประเด็น/ การเรยี นรู้ ชิน้ งาน/ภาระงาน วธิ ีวดั เคร่อื งมือวัดฯ เกณฑก์ ารให้ คะแนน ผู้เรียนสามารถ  แบบทดสอบ  ผู้เรียนอา่ น  แบบประเมินการอ่าน  ร้อยละ 60 บอกหลกั เกณฑ์ หลังเรยี น ประจาหน่วย ออกเสยี ง ในการอ่านออกเสียง การเรียนรู้ที่ 1 การอา่ น  ครสู ังเกต บทออกเสยี ง ผา่ นเกณฑ์ ได้ถูกต้อง(K) ออกเสียง พฤติกรรม  แบบสงั เกตพฤติกรรม  ระดบั คุณภาพ  แบบประเมนิ การ การทางานกลมุ่ อา่ นออกเสียง  ผูเ้ รยี น การทางานกลุ่ม 2 ผ่านเกณฑ์  แบบสังเกต ทาแบบทดสอบ  แบบทดสอบ พฤติกรรมการทางาน หลังเรียน กลมุ่ หลังเรยี น

11. การบูรณาการตามจุดเนน้ ของโรงเรียน (ตัวอยา่ ง) หลักปรัชญาเศรษฐกิจ ครู ผเู้ รยี น พอเพยี ง - -- - - -- - -- - -- ผู้เรยี น -- - สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น ครู ผู้เรียน - - - สิ่งแวดล้อม ครู - - ลงชื่อ..................................................ผสู้ อน (............................................)

ใบความรเู้ รือ่ ง คาบุรุษสรรพนาม คาบรุ ษุ สรรพนามหมายถึงคาสรรพนามทใ่ี ชใ้ นการสื่อสารสาระระหวา่ ง ผพู้ ดู ผู้ฟัง และผู้ท่ีถูกกล่าวถึง ได้แก่ ๑. แทนผสู้ ง่ สาร ( บุรุษท่ี ๑ ) เช่น ฉนั ข้าพเจา้ กระผม ดิฉนั อาตมาขา้ พระพุทธเจ้า ขา้ กู เปน็ ตน้ ๒. แทนผู้รับสาร ( บุรุษท่ี ๒ ) เช่น ท่าน มึง แก คุณ เธอ ใตเ้ ทา้ ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท พระคุณเจา้ ๓. แทนผ้ทู ี่กล่าวถงึ ( บรุ ุษที่ ๓ ) เชน่ เขา ทา่ น แก มนั พระองค์ หลอ่ น แบบฝกึ หดั ๑. เขา้ พรรษาปนี ้ี ......................................................จะจาพรรษาท่วี ัดไหนครบั ๒. คุณลงุ ของฉัน ......................................................เป็นคนขีห้ ลงขีล้ มื ๓. ถ้าเธอมาไม่ได้ ....................................................จะเปน็ คนไปหาเธอเอง ๔. คุณแม่ของผม.....................................................ไม่สบายนอนซมอยูใ่ นห้อง ๕. ...........................................................ขอนมิ นตร์พระคุณเจ้าไปฉนั เพลที่บ้านขอรบั ๖. พ่ีแดงครบั เมอื่ ไหรค่ ุณป้า........................................จะมาเยี่ยมเราอีก ๗. …………………………..ไม่ได้จาพรรษาอยูท่ ่ีวัดน้หี รอกโยม ๘. นายมั่น……………….….เปน็ คนใจดี ๙. เมือ่ ไหร่…………………….จะมาหาลูกและภรรยา ๑๐. ขอเดชะ……………………...ขอพระองคจ์ งทรงพระเจริญยง่ิ ยนื นาน

ผงั มโนทศั น์ รายวชิ าภาษาไทย รหสั วิชา ท 21101 ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 4 เรอ่ื ง แต่งให้งามตามทีเ่ หมาะ จานวน 3 ช่ัวโมง : 10 คะแนน ชอื่ เรอื่ ง การสรุปใจความสาคญั ชอื่ เร่ือง คาประสม จานวน 1 ช่ัวโมง : 3 คะแนน จานวน 1 ชัว่ โมง : 3 คะแนน หน่วยการเรยี นรู้ที่ 4 เรือ่ ง เพอ่ื นกนั จานวน 3 ชวั่ โมง ชื่อเรือ่ ง การอ่านตคี วามสรุปความ จานวน 1 ชวั่ โมง : 3 คะแนน

แผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 4 เรอ่ื งแต่งใหง้ ามตามทเี่ หมาะ แผนจดั การเรียนรทู้ ่ี 1 เรือ่ ง การสรปุ ใจความสาคัญ รายวิชาภาษาไทยรหัสวิชา ท 21101 ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2562 นา้ หนักเวลาเรียน 1.5 (นน./นก.) เวลาเรียน 3 ชวั่ โมง/สัปดาห์ เวลาที่ใชใ้ นการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 1 ชัว่ โมง ............................................................................................................................. ............................. 1. สาระสาคัญ (ความเข้าใจท่ีคงทน) การตีความสรุปความและหาข้อคิดจากเร่ืองที่อ่าน หรือฟัง คือการทาความเข้าใจเร่ืองทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็น เร่ืองจากการฟัง การอ่านก็ตาม แล้วตีความเพ่ือสรุปและหาข้อคิดไม่ได้ การทาความเข้าใจเร่ืองอย่างแจ่ มแจ้งจึงเป็น สิง่ จาเปน็ สาหรับการตีความ สรปุ ความและหาขอ้ คิดของเรื่อง 2. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตวั ช้ีวัดช้ันปี/ผลการเรยี นร/ู้ เป้าหมายการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ (ให้ตรงกบั หลักสูตรแกนกลาง 2551 ปรับปรุง 2560) มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใชต้ ัดสินใจ แก้ปัญหาในการดาเนนิ ชวี ิต และมีนิสัยรักการอา่ น ตวั ชว้ี ัด ตัวชว้ี ัด/ผลการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท๑.๑ ม.๑/๘ วเิ คราะห์คณุ คา่ ท่ีได้รบั จากการอ่านงานเขียนอยา่ ง หลากหลายเพอ่ื นาไปใช้แกป้ ัญหาในชวี ติ 3.1 เนือ้ หาสาระหลกั : Knowledge ร้จู ักการตีความ สรปุ ความและหาข้อคิดจากเรอ่ื งทฟ่ี งั หรอื อา่ นได้ 3.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process ตคี วาม สรุปความและหาขอ้ คิดจากเร่อื งทฟ่ี งั หรอื อ่านได้ 3.3 คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ : Attitude ผเู้ รยี นมเี จตคตทิ ี่ดตี ่อวชิ าภาษาไทย 4. สมรรถนะสาคัญของนกั เรียน 4.1 ความสามารถในการส่อื สาร ผ้เู รียนสามารถใช้ภาษาไทยมาตรฐานสอื่ สารในชีวิตประจาวนั 4.2 ความสามารถในการคิด ผ้เู รยี นมที กั ษะการคิดวิเคราะห์ 4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ ผเู้ รียนมีกระบวนการปฏิบัติ 5. คุณลกั ษณะของวิชา ความรบั ผิดชอบ ความรอบคอบ 6. คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ 1. มีวินยั 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มวี ินัย 4. ใฝ่เรยี นรู้ 5. อยู่อย่างพอเพยี ง

6. มุง่ มนั่ ในการทางาน 7. รักความเป็นไทย 7. ชิน้ งาน/ภาระงาน ๑.ใบความรู้ 8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ น้ัน ๆ ครู ครใู ชว้ ิธีวิธีสอนแบบกระบวนการกลมุ่ และวิธีสอนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการปฏบิ ตั ิ) ชัว่ โมงท่ี 1 1.ขัน้ นา ๑. นักเรียนอ่านข้อความที่ครูติดบนกระดาน แล้วฝึกตีความ สรุปความ และบอกข้อคิดของเรื่อง และนักเรียนสนทนา แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการตีความ สรุปความและการหาข้อคิดของเรื่อง ครูให้ความรู้เพิ่มเติม และช้แี นะใหเ้ ข้าใจตรงกัน ๒.ข้ันสอน ๑. นกั เรยี นออกไปศึกษา หาความรู้เก่ยี วกับหลกั การตคี วาม สรุปความและการหาข้อคิดจากเรื่อง จากแหล่ง เรียนรู้ เช่น หอ้ งสมุดมมุ ภาษาไทย ๒. จากนน้ั มารับใบความรจู้ ากครู พรอ้ มศึกษาเนื้อหาจากหนังสือเรียนเมื่อนักเรยี นศกึ ษาจบแล้ว ครูซักถามให้ นักเรยี นตอบปากเปลา่ และครูคอยอธิบายและตอบข้อสงสัยของนักเรียน ๓. นักเรียนแต่คนอ่านเร่ืองที่กาหนดให้แล้วทาแบบฝึกหัดเขียนตีความสรุปความจากเร่ือง เสร็จแล้วนาส่งครู ตรวจสอบและประเมินผล ๓.ข้นั สรุป ๑. ครูและนักเรยี นร่วมกนั สรุปอภิปรายเก่ยี วกับเรื่อง การอ่านตีความสรปุ ความ 9. สอ่ื การเรียนการสอน / แหลง่ เรียนรู้ รายการส่ือ จานวน สภาพการใชส้ ือ่ 1. ใบงาน 1 ชดุ ขั้นสรา้ งความสนใจ 2. ใบความรู้ 1 ชุด ข้นั ขยายความรู้

10. การวดั ผลและประเมินผล เป้าหมาย หลกั ฐานการเรยี นรู้ ประเด็น/ การเรยี นรู้ ชิน้ งาน/ภาระงาน วธิ ีวดั เคร่อื งมือวัดฯ เกณฑก์ ารให้ คะแนน ผู้เรียนสามารถ  แบบทดสอบ  ผู้เรียนอา่ น  แบบประเมินการอ่าน  ร้อยละ 60 บอกหลกั เกณฑ์ หลังเรยี น ประจาหน่วย ออกเสยี ง ในการอ่านออกเสียง การเรียนรู้ที่ 1 การอา่ น  ครสู ังเกต บทออกเสยี ง ผา่ นเกณฑ์ ได้ถูกต้อง(K) ออกเสียง พฤติกรรม  แบบสงั เกตพฤติกรรม  ระดบั คุณภาพ  แบบประเมนิ การ การทางานกลมุ่ อา่ นออกเสียง  ผูเ้ รยี น การทางานกลุ่ม 2 ผ่านเกณฑ์  แบบสังเกต ทาแบบทดสอบ  แบบทดสอบ พฤติกรรมการทางาน หลังเรียน กลมุ่ หลังเรยี น

11. การบรู ณาการตามจดุ เนน้ ของโรงเรียน (ตัวอยา่ ง) หลักปรัชญาเศรษฐกจิ ครู ผู้เรยี น พอเพยี ง - -- - - -- - -- - -- ผู้เรยี น -- - สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ครู ผู้เรยี น - - - สิ่งแวดล้อม ครู - - ลงชื่อ..................................................ผสู้ อน (............................................)

ตวั อย่างข้อความ หวั ใจนกั ปราชญ์ เวน้ วจิ ารณ์วา่ งเวน้ สดบั ฟัง เวน้ ที่ถามอนั ยงั ไป่ รู้ เวน้ เล่าลิขิตสัง- เกตวา่ ง เวน้ นา เดก็ เอ๋ยเดก็ ไทย เดก็ เอ๋ย เดก็ ไทย จงคน้ ความ ภมู ิใจไทยวถิ ี ภูมิปัญญารากเหวา้ ของเรา มี สร้างศกั ด์ิศรีความเป็นไทยความเป็นเธอ เรียนรู้โลกเพื่อไม่ตกเป็นเหยอื่ เรา รู้ทนั เท่า ความจริง ทุกสิ่งเสมอ มีความฝันความใฝ่ ไม่ฟ้ ุงเพอ้ แต่ล้าเลอคุณธรรมนาสุขเอย

ใบความรู้ เร่ือง การตีความ สรุปความ การตีความ สรุปความ เมอ่ื อ่าน ฟัง หรอื ดู เรื่องใด ๆ ก็ตาม บางครัง้ เราควรจดบนั ทึกสรปุ ความรู้และข้อคิดจากเรอ่ื งท่ีได้อา่ น ได้ฟัง และไดด้ ูไว้ เพือ่ ชว่ ยการจาและนาไปใช้ประโยชน์ ในการรับสาร นอกจากผอู้ า่ น ผู้ฟัง ผดู้ หู รือผู้ชมจะต้องรู้จกั วิเคราะหค์ วามแล้ว ยงั ตอ้ งรู้จักตคี วาม และสรุป ความ เพ่ือช่วยให้เรารับสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยต้องอาศัยการใช้เหตุผล และวิจารณญาณประกอบด้วย ดัง ตวั อย่างต่อไปนี้ ตวั อย่างที่ ๑ เม่ือปี กลายสมชายอยกู่ ระบ่ี พอปลายปี ยา้ ยไปเรียนท่ีสงขลา อีกสองปี ตอ้ งไปเรียนท่ียะลา ส่วนปี หนา้ กะจะไปอยชู่ ุมพร จากข้อความข้างต้นถ้าถามว่าสมชายอยู่ภาคใดของประเทศใด เราจะต้องวิเคราะห์ข้อความท้ังหมดให้ถ่องแท้ เสยี กอ่ น จึงจะสรุปความได้ว่า สมชายอย่ภู าคใต้ ท้งั นี้เน่อื งจากข้อความท้งั หมดทเี่ ป็นช่ือจังหวดั ลว้ นแลว้ แต่เป็นจงั หวัด ท่อี ยู่ในภาคใตข้ องประเทศไทย ในข้ันของการตคี วามถ้าถามว่า พ่อแม่ของสมชายมอี าชีพใด หลงั จากวเิ คราะหค์ วามเรา อาจตีความได้ว่า ครอบครัวของสมชายมีอาชีพท่ีต้องย้ายตามงานไปเรอ่ื ย ๆ อาจเป็น ข้าราชการ ช่างก่อสร้าง เพราะ วรรคท่ีสองมีใจความว่า “พอปลายปียา้ ยไปเรียนที่สงขลา” และวรรคที่สาม “อีกสองปตี ้องไปเรยี นท่ียะลา” คาว่า เรียน จงึ เป็นสว่ นทีเ่ ราใช้ในการตคี วามได้ ตัวอย่างที่ ๒ ยา่ ของแดงแตง่ งานกบั บรรเจิด ยา่ มีลูก ๓คน ป่ ตู ้งั ชื่อลูกทุกคนข้ึนตน้ วา่ “บรร” ลูกคนโต เป็นผชู้ ายช่ือบรรทดั ลูกสาวคนท่ีสองช่ือบรรจง ลูกสาวคนเลก็ ช่ือบรรทม ข้อความข้างต้นถ้าถามว่าปู่ของแดงชื่ออะไร คาตอบก็คือบรรเจิดเนื่องจากข้อความ “ย่าของแดงแต่งงานกับบรรเจิด” เป็นส่วนช่วยให้ตีความได้หลังจากเราได้อ่านหรือฟังเร่ืองน้ีโดยตลอด และคิดวิเคราะห์หาคาตอบ และถ้าจะสรุปความ ให้ได้ว่า พ่อของแดงชือ่ อะไร เราก็ต้องตคี วามจากข้อความท่ีว่า “ลูกคนโตเป็นผู้ชายชื่อบรรทดั ” ดงั นัน้ พ่อของแดงจึง ชื่อ “บรรทัด” เพราะ “บรรทัด” เป็นลูกชายคนโตของปู่ สรุปความได้ว่าแดงเป็นลูกของบรรทัด ซึ่งเป็นลูกชายคนโต

ของปู่ ทาไมจึงรู้ว่า พ่อของแดงชื่อบรรทัด คาตอบก็คือ บรรทัดเป็นลูกคนเดียว แดงเรียกปู่และย่า ดังน้ันแดงจะต้อง เป็นลูกของบรรทัดถ้าเป็นลกู ของบรรจง หรอื บรรทม จะตอ้ งเรียกวา่ ตาและยาย การหาขอ้ คิดจากเรอื่ งที่อ่าน การหาขอ้ คดิ จากเรอื่ งทีอ่ ่าน จะช่วยให้ผู้อา่ นเข้าใจเรื่องทอ่ี ่านไดล้ ึกซึ้งและเข้าใจความคดิ ของผู้เขยี นที่แฝงไวใ้ น เรอื่ ง เชน่ คติธรรม คาสอน มมุ มองต่าง ๆ อันเป็นประโยชนต์ อ่ การนาไปประยุกตใ์ ช้ในการดารงชีวิตได้ การหาขอ้ คิดจากเรื่องท่ีอา่ น ผู้อื่นตอ้ งมีความเข้าใจความหมายของคาและประโยค ตั้งจุดมุ่งหมายของการอ่าน ไวแ้ ละตอ้ งอา่ นอยา่ งพนิ ิจพจิ ารณา ใช้การวิเคราะห์คา ความหมาย นยั ของคาและข้อความ จดบันทึกความรู้ การแยกแยะข้อเท็จจริง การประเมินเหตุการณ์ โดยสามารถใช้การเขียนแผนภาพความคิดหรือ แผนภาพโครงเรือ่ งมาลาดบั ความคดิ ได แผนภาพโครงเร่อื ง แม่ปูกบั ลูกปู ตัวละคร แม่ปู ลูกปู เหตุการณท์ ี่ ๑ แมป่ กู บั ลูกปูเดนิ ไปหากินในนา แม่ปเู ห็นลูกปเู ดินไม่ตรงทางจงึ รอ้ งบอก ใหล้ กู เดินให้ตรงทาง ขอ้ คิด ขอ้ บกพร่องของผู้อน่ื ย่อมเหน็ ได้งา่ ยกวา่ ขอ้ บกพร่องของตนเอง เหตุการณ์ที่ ๒ แผนภาพโครงเร่อื ง แมป่ ูกับลูกปู ข้อคิด ลกู ปูขอใหแ้ มป่ ูเดนิ ให้ดวู ่าเดนิ อย่างไรจึงจะเดนิ ตรงแมป่ ูเดินให้ลกู ปูดูก็ เดนิ ไม่ตรงทางเหมือนกนั การท่ีจะบอกหรือสอนผู้ใด ผู้บอกหรอื ผสู้ อนควรปฏิบัตไิ ด้กอ่ น การทาส่งิ ที่ฝืนธรรมชาตยิ ่อมทาได้ยาก จากข้อคิดของเรื่อง ผ้อู า่ นอาจคิดเปรียบเทยี บกับสานวนที่สอดคล้องกนั ได้ เชน่ วา่ แต่เขาอิเหนาเปน็ เอง เปน็ ตน้

แบบฝึกหัด คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนอ่านในใจ แล้วตอบคาถาม จงไปจากไรเ่ ถิด “จงไปจากไรเ่ ถดิ …มดจงไปจากปลวกจงไปจาก ด้วงจงไปจาก แมลง จงไปจาก หนอนจงไปจาก เพลย้ี จงไปจาก ตก๊ั แตนจงไปจาก จิ้งหรีดจงไปจากนกจงไปจา หนจู งไปจาก บรรดาสง่ิ ทีเ่ ป็นพิษเป็นภัยเปน็ ศัตรขู องขา้ ว จงไปจากเสียง ให้หมด ไปเสียใหไ้ กล ๆ หน่งึ วนั เดนิ ทาง หนึง่ คนื เดินทาง อยา่ อยใู่ กล้ไร่อยา่ อยู่ใกลส้ วน อย่าเฝ้าไร่ อยา่ เฝา้ สวน ไป เสียใหพ้ ้นจากไร่ ไปเสียให้พน้ จากสวน ไปยงั ตะวนั ออก ไปยังตะวนั ตก ไปยังเหนอื ไปยังใต้ ไปยังบ้านใหญ่ ไปยัง เมืองโตเถิด” “ขา้ วเอย๋ ปกั เจ้าลง หวา่ นเจา้ ลงเสร็จแล้วสับคอหญ้า สับคอผักเสร็จแลว้ ตอ่ แต่นี้ไปทาตวั เจ้าใหท้ พิ ย์ ทาตัว เจา้ ให้อัศจรรย์ เจ้าเป็นผวู้ เิ ศษ เจ้าเป็นผมู้ มี นต์ขลงั เจ้าเป็นผูซ้ อื่ สตั ย์ เจ้าเปน็ ผู้ซอ่ื ตรง จงเรยี กน้าฝนลงมา จงเรียก น้าคา้ งลงมา ใหฝ้ นดี ให้น้าค้างดก หลบตวั ให้เกง่ ซ่อนตัวใหม้ ิด หนูจะมากนิ ฝงั ตวั เข้าไป นกจะมาจิกฝังตวั เขา้ ไว้ด้วง จะมากินฝงั ตวั ลงไป หนอนจะมากินฝังตัวลงไป ให้ฝนตกตามฤดูกาลให้ฝนแลง้ ตามฤดูกาล ใหต้ กกลางคืน ใหห้ ยดุ กลางวนั ให้ข้าได้มีกินอยา่ งอุดมสมบูรณ์ กับลูกกับเมีย กับพ่ีกับนอ้ ง ตลอดทงั้ ปีตลอดทงั้ เดือน หากมเี สียงจงปิดหัว ใหม้ ิด หากมีเสยี งหา่ จงแตกยอดให้เขยี วขจีเถิด…” ๑. สิ่งที่เปน็ พษิ ภัยหรือเป็นศัตรขู องต้นข้าวในไร่ได้แกอ่ ะไรบา้ งช่วยกนั รวบรวมมาให้มากที่สุด ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… 2. ถ้าสัตวท์ ่เี ป็นพิษภยั ของต้นข้าวพากนั ออกไปอยใู่ นบ้านใหญ่เมืองโตบ้านใหญเ่ มืองโตจะมีสภาพอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ๓. ถ้าสตั วท์ ่ีเป็นพษิ ภัยยังอยู่ในนาขา้ ว ชาวนาควรแกป้ ญั หาอยา่ งไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………

แบบฝึ กหัด คาชี้แจง ให้นักเรยี นเขยี นเล่าเรื่องที่ประทบั ใจตามลาดบั หวั ขอ้ ทีก่ าหนดไวใ้ นแผนภาพความคิด พร้อมทั้งตงั้ ชื่อเรือ่ ง ๒. พบเหตกุ ารณ์ ๑. ก่อนพบ เร่ือง เหตกุ ารณ์ ประทบั ใจ เร่ือง…………….. ๓. สรุป/ข้อคดิ เรื่อง…………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………..................................................... ..................................................................................................................................................

แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยการเรยี นรู้ที่ 4 เรือ่ งแตง่ ใหง้ ามตามทเ่ี หมาะ แผนจดั การเรยี นรทู้ ่ี 2 เรือ่ ง คาประสม รายวชิ าภาษาไทยรหัสวชิ า ท 21101 ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2562 น้าหนักเวลาเรียน 1.5 (นน./นก.) เวลาเรยี น 3 ชวั่ โมง/สัปดาห์ เวลาท่ีใช้ในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 1 ชวั่ โมง ............................................................................................................................. ............................. 1. สาระสาคญั (ความเขา้ ใจทคี่ งทน) คาประสมคอื คาทเี่ กิดจากการนาเอาคาตัง้ ๒ คาขึน้ ไปมารวมกันแล้วเกดิ ความหมายใหม่หรือคงเดิม เพอื่ ใหไ้ ด้ คาศัพท์ข้นึ มาใชอ้ ย่างหลากหลาย ผู้เรยี นต้องแม่นยาและหมั่นฝึกทกั ษะการใช้จงึ จะเกดิ การเรียนรู้อย่างแทจ้ รงิ 2. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตวั ชี้วดั ช้นั ป/ี ผลการเรยี นรู้/เปา้ หมายการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ (ใหต้ รงกับหลักสูตรแกนกลาง 2551 ปรบั ปรุง 2560) มาตรฐาน ท ๔.๑เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา ภมู ิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบตั ิของชาติ ตัวชวี้ ัด ตวั ชี้วดั /ผลการเรียนรู้ มาตรฐาน ท๔.๑ ม.๑/๒สร้างคาในภาษาไทย 3.1เน้ือหาสาระหลกั : Knowledge บอกความหมายของคาประสมได้ 3.2ทกั ษะ/กระบวนการ : Process ใชค้ าประสมไดถ้ ูกตอ้ งตามบริบท 3.3 คณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ : Attitude ผเู้ รียนมีเจตคตทิ ่ีดีตอ่ วชิ าภาษาไทย 4. สมรรถนะสาคญั ของนักเรยี น 4.1 ความสามารถในการสือ่ สาร ผ้เู รยี นสามารถใช้ภาษาไทยมาตรฐานส่ือสารในชวี ิตประจาวัน 4.2 ความสามารถในการคิด ผู้เรยี นมีทักษะการคิดวิเคราะห์ 4.3 ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ ผ้เู รียนมีกระบวนการปฏบิ ัติ 5. คุณลักษณะของวิชา ความรบั ผดิ ชอบ ความรอบคอบ 6. คณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ 1. มีวนิ ยั 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มีวินยั 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อยา่ งพอเพยี ง 6. มงุ่ มน่ั ในการทางาน 7. รักความเปน็ ไทย

7. ชนิ้ งาน/ภาระงาน ๑.ใบความรู้ 8. กิจกรรมการเรยี นรู้ ครใู ชว้ ธิ ีวิธีสอนแบบกระบวนการกล่มุ และวิธสี อนโดยเนน้ กระบวนการ : กระบวนการปฏิบตั ิ) ชว่ั โมงที่ 1 1.ขัน้ นา ๑. ครเู ขยี นคาพยางคเ์ ดยี วบนกระดานดา แลว้ ให้นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ หาคาพยางคเ์ ดียวอีกคาหนึง่ มาเติม ข้างหน้าหรือขา้ งหลังคาเหลา่ นน้ั เช่น ไฟ …. ( ฟา้ ) …. ,รถ ….. ( ไฟ)… , … ( น้า ) ….. แขง็ , ….. ( หม้อ) …… น้า ฯ ลฯจากนน้ั ครถู ามนักเรยี นวา่ การสร้างคาใหม่ลักษณะนี้ เรียกว่าคาอะไร ( คาประสม ) ๒.ขนั้ สอน ๑. ศกึ ษาเร่อื งคาประสมจากใบความรู้โดยให้แตล่ ะคนแลกเปล่ยี นความรู้ท่ีได้จากการศึกษาดว้ ยตนเอง ๒. ครอู ธิบายหลักการของคาประสม เพื่อใหน้ ักเรยี นมคี วามเขา้ ใจในคาประสมมากยิ่งขึ้น ๓. นกั เรียนเล่มเกมบันไดคาประสมเพื่อเป็นการทบทวนความรู้ ๔. นักเรียนทุกคนทาแบบฝึกหัด เลือกคาตอบท่ถี กู ตอ้ ง เสรจ็ แล้วสง่ ครูตรวจสอบและประเมนิ ผล ๓.ขน้ั สรปุ ๑. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันสรุปอภิปรายเกย่ี วกับเรอ่ื ง คาประสม 9. สื่อการเรียนการสอน / แหลง่ เรยี นรู้ รายการส่อื จานวน สภาพการใช้สือ่ 1. ใบงาน 1 ชุด ข้นั สรา้ งความสนใจ 2. ใบความรู้ 1 ชุด ข้นั ขยายความรู้

10. การวดั ผลและประเมินผล เป้าหมาย หลกั ฐานการเรยี นรู้ ประเด็น/ การเรยี นรู้ ชิน้ งาน/ภาระงาน วธิ ีวดั เคร่อื งมือวัดฯ เกณฑก์ ารให้ คะแนน ผู้เรียนสามารถ  แบบทดสอบ  ผู้เรียนอา่ น  แบบประเมินการอ่าน  ร้อยละ 60 บอกหลกั เกณฑ์ หลังเรยี น ประจาหน่วย ออกเสยี ง ในการอ่านออกเสียง การเรียนรู้ที่ 1 การอา่ น  ครสู ังเกต บทออกเสยี ง ผา่ นเกณฑ์ ได้ถูกต้อง(K) ออกเสียง พฤติกรรม  แบบสงั เกตพฤติกรรม  ระดบั คุณภาพ  แบบประเมนิ การ การทางานกลมุ่ อา่ นออกเสียง  ผูเ้ รยี น การทางานกลุ่ม 2 ผ่านเกณฑ์  แบบสังเกต ทาแบบทดสอบ  แบบทดสอบ พฤติกรรมการทางาน หลังเรียน กลมุ่ หลังเรยี น

11. การบรู ณาการตามจดุ เนน้ ของโรงเรียน (ตัวอยา่ ง) หลักปรัชญาเศรษฐกจิ ครู ผู้เรยี น พอเพยี ง - -- - - -- - -- - -- ผู้เรยี น -- - สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ครู ผู้เรยี น - - - สิ่งแวดล้อม ครู - - ลงชื่อ..................................................ผสู้ อน (............................................)

ใบความรู้ เร่อื ง คาประสม คาประสม คือ คาทีเ่ กดิ จากการเอาคามลู ทม่ี ีความหมายตา่ งกนั ตง้ั แต่ ๒ คาขน้ึ ไปมารวมกันเขา้ เป็นคาเดยี ว กลายเปน็ คาใหม่ มคี วามหมายใหม่ แตย่ ังมเี ค้าความหมายเดิมอยู่ เชน่ ลูกเสือ ( นักเรยี นทแี่ ตง่ เคร่ืองแบบ ) แสงอาทติ ย์ ( งชู นิดหนึ่งมีเกล็ดสะทอ้ นแสงอาทติ ยไ์ ด้ซ่ึงแปลกกวา่ งูชนิดอ่ืน ๆ ) หางเสอื ( ท่ีบังคับทศิ ทางเรอื ) แต่ ถา้ ลกู เสอื หมายถึง ลูกของเสือ แสงอาทติ ย์ หมายถึง แสงของดวงอาทิตย์ หางเสอื หมายถึง หางของเสือ อยา่ งนไี้ มจ่ ดั เป็นคาประสม เพราะไม่เกิดความหมายใหม่ขึ้น จัดเปน็ วลที เ่ี กดิ จากการเรียงคาธรรมดาเทา่ นั้น การเกดิ คาประสมในภาษาไทย คาประสมภาษาไทยเกดิ ข้นึ ได้หลายกรณี ดังน้ี ๑. เกิดจากคาไทยประสมกับคาไทย เชน่ ไฟ + ฟา้ = ไฟฟา้ ตาย + ใจ = ตายใจ ผดั + เปร้ียว + หวาน = ผดั เปรีย้ วหวาน ๒. เกดิ จากคาไทยประสมกับคาต่างประเทศ เชน่ ไทย + บาลี = หลัก ( ไทย ) + ฐาน ( บาลี ) - หลักฐาน ราช ( บาลี ) + วงั ( ไทย ) - ราชวัง ไทย + สนั สฤต = ทนุ ( ไทย ) + ทรัพย์ ( สันสฤต ) - ทนุ ทรัพย์ ตกั ( ไทย ) + บาตร ( สนั สฤต ) - ตกั บาตร ไทย + เขมร = นา ( ไทย ) + ดา ( เขมร = ปลูก ) - นาดา นา ( ไทย ) + ปรงั ( เขมร = ฤดูแล้ง ) - นาปรงั จนี + ไทย = หวย ( จนี ) + ใต้ดิน ( ไทย ) - หวยใตด้ นิ ผา้ ( ไทย ) + ผวย ( จนี ) - ผา้ ผวย ไทย + อังกฤษ = เหยือก ( อังกฤษ - jug ) + น้า ( ไทย ) - เหยือกน้า พวง (ไทย ) + หรีด ( องั กฤษ - wreath ) - พวงหรีด

๓. เกิดจากคาตา่ งประเทศประสมกับคาตา่ งประเทศ เชน่ บาลี + จีน - รถ ( บาลี ) + เกง๋ ( จนี ) - รถเก๋ง บาลี + สันสฤต - กิตติ ( บาลี ) + ศพั ท์ ( สันสฤต ) - กิตตศิ ัพท์ จะเห็นวา่ คาประสมเกิดขึ้นได้จากการรวมตวั กันระหวา่ งคาไทยกับคาไทยคาไทยกบั คาต่างประเทศ และคา ตา่ งประเทศกบั คาต่างประเทศ ชนิดของคาท่เี อามาประสมกัน คาไทยมีอยู่ ๗ ชนิด คอื คานาม คาสรรพนาม คากรยิ า คาวเิ ศษณ์ คาบุพบท คาสันธาน และ คา อทุ าน แต่คาไทยทั้ง ๗ ชนิด นมี้ ิใชจ่ ะเอามาประสมกันได้ทั้งหมด คาท่ีใชป้ ระสมกนั ได้เท่าทปี่ รากฏ มีดงั น้ี ๑. คานามประสมกับคานาม เช่น พอ่ ตา แม่ยาย ลกู นอ้ ง หนา้ มา้ ลนิ้ ปี่ คอยหอย หบี เสยี ง กล้วยแขก แมน่ า้ ราชวงั ๒. คานามประสมกับคากริยา เช่น นกั รอ้ ง หมอดู บา้ นพัก เรือบิน ยาถา่ ย รถเขน็ ไกช่ น คานหาม นา้ คา้ ง คนเดินตลาด ๓. คานามประสมกับคาวเิ ศษณ์ เชน่ น้าแข็ง เบ้ยี ลา่ ง หวั ใส หวั หอม ใจดี ใจเย็น ม้าเร็ว น้าหวาน ปากเบา ปลาเนอ้ื อ่อน ๔. คานามประสมกับคาลกั ษณะนาม เช่น วงแขน วงกบ ดวงหนา้ ลูกชนิ้ ดวงใจ เพอื่ นฝูง

๕. คานามประสมกับคาสรรพนาม เชน่ คุณยาย คณุ พระ คุณหลวง ๖. คากรยิ าประสมกับคากริยา เชน่ ตีพิมพ์ เรียงพมิ พ์ พมิ พด์ ีด นอนกนิ ฟาดฟนั กันสาด ตีชิง หอ่ หมก เทีย่ วขึ้น เทย่ี วล่อง ๗. คากริยาประสมกับคาวเิ ศษณ์ เชน่ ลงแดง ยนิ ดี ถอื ดี ย้ิมหวาน สายหยดุ ดูถูก ผัดเผด็ ตม้ จดื บานเย็น บานเชา้ ๘. คาวิเศษณป์ ระสมกับคาวเิ ศษณ์ เช่น หวานเย็น เขยี นหวาน เปรี้ยวหวาน คาขา คมขา คมคาย การพิจารณาคาประสม คาประสมมีลักษณะเป็นกลุ่มคาหรอื วลี การพจิ ารณากลุ่มคาใด ๆ วา่ เป็นคาประสมหรอื ไม่นน้ั สามารถ พจิ ารณาไดจ้ ากลักษณะต่อไปนี้ ๑. พิจารณาลกั ษณะการเรยี งคาและความหมายคาประสมจะเรยี งคาหลกั ไว้ข้างหน้า คาท่เี ป็นเชิงขยายจะเรยี งไว้ ขา้ งหน้า ความหมายทีเ่ กดิ ขึ้นจะเป็นความหมายใหม่โดยมีเคา้ ความหมายเดมิ อยู่ เช่น ลกู น้า หมายถงึ ลกู ยงุ เป็นคาประสม ไฟฟ้า หมายถึงพลงั งานชนิดหน่งึ เปน็ คาประสม เบีย้ ล่าง หมายถงึ เสยี เปรยี บ เปน็ คาประสม ยิงฟัน หมายถึงการเผยอริมฝปี ากให้เห็นฟัน เปน็ คาประสม แต่ถ้าหมายถึงการทาร้ายหรือยิงฟนั ( ฟนั = อวัยวะ ) ก็ไมเ่ ป็นคาประสม เป็นเพยี งวลธี รรมดา เพราะถึงแมจ้ ะเรยี งคาเหมือนกันกต็ าม แต่ความหมายไมไ่ ด้เปลี่ยนแปลงไป

เว้นจังหวะ หมายถงึ การหยุดไวร้ ะยะ ไมเ่ ป็นคาประสม คนหน่งึ หมายถงึ คน ๆ เดียว ไม่เปน็ คาประสม ๒. พิจารณาจากลักษณนามทีใ่ ช้กับคาท่ีสงสัยว่าจะเปน็ คาประสมหรือไมโ่ ดยลองแยกดูว่า คาลักษณนามนน้ั เปน็ ลกั ษณนามของทงั้ สองคาร่วมกนั หรอื เป็นของคาหนึง่ คาใดโดยเฉพาะ ถ้าเป็นลักษณนามของทัง้ สองคาร่วมกนั กลมุ่ คา น้นั กเ็ ปน็ คาประสม แตถ่ ้าเป็นของคาหนึง่ คาใดโดยเฉพาะ กลมุ่ คาน้นั ก็ไมเ่ ปน็ คาประสมเช่น ลูกตา คน นเ้ี สียแลว้ คาว่า ลูกตา ไมเ่ ปน็ คาประสม พจิ ารณาจากลกั ษณนาม “ คน ” เปน็ ลกั ษณะนามของตา ซ่งึ เปน็ คน ลกู ตา ข้าง นเ้ี สียแล้วคาวา่ ลกู ตา เปน็ คาประสม พจิ ารณาจากลกั ษณะนาม “ ข้าง” เป็นลักษณะนามลูกตา ( อวัยวะ ) รถเจก๊ คน นเี้ ก่ามากคาว่ารถเจ๊ก ไมเ่ ป็นคาประสม รถเจ๊ก คันนเี้ ก่ามาก คาวา่ รถเจก๊ เปน็ คาประสม ๓. พจิ ารณาจากความหมายในประโยค หรือดจู ากข้อความท่แี วดล้อมคาซึ่งเราสงสยั ในประโยคบางประโยค หรอื ในข้อความบางข้อความ เราไม่สามารถบ่งออกไปได้ทันทวี ่าคาใดเป็นคาประสม จนกว่าเราจะไดพ้ ิจารณา ความหมายของคานัน้ ให้ชัดเจนเสยี กอ่ น เชน่ ในประโยคตอ่ ไปน้ี ก. นัน่ ลูกเล้ียงใคร ข. นน่ั ลกู เล้ยี งของใคร ค. น่ันลูกเลย้ี งใครไว้ คาว่าลูกเล้ียงในข้อ ก.เป็นได้ทั้งคาประสมและไม่ใช่คาประสม ถ้ามีข้อความอื่นหรือเหตุการณ์มาช้ีให้เห็นว่า ผู้ พูดประโยคน้ีกาลังหมายถึงใครคนหน่ึงคาว่า “ ลูกเล้ียง ” ก็จะเป็นคาประสม แต่ถ้าผู้พูดกาลังถามลูกของตัวเองว่า เลี้ยงใครอยู่ คาว่าลูกเล้ียงก็ไม่เป็นคาประสม ส่วนคาว่าลูกเลี้ยงในข้อ ข. ข้อความใกล้เคียงบ่งชี้ว่าเป็นคาประสม อยา่ งไมม่ ีปัญหา ส่วนข้อ ค. คาวา่ ลูกเลยี้ งไม่ได้เป็นคาประสม คาวา่ ลูกเปน็ นามและคาว่าเล้ยี งเป็นกริยาของประโยค หรอื ประโยควา่ “ ลูกน้องของเธอมาแล้ว ” คาว่าลูกน้อง ก็อาจจะเป็นได้ทั้งคาประสมและไม่ใช้คาประสมเราจะ ตัดสินได้ก็ต่อเม่ือมีข้อความอ่ืนมาขยายหรือเราอยู่ในเหตุการณ์ท่ีกาลังพูดประโยคน้ีอยู่ด้วยหรือสังเกตการเน้นคาก็ได้ เพราะคาว่า ลกู นอ้ ง อาจมคี วามหมายว่า ลูก ( ของ ) น้อง ( ไมเ่ ปน็ คาประสม ) หรอื ผู้ท่อี ยู่ใต้อานาจ ( ของเธอ ) ( เปน็ คาประสม ) เป็นตน้

ประโยชนข์ องคาประสม ๑. ทาให้มคี าใชใ้ นภาษามากขึน้ โดยใชค้ าท่ีมอี ยู่แล้ว เอามารวมกันทาให้เกดิ คาใหม่ ได้ความหมายใหม่ ๒. ชว่ ยยอ่ ความยาว ๆ ใหส้ น้ั เขา้ เป็นความสะดวกทั้งในการพดู และการเขยี น เช่น นักร้อง = ผู้ที่ชานาญในการร้องเพลง ชาวนา = ผู้ที่มีชวี ติ อยู่ในผืนนา หมอนวด = ผู้ทีช่ านาญในการนวด ๓. ช่วยให้การใช้คาไทยทม่ี าจากภาษาต่างประเทศ ประสมกลมกลืนกับคาไทยแท้ได้สนทิ เชน่ พลเมือง = พล ( บาลี ) + เมือง ( ไทย ) เสอ้ื เช้ิต = เสือ้ ( ไทย ) + เช้ติ ( องั กฤษ - shirt ) รถเก๋ง = รถ ( บาลี ) + เก๋ง ( จนี ) เกมบนั ไดคาประสม เกมบันไดคาประสม จุดประสงค์ ๑. เพ่ือฝึกให้นกั เรยี นคดิ หาคาประสม ๒. เพอื่ ฝึกให้นักเรยี น อ่าน เขยี น และนาคาประสมไปใชแ้ ต่งประโยค วัสดอุ ุปกรณแ์ ละเครอ่ื งมอื ๑. ลูกเต๋า ( เลือกทาเองจากยางลบ ไม้ เป็นต้น ) เปก๊ กดกระดาษ ( เป๊กหัวเหด็ ) กระดาษกาว กระดาษกล่องขนาด ๔๕ ๔๕ ซม. ( หรือตามความเหมาะสม) สเี มจิก ดินสอ ยางลบ ๒. กรรไกร ไมบ้ รรทดั วธิ ีทา ๑. ทาลูกเต๋าจากยางลบ แท่งไม้หรือวสั ดุอืน่ ๆ ( ขนาดตามความเหมาะสมจากวัสดุท่ีหาได้ ) โดยใชส้ เี ขยี น ตวั เลข ๑ - ๖ ให้ชัดเจนทง้ั ๖ ดา้ น

๒. นากระดาษกล่องท่เี ตรียมไว้มาเขียนรปู แบบก้นหอยดังภาพ แล้วแบง่ เป็นชอ่ ง ๆ ไม่ควรตา่ กวา่ ๒๐ ช่อง โดยใส่หมายเลขกากับด้วย ๓. เลอื กเติมสญั ลักษณ์หรือข้อความต่อไปนล้ี งในชอ่ งต่าง ๆ บางชอ่ งท่ีเหน็ สมควร ( ๑) หมายถงึ เดินขึน้ บันได ( ๒) หมายถึง ลงไปช่องทีห่ างงู ( ๓) หมายถงึ กลับไปท่ีเดิม ( ๔) หมายถงึ เดินตอ่ อกี ๒ ชอ่ ง ( หรอื ตามทก่ี าหนด ) ๔. ช่องที่เหลอื เว้นไว้สาหรบั ติดบัตรคา ๕. ตัดบตั รคาขนาดเลก็ กวา่ ชอ่ ง ในกระดาษรูปก้นหอย แต่ละบัตรเขียนคามูลเพยี งคาเดยี วลงไปไม่ควรใหซ้ า้ คากนั เพือ่ ให้นักเรยี นหาคามาประสม วธิ เี ลน่ ๑. นาบตั รคาทเ่ี ขียนไว้ไปติดในแต่ละช่องของกระดาษบันไดประสมคา ๒. แบง่ นักเรยี นออกเปน็ กี่กลุ่มก็ได้ตามความเหมาะสมใหแ้ ต่ละกลุม่ สง่ ตวั แทนผลดั เปลี่ยนกันเล่นครั้งละ ๑ คน ๓. ตัวแทนแตล่ ะกลมุ่ ผลัดกันโยนลูกเตา๋ คนละครั้ง แล้วเดินหมากตามแตม้ ทไ่ี ด้ เมอ่ื ไปถึงช่องใดใหด้ วู า่ มสี ญั ลักษณ์ หรือข้อความใดอยู่บา้ ง ถา้ มีใหป้ ฏิบัติตาม แลว้ คิดหาคามาประสมกบั คาในบตั รคาของชอ่ งนั้น ๆ ( โดยเป็นคา ประสมทถ่ี ูกต้อง ) แลว้ เขียนบนกระดานดาถ้าถกู ครูใหค้ ะแนน ๔. เปลีย่ นตัวแทนกล่มุ มาเลน่ แทนชุดที่ ๑ โดยปฏิบตั ิเชน่ เดยี วกัน ตามเวลาทีค่ รกู าหนดให้ ๕. ใหน้ กั เรียนอ่านคาประสมท่ีหามาได้ แล้วแต่งประโยคลงในสมดุ ๖. การเลน่ ครงั้ หนง่ึ ๆ ควรจะเล่นถึงตัวเลขชอ่ งสุดท้าย หรอื จะครบจานวนคาก่คี าก็ไดเ้ ม่อื เสรจ็ สิน้ การเล่น กลุ่มใด ไดค้ ะแนนมาก กลุ่มนัน้ ชนะ

แบบฝึกหดั คาชีแ้ จง ให้นักเรยี นแต่ละกลุ่มช่วยกันหาที่มาของคาประสมทีก่ าหนดให้ พร้อมทัง้ บอกความหมาย ตัวอย่าง กติ ติศัพท์ มาจาก กติ ติ + ศัพท์ = การเลา่ ลอื ที่ คาท่กี าหนดให้ ทม่ี า ความหมาย ๑ ลกู ความ ๒ จตปุ จั จัย ๓ เชื่อใจ ๔ พอ่ ตา ๕ วโรกาส ๖ ลมปาก ๗ พุทธศาสนิกชน ๘ เสมอภาค ๙ เจา้ หน้ี ๑๐ แมย่ ก ๑๑ ตาถวั่ ๑๒ ตาแหลม ๑๓ หกั ใจ ๑๔ ขาประจา ๑๕ คตพิ จน์