Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือพืชมีพิษ

คู่มือพืชมีพิษ

Published by DPD E-Lidrary, 2020-06-23 04:40:26

Description: คู่มือพืชมีพิษ

Search

Read the Text Version

1

2 คาํ นาํ ตนเดือน มกราคม 2551 ผมไดนํากําลังพลไปพัฒนาสวนสมุนไพร “มูลนิธิกิตติขจรเภสัชเวทย” ณ โรงเรียนนายรอย พระจุลจอมเกลา จังหวัดนครนายก และไดเยี่ยมคํานับ อวยพรปใหม พลโท วรวิทย พรรณสมัย ผูบัญชาการโรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา จึงไดทราบวา สมเด็จ พระเทพ รัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี ทรงมพี ระดําริถึงการใหความรูดานสมุนไพร พืชมีพิษ แกนักเรียนนายรอยฯ เนื่องจากเมื่อสําเร็จการศึกษา จะตองไปปฏิบัติภารกิจในพ้ืนที่ทุรกันดาร ปา ภูเขา จําเปนตองมีความรูเก่ียวกับพืช สมุนไพร พืชมีพิษ เพ่ือความปลอดภัยของตนเองและผูใตบังคับบัญชา อน่ึงในปน้ีเปนปมหา มงคลที่ พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหัว ภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงมีพระชนมายุครบ 80 พรรษา ในปพุทธศักราช 2551 เพ่ือเปนการ ถวายพระพร โรงงานเภสัชกรรมทหาร จึงไดจัดทําคูมือ “พืชพิษที่พบบอยในประเทศไทย” ประกอบดวยรูปภาพ และขอมูล จํานวน 101 ชนิด แบงกลุมตามลักษณะอาการพิษตอระบบของรางกาย ระบุสวนท่ีเปนพิษ และอาการเม่ือไดรับพิษ เพื่อให นักเรียนนายรอยฯ มีความรแู ละความสามารถนําไปใชป ระโยชนไ ด โรงงานเภสัชกรรมทหาร ขอขอบพระคุณ พลเอก กมล แสนอิสระ อดีตผูบัญชาการโรงเรียนนายรอย พระจุลจอมเกลา พลโท วรวิทย พรรณสมัย ผูบัญชาการโรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลาและกําลังพลทุกนายท่ีกรุณาใหการ สนับสนุน พัฒนาสวนสมุนไพรฯ มาโดยตลอด และขอใหคํามั่นสัญญาวาจะอนุรักษ ปรับปรุง พัฒนาสวนสมุนไพรแหงนี้ อยาง เตม็ ขีดความสามารถ เพอื่ สนองพระดําริของสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าสยามบรมราชกุมารีตลอดไป พลตรี (จกั รี ตันติพงศ) ผอู ํานวยการโรงงานเภสัชกรรมทหาร ศนู ยก ารอตุ สาหกรรมปอ งกันประเทศและพลังงานทหาร

3

4

5

6

7 สารบญั หนา 1 บทนํา 1 ภาวะเปนพษิ จากพชื และการแกไ ขเบอ้ื งตน 2 รายงานการไดรับพิษจากพืช 3 รายช่อื ฐานขอมลู พืชพิษ 4 17 พิษตอผวิ หนงั เนอื้ เยอื่ ออ น และนยั นต า 38 พษิ ตอ ระบบทางเดนิ อาหาร และระบบหมนุ เวียนโลหิต 44 พิษตอระบบประสาท และอาจทําใหเสพติด 45 พษิ ตอไต และระบบปสสาวะ 56 พิษรายแรงอาจทาํ ใหเ สียชีวิตได บทสง ทา ย

8 บทนาํ พืชพิษ คือ พืชท่ีประกอบดวยสารพิษ หรือผลิตสารพิษในปริมาณที่มากพอท่ีจะกอใหเกิดอันตรายตอมนุษยและสัตว ได อันตรายที่เกิดข้ึนมีความรุนแรงท่ีตางกัน ตั้งแตระคายเคืองผิวหนัง จนถึงพิษท่ีทําใหเสียชีวิต โดยทั่วไปเม่ือผูปวยท่ีไดรับพิษ ไดรับการแกไขท่ีถูกตองรางกายก็จะกลับคืนสูสภาวะปกติ พิษของพืชท่ีไดรับนั้นไมวาจะเปนการต้ังใจ หรือไมตั้งใจก็ตาม อาการพษิ มกั จะสง ผลตอ รางกายในหลายระบบ เชน ผวิ หนัง ระบบทางเดนิ อาหาร ระบบหมุนเวียนโลหติ ระบบประสาท เนื่องจากอาการพิษของพืชพิษมักเปนหลายระบบ โดยทั่วไปการดูแลรักษาผูปวยเบ้ืองตน ประกอบดวย การรักษาตาม อาการและประคับประคองใหผูปวยพนขีดอันตราย การสกัดพิษไมใหเขาสูระบบหมุนเวียนโลหิตและเรงขจัดพิษออกสูรางกาย และการใหยาตานพิษ การรักษาประคับประคองผูปวยใหพนขีดอันตรายกอนท่ีผูปวยจะไปถึงโรงพยาบาลนั้น นับเปนหัวใจที่ สาํ คญั ทีส่ ุดของการรักษา โดยเฉพาะการดูแลเก่ียวกับการหายใจ การรกั ษาอุณหภูมิรางกาย และการควบคมุ อาการชกั ภาวะเปน พษิ จากพชื และการแกไ ขเบ้อื งตน 1. พษิ ตอ ผิวหนัง เน้อื เยื่อออน และนยั นตา พืชท่ีกอใหเกิดผื่นผิวหนังอักเสบ (irritant and allergic contact dermatitis) มักจะมีอาการแสดงทางผิวหนังในลักษณะน้ี ผิวหนงั บริเวณท่สี มั ผัสพชื จะเกดิ ผ่ืนแดง คัน รูปรางของผ่ืนอาจเปน ทางยาวๆ หรือเปนปน ข้ึนอยูกับลักษณะการสัมผัส ถา สวนท่เี ปนพิษสมั ผสั กบั ตา อาจทําใหตาบอดชว่ั คราวหรอื ถาวรได การรักษา - เมื่อสัมผัสกับสารพิษในพืช ไมวาจะเปนยางหรือน้ําในลําตน ควรรีบลางบริเวณที่สัมผัสดวยนํ้าและสบู จะทําใหเกิด อาการนอ ยลง และอาจปองกนั การเกิดผื่นได - ในกรณีท่ีมีผ่ืนคัน ถามีอาการนอย ใหทาดวยครีมสเตียรอยด และ/หรือ รับประทานยาแกแพ เชน chlorpheniramine, cetirizine 2. พษิ ตอ ระบบทางเดินอาหาร และระบบหมุนเวียนโลหติ อาการพิษในระบบทางเดนิ อาหารมกั เปนอาการของการไดรับพิษจากพืชพิษทุกชนิด เปนอาการท่ีแสดงวาผูปวยไดรับพิษ เขาไปในรางกาย กอนที่อาการทางระบบอื่น จะแสดงออกมา อาการทางระบบทางเดินอาหารอาจเปนไดตั้งแตการระคาย เคืองตอเย่ือบุปาก และลําคอ การอักเสบของกระเพาะอาหารและลําไส ตลอดจนถึงอาการพิษตอตับ ในกรณีของพืชที่มี พิษตอระบบหมุนเวียนโลหิต อาการพิษมักจะเริ่มดวยอาการทางระบบทางเดินอาหาร และตามดวยอาการทางหัวใจ เชน หวั ใจเตนชา และจังหวะผดิ ปกติ ความดนั โลหิตต่าํ และเสียชวี ิตจากระบบหมุนเวียนโลหติ ลมเหลว การรักษา - ถาผูปวยมีอาการระคายเคืองเยื่อบุปาก และลําคอ เชน จากการรับประทานบอน, วานหมื่นป, เพชรสังฆาต, เผือก, กระดาด ควรใหนมเย็น หรือไอศครีมเพื่อลดอาการระคายเคืองเฉพาะท่ี และไมควรทําใหอาเจียนเพราะอาจทําให อาการระคายเคืองรนุ แรงมากขึน้ - ถาผูปวยมอี าการอาเจียน หรือทองเสียมาก ควรใหสารนา้ํ และเกลือแร และรีบนําสงโรงพยาบาล - ถาผปู วยมีอาการกระเพาะอาหารอักเสบ อาจใหรับประทานยาเคลือบกระเพาะอาหารและลําไส เชน Alum milk และ รบี นาํ สงโรงพยาบาล

9 3. พษิ ตอระบบประสาท และอาจทาํ ใหเสพติด พิษตอระบบประสาทสวนกลาง มีฤทธ์ิกระตุนทําใหเกิดอาการชัก หรือทําใหเกิดอาการซึม หายใจชา และหมดสติ หรือมี ผลตอ จติ ประสาททําใหป ระสาทหลอน หรือหลายอยางรวมกัน สวนใหญมักนํามาดวยการกระตุน และตามมาดวยการกด ระบบประสาท การรกั ษา - รีบนําสงโรงพยาบาลทันที เพอ่ื ทาํ การลา งทอง ใหน ้ําเกลือปองกนั การชอ็ ค 4. พิษตอ ไต และระบบปส สาวะ สารพิษบางชนดิ ทาํ ใหเ มด็ เลือดแดงแตกในกระแสโลหติ ซง่ึ จะไปจบั ที่ไต ทาํ ใหไ ตวาย การรกั ษา - รบี นาํ สง โรงพยาบาลทนั ที การใหน ้าํ อยา งเพยี งพอ และการทาํ ใหป ส สาวะเปนดางจะชวยแกไ ขภาวะไตวายได 5. พษิ รายแรงอาจทําใหเสยี ชีวติ ได พืชในกลุมน้ีมีพิษรายแรง โดยอันตรายมักจะเกิดในเด็กมากกวาผูใหญ อาการพิษมักจะเปนอาการรวม สารพิษจะทําให เกิดการทาํ ลายตับ ไต ระบบทางเดนิ อาหาร ระบบเลอื ด ระบบหายใจ และระบบสมอง การรกั ษา - รีบนําสงโรงพยาบาลทันที การปฐมพยาบาลเบื้องตนที่สําคัญที่สุด คือ ทําใหผูปวยอาเจียนเอาเศษอาหารออกมาให มาก และทําการชวยดูดพิษจากผูปวยโดยวิธีใชนํ้าอุนผสมผงถาน activated charcoal แตวิธีนี้ไมควรใชกับเด็กอายุต่ํา กวา 5 ขวบ รายงานการไดรับพิษจากพชื จากการสบื คน ขอ มลู ไดตวั อยางผูป ว ยทไี่ ดร บั พิษจากพชื โดยการรบั ประทานหรอื สมั ผัส ดงั ตอไปน้ี 1. หัวดองดงึ - หญิงอายุ 28 ป รับประทานหัวดองดึงเปนอาหารเพราะเขาใจวาเปนกลอย และเสียชีวิตเนื่องจากหายใจไมได และ หัวใจลม เหลว - ชาวบาน 3 คน รับประทานหัวดองดึง เพราะเขาใจผิดวาเปนสมุนไพรรักษาอาการทองอืดเฟอ และปวดเม่ือยตาม รางกายได และเสยี ชวี ติ เน่ืองจากเกดิ อาการอาเจียนอยา งรนุ แรง (ขาวจากหนงั สือพิมพ 15 ธ.ค. 2529) - หญิงอายุ 21 ป รับประทานหัวดองดึงตมขนาด 125 มก. มีอาการอาเจียน ถายทอง หมดสติ ขาดน้ํา หัวใจเตนเร็ว ความดนั ต่าํ ผมรวง เลอื ดออกในตา รักษาในโรงพยาบาล และรอดชวี ติ ในที่สดุ 2. ลกู เนียง - ชาวบานในจังหวัดยะลา 2 คน ไดรับพิษจากการรับประทานลูกเนียง มีอาการปสสาวะไมออก ปวดทองนอย และ หลงั (รายงานผูปว ย รพ. ยะลา ระหวา งป 2525-2528) 3. พญาไรใ บ - ชายตางชาติสวมท้ังแวนตาและถุงมือ ตัดแตงตนพญาไรใบขนาดใหญ ไดรับพิษจากนํ้ายางขาวของตนพญาไรใบ มี อาการปวดรุนแรงที่ตาจนไมสามารถลมื ตาได 4. มันแกว - ชาวบานรายหน่ึงในจังหวัดเชียงใหมนําฝกมันแกวมาตมรับประทานจํานวน 4 ฝก มีอาการช็อค หมดสติ และหยุด หายใจ แพทยช วยชวี ติ ได แตคนไขยังคงมอี าการทางสมองเน่ืองจากการหยดุ หายใจ

10 - ชายอายุ 28 ป รับประทานเมล็ดมันแกวเขาไป 200 กรัม เน่ืองจากเขาใจผิดวาเปนเมล็ดถั่วท่ีรับประทานได มีอาการ เวียนศรีษะ หนามืด ตาลาย ออนเพลีย และไมสามารถกาวเดินได จากน้ันมีอาการชักกระตุกท่ีมือและเทา ควบคุม ระบบทางเดินปส สาวะไมได ทอ งเสีย และเสยี ชวี ติ ในทสี่ ดุ (รายงานผปู ว ย รพ. ชมุ ชนเชยี งแสน จงั หวัดเชียงใหม) 5. วานหมื่นป (สาวนอยประแปง ) - ชายไทยอายุ 38 ป ในจังหวัดกรุงเทพฯ เคี้ยวและกลืนใบและลําตน ของตนสาวนอยประแปงหลายคํา เนื่องจากเมา มี อาการน้ําลายฟูม พูดไมได ริมฝปากและกระพุงแกมบวม อาปากไดลําบาก รอนไหมและเจ็บปวดบริเวณริมฝปาก ชองปากและในลําคอ หายใจไมออก - เดก็ ชายชาวจีน ไดร ับสารพษิ จากยางของตน สาวนอ ยประแปงที่กระเด็นเขา ตาซา ย ทําใหล มื ตาซา ยไมได 6. โหรา - พนักงานธนาคารในจังหวัดนครศรีธรรมราชรวม 10 ราย เกิดอาการอาหารเปนพิษอยางรุนแรงเนื่องจากรับประทาน โหราท่ีรานขาวแกงนํามาประกอบอาหารขาย เนื่องจากเขาใจผิดวาเปนบอน มีอาการนํ้าลายฟูมปาก ช็อค หมดสติ (รายงานจาก สสจ. เมอื งนครศรีธรรมราช) 7. มะกลํา่ ตาหนู - ชาวบานรายหนึ่งและเด็กหญิงอายุ 8 ขวบในจังหวัดรอยเอ็ดรับประทานเมล็ดมะกล่ําตาหนูเพราะรูเทาไมถึงการณ มี อาการเลือดออกในระบบทางเดินอาหาร ตับวายและไตวาย เสียชวี ติ (รายงานผปู ว ย รพ. ยโสธร) 8. สบูข าว - เด็กนักเรียนประถมศึกษาปที่ 1 และ 2 จํานวน 5 คน ไดกินเมล็ดของตนสบูขาว ไมทราบจํานวน มีอาการคล่ืนไส อาเจียน ทองเสีย บางรายซึม ความดันเลือดต่ํา (รายงานผูปวย โครงการศูนยพิษวิทยา คณะแพทยศาสตร รพ. รามาธบิ ดี) - เด็กนักเรียนประถมศึกษาปท่ี 6 อายุ 9-14 ปจํานวน 29 ราย รับประทานเมล็ดสบูขาวและสงตอใหกันขณะอยูในแถว เคารพธงชาติ มอี าการคลนื่ ไสอาเจยี น ทอ งเสีย บางรายมนึ งง รายชอ่ื ฐานขอมูลพชื พษิ - ฐานขอ มลู พืชพิษสถาบันวิจยั สมนุ ไพร กรมวิทยาศาสตรก ารแพทย กระทรวงสาธารณสุข http://webdb.dmsc.moph.go.th/poison/ - ฐานขอมลู สมุนไพร มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล และ BIOTEC http://www.medplant.mahidol.ac.th - ฐานขอมลู พืชพิษ สํานกั งานขอ มลู สมุนไพร คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร http://admin.pha.nu.ac.th/toxic_plant

11 1. พิษตอ ผิวหนัง เน้อื เย่ือออ น และนัยนต า กระดาด, กระดาดแดง Alocasia indica Schott กระดาด Alocasia indica Schott กระดาดแดง Alocasia indica Schott var. Metalica Schott วงศ : ARACEAE ช่ือไทย : กระดาด, กระดาดแดง, คอื , โทปะ, บอนกาว,ี เผอื กกะลา, เผือกโทปา ด, มนั โทปาด ช่ือองั กฤษ : GREAT-LEAVED CALADIUM ลักษณะพืช : พชื ลมลุก ทีม่ หี วั อยูใตด ิน โดยมีกานใบสแี ดงโผลพ น ผิวดนิ ใบยาว แผน ใบกลมใหญ สีเขยี วเขมอมแดง ขอบใบเรยี บดอกมกี าบสี เหลืองอมเขยี วหมุ สว นทเี่ ปนพษิ : นาํ้ ยางใส อาการ : คัน ปวดแสบปวดรอ น อักเสบบวม พองเปน ตุม นํา้ ใส ถาโดนตาทาํ ใหตาอกั เสบ อาจทําใหตาบอดชั่วคราว หรือถาวร ถา รบั ประทานเขา ไปจะเกิดอาการไหมที่ เพดาน ปาก ลนิ้ และคอ กระบือเจ็ดตวั : Excoecaria cochinchinensis Lour. วงศ : EUPHORBIACEAE ชื่อไทย : กระบือเจ็ดตวั , กะเบอื , กาํ ลงั กระบือ, ลน้ิ กระบือ, ใบทอ งแดง ชอื่ องั กฤษ : YELLOW STAR ลักษณะพืช : ไมพุม สูง 0.5 - 1.5 เมตร ใบเด่ียว รูปใบหอก หรือรูปใบหอกแกมรูปไข หลังใบสีเขียว ทองใบสีแดง ดอก ชอ ออกท่ีปลายกิ่ง แยกเพศ ผลแหง แตกได มี 3 พู สวนท่ีเปนพษิ : ใบ อาการ : หากสมั ผัสใบจะทาํ ใหเ กิดอาการคัน ทาํ ใหผ ิวหนังเกดิ การระคายเคอื งเปนแผลไหม ตาแดง ปวดตา หาก รับประทานจะทาํ ใหเ กิดการระคายเคืองทางเดนิ อาหาร ทาํ ใหอาเจียน และทอ งเสีย

12 กะลงั ตงั ชาง Girardinia heterophylla Decne วงศ : URTICACEAE ชอ่ื ไทย : ตําแยชา ง, กะลังตังชาง, หานสา, หานชางไห, หานชางรอง ชือ่ อังกฤษ : THATCH GRASS , WOLLY GRASS, LALANG, ALANG-ALANG ลกั ษณะพชื : เปนพชื ลม ลกุ สูงไดถึง 1.5 เมตร ทุกสวนมขี นสากหนาแนน ทรงใบรปู ฝา มอื ตามกา นใบมีขนเปนหนาม แขง็ ๆ ดอกเลก็ สีเขยี วออน ผลเลก็ กลม ผวิ ผลมีหนามแข็งหนาแนน สวนท่ีเปน พิษ : ขน หรือ หนาม อาการ : เม่อื สมั ผัสขนหรือหนามทําใหเจ็บ คัน และปวดมาก คริสตมาส Euphorbia pulcherrima Willd.ex Klotzsch. วงศ : EUPHORBIACEAE ชอ่ื ไทย : ครสิ ตมาส, บานใบ, โพผนั , สองระดู ชื่ออังกฤษ : POINSETTIA, POINTED LEAF, LOBSTER PLANT, CHRISMAS STAR ลกั ษณะพืช : ไมพ มุ สงู 1-3 เมตร ใบ เดีย่ วรปู ไข ปลายแหลม ขอบใบหยกั ทุกสวนมยี างสีขาวเหมอื นนํา้ นม ดอก ชอ ออกปลายกิ่ง มใี บประดบั สแี ดงรปู หอกขนาดใหญอยูรอบๆ ชอดอกเปน จาํ นวนมาก สว นทเ่ี ปนพษิ : นาํ้ ยางสีขาวจากใบ ตน อาการ : นํา้ ยางถูกผวิ หนังจะระคายเคืองมาก ผิวหนงั เปน ปน แดง ตอมาจะบวมพองเปนตมุ น้าํ ภายใน 2- 8 ชว่ั โมง ถารบั ประทานจะทําใหก ระเพาะอักเสบ

13 ชางแหก Neesia altissima Bl. วงศ : BOMBACACEAE ชอ่ื ไทย : ชอื่ อังกฤษ : ทเุ รยี นผ,ี ชา งแหก, ชา งแฮะ ลักษณะพชื : - สว นทเี่ ปน พษิ : อาการ : ไมตน ไมผลัดใบ สงู ไดถ งึ 30 เมตร ตามกิ่งออ นมีขนรปู ดาวท่วั ไป ใบเดย่ี วติดเรียงสลบั ทรงใบรูปขอบ ขนาน หรอื รูปไข ดอกสชี มพอู อกรวมกันเปน ชอ กระจุกตามกิง่ และงา มใบ กลีบเล้ียงเปนถงุ คลา ยโคมไฟ เลก็ ๆ กลบี ดอก 5 กลีบ ผลเปน ชนดิ ผลแหงแตกแข็งเหมอื นไม ภายในมขี นสีน้ําตาลเปนเสีย้ นแข็งมาก ขนแข็งภายในผล ทาํ ใหผวิ หนงั พองเจ็บและคนั มาก ชวนชม Adenium obesum (Forsk.) Roem.&Schult. วงศ : APOCYNACEAE ชอื่ ไทย : ชวนชม, ลัน่ ทมแดง, ล่ันทมยะวา ชอื่ อังกฤษ : MOCK AZALEA, DESERT ROSE, IMPALA LILY, PINK BIGMONIA, SALSI STAR ลักษณะพืช : ไมพุมขนาดเล็ก ลําตนอวบนํ้ามียางขาวทุกสวน ใบเด่ียว รูปชอน ดอก เดี่ยวหรือชอสั้นๆ กลีบดอกสีแดง โคนกลีบดอกเปนหลอด ปลายแยก 5 แฉก ผล เปนฝกคูรูปยาวรี แกแตกได (ปจจุบันมีตนท่ีมีดอกสีขาว สว นทเ่ี ปนพิษ : และสีชมพ)ู อาการ : นํา้ ยางสขี าว นาํ้ ยางถูกผวิ หนงั จะทําใหผิวหนังอักเสบเปนผื่นแดง ถา เขาตา ตาจะอกั เสบ กินเขาไปจะเปน พิษ แตน้ํายาง มรี สขมมาก โอกาสกินมนี อ ย ถา กนิ จะมีผลตอหวั ใจ ทําใหหัวใจเตนออน อาจตายได

14 ตาตุมทะเล Excoecaria agallocha L. วงศ : EUPHORBIACEAE ชื่อไทย : ตาตมุ ทะเล, ตาตุม, บูตอ ช่ือองั กฤษ : BLIND YOUR EYES ลกั ษณะพชื : ไมยืนตนขนาดกลางที่มียางสีขาว และชอบขึ้นตามปาชายเลน หรือชายทะเลท่ัวๆไป เปลือกตนสีน้ําตาล ดาํ ใบใหญห นาทบึ ดอกออกเปนชอตามโคน กา นใบ สวนท่ีเปน พษิ สารท่ีมีอยูในตน สว นที่เปน พิษ : นา้ํ ยางขาว อาการ : ถา กินเขา ไปจะทาํ ใหเ กดิ ทองรวงอยา งแรง เขาตาจะทาํ ใหตาบอด ควนั ไฟจากการเผาไหมต าตุมทะเลถา เขาตาจะทาํ ใหต าเจ็บเปน เวลานาน และอาจทําใหตาบอดได หอยปูท่ีไปเกาะอยูท่ไี มตาตุม ถา นํามา รบั ประทานจะทําใหเ กดิ อาการเปน พษิ ทองเสยี อยางรนุ แรง อาเจยี น ตาํ แยชาง Dendrocnide stimulans (L.f.) Chew วงศ : URTICACEAE ชอื่ ไทย : ตําแยชา ง, สามแกว, หานเด่ือ หานสา, เอโกเปอ, ไอขนุ า ชื่ออังกฤษ : - ลกั ษณะพชื : เปนไมพุมถึงไมตนขนาดเล็ก สูงไดถึง 5 เมตร ผลัดใบ ใบเดี่ยวเรียงสลับหรือเวียนกัน ผิวใบดานลางเปน คราบขาว ดอกเลก็ สขี าวปนเหลือง หรือสีมวงออน ออกรวมกันเปนชอยาวๆ หอยตามงามใบ ผลเล็ดกลมสี สวนที่เปนพษิ : เขยี ว อาการ : ขนหรือเกล็ดตามสว นตา งๆ เชน ใบ ชอ ดอก เม่อื สัมผัสขนหรือหนามทําใหเกดิ อาการคนั ผิวหนังไหมเกรยี ม หรอื แดง เปนผน่ื และปวดมาก

15 ตาํ แยตัวเมยี Laportea interrupta Chew วงศ : URTICACEAE ชอ่ื ไทย : ตําแยตวั เมยี , กะลงั ตังไก, วา นชา งรอง, หานไก ชอื่ องั กฤษ : - ลกั ษณะพืช : เปน พชื ลมลุก สูงไมเ กนิ 60 เซนตเิ มตร ทกุ สวนมขี นน่ิม ใบคอ นขา งกลมปลายแหลม โคนใบมนหรือเกือบ เปน หนา ตดั ดอกเลก็ ออกเปน ชอ สว นทเี่ ปน พษิ : ขนพษิ อาการ : ขนที่ถกู ผิวหนัง จะทาํ ใหคนั บวมเปน ปน คลายลมพษิ หรืออาจรนุ แรงจนเกิดอาการปวดแสบปวดรอ น ผิวหนังอักเสบ ทองหลางฝรง่ั Hura crepitans Linn. วงศ : EUPHORBIACEAE ชอื่ ไทย : ทองหลางฝร่งั , โพทะเล, โพฝรัง่ , โพศรี, โพศรมี หาดพ ชื่ออังกฤษ : UMBRELLA TREE ลกั ษณะพชื : ไมยืนตน สูงประมาณ 30 เมตร ลําตนมีหนามและมียางเหนียวใส ใบเดี่ยวรูปไขปลายแหลม โคนใบเวา คลา ยรูปหวั ใจ ขอบใบจัก ผลกลมแบน เปลือกแข็งและแบง เปน พู สว นทีเ่ ปน พษิ : เมล็ด เปลอื ก ราก นาํ้ ยาง อาการ : น้ํายางมีฤทธ์ิกัดรนุ แรงมาก ถา ถกู ผวิ หนังจะเกดิ การระคายและเปนผ่ืนแดงถา ถกู ตา อาจทําใหตาบอดได ถา รบั ประทานเมล็ดเขาไปจะทาํ ใหอ าการคล่นื ไส ปวดทอง และถายอยา งรนุ แรง

16 โปย เซียน Euphorbia milii Des Moul. วงศ : EUPHORBIACEAE ช่ือไทย : ระวงิ ระไว, พระเจารอบโลก, วานเข็มพญาอนิ ทร, ไมร ับแขก, วานมุงเมือง ชื่อองั กฤษ : CROWN OF THORNS, CORONA DE SESPINA ลกั ษณะพืช : ไมพุมเต้ีย ลําตนเปนเหล่ียมมนสีนํ้าตาล มีหนามแหลม ออกเปนกระจุก ใบเด่ียว ออกบริเวณสวนปลายลํา ตน ไมมกี านใบ ใบอวบนํา้ ดอกชอ ออกเปนกระจุกใกลสวนยอด มีชนิดตนดอกสีแดง สีนวล สีเหลือง ฯลฯ สวนทเี่ ปนพษิ : ขนาดของดอกยอยแตกตางกนั ทุกสว นมีนา้ํ ยางสขี าว อาการ : น้าํ ยาง ถานํา้ ยางถกู ผวิ หนงั หรือเขาตา ทําใหเกดิ ระคายเคือง แสบ บวม แดง ถา รบั ประทานจะทําใหท างเดิน อาหารอกั เสบ ฝน ตน Jatropha multifida L. วงศ : EUPHORBIACEAE ช่ือไทย : ฝน ตน, มะละกอฝร่ัง, มะหงุ แดง ชือ่ อังกฤษ : CORAL BUSH, CORAL PLANT ลักษณะพืช : ไมพุม สูง 1-3 เมตร มียางสขี าวเหลอื ง ใบเวาลึกจนดคู ลายเปน แฉก แตล ะแฉกกเ็ ปน หยัก 5-10 หยกั ดอก สีแดงออกเปน ชอคลา ยรม ผลคอนขา งกลมผวิ เรียบ มี ๓ พลู แตล ะพลมู 1ี เมล็ด สวนท่ีเปน พิษ : เมล็ด นํ้ายางใส อาการ : นํ้ายางถูกผิวหนังเกิดอาการแพบวมแดงแสบรอน เมล็ดถารับประทานเขาไปจะทําใหเกิดอาการ ปวดหัว คลื่นไส อาเจียน ทองเสีย กลามเนื้อชักกระตุก การเตนของหัวใจผิดปกติ ความดันต่ํา เม็ดมีรสอรอยแต รับประทานเพียง 2 เมลด็ ก็เกดิ อาการได

17 พญาไรใบ Euphorbia tirucalli L. วงศ : EUPHORBIACEAE ชื่อไทย : พญาไรใบ, เคยี ะจนี , เคยี ะเทยี น, พญารอ ยใบ ช่อื อังกฤษ : INDIAN TREE SPURGE, MILKBUSH ลักษณะพืช : ไมพ มุ สงู 1-5 ลําตน สีเขียวเกลี้ยงขนาดเลก็ และอวบนํ้า มียางสขี าว สวนบนของลําตนจะแตกแขนง ใบเลก็ มาก และบางก่งิ ไมม ใี บ ดอกสขี าวนวลออกเปนชอ ตามขอหรือปลายก่ิง ผลคอนขา งกลม สวนที่เปนพิษ : นา้ํ ยางขาว อาการ : ผิวหนังอกั เสบเปนปน แดง บวมพองเปน ตมุ นา้ํ ถาสัมผัสตาจะทาํ ใหเ ย่ือบุตาอักเสบ และตาบอดชั่วคราว ถา รบั ประทานเขา ไปจะทาํ ใหชองปากบวม คลนื่ ไส อาเจยี น กระเพาะอาหารและลาํ ไสอักเสบอยางรุนแรงอาจ ทาํ ใหอุจจาระเปนเลอื ด เพชรสงั ฆาต Cissus quadrangularia L. วงศ : VITACEAE (VITIDACEAE) ชอ่ื ไทย : เพชรสงั ฆาต, สามรอยตอ ชอื่ อังกฤษ : - ลกั ษณะพืช : ไมเ ถา เลือ้ ยโดยมมี อื (tendril) จบั ใบออกสลบั กัน ดอกมขี นาดเล็ก ชอ ดอกออกตรงขา มกบั ใบ ผลฉ่ํานํ้า เมือ่ สกุ มสี ีแดงเขมเกือบดํา สว นท่เี ปนพิษ : ทั้งตน อาการ : พชื นถี้ าถูกผวิ หนงั ทําใหเ กดิ ผื่นแดง ถา รบั ประทานทาํ ใหระคายเคอื งตอ เย่อื เมือกในปาก และลาํ คอ

18 โพทะเล Thespesia populnea L. Soland.ex Corr. วงศ : MALVACEAE ช่ือไทย : บากู, ปอกะหมดั ไพร, ปอมดั ไซ ช่ือองั กฤษ : CORK TREE, PORTIA TREE, ROSEWOOD OF SEYCHELLES, TULIP TREE ลักษณะพชื : เปนไมยืนตน ขนาดเล็กสูง 8 – 12 เมตร ใบรูปคลายหัวใจ ดอก ออกตามงามใบ เปนดอกเดี่ยวหรือเปนคู กลีบดอกสีเหลือง แลวจะเปล่ียนสีเปนชมพูแกมมวงออน เหี่ยวบนตน ผล เปนผลแหงแตกไมมีทิศทาง สว นท่เี ปนพษิ : คอ นขางกลม พบมากในทดี่ อนหรือชายฝง ทะเลและริมแมน ํ้าท่ีดินเปน ดนิ รวนปนทราย อาการ : ยางจากตน เปลือก ถาเขา ตาทาํ ใหตาบอดได เปลอื กมฤี ทธท์ิ าํ ใหอ าเจียน มะมว งหิมพานต Anacardium occidentale L. วงศ : ANACARDIACEAE ชอ่ื ไทย : มะมวงหิมพานต, กะแตแก, กายี, ตําหยาว, ทา ยลอ , นายอ, มะมว งกาสอ ฯลฯ ชอ่ื องั กฤษ : CASHEW, CASHEW NUT TREE, CASHEWNUT ลักษณะพืช : ไมย ืนตนขนาดกลาง สูง 6-10 เมตร ลักษณะใบเปนใบเด่ียวแบบเรียงสลับ ชอดอกยาว 15-20 เซนติเมตร โดยแตกออกจากซอกใบและปลายกิ่ง กลีบดอกเริ่มแรกจะมีสีขาวแลวเปลี่ยนเปนสีชมพู มีการพัฒนา สวนที่เปน พิษ : ฐานรองดอกใหข้ึน มีลักษณะคลายผลชมพู สีเหลืองแกมชมพู แลวคอยเปลี่ยนกลายเปนสีแดง เน้ือในน่ิม อาการ : ท่ปี ลายจะมผี ลตดิ อยูเปน รปู ไต น้าํ ยางจากผล บวมแดง พองเปน ตมุ นํ้าใส อาจลุกลามรุนแรงเปน โรคผวิ หนังเรอ้ื รงั

19 มะมุด Mangifera foetida Lour. วงศ : ANACARDIACEAE ชื่อไทย : ชอ่ื องั กฤษ : มะแจ, มาจัง, มะมุด , มะละมุดไทย, ลกั ษณะพืช : HORSE MANGO สว นทเี่ ปนพิษ : อาการ : ไมย นื ตน ขนาดกลาง ใบเขยี วออ นยาว เปน ไมท งี่ อกงามไดใ นพ้นื ดนิ ทุกแหง ผลรสหวานแหลมกวาไมอ ่นื ๆ ถา ปลูกโดยวธิ ีตอนกิ่งจะอยไู ดราว 70-80 ป ถา ใชเ มล็ดปลูกจะอยไู ดน านกวา นั้น ยางจากผล ถาใชปากกัดผลมะมุดโดยเฉพาะผลออ นมยี างมาก จะทําใหปากเปน แผลได ถา ถูกผิวหนังออ นจะทําให เกดิ พุพองจะบวมแดง พองเปนตุม นาํ้ ใส หรืออาจลุกลามรุนแรงเปน eczematous dermatitis ถา ยางเขา ตาอาจทาํ ใหเ ปนแผลในตาได รกั หลวง Gluta usitata (Wall.) Ding Hou วงศ : ANACARDIACEAE ช่ือไทย : ชื่ออังกฤษ : รักหลวง, ซู, ซู, มะเรียะ, รกั , รกั ใหญ, ฮกั หลวง ลกั ษณะพืช : BURMESE LACQUER, RED ZEBRA WOOD, VARNISH TREE สวนทีเ่ ปน พิษ : อาการ : ตนไมสูงถึง 20 เมตร ผลัดใบ ลําตนตรง เปลือกสีน้ําตาลคลํ้าแตกเปนสะเก็ดหนา ใบเด่ียวเปนรูปไขกลับ ติดเรียงสลับ ดิกเล็ก สีขาว ออกรวมกันเปนชอแยกแขนงตามปลายกิ่งหรือตามงามใบใกลปลายกิ่ง ผล กลมแขง็ มปี กกางแผเหนือตัวผล 5 ปก ข้นึ ตามปา เบญจพรรณและปา ดิบเขาท่ัวไป น้าํ ยาง บวมแดง พองเปนตุมนาํ้ ใส อาจลุกลามรนุ แรงเปนโรคผิวหนงั เรอื้ รัง

20 วานหมื่นป Dieffenbachia seguine (Jacq.) Schott วงศ : ARACEAE ชือ่ ไทย : วานหมื่นป* , ชา งเผอื ก, บวนนแี ช, วา นพญาคา ง, สาวนอ ยประแปง, อา ยใบก านยาว ชอ่ื องั กฤษ : DUMB CANE ลกั ษณะพืช : ไมลมลุก อวบน้ํา สูงไดถึง 70 เซนติเมตร ลําตนเปนขอปลองเห็นไดชัดเจน ลําตนตั้งตรง ลําตนมีน้ํายาง ใสเมื่อโดนจะระคายเคือง ใบรูปขอบขนาน ผิวใบเรียบ ใบมีสีเขียวทั้งใบ บางพันธุมีจุดสีขาว ดอกออกเปน สวนทเ่ี ปนพิษ : ชอ ชอ ดอกเปน แทง ยาว มกี าบหมุ ไว ดอกอดั แนน อยูบนแกนชอ ดอก ผลเปน ผลสดเน้อื นมุ สสี ม หรอื สแี ดง อาการ : นํา้ ยางใส คัน ปวดแสบปวดรอน อักเสบบวม พองเปนตมุ น้าํ ใส ถาโดนตาทาํ ใหตาอกั เสบ อาจทําใหตาบอดชั่วคราว หรือถาวร สมอทะเล Sapium indicum Willd. วงศ : EUPHORBIACEAE ช่อื ไทย : ช่อื อังกฤษ : สมอทะเล, กระหุด, กรุ ะ, กลุ า ลกั ษณะพืช : MACE, NUTMEG สวนที่เปนพษิ : อาการ : ไมตน สงู ถงึ 30 ม. โคนตน มหี นามและพพู อน ใบเดยี่ วหนาคลา ยหนัง ขอบใบหยกั มน บรเิ วณโคนใบมี ตอมท่ขี อบใบขา งละ 2–4 ตอม ดอกเลก็ สีขาวนวล ออกเปน ชอ เชงิ ลดตามงา มใบและปลายก่ิง ผลรปู ไข กวา ง ถงึ คอนขา งกลม นํ้ายางใส คัน ปวดแสบปวดรอ น อักเสบบวม พองเปนตุมนํา้ ใส ถาโดนตาทาํ ใหตาอักเสบ อาจทําใหตาบอดถาวร

21 สลดั ได Euphorbia antiquorum L. วงศ : EUPHORBIACEAE ช่อื ไทย : สลัดได, กะลําพัก, เคียะผา, เคยี ะเลี่ยม, ทูดุเกละ, สลดั ไดปา, หงอนงู ชอ่ื อังกฤษ : MALAYAN SPURGE TREE, TRIANGULAR SPURGE ลกั ษณะพืช : ไมท่ีใชลําตนเปนใบในตัว ชอบข้ึนเปนกอใหญตามโขดเขา และที่ทราย มีหนามเต็มตนและยางสีขาว ลํา ตนมกั เปนสี่เหลย่ี ม ดอกเล็กสีแดง ออกตามครบี เหลี่ยมตน เปน ไมท ีท่ นตอ ความแหงแลง และรอ นไดดีมาก สวนที่เปนพิษ : นํ้ายางขาว อาการ : ปวด ผวิ หนงั อกั เสบเปน ปน แดง บวมพองเปน ตุมนํ้า ถาสัมผัสตาจะทําใหเ ย่ือบุตาอกั เสบ และตาบอด ช่ัวคราว สลัดไดบาน Euphorbia trigona Haw. วงศ : EUPHORBIACEAE ชอื่ ไทย : สลดั ไดบา น, เคยี ะฮ้ัว, สามเหลย่ี มญ่ปี ุน ชอื่ อังกฤษ : - ลักษณะพืช : ไมพุม ท่มี ยี าง สูงไดถ ึง 5 เมตร ลําตนบรเิ วณโคนมีลักษณะกลมแตสงู ขึ้นไปจะเปนสามเหล่ียม 4-5 เหลี่ยม ก่ิงกานมี 3 เหล่ียม บนเหล่ียมจะมีสวนนูนเปนระยะ โดยบนสวนนูนน้ันจะมีหนามและเปนบริเวณที่ออกใบ สว นท่ีเปน พษิ : และดอกดวย ใบรูปไขกลับปลายแหลมมน ดอกสีขาวอมเขียวและจะคอยๆ เปลี่ยนเปนสีขาวนวลและ อาการ : ออกเปน ชอ นา้ํ ยางขาว ปวด ผวิ หนังอักเสบเปนปน แดง บวมพองเปน ตมุ นํา้ ถา สมั ผัสตาจะทาํ ใหเ ย่อื บุตาอักเสบ และตาบอด ช่วั คราว

22 หญาคา Imperata cylindrica (L.) P.Beauv. วงศ : POACEAE (GRAMINEAE) ชื่อไทย : ลาลาง, ลาแล ชอ่ื อังกฤษ : THATCH GRASS , WOLLY, GRASS, LALANG, ALANG-ALANG ลกั ษณะพืช : ไมลมลุก มีเหงาใตดินสีเหลืองออน ยาวและแข็ง ลําตนเทียมบนดินสูงได 0.3-0.8 เมตร ใบ เด่ียว แทง ออกจากเหงา ใบเล็กยาว ขอบใบคม ดอก ชอ แทงออกจากเหงา ดอกยอย ขนาดเล็ก รวมกันอยูชอแนน สว นทีเ่ ปน พษิ : สีเงินอมเทาออนๆ ผล เปนผลแหง ไมแตก อาการ : ใบ ขอบใบคม อาจบาดทําใหเ ปน แผล สัมผสั ผวิ หนังทําใหเกิดอาการคัน หนุมานน่ังแทน Jatropha podagrica Hook.f. วงศ : EUPHORBIACEAE ช่ือไทย : วา นเลอื ด, หัวละมานน่ังแทน ชอ่ื องั กฤษ : GOUT PLANT, GUATEMALA RHUBARB, FIDDLE-LEAVED JATROPHA ลักษณะพชื : ไมพ ุม ลําตน ขยายใหญม ากมนี ํา้ ยางใส ใบ เดย่ี ว กานใบยาว แผน ใบเวาลึก จะออกท่ีปลายลําตนแบบวน สลบั ดอก ชอ กานดอกยอยและดอกยอยสแี ดงสม ออกเปนชอ เหมือนซร่ี ม สวนท่ีเปนพษิ : เมล็ด ยาง อาการ : นํ้ายางถูกผวิ หนังเกิดอาการแพ บวมแดงแสบรอน เมล็ดถารบั ประทานเขา ไปจะทาํ ใหเ กดิ อาการ ปวดหัว คลนื่ ไส อาเจียน ทอ งเสีย กลามเน้อื ชักกระตกุ หายใจเร็ว การเตนของหวั ใจผดิ ปกติ ความดันตา่ํ

23 เตารา ง Caryota mitis Lour. วงศ : PALMAE ชอื่ ไทย : ช่ืออังกฤษ : เตารา งแดง, เช่อื งหมู, มะเดง็ , งอื เด็ง ลกั ษณะพืช : Burmese fishtail palm, Clustered, fishtail palm, Common fishtail palm ฯลฯ สว นที่เปน พิษ : อาการ : ใบปาลม แตกกอ ลําตน ขนาด 10-15 เซนตเิ มตร ประกอบแบบขนนกสองชน้ั เรียงสลับ แผน ใบสเี ขียว เปนมัน กาบใบยาว 0.5-2 เมตร ดอกสีขาวอมเหลอื ง ออกเปนชอ แบบชอแยกแขนงระหวางกาบใบหรอื ใตโ คนกาบใบ ผลสดแบบมเี นือ้ เมล็ดเดยี ว ออกเปนพวงๆ ทรงกลม ผลสุกสแี ดงคลาํ้ ขน ขนตามผล และนํ้าเลยี้ งตามผวิ ใบของลําตน ทําใหเปน ผ่นื คนั ตามผวิ หนงั ถา เขาตาทาํ ใหต าบอดได ตังตาบอด Excoecaria oppositifolia Griff. วงศ : EUPHORBIACEAE ชอ่ื ไทย : ตงั ตาบอด, ไฟเดอื นหา, ตาตมุ ปา, ยางรอ น ช่ืออังกฤษ : ลักษณะพชื : ไมยืนตนขนาดกลางไมผ ลัดใบ ดอกสีเขียว ๆ ขาว ๆ ผลกลมลักษณะเปน พู 3 พู ขนาด 4-5 ซม. ทุกสวนมี นาํ้ ยางสขี าว พบตามปาดิบทว่ั ไป สว นทีเ่ ปนพิษ : นาํ้ ยาง อาการ : นํา้ ยางสีขาว เขาตาทําใหต าบอด ถูกเน้อื เยอ่ื ออนทําใหเ กิดเปน แผลเปอยได

24 2.พิษตอ ระบบทางเดนิ อาหาร และระบบหมนุ เวยี นโลหติ กระถนิ Leucaena glauca Benth. วงศ : FABACEAE (LEGUMINOSAE) ช่อื ไทย : กระถนิ , กระถินไทย, กระถินบา น, กะเสด็ โคก, กะเสด็ บก, ตอเบา, ผักกานถนิ , ผกั หนองบก, สะตอเทศ, ชอื่ องั กฤษ : ลกั ษณะพชื : สะตอเบา สวนทีเ่ ปน พษิ : LEAD TREE, LEUCAENA, WHITE POPINAC, WILD TAMARIND อาการ : กระถนิ เปน ไมพ ุม ใบเปนใบประกอบคลา ยมะขาม ดอกเปน ดอกรวม สีขาวเปน ฝอยฟกู ลม ฝกแบนยาว ประมาณ 6 เซนติเมตร กวางประมาณ 1.5 - 2 เซนตเิ มตร ภายในมเี มล็ดแบนเรียงอยู ใบ อาเจียน กลา มเนื้อทํางานไมป ระสานกนั หายใจลําบาก กลา มเนอ้ื ออนเปล้ีย กลา มเนอื้ กระตกุ มนึ งง ไม รูส กึ ตวั ชกั กอนจะหมดสติ มีอาการขาดออกซเิ จน ตวั เขียว ถา ไดร บั มากจะโคมา ภายใน 10-15 นาที กระเบา Hydnocarpus anthelminthicus Pierre วงศ : FLACOURTIACEAE ชอื่ ไทย : กระเบา, กระเบาตึก, กระเบาน้ํา, กระเบาเบาแขง็ , เบา ชอื่ อังกฤษ : ลักษณะพืช : ไมต น ขนาดกลาง สูง 10-20 เมตร ลาํ ตนเปลา ใบเดยี่ ว เรยี งสลับรูปใบหอกแกมรูปไข หรือรูปขอบขนาน ขอบเรียบ เสน แขนงใบอยเู ยือ้ งกัน เสนใบยอ ยเปนรางแห ท้งั เสน กลางใบ เสน แขนงใบ และเสน ใบยอย สว นท่ีเปนพษิ : เหน็ ไดชัดทางดานลางจึงมกั เรยี กวา \"แกว กาหลง\" กลบี ดอก 5 กลีบ สชี มพู รูปขอบขนานแกมรูปไข โคน อาการ : กลบี ดานในมีเกล็ดรปู แถบ ผลกลม ผวิ เรียบเปลอื กแข็ง มขี นหรอื เกล็ดสนี ํา้ ตาล ผลมี 30-50 เมล็ด เมล็ดสด หากกนิ เมลด็ พืชนี้เขาไป จะทาํ ใหเกิดอาการปวดทอง คลน่ื ไส อาเจียน อาจเกิด cyanosis และอาจถึงตาย ได

25 โคคลาน Anamirta cocculus Wight & Arn. วงศ : MENISPERMACEAE ชือ่ ไทย : ขม้ินชันเครอื , เถาวลั ยท อง, วา นนางลอ ม, หวายดิน, แมน า้ํ นอง, อมพนม, พนม ชือ่ อังกฤษ : FISH BERRY ลักษณะพชื : ไมเถาเลื้อยพาดพันตนไมอ่ืน เปลือกเถาขรุขระ ใบโตรูปรางคลายหัวใจ แผนใบเกลี้ยง ปลายใบแหลม ดอกขนาดเลก็ ออกเปน ชอ ดอกตวั ผูแ ละดอกตวั เมยี อยคู นละตน ผลสแี ดงเขมนมิ่ และเกล้ียง รูปคลายไต สวนท่เี ปน พิษ : ผล อาการ : คลื่นไส อาเจยี น ปวดศรี ษะ มีไข ชัก และตายเนอ่ื งจากหวั ใจหยุดเตน จันทนเทศ Myristica fragrans Houtt. วงศ : MYRISTICACEAE ชอ่ื ไทย : จนั ทนเ ทศ, จนั ทนบ า น ชื่ออังกฤษ : MACE, NUTMEG ลกั ษณะพชื : ไมยืนตนขนาดใหญ ดอกเพศผูและเพศเมียแยกกันอยูคนละตน ผล ขนาดประมาณลูกหมาก ผลแกจัด แตกคร่ึง เมลด็ เดี่ยว มีรกซงึ่ เปนแผน บาง สวนปลายมีหลายแฉกสีแดงสด เรียกกันทั่วไปวาดอกจันทนเทศ สวนท่ีเปน พิษ : หมุ เมล็ด เมล็ดมีเปลือกแข็งสนี าํ้ ตาล เนือ้ เมลด็ มี กลนิ่ หอม เรยี กวา ลกู จนั ทนเ ทศ อาการ : ผล อาการเพอเหน็ ไปตางๆ โดยไมมคี วามจรงิ ปวดศีรษะ ปวดทอง อาเจยี น เคล้ิมฝน ชีพจรเตน เร็ว ตับไต พกิ าร ผิวหนังเขยี วเน่อื งจากขาดออกซเิ จน

26 ชาแปน Solanum verbasifolium Auct. Non L. วงศ : SOLANACEAE ชอ่ื ไทย : ชาแปน, ฉับแปง , หคู วาย ชอ่ื องั กฤษ : - ลักษณะพืช : ไมพุมท่ีแตกกิ่งกานสาขามาก ใบรูปไขกวาง ขอบใบหยัก ใบปกคลุมดวยขน ดอกสีขาวเปนพวงคลาย มะเขอื พวง ผลกลมขนาดเทา กับมะเขอื พวง แตเปน ลายเขยี ว สลบั ขาว เปน พชื ทข่ี ้นี อยตู ามทีร่ กรางทัว่ ไป สวนทีเ่ ปนพษิ : ท้งั ตน อาการ : ถา รบั ประทานเขาไปทาํ ใหเ กดิ อาการคนั ในปาก และลําคออยา งรุนแรง ตามมาดว ยอาการคลน่ื ไส อาเจียน ปวดทอ ง ทองเดิน ปวดศรี ษะ กลามเนอื้ เปล้ยี หายใจขัด ข้ันสุดทา ยอจุ จาระเปนเลอื ด ไตถูกทําลาย ชุมเห็ดเทศ Cassia alata L . วงศ : LEGUMINOSAE ชอื่ ไทย : ชมุ เหด็ เทศ*, ขค้ี า, กลบั มนื หลวง, หมากกะลงิ เทศ, สม เหด็ , หญาเล็บหมน่ื หลวง ฯลฯ ชื่ออังกฤษ : RINGWORM SENNA, CANDLESTICK SENNA, CANDELABRA BUSH ฯลฯ ลักษณะพชื : ไมพุม สูง 1 – 3 เมตร แตกกงิ่ ออกดานขา ง ในแนวขนานกับพ้นื ใบประกอบ แบบขนนก เรียงสลับ ดอกชอ ออกท่ีซอกใบตอนปลายกงิ่ กลีบดอกสีเหลืองทอง ใบประดับ สีน้ําตาลแกมเหลืองหุมดอกยอยเห็นชัดเจน สว นที่เปน พษิ : ผลเปนฝก มคี รบี 4 ครบี เมลด็ แบน รูปสามเหล่ยี ม อาการ : ดอก ใบ แตทางสมุนไพรนําสารสกดั มาทาํ เปน ยาถาย ยาระบาย ทาํ ใหถายทอง

27 ซาก Erythrophleum succirubrum Gagnep. วงศ : FABACEAE (LEGUMINOSAE) ชอ่ื ไทย : ชอ่ื อังกฤษ : ซาก, ซาด, พันซาด, คราก ลักษณะพืช : - สวนทเ่ี ปน พษิ : อาการ : ไมยืนตน ทมี่ ีหใู บเล็ก ๆ รวงงายใบออกสลับกัน และเปนใบประกอบแบบขนนก 2 ชัน้ ดอกเล็กมาก ออกเปน ชอ ที่ปลายกิง่ ผลเปน ฝกแบนมี 6-๘ เมลด็ ใบ เมล็ด เปลือกตน หอบ หัวใจเตนไมสม่ําเสมอ มานตาหดเล็กมาก ถาไดรับขนาดสูง จะกดศูนยหายใจ นอกจากน้ีอาจพบ ความดันโลหิตสูง คล่ืนไส อาเจียน ทองรวงอยางรุนแรง มีเลือดปนออกมากับอุจจาระ น้ําลายออกมาก หายใจขัด ตนี เปด ทราย Cerbera manghas L. วงศ : APOCYNACEAE ช่อื ไทย : ตนี เปดทราย, ตีนเปด เล็ก, เทยี นหน,ู เนยี นหน,ู ปงปง, ปากเปด , มะตากอ, รักขาว ชอ่ื องั กฤษ : SEA MANGO ลกั ษณะพืช : ลําตน ไมพุมหรือไมตนขนาดเล็ก สูงไดประมาณ 10 เมตร ใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับ รูปรี ดอกออกเปนชอ แยกแขนงตามปลายกง่ิ ดอกสขี าว ดอกบานมแี ตม สีแดงรอบปากหลอด ผลรปู รี สุกสีแดง สวนทเี่ ปน พิษ : ยาง ผล เมล็ด อาการ : ระคายเคืองเยื่อบุในปากและกระเพาะอาหารกอน ตามดวยอาการอาเจียน ทองเดิน ปวดศีรษะและปวด ทอง ถารับประทานเขาไปมาก และลางทองไมทัน สารพิษจะถูกดูดซึมผานทางลําไสและแสดงพิษตอ หัวใจ ซึ่งจะเกิดขนึ้ ชาหรอื เรว็ ข้นึ กับชนิดของไกลโคไซด

28 เถาสงิ โต Passiflora foetida L. วงศ : PASSIFLORACEAE ชอื่ ไทย : เถาสงิ โต, กระโปรงทอง, กะทกรก, ตําลึงฝร่งั , เถาเงาะ, ผกั ขี้หดิ , ผกั แคบฝรั่ง ฯลฯ ชอ่ื อังกฤษ : STINKING-PASSION FLOWER ลักษณะพืช : ไมเ ถาเลอื้ ย ลมลุก ลําตนกลม มขี นนมุ สีเทาปกคลุม โดยเฉพาะสวนยอดออน ใบเปนใบเด่ียวเรียงสลับ รูป หัวใจ มีขนส้ันๆปกคลุม ดอกเปนดอกเด่ียว เกิดที่ซอกใบ กลีบดอก สีขาว แยกกัน ผลทรงกลม สวนทเ่ี ปนพษิ : เสน ผาศูนยก ลางประมาณ 1 เซนติเมตร ยงั คงมีใบประดบั ตดิ อยู ผลออ นสีเขียว ผลแกส ีเหลอื ง อาการ : เมล็ด อาเจยี น กลา มเน้อื ทํางานไมป ระสานกนั หายใจลาํ บาก กลามเนอื้ ออนเปลี้ย กลามเน้อื กระตุก มนึ งง ไม รูส กึ ตวั ชกั กอนจะหมดสติ มีอาการขาดออกซิเจน ตวั เขียว ถา ไดรับมากจะโคมาภายใน 10-15 นาที เทียนหยด Duranta repens L. วงศ : VERBENACEAE ชือ่ ไทย : เทียนหยด, พวงมว ง, ฟองสมุทร, เครือออน ชอ่ื อังกฤษ : Duranta, Sky Flower, Pigeon Berry, Golden Dewdrop ลกั ษณะพชื : ไมพ ุม แตกก่งิ กา น ก่งิ ลลู ง ใบ เด่ียว ออกสลบั รปู ไขก ลับ ปลายแหลมหรอื มน โคนสอบ ขอบใบจัก ดอก ชอ มี 3 ชนิด คอื ดอกสขี าว สมี ว งออ น และสีมวงแกออกที่ปลายกิง่ กลบี ดอกเปนหลอดสั้นๆ ปลายแยก สว นทเ่ี ปนพษิ : เปน 5 แฉก ผล ออกเปน ชอ หอยลง รปู กลมสีเขยี ว เมอ่ื สุกเปนสเี หลอื ง อาการ : ใบ ผล รับประทานผลอาจตายได จะทําใหอ าเจียน ปวดทอง ปวดศรี ษะ มีไข ตาพรา กระหายนาํ้ มาก ถา ไดรับพษิ มาก เมด็ เลือดแดงแตกได พืชนเี้ ปนพษิ ตอ สตั วเลือดเยน็ ดวย

29 โทงเทง Physalis minima L. วงศ : SOLANACEAE ชือ่ ไทย : ชอ่ื อังกฤษ : โทงเทง, โคมจนี , เตงหล่งั เชา, ทุงทิง, ทงุ ทง้ิ , เทยี งพา เชา , ปา ตอบตอก, ปุงปง , เผาะแผะ ฯลฯ ลกั ษณะพืช : - สวนที่เปนพษิ : อาการ : พชื ตระกูลเดยี วกับพริกและมะเขือเทศ ลําตน อวบนาํ้ เปลอื กเกลี้ยงสีเขยี ว สงู เต็มท่ี 120 เซนติเมตร ใบ เดีย่ วสเี ขียวเรยี งสลับออกตามขอ ๆ ละใบ ลักษณะใบคลายใบพรกิ ดอกเล็กคลา ยดอกพริก แตก ลบี ดอก สัน้ และแขง็ กวา กลบี เล้ียง ความเปนพษิ จะเกิดหลังจากกินพืชท่มี ีสารประเภทนี้แลวหลายชวั่ โมง จะรูสกึ ปวดแสบปวดรอนท่ีปากและ คอหอย แลวจึงคลื่นไส เบือ่ อาหาร อาเจียน ปวดทอ งและทองรว ง อณุ หภูมริ างกายขนึ้ สูง อาการเปนพษิ ในขนั้ สุดทา ยคอื ถายอุจจาระและปส สาวะเปน เลอื ด ชักกระตุก หมดสติ บอนสี Caladium bicolor Vent วงศ : ARACEAE ชือ่ ไทย : บอนฝร่ัง ชือ่ องั กฤษ : FANCY LEAF CALADIUM, CORAZON DE MARIA ลกั ษณะพชื : ไมลมลุกท่ีคลายกับไมมีลําตน หัวใตดิน แผนใบใหญรูปหัวใจหรือรูปสามเหล่ียม ใบสีเขียวแตอาจมีแตมสี ชมพู แดง เหลือง ขาว หรือ มวง ดานทองใบสีเขียวซีด ดอกสีขาว หรือสีขาวอมเหลืองเล็กนอย ดอก สวนท่เี ปน พิษ : ออกเปน ชอจากโคนใบ อาการ : ทั้งตน ถากินเขาไปจะเกดิ อาการไหมทีเ่ พดานปาก ล้ินและคอ กลองเสยี งอาจบวม การเปลง เสียงจะผดิ ปกติ และ มอี าการคนั อาจอาเจียนดวย ถายางเขา ตา ตาจะอักเสบระคายเคอื ง

30 ปตตาเวีย Jatropha integerrima Jacq. วงศ : EUPHORBIACEAE ชอื่ ไทย : - ชื่อองั กฤษ : COTTON LEAVED JATROPHA ลักษณะพืช : เปนไมพุมขนาดเล็ก ถึงขนาดกลาง สูงประมาณ 1.5 – 2 เมตรมีสีนํ้าตาลเขม (Dark Brown) ทรงตน คอนขางสูงโปรง ใบ มีสีเขียวแก (Dark Green) เปนรูปไขขนาดใหญ ใบเดี่ยว หลังใบคอนขางแดง ดอก สว นที่เปนพิษ : เปนชอตามปลายก่ิง สีแดง ชมพู (Red Pink) ออกดอกเปนระยะตลอดป ดอกตัวผูกับตัวเมียแยกกัน และ อาการ : มักจะอยคู นละชอ เมล็ด ลกั ษณะกลม เหลอื งออกน้าํ ตาล ใบ ถารับประทานเขา ไปทําใหค ลนื่ ไส อาเจียน ปวดทอ ง ทองเดนิ ปอกระเจา Corchorus capsularis L. วงศ : TILIACEAE ช่ือไทย : ชอ่ื อังกฤษ : ปอกระเจา, กระเจานา ลักษณะพชื : WHITE JUTE (C. capsularis), JEW’S MALLOW (C. olitorius) ท้ังสองชนิดเปนพืชลมลุกลําตนตั้งตรง ไมแตกก่ิงกานสาขา ใบยาวเรียวท่ีโคนใบมีต่ิงย่ืนออกมา ชนิด C. สว นที่เปน พิษ : capsularis ดอกสีเหลืองขนาดเล็ก ผลกลมขรุขระ และเปนพู เมล็ดมีสีนํ้าตาลแดง ตางจากชนิด C. อาการ : olitorius ทผ่ี ลเปนฝก ยาว เมลด็ มีสีน้าํ เงนิ ปนดาํ เมล็ด เมลด็ ปอกระเจาใชเบ่อื สุนัข ถา รบั ประทานทาํ ใหเ กิดอาการคลืน่ ไส อาเจยี น ชพี จรเตนไมไ ดจ ังหวะ เพอ ฝน ชกั กระตกุ และถึงอาการหมดสตไิ ด

31 ผกากรอง Lantana camara L. วงศ : VERBENACEAE ชอ่ื ไทย : กามกงุ , เบญจมาศปา, ขะจาย, ตาป,ู มะจาย, ข้ีกา, คาํ ขไ้ี ก, ดอกไมจนี , ยส่ี ุน, สามสิบ ชื่ออังกฤษ : CLOTH OF GOLD, HEDGE FLOWER, ORANGE SEDGE ลักษณะพืช : ไมพ มุ สูงไดถงึ 40-90 เซนติเมตร ลําตน เปนสี่เหล่ียม มีขนทกุ สวน ยกเวนกลบี ดอกและผล ใบเดีย่ ว แผน ใบสากมีขน ดอกชอ ดอกยอยขนาดเลก็ มาก มหี ลายสี เชน สีขาว ชมพู เหลือง มง และแดง สว นท่เี ปน พิษ : ผลแกแตย งั ไมส ุก และใบ อาการ : กนิ มากทําใหค ลื่นไส อาเจยี น มานตาขยาย ชพี จรผิดปกติ และอาจหมดสติ ผกั เสย้ี น Cleome gynandra Linn. วงศ : CLEOMACEAE (CAPPARIDACEAE) ชอ่ื ไทย : ผกั สม เส้ียน, ผักเสีย้ นขาว ชอื่ อังกฤษ : WILD SPIDER FLOWER ลักษณะพืช : พชื ลม ลกุ สูงไมเ กนิ 80 เซนตเิ มตร ใบประกอบดวยใบยอย 5 ใบ ใบมีขน และขอบใบจักเปนฟนเล่ือย ดอก สขี าวออกเปนชอ ตามปลายกงิ่ แตล ะดอกมีกา นชูปลายเกสรยาว ฝกกลมยาวภายในมเี มลด็ กลมแบน สวนทีเ่ ปนพิษ : ทั้งตน อาการ : ถารบั ประทานดิบจะทาํ ใหเกิดอาการคล่นื ไส อาเจยี น กลามเน้อื ทํางานไมสมั พนั ธกนั หายใจขัด กลา มเน้อื ออนเพลีย

32 ผกั หนาม Lasia spinosa Thw. วงศ : ARACEAE ชอื่ ไทย : ช่ืออังกฤษ : ผักหนาม ลักษณะพชื : - สว นท่ีเปน พษิ : อาการ : พชื ลมลกุ มีเหงา ใตด ิน ชอบขน้ึ อยูตามโคลนเลนใบรูปคลายหัวลูกศรขอบใบหยักเวา ลกึ มหี นามอยูตาม เสนใบดา นลางและที่กานใบ ดอกออกเปนชอ เปน แทง กลมยาว ใบออน เหงา ถา รับประทานเขา ไป ผลึก calcium oxalate จะทม่ิ แทงผิวหนัง หรือเยอื่ เมอื กในปากทําใหเกิดความ ระคายเคือง ใบออนกนิ เปน อาหารไดแตตองทาํ ลาย enzyme เสียกอ น การทําลายกโ็ ดยนาํ ไปหงุ ตม หรือ ดอง เพระถา มี enzyme อยู สาร cyanogenetic glycosides จะปลดปลอ ย hydrocyanic acid ออกมาทาํ ใหเ ปนพิษ พลบั พลึง Crinum amabile Donn วงศ : AMARYLLIDACEAE ช่อื ไทย : ชื่ออังกฤษ : พลับพลงึ ดอกแดง ลกั ษณะพืช : GIANT LILY สว นทเ่ี ปน พษิ : อาการ : ไมลมลุกที่มีหัวอยูใตดิน ลําตนอวบกลม สูงประมาณ 50 เซนติเมตร ใบอวบออกรอบตน รูปรางยาว ใบ เรียบ ดอกออกเปน ชอ ชอดอกยาว ดอกแดง โคนกลบี ตดิ กันเปนหลอด ผลคอนขางกลมสีเขยี ว หัว ราก รากสดรับประทานเขาไปทําใหคลื่นไส อาเจียน เหงื่อออก หัวรับประทานเขาไปทองเสียเน่ืองจากพิษ ระคายเคืองตอเยื่อบุชองทอง

33 พลับพลงึ ตีนเปด Hymenocallis littoralis Salisb. วงศ : AMARYLLIDACEAE ช่อื ไทย : พลบั พลงึ ตนี เปก ช่ือองั กฤษ : SPIDER LILY ลักษณะพชื : ตนมีหัวอยูใตดินลําตนกลมสูงประมาณ 30 ซม. ใบรูปแถบแคบเรียวแหลม ออกตรงขามกันสองขาง ขอบ ใบเรียบ อวบนํ้า ดอก เปนชอกระจุกโปรงมี 8 – 10 ดอก แตละดอกมีรยางคท่ีเกิดจาก กานเกสรเพศผู ที่ สวนที่เปนพิษ : เชอื่ มตดิ กันเปนวงคลา ยถวย บานตอนกลางคนื – เชา มีกลิ่นหอมออน ๆ ผล ผลสดสีเขียว รูปรางคอนขาง อาการ : กลม แกจะเปน สีนํ้าตาล เมล็ด รปู รา งกลม ๆ เลก็ แกแ ลวเปนสนี าํ้ ตาล หวั ใบ และราก รับประทานเขา ไปทาํ ใหอาเจียน ทองเดนิ พลแู ฉก Monstera deliciosa Liebm. วงศ : ARACEAE ชอ่ื ไทย : พลูฉกี ชอื่ องั กฤษ : MEXICAN BREADFRUIT, SWISS CHEESE PLANT ลักษณะพชื : เปนไมเล้ือยที่มีรากตามขอ มีรากออกตามขอของลําตน ชวยในการเกาะยึด กานใบยาว ใบคลายรูปหัวใจ แผนใบอาจเวาลึกหลายแหง หรือไมเวาเลยก็มี ใบมีสีเขียวเปนมัน ดอกสีขาวออกเปนชอเดี่ยว หรือเปน สวนที่เปน พษิ : กลุมบรเิ วณใกลย อด อาการ : ยางจากตน และสารจากตน ถา เคย้ี วเขาไปจะทาํ ไหป าก ลน้ิ เพดาน แสบและรอนแดง เกิดอาการอาเจียน ทอ งเสยี เล็กนอย เนอ่ื งจาก สารพษิ ไประคายเคอื ง mucosa และไปกระตุนระบบประสาทสว นกลางท่ีควบคมุ การอาเจยี น

34 แพงพวยฝร่ัง Catharanthus roseus L. วงศ : APOCYNACEAE ชอ่ื ไทย : - ชือ่ องั กฤษ : MADAGASCAR PERIWINKLE, WEST INDIAN PERIWINKLE ลักษณะพชื : เปน ไมล มลุกขนาดเลก็ สงู ไดถึง 80 ซม. ลาํ ตนและก่ิงกาน มขี นละเอยี ดปกคลุม ใบเปน ใบเดี่ยว ออกเรยี ง ตรงกนั ขาม ดอกเปนดอกชอ จาํ นวน 1-2 ดอก ออกท่ปี ลายก่งิ สว นท่ีเปน พษิ : ทุกสว นของตน (โดยเฉพาะใบ) อาการ : ใบทําใหทองเดนิ และมฤี ทธิ์กระตุน หัวใจ และอาจหมดสตไิ ด ฟองสมทุ ร Duranta repens L. Duranta repens “Alba” Duranta repens “Purple” วงศ : VERBENACEAE ชือ่ ไทย : ฟองสมทุ ร, พวงมว ง ช่ือองั กฤษ : SKY-FLOWER, PIGEON-BERRY, GOLDEN DEW-DROP ลกั ษณะพชื : ไมพุม ใบรูปไข กา นใบส้ัน ขอบใบเรยี บ ตามกิ่งมหี นาม ดอกสีนาํ้ เงนิ หรอื ขาว ผลกลมสเี หลืองหรือสม เปน พชื ทีป่ ลกู เปน ไมประดบั ตามบา นหรอื สวน สว นท่เี ปน พษิ : ใบ ผล อาการ : ถา รบั ประทานทําใหเกดิ อาการคลื่นไส อาเจียน และทองรว ง

35 มะเกลือ Diospyros mollis Griff. วงศ : EBENACEAE ช่อื ไทย : ชอ่ื องั กฤษ : ผเี ผา, มกั เกลือ, มะเกยี ลกั ษณะพืช : EBONY TREE สว นทเ่ี ปนพษิ : อาการ : ไมยืนตนขนาดกลางถึงขนาดใหญ สูงไดถึง30 เมตร เปลือกตนสีดําแตกเปนสะเก็ดเล็กๆ ใบเด่ียวรูปไข ปลายแหลม โคนใบแหลมมน ตวั ใบเกลี้ยง แตใบออนมีขนเล็กนอย ดอกเล็กสีเหลืองอมเขียว ออกเปนชอ ชอดอกเพศผูและเพศเมียอยูตางตนกนั ผลกลมเกลย้ี งสีเขียวและมีกลีบจกุ ผล 4 กลบี ผลแกเปน สีดาํ ผลท่ีดาํ เมอ่ื รบั ประทานผลมะเกลือทผ่ี ิวมีสีดําแลว จะเกดิ อาการ คลน่ื ไสอาเจยี น ทอ งเสียอยางรนุ แรง ตาพลา มวั ออนเพลีย และตาบอดในที่สุด มะเยา Vernicia fordii Airy Shaw วงศ : EUPHORBIACEAE ชอ่ื ไทย : ช่อื อังกฤษ : มะเยา ลกั ษณะพืช : TUNG OIL TREE สวนที่เปน พษิ : อาการ : ไมยืนตนมีใบดกหนาทึบและเปนพืชที่มียาง ใบรูปหัวใจ ชอดอกเปนพวงขนาดใหญอยูที่ยอดของก่ิง ดอก เม่ือตูมสีชมพูออนแตเม่ือบานแลวเปนสีขาว ผลมีลักษณะเกือบกลมมีสีเขียวเขมแตเม่ือแกเต็มที่ เปล่ยี นเปน สีนาํ้ ตาล ในผลหน่งึ มี 3-7 เมลด็ เมล็ด เปลือกของเมล็ด (nut shell) และน้าํ มนั ท่ียังไมบ ริสทุ ธเิ์ มือ่ ถกู ที่ผวิ หนงั ทาํ ใหเกิดการอักเสบ เน้ือในเมลด็ ประมาณ 3 เมล็ด เม่อื รบั ประทานทําใหม อี าการคลื่นไส อาเจยี นอยางรนุ แรง เปนตะครวิ ท่ีทอง ทองรวง และปวดเบง กระหายน้าํ ปากและคอแหง คนไขมอี าการมึนงง มา นตาขยาย หายใจไมส มาํ่ เสมอ

36 มะคาํ ดีควาย Sapindus emarginatus Vahl วงศ : SAPINDACEAE ชอ่ื ไทย : มะคาํ ดคี วาย, ประคาํ ดีควาย ชอื่ องั กฤษ : SOAPBERRY TREE ลกั ษณะพชื : ไมยืนตนขนาดกลางถึงขนาดใหญ ใบ รูปรางคลายหอก หลังใบสีเขียวเขม สวนทองใบสีจาง ใบดกหนา เปน พุมทึบ ดอกเลก็ สีขาว ออกเปน ชอพุมใหญตามปลายก่งิ ผลกลมสีนํ้าตาลเขม เม่ือตมกับนํ้าจะเปนฟอง สวนทเ่ี ปนพษิ : ใชแทนสบไู ด เมลด็ มีสีดําเปลอื กแขง็ หมุ 1 เมลด็ อาการ : ผล คลื่นไส อาเจียน ปวดทอ ง กระเพาะอาหารและลําไสอักเสบ ถามีการดูดซมึ จะมอี าการกระวนกระวาย ปวด ศรี ษะ เปนไข กระหายนาํ้ มา นตาขยาย หนา แดง กลา มเนือ้ ออนเปลีย้ ทาํ งานไมส ัมพนั ธกัน อาจจะแสดง พิษตอระบบไหลเวยี นโลหติ และชกั มะระข้ีนก Momordica charantia L. วงศ : CUCURBITACEAE ช่ือไทย : มะระขน้ี ก, ผกั เหย, ผักไห, มะรอยรู, มะระ, มะหอย, มะไห, สุพะซู, สพุ ะเด ชือ่ องั กฤษ : BALSAM APPLE, BALSUM PEAR, BITTER CUCUMBER, BITTER GOURD ฯลฯ ลกั ษณะพืช : ไมเถา ลําตน เลือ้ ยพาดพันตามตน ไม ลาํ ตน เปนเสนเล็ก ยาว มีขนขึ้นประปราย ใบเดี่ยว หยักเวาลึก มี 5-7 หยัก ออกเรียงสลับกัน มีรสชาติขม ดอกเดี่ยว ออกตามบริเวณงามใบ ดอกมีสีเหลือง ผลมีลักษณะเปนรูป สว นทเี่ ปนพษิ : กระสวยสั้น พ้ืนผวิ เปลอื กขรขุ ระ ผลออ นมีเปนสีเขียว เมือ่ แกเ ต็มที่กจ็ ะเปลย่ี นเปน สเี หลอื งอมแดง อาการ : เมลด็ ของผลสุก คล่ืนไส อาเจียน ปวดทอง ถามีการดูดซึม จะมีอาการกระวนกระวาย ปวดศีรษะ เปนไข กระหายนํ้า กลามเนอื้ ออนเปลี้ย อาจจะแสดงพษิ ตอ ระบบไหลเวยี นโลหติ และชัก

37 ยโ่ี ถ Nerium indicum Mill. วงศ : APOCYNACEAE ช่อื ไทย : ยโ่ี ถ, ยโ่ี ถฝรงั่ ชอื่ องั กฤษ : FRAGRANT OLEANDER, OLEANDER, ROSE BAY, SWEET OLEANDER ลกั ษณะพืช : ไมพ ุม สงู 1-3 เมตร ลาํ ตน เกลี้ยงมียางสีขาว ใบเดีย่ วรูปรา งเรียวยาว ปลายและโคนใบแหลม ดอกสีแดง ชมพู ออกเปน ชอทปี่ ลายกิ่ง ดอกมที ัง้ ชนิดกลีบซอนและกลีบเดี่ยว มกี ลิน่ หอม ฝก แขง็ ยาวเรียว เมลด็ สว นทเี่ ปนพิษ : เรียวมีขนปลิวตามลมไดด ี อาการ : ลําตน และยางจากทุกสว น ระคายเคอื งเยือ่ บุในปากและกระเพาะอาหารกอ น ตามดว ยอาการอาเจยี น ทอ งเดิน ปวดศีรษะและปวด ทอ ง ถารับประทานเขา ไปมาก และลางทอ งไมทัน สารพษิ จะถกู ดูดซึมผานทางลาํ ไสและแสดงพิษตอ หัวใจ ซ่ึงจะเกิดข้ึนชาหรือเร็ว ขึ้นกับชนิดของไกลโคไซด รัก Calotropis igantean (L.) R. Br. Ex Ait. วงศ : ASCLEPIADACEAE ชือ่ ไทย : รัก, ปอเถือ่ น, ปานเถอื่ น, รักดอก, รักดอกขาว, รกั ดอกมวง ชอื่ อังกฤษ : CROWN FLOWER, GIANT INDIAN MILKWEED, GIANT MILKWEED, TEMBEGA ลกั ษณะพชื : ไมพุมสูง 2-3 เมตร ลําตนและใบมียางสีขาว ใบรูปไข ขอบใบเรียบ ดอกสีมวง ออกเปนชอท่ีมีกานชอยาว ดอกมี 5 กลบี ท่ีโคนกลบี ตดิ กนั ผลเปน ฝก คอ นขางแบน สว นทเ่ี ปน พิษ : ยาง ใบ อาการ : ระคายเคอื งเยือ่ บุในปากและกระเพาะอาหารกอ น ตามดวยอาการอาเจียน ทอ งเดิน ปวดศีรษะและปวด ทอ ง ถารบั ประทานเขาไปมาก และลา งทองไมทัน สารพษิ จะถกู ดูดซมึ ผานทางลาํ ไสแ ละแสดงพิษตอ หัวใจ ซงึ่ จะเกดิ ข้ึนชา หรอื เรว็ ข้นึ กับชนดิ ของไกลโคไซด

38 ราตรี Cestrum nocturnum L. วงศ : SOLANACEAE ชอื่ ไทย : ราตรี ชอ่ื อังกฤษ : NIGHT BLOOMING JASMINE, NIGHT JESSAMINE, QUEEN OF THE NIGHT ลกั ษณะพืช : ไมพ ุมสงู ไมเ กิน 2 เมตร ก่ิงกานแตกเปนพุม ใหญ ใบเรยี ว ดอกสเี ขยี วอมเหลือง ออกเปนชอ มีกลิน่ หอม กลีบดอกบริเวณโคนติดกนั เปนหลอด แตป ลายดอกแยกเปน 5 แฉก สวนที่เปนพษิ : ผล (สุก ดิบ) อาการ : ความเปนพิษจะเกิดหลังจากกินพืชที่มีสารประเภทน้ีแลวหลายช่ัวโมง จะรูสึกปวดแสบปวดรอนที่ปากและ คอหอย แลวจึงคลื่นไส เบื่ออาหาร อาเจียน ปวดทองและทองรวง อุณหภูมิรางกายขึ้นสูง อาการเปนพิษ ในขั้นสุดทายคือ ถายอุจจาระเปนเลือด เพราะลําไสเปนแผล ปสสาวะเปนเลือดเนื่องจากไตชํารุด ชัก กระตกุ หมดสติ อุณหภมู ิลดต่าํ ราํ เพย Thevetia peruviana (Pers.) K. Schum. วงศ : APOCYNACEAE ชอื่ ไทย : ราํ เพย, กระทอก, กระบอก, แซนา วา, แซะศาลา, บานบรุ ี, ยี่โถฝรง่ั , ราํ พน ชือ่ อังกฤษ : BE-STILL TREE, LUCKY NUT, LUCKY NUT TREE, TIGER APPLE TREE, TRUMPET FLOWER, YELLOW OLEANDER ลกั ษณะพืช : ไมพุมสูงประมาณ 3 เมตร ลําตนเกลี้ยง ใบเด่ียวรูปรางเรียว ดอกสีเหลืองลักษณะคลายกรวย ออกเปนชอ ที่ปลายก่ิง ผลเปน เหลยี่ มคอนขางกลมสเี ขยี ว ผลแกส ีดาํ มี 2-4 เมลด็ สวนที่เปน พษิ : ทั้งตน อาการ : ระคายเคืองเยือ่ บุในปากและกระเพาะอาหารกอ น ตามดวยอาการอาเจียน ทองเดนิ ปวดศรี ษะและปวด ทอง ถารับประทานเขาไปมาก และลางทองไมทัน สารพษิ จะถูกดูดซมึ และแสดงพิษตอหัวใจ

39 วานสี่ทศิ Hippeastrum johnsonii Bury วงศ : AMARYLLIDACEAE ช่ือไทย : - ชอื่ อังกฤษ : STAR LILY ลกั ษณะพืช : เปนพรรณไมดอกอายสุ ้ัน พมุ สงู 35 – 60 เซนตเิ มตรที่มลี กั ษณะมีลาํ ตน เปนหวั หรือเหงา อยใู ตด นิ และ สว นที่โผลข น้ึ มานน้ั จะเปนสวนกานใบและตวั ใบเทานน้ั ใบหนา เปนรูปหอกเรียวยาว ดอกออกปลายกาน สว นท่ีเปนพษิ : ออกเปนชอ 4 – 8 ดอก หนั ไปทั้งสท่ี ิศ ดอกรปู ถว ย มี 6 กลบี มี สขี าาว สชี มพู สแี ดง และบางชนดิ มีแถบ อาการ : สตี างๆพาดกลบี ดอกแรกทจี่ ะบานจะรอจนดอกที่ 4 บานจงึ จะเห่ียว หัวและใบ ทําใหอาเจยี นและทองเดนิ ได วานแสงอาทิตย Haemanthus multiflorus (Tratt.) Martyn วงศ : AMARYLLIDACEAE ชือ่ ไทย : วา นตะกรอ ชื่อองั กฤษ : BLOOD LILY ลกั ษณะพืช : เปนไมลมลุกใบอวบน้ํา มีลําตัวเปนหัวลักษณะคลายหอมหัวใหญ เจริญอยูใตดิน ใบรูปหอกสีเขียวเขม เม่ือออกดอกจะชูกานดอกเปนลําตรงสีเขียวออน จากกลางตน ดอกออกติดกันแนนเปนทรงกลม มี สว นที่เปนพษิ : เสน ผา ศูนยกลางประมาณ 3-4 นว้ิ และจะบานตดิ ตนอยูประมาณ 7-10 วันจึงจะโรย อาการ : หวั และใบ หัวและใบทาํ ใหทอ งเดิน หัวใจเตนเรว็ ผิดปกติ

40 วา นหางจรเข Aloe vera L. Burm. f. วงศ : ASPHODELACEAE (LILIACEAE) ช่อื ไทย : ช่ืออังกฤษ : วานไฟไหม, หางตะเข ลักษณะพชื : ALOE, STAR CACTUS สวนทเ่ี ปน พษิ : อาการ : ไมล มลกุ อายหุ ลายป สูง 0.5-1 เมตร มีขอและปลองสนั้ ๆ ใบเดย่ี ว อวบน้ํามาก สเี ขียว ภายในใบมีน้าํ ยาง สเี หลอื ง ถดั ไปเปน วุนใส ดอก ชอ กานชอดอกยาวมาก ออกจากลางตน ดอกยอ ยเปนหลอดสสี ม หอยลง ผล เปนผลแหง แตกได ยางสเี หลืองจากใบ ยางสีเหลืองจากใบ ถา รบั ประทานเขาไปทาํ ใหอาเจยี น ทอ งรวง หญาตอมตอก Solanum nigrum L. วงศ : SOLANACEAE ชือ่ ไทย : ชื่ออังกฤษ : หญาตอมตอก, ขา อม, ทุมขนั , นํา้ ใจใคร, ประจาม, มะแวง นก, แวง นก, ออเตียมกยุ , โอเตียมกุย ลักษณะพืช : BLACK NIGHTSHADE, COMMON NIGHTSHADE, DEADLY NIGHTSHADE สวนที่เปนพษิ : อาการ : ไมล มลกุ สูง 30-90 เซนติเมตร ใบเดย่ี ว ออกเรยี งสลับ รปู ขอบขนานหรือรูปรไี ข ดอกออกเปนชอแบบซ่ี รม ทซ่ี อกใบ ดอกยอ ยสีขาว มี 4 -6 ดอก ขนาดเลก็ เกสรเพศผสู เี หลืองชูเดน ชดั ผล ความเปน พษิ จะเกิดหลงั จากกนิ พืชทม่ี ีสารประเภทน้แี ลว หลายชัว่ โมง จะรูส ึกปวดแสบปวดรอนที่ปากและ คอหอย แลว จึงคลน่ื ไส เบอ่ื อาหาร อาเจยี น ปวดทองและทอ งรว ง อุณหภูมิรางกายข้นึ สูง อาการเปนพิษ ในข้นั สุดทายคอื ถา ยอจุ จาระและปสสาวะเปน เลอื ด ชกั กระตุก หมดสติ

41 โหรา Alocasia macrorhiza [L.] G. Don กระดาดดํา กระดาดเขียว วงศ : ARACEAE ช่ือไทย : ชื่อองั กฤษ : บอนเขยี ว, กระดาดเขยี ว, กระดาดดาํ ลักษณะพชื : Ear elephant สว นท่ีเปน พษิ : อาการ : ไมลมลุก ลําตนอวบน้ํา ใบเด่ียว รูปไขขนาดใหญ โคนใบเวาลึกแคบๆ คลายเงี่ยงลูกศร ขอบใบเปนคล่ืน หรอื มวนเขา ดา นใน ใตใ บและกานใบสีเขียวเขมหรือมวงแดง ออกเปน ชอ ยาว นาํ้ ยางจากท้งั ตนและเมลด็ รับประทานสวนของพืชท่ีมีน้ํายาง จะทําใหเกิดการระคายเคืองตอเย่ือเมือกในปากและลําคอ ทางเดิน อาหารอักเสบ คันปาก คันคอ แสบรอน เพดานบวมพองเปนตุมนํ้าใส สัมผัสนํ้ายางจะทําใหเกิดการระคาย เคอื งผวิ หนงั มีผ่นื คนั ผวิ หนังบวมแดง ปวดแสบปวดรอน หากเขา ตาจะทําใหตาอกั เสบ สบูขาว Jatropha curcas L. วงศ : EUPHORBIACEAE ชอ่ื ไทย : สบูขาว, พมกั เยา, มะเยา, มะหัว, มะหงุ ฮ้ัว, มะโหง , สบดู าํ , สบูหวั เทศ, สลอดดํา ฯลฯ ชื่อองั กฤษ : PHYSIC NUT ลักษณะพชื : ไมพ มุ สูง 3-5 เมตร มยี างเหนียวสีเหลอื ง ใบมี 3-5 หยกั ดอกเล็กสีเหลืองอมเขยี ว ผลรรู ยี าวผดิ เรยี บ ผล ออนเปนสเี ขียว ผลแกจ ะเปน สีเหลอื งแลว เปน สีนํ้าตาลดาํ แตกเปน 3 พู แตล ะพมู ี 1 เมล็ด สวนที่เปน พษิ : ผล เมลด็ นํ้ายางใส อาการ : อาการพิษในเดก็ จะเกิดขน้ึ เมอ่ื รับประทานเพยี ง 4-5 เมล็ดเทาน้นั สว นในผใู หญป ระมาณ 1-20 เมล็ด โดย จะเกดิ อาการ คลื่นไส อาเจียน ทอ งเดิน อาจเกดิ ถายเปนเลือด ยางทาํ ใหคัน ปวดแสบปวดรอน อักเสบ บวม พองเปนตุมนํา้ ใส ถาโดนตาทําใหต าอักเสบ อาจทาํ ใหตาบอดชั่วคราวหรือถาวร

42 สบูแ ดง Jatropha gossypifolia L. วงศ : EUPHORBIACEAE ชอื่ ไทย : สบูแดง, ละหงุ แดง, สบเู ลือด, สลอดแดง, สีลอด, หงสเ ทศ ชอื่ อังกฤษ : BELLY YACHE BUSH ลกั ษณะพืช : ไมพุมสูง 1-2 เมตร ลําตนสั้นและมีก่ิงกานแผออกไป บริเวณยอดมีขน และมีตุมเล็กๆ ที่มียางสีเหลืองใส เหนยี ว ใบมี 3-5 แฉกและมตี มุ เหนียว ใบออ นสมี วงเขม หรอื สีนํ้าตาลแดง ดอกเล็กสแี ดงเขมและมีสีเหลือง สว นทเ่ี ปนพษิ : อยตู รงกลาง ผลรยี าวมี 6 รอง สเี ขียวเม่ือแหง เปนสีนาํ้ ตาล อาการ : ผล เมล็ด นาํ้ ยางใส เหมือนสบูข าว อุตพดิ Typhonium trilobatum Schoot วงศ : ARACEAE ชื่อไทย : ช่ือองั กฤษ : มะโหรา ลักษณะพชื : - สว นทเี่ ปนพิษ : อาการ : พืชลม ลุกทม่ี ีหวั ใตด ิน เจริญงอกงามและออกดอกในฤดูฝน ใบกลมโตปลายแหลม แตม ีสวนเวาลกึ ทาํ ให คลายกับแบงใบออกเปน สามสวน กา นใบยาว ดอกออกจากโคน เปนสีมวงแกมนํา้ ตาลกลิน่ เหมน็ คลา ย อาจม ลาํ ตน ถา รบั ประทานเขา ไปจะเกิดอาการไหมท ่ีเพดาน ปาก ลิน้ และคอ กลอ งเสียงจะบวมการเปลง เสียงจะ ผดิ ปกติ อาเจียน ทอ งเสยี

43 หอมปนัง Strophanthus gratus (Wall. et Hook.) Baill. วงศ : APOCYNACEAE ชื่อไทย : ช่อื อังกฤษ : หอมปนงั , บานทน, แยมปนัง ลกั ษณะพืช : OUABAIN สว นท่ีเปน พิษ : อาการ : ไมพุม แกมเถา ใบออกตรงขา ม เสน กลางใบดา นทอ งใบสมี วงแดง ดอกสชี มพูอมมวง มีกลน่ิ หอม ดอกออก กระจุกท่ีปลายกง่ิ ฝก ยาวประมาณ 15 เซนตเิ มตร กวาง 5-7 เซนติเมตร เมลด็ แบนรูปรางคอนขางเปน กระสวย ผิวสีนํ้าตาล กวา ง 5-7 เซนตเิ มตร ยาว 12-20 เซนติเมตร ไมไดร ะบุ ระคายเคืองเยื่อบุในปากและกระเพาะอาหารกอน ตามดวยอาการอาเจียน ทองเดนิ ปวดศีรษะและปวด ทอ ง ถา รบั ประทานเขา ไปมาก และลา งทองไมท ัน สารพิษจะถูกดูดซมึ ผา นทางลาํ ไสแ ละแสดงพิษตอ หวั ใจ ซึ่งจะเกดิ ข้ึนชา หรือเร็ว ขึ้นกบั ชนิดของไกลโคไซด เหด็ นํา้ ผึ้ง Phaeogyroporus portentosus (Berk.et Broone) Mc. Nabb. ชื่อไทย : เห็ดน้ําผง้ึ , เห็ดหา ชื่อองั กฤษ : ลักษณะพชื : หมวก รปู กระทะควํา่ เสน ผาศนู ยก ลาง 12-30 เซนติเมตร ดอกออน มีขนละเอียดคลา ยกํามะหยส่ี ีนา้ํ ตาล เมื่อบานเตม็ ที่กลางหมวดเวา ลงเล็กนอ ย ผิวปรแิ ตกเปนแหง ๆ เนื้อในสีเหลืองเมอ่ื ตดั จะเปลีย่ นเปน สีน้ํา สวนทเ่ี ปน พิษ : เงินอมเขยี ว โคนกา นโปงเปนกระเปาะ เห็ดชนิดนพ้ี บทางภาคเหนอื ข้ึนเปน กลมุ (5-10 ดอก/กลมุ ) อาการ : ท้งั ตน รับประทานสกุ ๆ ดิบ ๆ เปนพษิ ทาํ ใหค ล่นื ไส เวยี นศีรษะและทองเดิน พษิ จะหายภายใน 3-5 ชว่ั โมง

44 เห็ดหวั กรวดครีบเขียว Chlorophyllum molybdites (Meyer. ex. Fr.) Mass. ชือ่ ไทย : เห็ดหวั กรวดครีบเขียว, เหด็ กระโดงตีนตาํ่ ชื่อองั กฤษ : ลักษณะพชื : หมวก สีขาวรูปกระทะคว่ํา เสนผาศูนยกลาง 10-20 เซนติเมตร กลางหมวกสีนํ้าตาล ผิวมีเกล็ดสีเหล่ียมสี น้ําตาล ครีบสีขาวคอย ๆ เปลี่ยนเปนสีเขียวออน แลวเปล่ียนเปนสีน้ําตาลออนอมเขียวหมน กาน รูป สวนทเ่ี ปน พิษ : ทรงกระบอกสีขาว หรือนํ้าตาลออน เนอื้ เห็ดสีขาวเวลาตัดหรือชาํ้ มีสแี ดงเร่อื ๆ ชอบขึ้นบนสนามหญา อาการ : ท้งั ตน เม่อื รับประทานดิบจะเปน พิษ แตถาตม สุกแลว ไมเปนอนั ตรายเพราะความรอนทําใหพิษถูกทําลาย อาการ พิษ คือ คลืน่ ไส อาเจยี น และทอ งรวง ถาเดก็ รบั ประทานเหด็ พิษกลุม นป้ี ริมาณทมี่ ากกอ็ าจถงึ ตายได ไฮแดรนเยยี Hydrangea macrophylla Thunb.) Ser. วงศ : HYDRANGEACEAE ช่ือไทย : ดอกสามเดอื น, ดอกหกเดอื น ชื่ออังกฤษ : HYDRANGEA ลักษณะพชื : ไมพ ุม สงู 0.8-1.3 เมตร แตกกิ่งกาน ใบ เดี่ยว รูปไข โคนใบมน ปลายใบมน แตแหลมกวาโคนใบ ขอบใบ จกั ใบออนสีเขยี ว ใบแกส ีเทา ดอก ชอ ออกเปน กลุมใหญ ดอกสีนํ้าเงิน ฟา ชมพูออน หรือเม่ือบานนานๆ สว นที่เปนพิษ : จะเปนสีขาว (ดอกบานไดหลายวัน) อาการ : ทั้งตน สด รบั ประทานจะทําใหเ กิดอาการคล่ืนไส อาเจยี น กลามเนอื้ ทํางานไมสมั พนั ธก นั เดนิ เซเหมอื นคนเมา หายใจลําบาก กลา มเน้อื เปลีย้ ถา เปน มากหมดสติ บางรายมอี าการชัก

45 3. พิษตอ ระบบประสาท และอาจทาํ ใหเสพตดิ กระทอม Mitragyna speciosa (Roxb.) Korth. กระทอมกานเขยี ว กระทอมกา นแดง วงศ : RUBIACEAE ชอ่ื ไทย : กระทอม, อถี า ง, ทอม ชอ่ื อังกฤษ : KRATOM ลักษณะพชื : เปนไมตน ขนาดกลาง สงู ไดถึง 20 เมตร ใบเปน ใบเดี่ยว เรยี งตรงกนั ขาม รูปไขกวาง ปลายใบแหลมหรือ เปนติง่ แหลม โคนใบปา นกลม แผนใบบาง ดานทอ งใบมีเสน ใบเปน สนั ขนึ้ มาชดั เจนเมอ่ื แก ดอกออกเปน ดอกชอ กระจุกกลม แตกจากปลายก่งิ มี 1-3 ชอ แตละชอประกอบดว ยดอกสีเหลือง สวนทเี่ ปน พษิ : ใบ เปลือกตน อาการ : ทาํ งานไมรจู กั เหนด็ เหนื่อย ทนแดดไมร สู ึกรอน ปากแหง นอนไมหลบั ทองผกู ทาํ ใหร างการทรดุ โทรม มี อาการประสาทหลอน จติ ใจสับสน อาจมีอาการขาดยาทางรางกายแตไ มรนุ แรง กญั ชา Cannabis sativa L. วงศ : CANABACEAE ชือ่ ไทย : ชอ่ื องั กฤษ : กัญชา, กญั ชาจนี , คุนเชา, ปาง, ยานอ ลักษณะพืช : HEMP, INDIAN HEMP, GANJA, KIF, WEED, GRASS, POT สวนที่เปนพษิ : ไมล มลุกปเ ดียว ลาํ ตน ตงั้ ตรง สูง 0.9-1.5 ซม. ไมค อ ยแตกสาขา ใบเดย่ี ว รูปฝา มอื ขอบใบเวา ลกึ จนถงึ อาการ : จุดโคนใบเปน 5-7 แฉก ดอกแยกเพศ อยูต า งตน ออกเปน ชอตามงามใบและปลายยอด ใบและชอดอก ยอดของตนเพศเมียท่กี าํ ลังออกดอกเรียก กะหล่กี ญั ชา เมอ่ื ตากใหแ หง แลวนยิ มนํามาใช สูบ กะหลี่กญั ชาใหเ รซนิ ซ่งึ เปน ยาเสพยตดิ ผูท เ่ี มากัญชาจะมอี าการเกดิ ข้ึนตางๆ กนั ข้ึนอยกู บั สภาพแวดลอม อาจมีอารมณสนกุ หรือโศกเศราก็ได ฤทธข์ิ องกญั ชาอยูในรา งกายไดน าน 3-5 ช่ัวโมง หลงั จากนผี้ เู สพจะมีอาการเซอ่ื งซมึ และหิวกระหาย ผทู ่ี สูบเปนประจํามกั สมองเสอ่ื มและเปน โรคเกี่ยวกับทางเดนิ หายใจ

46 ทองหลางใบมน Erythrina Fuscsa Lour. วงศ : LEGUMINOSAE ชอื่ ไทย : ทองหลางใบมน, ทองหลางนํา้ , ทองโหลง, ทองหลางบาน ชื่อองั กฤษ : CHEKRING, CORAL BEAN, PURPLE CORAL-TREE, SWAMP ลกั ษณะพืช : เปนไมยืนตนขนาดใหญ ก่ิงกานมีหนาม ใบประกอบ เรียงสลับ มี 3 ใบยอย มีหูใบ ใบยอยรูปไขหรือโคง ใบมีขน ดอกออกเปนชอ ดอกออกแบบสลับ ออกท่ยี อด ดอกยอ ยออกเปนกระจุก กระจายกันตามกานดอก สวนที่เปน พษิ : ดอกสีแดงอิฐ มีใบประดับรปู ไข ผลเปน ฝก เปลอื กแข็ง มขี นปกคลุม อาการ : เมลด็ ถารบั ประทานเมลด็ เขาไป ทําใหคลมุ คล่ัง คลายวกิ ลจริต ใบระบาด Argyreia nervosa (Burm.f.) Bojer วงศ : CONVOLVULACEAE ชอื่ ไทย : ผกั ระบาด, เมอื งบอน ช่อื องั กฤษ : MORNING GLORY, BABY HAWAIIAN WOODROSE ลักษณะพืช : ไมเถา ยาวไดถ งึ 10 เมตร ทุกสว นมยี างสีขาว และขนสีขาวหนาแนน ใบเดี่ยว รูปหัวใจ ดอกสีมวงอมชมพู ออกเปน ชอตามซอกใบ สวนทเ่ี ปนพิษ : ใบ เมล็ด อาการ : ใบ ถารบั ประทานเขา ไปทําใหค ลุมคลัง่ ตาพรา มนึ งง เมล็ด ถา รบั ประทานเขาไปทําใหป ระสาทหลอน

47 ผักบงุ ทะเล Ipomoea pes-caprae ( L.) R.br. วงศ : CONVOLVULACEAE ชือ่ ไทย : ละบูเลาห ชือ่ อังกฤษ : GOAT'S FOOT CREEPER, BEACH MORNING GLORY ลักษณะพชื : ไมเลื้อยลม ลกุ เลื้อยไปตามผิวทรายหรือดิน ชอบข้ึนในพื้นที่ใกลทะเล ทั้งตนมีน้ํายางสีขาว ใบเด่ียว แผน ใบกวาง โคนใบรูปหัวใจ ปลายใบเวาลึก ดอก ชอ มี 4-6 ดอก กลีบดอกสีชมพูอมมวง กลีบดอกติดกัน สวนทเ่ี ปนพิษ : ปลายบานคลา ยปากแตร ดอกบานตอนเชา บา ยๆ จะหุบเหีย่ ว ผล เปน ผลแหง แตกได อาการ : เมล็ด ถารบั ประทานเขาไปทาํ ใหประสาทหลอน คลุมคลั่ง หวาดผวาคลา ยวิกลจรติ ฝน Papaver somniferum L. วงศ : PAPAVERACEAE ชอื่ ไทย : ชือ่ องั กฤษ : ฝน ลกั ษณะพชื : OPIUM POPPY สวนที่เปนพิษ : อาการ : เปนไมลมลุก มีอายุปเดียว สูง 70-120 เซนติเมตร ใบสีเขียวอมเทา ดอกสีขาวหรือมวงอมแดง ผลเปน แคปซูลมรี เู ปด ทกุ สว นของพชื มที อ ลาํ เลียงน้ํายาง ยางของผลฝน อาการของการขาดยาเสพติด คอื นํา้ ตา นํ้ามกู ไหล ปวดหวั เกดิ อาการคนั หาวนอน ขนลกุ สะบัดรอน สะบดั หนาว มา นตาขยาย ผตู ิดยาเสพตดิ จะหงุดหงิด กระวนกระวาย ตน่ื ตกใจ อาการข้นั รุนแรงขึ้น คือ นอนไมหลบั เหงื่อออก ปวดเมื่อยตามแขนขา คล่ืนเหียนอาเจยี น มีอาการทองรว ง

48 ยาสูบ Nicotiana tabacum L. วงศ : SOLANACEAE ชือ่ ไทย : ระวงิ ระไว, พระเจารอบโลก, วา นเขม็ พญาอนิ ทร, ไมร ับแขก, วานมงุ เมอื ง ชอื่ อังกฤษ : TOBACCO ลกั ษณะพชื : เปน พชื ลม ลกุ อายปุ เ ดียว มีลําตน ตัง้ ตรง สูง 0.7-1.50 ม. ใบเปน ใบเดย่ี ว มีขนาดใหญ ใบมีลกั ษณะหยาบ รูปไขแ กมรี ดอกเปน ดอกชอ ออกทป่ี ลายตน กลบี เลย้ี งมีสีเขียวรูปถวยเชอ่ื มติดกนั ท่ีโคนกลบี กลบี ดอกมี สวนทีเ่ ปนพษิ : สีขาว ชมพู มวงออน ฯลฯ ผลเปนชนดิ แหงแลว แตก รูปไข มเี มล็ดเลก็ ๆ ภายในจาํ นวนมาก อาการ : ใบ จัดเปน สารเสพติดที่ติดงายย่ิงกวา อลั กอฮอล จัดเปน สารสงบประสาท, ระงบั ความอยากอาหาร, เพิ่ม นาํ้ ตาลในโลหติ เลก็ นอย ทําใหประสาทเกย่ี วกับการรับรสเสยี ไป กอ ใหเ กิดโรคมะเร็งปอด ลาํ โพง Datura metel L. วงศ : SOLANACEAE ช่อื ไทย : ช่ืออังกฤษ : ลําโพงขาว, มะเขือบา , ม่ังโตะ โละ , ละองั กะ, เล๊ียก ลักษณะพชื : APPLE OF PERU, GREEN THORN APPLE, HINDU DATURA, METEL, THORN APPLE สวนท่ีเปนพิษ : อาการ : ไมพ ุมลมลกุ สงู ประมาณ 1-1.5 เมตร กง่ิ ออ นมีขน ใบคอ นขางกลม ขอบใบหยักเปน คล่นื ดอกเดีย่ วเปน รปู ลําโพง กลีบดอกอาจเปน ช้นั เดยี วหรือมี 2-3 ช้ัน หยกั สขี าวหรอื สมี วง ผลกลม ผิวมหี นามสน้ั ทุกสว น สายตาพรามัว ปากแหง กระหายนา้ํ มาก มา นตาขยาย ตาสแู สงไมไ ด ผวิ หนงั รอนแดง มผี ื่นแดงตาม ใบหนา คอ และหนาอก ไขข นึ้ สงู ปวดศีรษะ ความรูสึกสับสน การทํางานของกลามเนอื้ ผิดปกติ วกิ ลจริต เพอคลงั่ เคลิม้ ฝน มอี าการทางจิตและประสาท ในกรณีทเี่ ปน รนุ แรง ผปู วยจะมอี าการไมรูสึกตัว โคมา

49 เหด็ เกลด็ ดาว Amanita pantherina (Dc. Ex. Fr.) Secr. ช่ือไทย : เห็ดเกล็ดดาว ชือ่ องั กฤษ : - ลกั ษณะพชื : ดอกเห็ด เม่ือยังออนมีเปลือกหุมรูปกลม หรือรูปไขสีขาว ดานบนปริแตกออกเปนเกล็ดเล็ก ๆ ติดอยูบน หมวกซ่ึงหลุดงาย หมวกรูปกระทะควํ่า สีนํ้าตาลอมเหลือง ผิวมีขนหรือเกล็ดบาง ๆ สีขาวเห็นชัดเจนบน สว นท่เี ปน พิษ : บริเวณโคนกาน โคนโปงเปนกระเปาะและมีเปลอื กหมุ ดอกออน พบในปาผลดั ใบและปา สนทางภาคเหนอื อาการ : ท้ังตน ผูรบั ประทานเกิดอาการเพอ คลงั่ เคลิบเคล้มิ หมดสติอยเู ปน เวลานาน ไมมผี ลทางสมอง คนปวยไมถ งึ แก ความตาย แตมีอาการปางตาย ยกเวนมโี รคอืน่ แทรกซอ นหรือเปน เด็ก เหด็ ขอนสีทองเกล็ดแดง Gymanopilus aeruginosus (Peck) Sing. ชื่อไทย : เห็ดขอนสีทองเกล็ดแดง ชอื่ องั กฤษ : - ลกั ษณะพชื : หมวก มีเสน ผา ศูนยก ลาง 1-5 เซนติเมตร รูปกระทะควํ่าและแบนลง สีเหลืองทอง ผิวมีเกล็ดและขนสีแดง อมมวง บางแหงมีสีเขียวปนเปอน กานยาว 2-12 เซนติเมตร เสนผาศูนยกลางใหญ 3-5 มิลลิเมตร ผิว สว นท่เี ปนพษิ : เรยี บสเี หลือง ครีบสีเหลืองยาวลงไปติดกาน บนกานมีวงแหวนบาง ๆ สเี หลอื ง มักจะแหงหายไป เห็ดชนิด อาการ : นีข้ น้ึ เปนดอกเดยี่ วอยูใกลก ันเปนกลุม ใหญบ นขอนไม ทั้งตน ประสาทหลอนหรือฝนและมึนเมา อาจถึงข้ันวิกลจริต กลาวกันวามีอาการเห็นอะไรเปนสีเขียวหมด ตอมา อาการจะหายเปนปกติ แตก็มีรายงานวาอาจถึงตายไดถารับประทานมาก มีฤทธิ์แบบกัญชา จึงเปนที่ ตอ งการของตลาดและซอื้ ขายกันอยา งลับ ๆ จดั วาเปน เหด็ ประเภทยาเสพติด

50 เห็ดหง่ิ หอย Coprinus atramentaris (Bull.) Fr. ช่ือไทย : เหด็ หง่ิ หอย, เห็ดน้ําหมกึ , เหด็ ถว่ั ชื่อองั กฤษ : ลกั ษณะพืช : หมวกเห็ดรูประฆัง สีขาวนวลหรือนํ้าตาลออน เสนผาศูนยกลาง 2-4 เซนติเมตร หมวกเห็ดมีเน้ือหนากวา เห็ดถ่ัวชนิดอ่ืน ครีบสีขาวแลวเปล่ียนเปนสีดําและยอยตัวเปนของเหลวสีดํา ครีบไมติดกาน กาน รูป สว นทเ่ี ปน พษิ : ทรงกระบอก ยาว 5-11 เซนติเมตร ผิวเรียบ เปนมันเงา สีขาว ปกติจะมีวงแหวนบริเวณโคนกานซ่ึงหลุด อาการ : งา ย เห็ดชนิดนชี้ อบขึ้นอยูบนอนิ ทรยี วัตถุ เชน กองเปลอื กถั่วเหลอื ง เกิดดอกเปน กลมุ ใหญ ทงั้ ตน ผูท่ีด่ืมสุราพรอมกับรับประทานเห็ดชนิดน้ี จะมีอาการใจสั่น หายใจหอบ หายใจลําบาก แนนหนาอก คลืน่ ไส อาเจยี น ปวดศรี ษะ แตจ ะหายเปน ปกติภายในเวลา 3-4 ชัว่ โมง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook