Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore thai_ag

thai_ag

Published by DPD E-Lidrary, 2020-06-09 23:12:45

Description: thai_ag

Search

Read the Text Version

หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพยี ง วันเสารท่ี ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๔๙ ดร.ปรียานชุ พบิ ูลสราวธุ โครงการวจิ ัยเศรษฐกิจพอเพียง สํานักงานทรัพยส นิ สวนพระมหากษตั ริย

หยดุ คดิ ๕ นาที กรุณาตอบคําถามทั้ง ๓ ขอขางลาง และเขยี นช่ือที่มมุ ขวาบนของ กระดาษคําตอบทแ่ี จก ๑. “เศรษฐกิจพอเพยี ง” สาํ หรับทา นหมายความวา อยา งไร (กอ นฟงบรรยาย) ๒. ในชีวิตประจําวัน ทา นไดทํากจิ กรรมอะไรบางทที่ า นคดิ วา สอดคลอ งกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง หรือสรางความพอเพียงให เกดิ ขนึ้ กับ ตนเอง/ครอบครัว/สังคม ๓. ทานคาดหวังอยากเรยี นรูเ ร่ืองอะไรจากการฝกอบรมครง้ั นี้ 2

ประเดน็ ของการนําเสนอ ๑. ความหมายปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๒. การนาํ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใ ชใน ระดบั ตางๆ ๒.๑ ระดับบคุ คล/ครอบครัว ๒.๒ ระดบั ชมุ ชน ๒.๓ ระดับองคก รและภาคธุรกิจ ๓. การขบั เคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3

สรุปผลการสํารวจความรคู วามเขา ใจ ของประชาชนท่ีมตี อปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (สวนดสุ ติ โพล ๒๕๔๗) ปจจุบัน การรบั รูมีอยู ๒ ประเภท • คนทร่ี ู เขา ใจในปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงอยางชัดเจน และนําไปใชในการดําเนินชีวิต • คนทไ่ี มเขา ใจปรัชญาน้อี ยา งลึกซงึ้ เพราะไมไ ดรับขอมูลที่ ถูกตอ ง 4

สงิ่ ท่ีประชาชนเขา ใจเกย่ี วกบั เศรษฐกิจพอเพียง การรจู ักความพอดี พอประมาณ ไมโ ลภ 52.76% การกินอยูอยางประหยัดเหมาะกับฐานะ 32.76% การใชท รัพยากรท่มี ีอยูอยางคุมคา เพียงพอ 5.05% ความมีเหตผุ ล/การใชจ ายอยางมเี หตุผล 3.94% การดาํ รงชีวิตความเปน อยทู ่ีพ่ึงพาตนเองได 2.67% การกินดี อยดู มี รี ายไดสมดุลกบั รายจาย 1.81% การทาํ เศรษฐกจิ แบบเรียบงาย 0.78% ประหยัด ขยัน เพอ่ื มีพอกินพอใช 0.22% ความสามัคคี ความสงบสุขในสงั คม 0.02% • เศรษฐกจิ พอเพียงในความเขาใจของประชาชน ยังอยูในเรื่องของความพอประมาณ ประหยัด ความพอดี (มากกวา รอ ยละ 50) • กวารอ ยละ 80 สามารถนาํ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงไปใชไ ดกบั ทุกเรื่องในชีวิตประจาํ วนั เชน 5 การประหยัด การรจู ักคดิ เพม่ิ ความรอบคอบใหก ับตนเอง

ขอ เสนอแนะ (สวนดสุ ติ ) • หลักการของเศรษฐกิจพอเพยี งมีมากกวา คําวา ประหยัด พอดี เดินทางสาย กลาง ดังนนั้ ควรกระตุนใหเ ห็นความสําคญั และเขาใจอยา งถอ งแท ของการ นาํ ปรัชญา ฯ ไปใช เชน การอยดู วยกนั อยางสามคั คี ชวยเหลือซ่ึงกันและกัน • การเผยแพรใ นระดับชมุ ชนตามภมู ิภาค ควรใชส่ือท่ีเปนบคุ คล เชน ผนู ํา ชมุ ชน ครู ผูใ หญบา น กํานัน เพื่อชวยในการสรางสรรคก จิ กรรม เปนตัวอยา ง ทด่ี ีในการดําเนินชวี ิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง • การขบั เคล่ือนเพอื่ ใหป ระชาชนตระหนักวา เศรษฐกจิ พอเพยี ง คอื สิง่ ใด มี ประโยชนอ ยางไร ควรมกี ิจกรรมที่สามารถเปนตวั อยางท่ีชัดเจน รณรงคให เห็นความสําคัญและ กระทําใหเ กดิ ผลทีช่ ัดเจนเปน รปู ธรรม การวจิ ัยคร้ังตอ ไป • ควรสํารวจเกี่ยวกับกจิ กรรมตางๆ ที่ประชาชนสนใจ หรอื อยากใหเ กิดข้ึนโดย นําหลักปรัชญาฯ เขา ไปเกี่ยวของ • ควรศึกษาถึงความเปล่ียนแปลงทางพฤตกิ รรม ผลกระทบที่เก่ยี วขอ ง หลังจาก ไดรับการส่อื สารใหค วามรูค วามเขาใจในหลักปรชั ญาฯ 6

๑. ความหมายของเศรษฐกจิ พอเพียง 7

๑ 8

เศรษฐกิจพอเพียง ๑ “เศรษฐกิจพอเพียง” เปนปรัชญาท่ีพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงมีพระราช ดํารัสชี้แนะแนวทางการดําเนินชีวิตแกพสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกวา ๒๕ ป ต้ังแตกอนเกิดวิกฤติการณทางเศรษฐกิจ และเม่ือภายหลังไดทรงเนนยํ้าแนวทาง การแกไขเพ่ือใหรอดพน และสามารถดํารงอยูไดอยางมั่นคงและยั่งยืนภายใต กรอบแนวคิด กระแสโลกาภวิ ตั นแ ละความเปลี่ยนแปลงตา งๆ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เศรษฐกิจพอเพยี ง เปนปรัชญาช้ีถึงการดํารงอยแู ละปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแตระดับ คุณลักษณะ ครอบครัว ระดบั ชมุ ชน จนถงึ ระดบั รัฐ ทั้งในการพฒั นาและบริหารประเทศ ใหด ําเนินไปในทางสายกลาง คํานิยาม โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพอ่ื ใหก าวทนั ตอ โลกยคุ โลกาภิวัตน ความพอเพยี ง หมายถงึ ความพอ ประมาณ ความมเี หตผุ ล รวมถงึ ความจําเปนท่ีจะตองมรี ะบบภมู คิ ุมกันในตวั ทด่ี พี อสมควร ตอการมีผล กระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลีย่ นแปลงทงั้ ภายนอกและภายใน ทงั้ นี้ จะตองอาศัยความรอบรู ความ รอบคอบ และความระมัดระวงั อยา งยง่ิ ในการนําวชิ าการตางๆ มาใชในการวางแผนและการดําเนนิ การ เงอ่ื นไข ทุกขั้นตอน และขณะเดยี วกนั จะตองเสริมสรางพ้ืนฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจาหนาท่ขี องรฐั นกั ทฤษฎี และนักธรุ กจิ ในทุกระดับ ใหมีสาํ นึก คุณธรรมความซอื่ สัตย สุจริต และใหม คี วามรอบรทู ่ี แนวปฏิบัติและ เหมาะสม ในดาํ เนินชวี ิตดวยความอดทน ความเพียร มสี ติ ปญญาและความรอบคอบ เพอ่ื ใหส มดุล ผลท่คี าดหมาย และพรอ มตอการรองรบั การเปล่ยี นแปลงอยางรวดเร็วและกวา งขวาง ทั้งดานวตั ถุ สังคม สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเปน อยา งดี

สรุปปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๑ แนวคดิ หลัก เปน ปรัชญาที่ช้ีถึงแนวการดํารงอยูและปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดบั ต้ังแตร ะดบั ครอบครวั ระดบั ชมุ ชน จนถึงระดับรฐั ทัง้ ในการพฒั นาและบรหิ ารประเทศใหดาํ เนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกิจ เพอ่ื ใหกาวทันตอ โลกยุคโลกาภิวัตน เปา หมาย เศรษฐกิจ/สงั คม/ส่งิ แวดลอ ม/วฒั นธรรม สมดุล/มนั่ คง/ยัง่ ยนื มงุ ใหเ กิดความสมดุลและพรอ มตอ การรองรบั การเปลี่ยนแปลง อยา งรวดเรว็ และกวา งขวาง ท้งั ทางวตั ถุ สังคมและสง่ิ แวดลอ ม และวฒั นธรรมจากโลกภายนอกไดเปน อยา งดี หลกั การ นาํ สู ความพอเพยี ง หมายถึงความพอประมาณ ความมเี หตุผล การสรา ง ทางสายกลาง ภมู คิ มุ กนั ทดี่ ใี นตวั พอสมควร ตอ การมผี ลกระทบใดๆ อันเกิดจาก การเปล่ียนแปลงท้งั ภายนอกและภายใน พอประมา ณ เงื่อนไขพื้นฐาน (ความรคู คู ุณธรรม) มีเหตุผล มีภูมคิ ุมกัน ƒ จะตอ งอาศยั ความรอบรู ความรอบคอบ และความระมดั ระวงั อยางยง่ิ ในตวั ท่ีดี ในการนาํ วชิ าการตางๆ มาใชใ นการวางแผน และการดําเนนิ การทกุ ขน้ั ตอน เง่ือนไขความรู เงอื่ นไขคณุ ธรรม ƒ การเสริมสรางจติ ใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจาหนาทีข่ องรัฐ นกั ทฤษฎี และนกั ธรุ กจิ ในทุกระดบั ใหม สี ํานึกในคุณธรรม ความซื่อสตั ยสจุ รติ และ ใหม ีความรอบรูท ี่เหมาะสม ดาํ เนนิ ชวี ติ ดว ยความอดทน ความเพยี ร มีสติ ปญญา และความรอบคอบ

คุณลักษณะของ คน/กจิ กรรม ๒.๑ ตามแนวทางเศรษฐกจิ พอเพยี ง พอประมาณ มีเหตุมีผล มภี ูมคิ มุ กันที่ดี พอเหมาะกับสภาพ ไมประมาท สุขภาพดี ของตน พรอ มรบั ความเสยี่ งตางๆ พอควรกบั ส่งิ แวดลอ ม (รอบร/ู มีสต)ิ (วางแผน/เงนิ ออม/ประกัน) ทางกายภาพ / สังคม รูสาเหตุ – ทําไม ทําประโยชนใหกบั ผูอน่ื / รูปจจยั ทเ่ี กี่ยวของ สังคม (ไมโ ลภจนเบยี ดเบยี นตวั เอง/ เรยี นรู / พฒั นาตน ผอู ่ืน / ทาํ ลายสง่ิ แวดลอม) รผู ลกระทบทจี่ ะเกดิ ข้ึน ในดานตา งๆ อยางตอเนอื่ ง สามารถพึง่ ตนเองได และเปนทีพ่ ง่ึ ของผอู ่นื ได ในท่สี ดุ 11

เศรษฐกิจพอเพยี งมหี ลายระดบั “....ไฟดบั ถามคี วามจาํ เปน หากมีเศรษฐกิจพอเพียงแบบไมเต็มท่ี เรามี เครอื่ งปนไฟก็ใชป น ไฟ หรือถาขน้ั โบราณวา มดื ก็จดุ เทียน คือมที างท่จี ะ แกปญ หาเสมอ ฉะนนั้ เศรษฐกิจพอเพียง ก็มีเปน ขนั้ ๆแตจะบอกวา เศรษฐกจิ พอเพียงน้ี ใหพอเพียงเฉพาะตัวเองรอ ยเปอรเ ซน็ ตน่เี ปนส่งิ ท่ี ทําไมไ ด จะตองมกี ารแลกเปลย่ี น ตอ งมีการชว ยกัน ถามีการชว ยกนั แลกเปลีย่ นกนั ก็ไมใชพอเพียงแลว แตวา พอเพียงในทฤษฎใี นหลวงนี้ คือ ใหสามารถทจ่ี ะดาํ เนินงานได… ” จากกระแสพระราชดํารัสวันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒ 12

เศรษฐกิจพอเพยี ง & ทฤษฎใี หม ๑ เศรษฐกิจพอเพียง เปน กรอบแนวคดิ ทชี่ บ้ี อกหลกั การและแนวทางปฏิบตั ิของทฤษฎใี หม ทฤษฎีใหมห รอื เกษตรทฤษฎีใหม เปนตัวอยางการใชห ลกั เศรษฐกิจพอเพียงในทางปฏบิ ัติ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ความพอเพยี งระดบั บุคคล แบบพืน้ ฐาน ทฤษฎใี หมข ้ันท่ี ๑ ความพอเพยี งระดบั ชุมชน ทฤษฎใี หมข้ันท่ี ๒ /องคกร เศรษฐกจิ พอเพียง ความพอเพยี ง แบบกาวหนา ระดบั ประเทศ ทฤษฎใี หมข้ันที่ ๓ 13

๑ พระปฐมบรมราชโองการ ณ พระทีน่ ั่งไพศาลทักษณิ วนั ศกุ รท ่ี ๕ พฤษภาคม ๒๔๙๓ เน่ืองในวันบรมราชาภิเษกพระบาทสมเด็จพระเจา อยูหัว “เราจะครองแผนดินโดยธรรม เพอื่ ประโยชนสุขแหง มหาชนชาวสยาม” 14

สรุปหลกั การทรงงาน ๑ ™ ระเบิดจากขา งใน คนเปนศูนยกลางของการพัฒนา ™ ปลกู จติ สํานึก ™ เนน ใหพ งึ่ ตนเองได ™ คํานงึ ถงึ ภมู สิ งั คม ปฏิบัติอยา งพอเพียง ™ ทําตามลําดบั ขน้ั ™ ประหยัด เรยี บงาย ประโยชนส งู สดุ ™ บริการทจี่ ดุ เดยี ว ™ แกป ญหาจากจดุ เลก็ ™ ไมต ิดตาํ รา ™ ใชธรรมชาติชว ยธรรมชาติ ™ การมสี วนรว ม ™ รู รกั สามคั คี เปาหมายคือสังคมพอเพียง ™ มุงประโยชนคนสว นใหญ 15

ขนสง คดั บรรจุ เกบ็ รกั ษา จาํ หนาย ๕ สงเสริมงานวิจัย พัฒนาคน และการสาธารณสุข ๔ เพ่อื ชวยใหเขาชวยตนเอง วจิ ยั อยา งตอเนื่อง ๓ ปลูกปา ในทที่ ่ีควรเปน ปา ๒ สาํ รวจดิน นํ้า ๑ 16

แนวพระราชดําริ ในการแกไ ขปญหาดานการบริหาร ๑) ทรงเปนแบบอยางในการบริหารงานโดยวางแผนรวมกนั อยา งมีระบบ ™ เนน การพัฒนาอยางเรยี บงายและเปน ขนั้ ตอน อยางรัดกมุ รอบคอบและเปน ระบบ ™ เตรยี มทาํ การบา นมากอน ตองรูจักภูมิประเทศ สภาพภูมิอากาศและรับขอ มูลจาก การใชเทคโนโลยสี ารสนเทศสมยั ใหม สภาพความเปน จริงและเดอื ดรอนของ ราษฎร ™ ตรวจสอบขอ มลู ในพน้ื ท่ี ™ เนนใหประชาชนมสี ว นรว มในการตัดสนิ ใจในโครงการท่ีมีผลกระทบตอ สว นได สว นเสยี ของชมุ ชนตั้งแตเรม่ิ โครงการ ™ สงเสริมการทาํ ประชาพจิ ารณ ™ คิดคนวธิ กี ารแกไขปญ หาสะทอ นออกมาในรปู ของโครงการทดลองสว นพระองค ™ เนนการติดตามประเมินผลการดําเนินงานเปน ระยะๆ 17

แนวพระราชดาํ ริ ในการแกไ ขปญหาดา นการบรหิ าร ๒) การบริหารจดั การแบบบูรณาการ ™ เนนอาศยั หลกั วิชาการทห่ี ลากหลายมาแกไขปญ หารวมกันแบบสหวทิ ยาการ ™ ใชวิธบี ูรณาการ คือ นาํ สว นทแี่ ยกๆกันมารวมกันเขา เปน อันหนงึ่ อันเดียวกนั เพ่อื ประสานความรวมมอื รว มคน สาเหตขุ องปญหา รว มกันกาํ หนดแผนงาน รว มกันปฏบิ ตั แิ ละรว มกันประเมนิ ผลการทาํ งาน ™ ผนึกกําลังหรอื ระดมกําลงั ของหนว ยงานตางๆ ™ ริเรม่ิ ศนู ยบรกิ ารแบบเบด็ เสรจ็ สําหรับเกษตรกร ™ การบริหารงานอยางมีเอกภาพ รวมกันทํางานทป่ี ระสานสอดคลอ งกนั เปน อยางดี เนน การประสานงาน ประสานแผน และการจดั การระหวางกรม กอง และสว นราชการตา งๆ ™ การพฒั นาแบบผสมผสาน 18

แนวพระราชดําริ ในการแกไขปญหาดา นการบริหาร ๓) การบริหารงานท่ีสอดคลองกับภูมิสังคม ™การพฒั นาท่ยี ึดปญหาและสภาพแวดลอมของแตละพื้นทีเ่ ปน หลัก ™ใชภูมิปญญาทอ งถ่นิ ภูมิปญ ญาชาวบา นมาปรับใชใหสอดคลอ งกลมกลืนกับ วิชาการแผนใหมอยางเปนระบบและตอ เน่ืองเปนกระบวนการเดยี วกัน เปน การผสมผสานเทคโนโลยเี กา กับเทคโนโลยีใหมใหกลมกลืนกัน ชาวบา น สามารถนาํ ไปใชไ ดจริงอยางเหมาะสมลงตวั “...การพัฒนาจะตองเปน ไปตามภูมปิ ระเทศทางภูมิศาสตร และภูมิประเทศทาง สังคมศาสตรในสังคมวทิ ยา ภมู ิประเทศตามสังคมวทิ ยา คือ นิสัยใจคอของคนเราจะ ไปปบังคบั ใหค นคิดอยางอ่ืนไมได เราตองแนะนํา เราเขาไปชวย โดยท่ีจะคิดใหเขา เขา กบั เราไมได แตถ าเขาไปแลว เราเขาไปดูวาเขาตองการอะไรจรงิ ๆ แลว กอ็ ธบิ าย ใหเขาเขาใจหลกั การของการพฒั นานีก้ ็จะเกิดประโยชนอ ยา งย่งิ ...” พระบรมราโชวาทในพธิ พี ระราชทานปรญิ ญาบัตรของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ๑๘ กรกฎาคม ๒๕19๑๗

พระราชดํารัส พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูห วั เสด็จออกมหาสมาคม ณ พระท่นี ่งั อนันตสมาคม เมอ่ื วนั ศุกรท่ี ๙ มิถุนายน ๒๕๔๙ มใี จความบางตอนวา… ประการแรก คือการทท่ี ุกคนคิดพูดทาํ ดวยความเมตตา มงุ ดีมุงเจรญิ ตอ กาย ตอใจ ประการท่ีสอง ตอ กัน ประการทส่ี าม ประการท่ีส่ี คือการท่ีแตละคนตา งชวยเหลือเกื้อกลู กัน ประสานงานประสานประโยชน กัน ใหง านทที่ าํ สาํ เรจ็ ผลท้ังแกต นแกผูอ่ืนและแกประเทศชาติ คือการทีท่ ุกคน ประพฤตปิ ฏิบัติตนสจุ รติ ในกฎกตกิ าและในระเบียบแบบ แผนโดยเทาเทยี มเสมอกัน การทต่ี างคนตา งพยายามทาํ ความคดิ ความเห็นของตนใหถูกตอ ง เทีย่ งตรงและม่นั คงอยใู นเหตใุ นผล หากความคิดจติ ใจและการประพฤติ ปฏิบัติท่ีลงรอยเดียวกัน ในทางท่ดี ีทเ่ี จรญิ น้ียังมีพรอมมลู ในกาย ในใจ คนไทย ก็มั่นใจวาประเทศชาตไิ ทยจะดาํ รงมั่นคงอยูไปได 20

๒. การประยุกตใชใ นระดบั ตางๆ

การประยุกตใ ช ๒ ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ƒ โดยพ้ืนฐานก็คอื การพ่งึ ตนเอง เปนหลกั การทาํ อะไรอยา งเปนขั้นเปนตอน รอบคอบ ระมัดระวัง ƒ พิจารณาถึงความพอดี พอเหมาะ พอควร ความสมเหตสุ มผล และ การพรอมรบั ความเปล่ียนแปลง ƒ การสรางสามัคคใี หเกิดขึ้นบนพน้ื ฐานของความสมดุลใน แตล ะสัดสวนแตละระดบั ƒ ครอบคลุมท้ังทางดานจติ ใจ สังคม เทคโนโลยี ทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอม รวมถึงเศรษฐกจิ 22

การประยุกตใ ชเศรษฐกิจพอเพียง ๒ ในดา นตา งๆ ดานจิตใจ มีจิตใจเขมแข็ง พึ่งตนเองได /มีจิตสํานึกท่ีดี /เอ้ืออาทร ดานสังคม ประนีประนอม /นึกถงึ ผลประโยชนส วนรวมเปน หลกั ดา นทรัพยากร ชวยเหลอื เก้อื กูลกัน /รรู กั สามัคคี /สรา งความเขม แข็ง ธรรมชาตแิ ละ ใหค รอบครัวและชุมชน ส่งิ แวดลอม รจู กั ใชและจัดการอยางฉลาดและรอบคอบ / ดานเทคโนโลยี เลอื กใชทรพั ยากรที่มอี ยใู หเกดิ ความยั่งยืนสูงสุด รูจ ักใชเทคโนโลยีทเี่ หมาะสม สอดคลองกับความ ตองการและสภาพแวดลอ ม (ภูมสิ งั คม) /พัฒนา เทคโนโลยีจากภมู ปิ ญญาชาวบานเองกอน /กอ ใหเกิด ประโยชนกับคนหมูมาก 23

แนวทางการวเิ คราะหค วามพอเพียง ๒ สัปปุรสิ ธรรม ๗ 24 ๑. รเู หตุ ความมเี หตมุ ผี ล ๒. รผู ล ๓. รตู น ความพอประมาณ ๔. รปู ระมาณ ๕. รกู าล ๖. รูบุคคล ภมู ิคุมกนั ๗. รชู มุ ชน

ตวั อยางการประยกุ ตใ ช ๒.๑ เศรษฐกิจพอเพียงในระดบั บคุ คล 25

การประยกุ ตใ ชใ นระดบั ๒.๑ บคุ คลและครอบครวั ตวั อยางการใชจา ยอยางพอเพียง พอประมาณ : รายจา ยสมดุลกับรายรับ มีเหตุมีผล : ใชจายอยา งมีเหตผุ ล /มคี วามจําเปน /ไมใ ชสิ่งของเกิน ฐานะ /ใชข องอยา งคุมคา ประหยัด มีภูมิคมุ กัน : มเี งนิ ออม /แบงปนผอู ่ืน /ทําบญุ ความรูคูคณุ ธรรม : ประกอบอาชีพท่ีสุจรติ ดวยความขยนั หม่ันเพยี ร ใชสติปญญาในการตัดสินใจตางๆ เพอ่ื ใหเทาทันตอ การ เปลี่ยนแปลง 26

การประยกุ ตใชใ นระดบั ชุมชน ๒.๒ ลกั ษณะชุมชนเขม แขง็ เศรษฐกจิ พอเพียง • มจี ิตสาํ นกึ สาธารณะ มีความเออ้ื อาทร • พอเพยี ง (พอประมาณ / มี • มผี ูนาํ ที่ดี มคี ุณธรรม มีเมตาธรรม เหตมุ ผี ล /มีภมู ิคุมกนั ทดี่ )ี • รจู ักวิเคราะหขอมูลของตนเอง • มกี ระบวนการเรยี นรู • เงอื่ นไข • พัฒนากจิ กรรมบนพนื้ ฐานของศกั ยภาพ ความรู ของชมุ ชน เพอ่ื นําไปสกู ารพฒั นาอยา ง (รอบรู รอบคอบ ระมดั ระวัง ) สมดลุ • มีกระบวนการตดิ ตาม คุณธรรม และพฒั นาอยา งเปนพลวตั ร (ซ่ือสัตยส ุจรติ สตปิ ญ ญา ขยัน อดทน แบง ปน ) 27

ตัวอยางกิจกรรมในชุมชนทส่ี อดคลอ งกับ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๑ กิจกรรมการผลติ โดยเฉพาะในภาคการเกษตร ทไ่ี มท าํ ลายส่งิ แวดลอม แตใชท รพั ยากรท่ีมีอยู ในชมุ ชนอยา งคมุ คา ยกตัวอยา ง เชน กจิ กรรมการทาํ ปยุ ชีวภาพ การปลกู ผกั และขา วท่ีปลอดสารพษิ การทําสวนสมุนไพรของชุมชน การคดิ คนสารไลแ มลงสมุนไพร การทาํ ถา นชีวภาพ การรวมกลุมขยายพนั ธปลา การแปรรูปผลผลิต การทําการเกษตรผสมผสาน เปน ตน 28

ตวั อยางกจิ กรรมในชมุ ชนทส่ี อดคลองกับ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ๒ การรวมกลมุ กนั เพื่อทาํ กิจกรรมรว มกนั ของสมาชิกดวยทุนทางสังคมท่มี อี ยู ตัวอยาง ƒ การตอตานยาเสพติด ƒ การรวมกลุมเพ่ือเรยี นรผู านศนู ยเ รียนรู หรอื โรงเรียนเกษตรกรใน หมบู า น ƒ การรวมมอื รวมใจของสมาชิกในชุมชนทํากิจกรรมตางๆ ภายในวัด ƒ การจัดตั้งรานคา ทีเ่ ปน ของชุมชนเอง ƒ การจัดทําแผนแมบ ทในชุมชน ƒ การจัดตง้ั กลมุ ออมทรัพย กองทนุ สวัสดกิ าร ƒ การรวมกลมุ อนรุ ักษทรัพยากรธรรมชาตสิ ง่ิ แวดลอ ม ƒ กจิ กรรมการผลิตของกลุมตางๆ เชน การรวมกลมุ ทาํ ขนมของแมบาน การรวมกลุมเพือ่ ปลูกพืชผักสวนครัว การจัดตัง้ กองทนุ ขาวสารรวมกบั ชุมชนอื่นๆ ในตางภมู ิภาค 29

ตัวอยางกจิ กรรมในชมุ ชนที่สอดคลอ งกบั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๓. กิจกรรมที่สงเสริมคุณธรรม จิตสาํ นกึ ทอ งถน่ิ วิถีชีวิต และ วฒั นธรรมตามแนวเศรษฐกจิ พอเพียง ตัวอยาง ƒ กจิ กรรมตามแนวทาง บวร เชน พระสอนจรยิ ธรรมและศลี ธรรมแก เยาวชน ครู ผนู ําชมุ ชน ƒ ปลกู ฝง สมาชิกในชมุ ชนใหม ีความเอื้ออาทรตอกัน มากกวา คาํ นึงถึงตัว เงินหรือวตั ถุ ƒ สงเสริมใหสมาชกิ ทาํ บญั ชอี ยางโปรงใสและสจุ ริต ƒ การพฒั นาครูในชุมชนใหม คี ณุ ภาพและมีจิตผกู พนั กบั ทอ งถ่ินเปนสําคญั ƒ สงเสริมใหส มาชกิ ในชมุ ชนพง่ึ ตนเอง กอนทีจ่ ะพ่งึ หรอื ขอความชว ยเหลอื จากคนอื่น 30

การประยุกตใ ชเศรษฐกิจพอเพยี งในระดับชมุ ชน สหกรณ “สหกรณ แปลวา การทํางานรว มกัน การทํางานรวมกันน้ลี กึ ซึง้ มาก เพราะวาตองรว มมือกนั ในทุกดา น ท้งั ในดานงานท่ีทาํ ดวยรา งกาย ทั้ง ในดานงานการทท่ี ําดา ยสมอง และงานการที่ทาํ ดว ยใจ ทุกอยา งนี้ขาด ไมไดตองพรอม” (พระราชดํารัสพระราชทานแกผนู าํ สหกรณก ารเกษตร สหกรณน ิคม และ สหกรณป ระมงท่วั ประเทศ ณ ศาสาดสุ ดิ าลยั : ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๒๖ ) 31

หลักการสหกรณ ๑. การเปด รับสมาชิกโดยทัว่ ไปตามความสมัครใจ ๒. การดาํ เนินกจิ การตามหลกั ประชาธิปไตยโดยมวลสมาชกิ ๓. การมสี วนรวมทางเศรษฐกจิ โดยสมาชกิ ทงั้ นส้ี ามารถจัดสรรเงนิ สวนเกิน(กาํ ไร) ของสหกรณไดด งั นี้ ™เพอ่ื การพัฒนาธุรกิจของสหกรณ ™เพ่อื ตอบแทนแกส มาชกิ ตามสัดสวนของปริมาณธุรกิจ ™เพือ่ สนับสนุนกจิ กรรมตางๆ ท่ีมวลสมาชิกเห็นชอบ ๔. การปกครองตนเองดว ยความเปนอิสระ และเปนกลาง ๕. การใหก ารศกึ ษา ฝก อบรมและขอ มูลขาวสารสนเทศ ๖. การรวมมือระหวางสหกรณ ๗. ความเอื้ออาทรตอ ชมุ ชนเพ่อื รวมพัฒนาชมุ ชนใหม คี วามเจริญยงั่ ยืน 32

พฒั นาการชุมชนดานเศรษฐกิจพอเพียง ปญ หา ขอ มลู การวเิ คราะหป ญ หา ๑. ขั้นกอรางสรา งตวั การแสวงหาทางเลอื ก • จุดประกาย • แกนนาํ ความคิด ๒. ขั้นลงมือปฏิบตั ิการ •พึ่งตนเอง แผนชมุ ชน •ประสาน •รฐั ชวยทาํ ดําเนินกจิ กรรม • ลดรายจา ย • พ่ึงตนเอง • เนนการออม • สวัสดิการ ๓. ข้ันขยายผล เรยี นรู ขยายกจิ กรรม ใชเ ปน ขยายกลมุ ภายในชุมชน ดจู ํา ๔. ข้นั สรางพลงั การสรา งเครือขาย องคก รพนั ธมติ ร • องคกร และความเขมแขง็ • หนว ยงานรฐั • ชมุ ชนขา งเคยี ง • เอกชน • ขยายสูตาํ บล อาํ เภอ จังหวัดจนสูร ะดับประเทศ 33

เศรษฐกจิ พอเพยี งและภาคธุรกิจ ๒.๓ ภาคธรุ กิจเปน ปจจยั ทจี่ ะกําหนด คาเงนิ คาจาง การ เจริญเติบโตของระบบ หลายคนคิดวา เศรษฐกิจพอเพยี งเปน เรื่องของชมุ ชนและ ชนบทเทาน้ัน แตค วามจรงิ แลว เศรษฐกิจพอเพยี ง สามารถประยุกตใ ชไดกบั ภาคธุรกจิ เชนเดียวกนั หวั ใจคือการตดั สนิ ใจในการดําเนินธรุ กจิ ท่ีพอประมาณ มี เหตผุ ล และสรางภมู คิ ุมกนั ใหกับตนเอง บนพ้ืนฐานของ ความรแู ละคณุ ธรรม 34

ตัวอยางความพอเพียงในองคก รเอกชน แพรนดาจวิ เวอร่ี ๒.๓ ความพอประมาณ ความมเี หตมุ ผี ล การสรางภมู คิ ุม กันทดี่ ี ƒ ผลิตเพอ่ื กลมุ ลกู คา ชัน้ ดที ่ี ƒ สราง Brand ของตวั เองอยาง ƒ กระจายผลิตภัณฑใ นหลายระดับและ มีชองทางการขายชดั เจน ตอเนื่อง และมี Brand ตา งกัน สําหรับแตละระดับของตลาด ขยายตลาดในหลายประเทศ ƒ ยึดหลกั ความเส่ียง ƒ ใหราคาแก Suppliers อยาง ปานกลางเพือ่ กาํ ไรปกติ ƒ ตรวจสอบการทํางานของ บริษทั เทยี บกับคแู ขงอยาง เหมาะสม ƒ ยดึ หลักการแบงปนและ ƒ มนี โยบายจายเงินปน ผล ไมเบียดเบียนคูคาธุรกจิ สม่ําเสมอ ƒ ขยายการผลติ ไปยังประเทศ ไมเกิน ๖๐%ของกําไรสุทธิ ƒ มีเครอื ขา ยผูป ระกอบการ ƒ ประเมินความเสย่ี งของกิจการทกุ ๆ ๖ รายยอย ชว ยจดั สง งาน ทม่ี คี าแรงถกู ƒ มคี วามยดื หยนุ ในการเสนอ เดอื น เมอื่ ยอดการสั่งสนิ คาเพิ่ม ƒ ปองกันความเสยี่ ง โดยซ้อื ขายเงินตรา ผลติ ภัณฑตามความตองการ ลวงหนา เงอ่ื นไข ƒ พัฒนาและเรยี นรู เพอ่ื สรา งนวัตกรรมและโอกาสทางธุรกิจเสมอๆ ความรู ƒ จดั ทาํ โครงการศกึ ษาทวภิ าคเี พอื่ เด็กดอ ยโอกาสและพนักงานของบรษิ ัท ƒ รว มในเครือขา ย SVN ในการพัฒนาความรูและมาตรฐานธรุ กิจ เงอื่ นไข ƒ จดั โครงการรวมบรจิ าคโลหติ ใหสภากาชาดเปนประจําทุก ๓ เดือน คณุ ธรรม ƒ เปนโครงการโรงงานสขี าวดําเนนิ การปอ งกนั และแกไ ขปญ หายาเสพติดในองคก ร

ขอสงั เกตเก่ยี วกบั การประยกุ ตใช ๒.๓ ในภาคธรุ กิจเอกชน • การประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเกิดไดหลาย ดาน และหลายรูปแบบ ไมมีสูตรสําเร็จ ผูประกอบการ แตละคนจะตองพิจารณาตามความเหมาะสม ใหสอดคลอง กบั เงือ่ นไข และสภาวะทีต่ นเผชญิ อยู • ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จะชวยใหผูประกอบการ “ฉุกคิด” วามีทางเลือกอีกทางหน่ึง ที่จะชวยใหเกิดความ ย่ังยืน และสมดุลในระยะยาว 36

๓. การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 37

แนวทางการขบั เคลอ่ื น กลไก สรางองคความรู ผูนาํ ทาง สรางเพื่อน สานขาย หลัง ๒๕๕๐ การขบั เคลื่อน ฐานขอ มลู ความคิด ขยายผล ผลระยะยาว • คณะที่ปรึกษา ประชาสังคม วชิ าการ คนไทย ผูทรงคุณวุฒิ ใชชีวิต องคกร พฒั นาเครอื ขา ยเรยี นรู สถาบัน บนพน้ื ฐาน • คณะอนุ ภาครฐั เศรษฐกิจพอเพยี ง การเมือง เศรษฐกจิ กรรมการ พอเพยี ง ขับเคลอื่ นฯ องคกร สถาบนั สังคมไทย • คณะทํางาน ภาคเอกชน การศึกษา มีเครอื ขาย เครอื ขา ย ความรว มมือ ตา งๆ สอ่ื มวลชน และเยาวชน เศรษฐกิจ พอเพยี ง และประชาชน การพฒั นา พัฒนากระบวนการเรยี นรู คนหาตัวอยางรูปธรรม อยูบ น พืน้ ฐาน ท่เี หมาะสม ทีห่ ลากหลาย เศรษฐกิจ พอเพียง กับกลุม เปา หมายตางๆ 38 ๒๕๔๖ ระยะเวลาขบั เคลอ่ื น ๔ ป ๒๕๕๐

ขั้นตอนการขับเคลือ่ นเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๔ (๒๕๔๗ – ๒๕๕๐) ๔๗ ๔๘ ๔๙ ๕๐ •สานแกนนาํ •สรา งแกนนาํ •ขยายเครือขาย •เทดิ พระเกียรติ ขับเคลอื่ น •ส่อื สารแบบ •แตล ะเครอื ขา ย เครอื ขาย ผสมผสาน รว มนาํ •เครอ่ื งมือ •พฒั นาคน เรียนรู •พัฒนาส่ือเรยี นรู สูสาธารณชน เสนอผลงาน •แผน/ทิศทาง •ขยาย ขับเคลือ่ น แหลงเรียนรู จจุดุดปปรระะกกาายย ตตออกกเเสสาาเเขข็มม็ ขขยยาายยผผลล เเหห็นน็ คคณุ ณุ คคา า นนําาํ ไไปปปปฏฏิบิบัตัติ ิ 39

การขับเคลื่อนดานการศึกษาและเยาวชน พฒั นาสื่อการเรยี นรใู น พฒั นาบคุ ลากรเครอื ขาย รปู แบบตางๆ กลุมเปา หมาย กิจกรรม • จัดทาํ มาตรฐานหลกั สูตร ระดบั ประถมและระดับมัธยม • ผูอ ํานวยการ รร. • จัดอบรมวทิ ยากร • ศึกษานเิ ทศก / ครู • จัดอบรม ครู • สังเคราะหองคความรจู าก • นักเรียน • คา ยเยาวชนเศรษฐกิจ โรงเรยี นเครอื ขาย ๙ แหง • จนท. ศธ. พอเพียง • ประกวดสื่อการเรียนการสอน • พัฒนาตัวช้ีวดั ความพอเพียง ประสานความรวมมือ ของสถานศึกษา และเชื่อมโยง ภายใน • จัดทําสารคดตี วั อยา งโรงเรยี น และภายนอกเครือขายฯ เพื่อเผยแพรท างโทรทัศน • จดั ทําสอ่ื สงิ่ พมิ พตา งๆ • จดั ประชมุ และสมั มนา • สนบั สนุนการคงู าน ติดตามและประเมนิ ผล • จดั ทําฐานขอมูลโรงเรียน ความกาวหนา บุคลากร และเครอื ขาย - จดั ทํารายงานความกา วหนา ในเว็บไซท - ติดตามผลงานในพนื้ ท่ี 40

หยุดคิด ๕ นาที กรุณาตอบคําถามทั้ง ๒ ขอขางลาง และเขยี นช่ือท่ีมุมขวาบน ของ กระดาษคาํ ตอบทแี่ จก ๑ “เศรษฐกิจพอเพยี ง” สาํ หรับทา นหมายความวาอยางไร (หลังฟงบรรยาย) ๒ ทา นคดิ วา ทานจะสามารถทํากจิ กรรมอะไรบา งทสี่ อดคลองกับ หลักเศรษฐกิจพอเพยี ง หรอื สรางความพอเพียงใหเกิดข้ึนกับ ตนเอง/ครอบครัว/สังคม 41

ตดิ ตอเรา โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง สํานักงานทรพั ยสินสว นพระมหากษัตรยิ  ๑๗๓ ถนนนครราชสีมา เขตดสุ ติ กทม. ๑๐๓๐๐ โทรศัพท ๐๒-๖๘๗-๓๖๖๒ โทรสาร ๐๒-๒๘๒-๘๒๒๖ [email protected] www.sufficiencyeconomy.org


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook