Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore PDF01

PDF01

Published by DPD E-Lidrary, 2020-06-09 23:16:53

Description: PDF01

Search

Read the Text Version

สมยั รัตนโกสินทรต์ อนตน้

การสถาปนาราชธาน.ี .. บริเวณที่เปน็ ทีต่ ง้ั ของพระบรมมหาราชวังนนั้ เคยเป็นสถานกี ารคา้ ขายกับ ชาวต่างประเทศในแผน่ ดนิ สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช มนี ามเดมิ ว่า “บางกอก” ซึ่งในขณะนัน้ เป็นทีอ่ ยอู่ าศยั ของชาวจีน ร.1 ทรงใหช้ าวจนี ย้ายไปอย่ตู าบลสาเพง็ หลงั จากนนั้ ในเดือนมิถุนายน พ.ศ.2325 ขณะท่พี ระองค์ทรงมพี ระชนมายไุ ด้ 45 พรรษา ไดท้ รงประกอบพธิ ปี ราบดาภิเษกขน้ึ เปน็ ปฐมกษัตริย์แหง่ ราชวงศจ์ กั รี ทรงพระนามว่า “พระบาทสมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชรามาธบิ ดีฯ” แต่ในสมัยปัจจบุ ันผ้คู นนิยมเรียกพระนามวา่ “พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้า จุฬาโลกมหาราช” 2

• นาที 1.00-2.20 • https://www.youtube.com/watch?v=97vqPHw xavQ&t=271s 3

สาเหตกุ ารย้ายราชธานจี ากกรุงธนบุรมี าตงั้ ที่กรงุ รัตนโกสนิ ทร์ 1. กรุงธนบุรีเป็นเมอื งอกแตก ทาให้ยากแก่การรักษาพระนคร เวลาข้าศึกบกุ 2. กรุงธนบรุ อี ยู่ในท้องคุ้งน้า ทาใหน้ า้ กดั เซาะตลง่ิ พงั ได้ง่าย 3. บริเวณพระราชวงั เดมิ ของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชคบั แคบ มวี ดั ขนาบท้งั สองข้าง คือ วัดแจง้ (วัดอรุณราชวราราม) กับวัดท้ายตลาด (วัดโมฬโี ลกยา ราม) ทาใหย้ ากแกก่ ารขยายพระราชวงั ใหก้ ว้างออกไป 4

การปกครอง.. • ร. 1 ทรงเอาแบบอย่างการปกครองประเทศซ่งึ มมี าตั้งแต่สมยั สมเด็จ พระบรมไตรโลกนาถแหง่ กรุงศรอี ยุธยา กล่าวคือ พระมหากษตั รยิ ์ทรงมี อานาจสงู สดุ และเด็ดขาดในการปกครองประเทศ มีอคั รมหา เสนาบดี 2 ตาแหนง่ ภายในเมือง มี จตุสดมภ์ ปกครองตามหน้าท่ี สว่ นการปกครองหวั เมอื ง แบง่ ออกเป็น 3 สว่ นไดแ้ ก่ การปกครอง ส่วนกลาง การปกครองหวั เมือง และการปกครองประเทศราช 5

ดแู ลหัวเมอื งฝ่ายใต้ กษัตริย์ ดแู ลหัวเมืองฝ่ายเหนอื สมุหกลาโหม สมุหนายก คชสีห์ ราชสีห์ เวียง วัง คลัง นา บัวแกว้ 6

7

• สมุหกลาโหม เจา้ พระยามหาเสนา ตราประจา คือ ตรา คชสหี ์ • สมุหนายก เจา้ พระยาจักรีศรอี งครกั ษ์ ตราประจา คือ ตราราชสีห์ • เวยี ง พระยายมราช ตราประจา คือ ตราพญายมทรงสงิ ห์ • วัง พระยาธมมาธกิ รณ์ ตราประจา คือ ตราเทพยดาทรงพระนนทิ การ (พระโค) • คลัง พระยาโกษาธบิ ดี ตราประจา คือ ตราบัวแกว้ • นา พระยาพลเทพ ตราประจา คือ ตราพระพริ ณุ ทรงนาค 8

การปกครองหัวเมอื เมงืองประเทศราชที่สาคญั ไดแ้ ก่ เมืองเชียงใหม่ ลาพนู ลาปาง แพร่ นา่ น เชียงราย เมอื งชั้นนอก หลวงพระบาง เวียงจันทน์ และจาปาศักดิ์ พระ หรอื เรียกว่า เมืองพระยา ตะบองและเสียมราฐ ให้ขุนนางไทยปกครองดแู ล อกี มหานคร เพราะแตง่ ตงั้ สว่ นหนง่ึ ให้เจา้ นายเขมรปกครองเอง ขุนนางไป - ทางใตผ้ ไู้รด้งัแก่ มลายู เมอื งไทรบุรี ปตั ตานี กลนั ตัน ผเตมู้ปรอื งั กกงคนารนคอูรงผศด้ปู รูแกธี ลครเรรอมองรงแาเปชตน็อ่ ซสย่ึงุลูภ่เปตา็นยา่ นหใตวั มก้เรเมียามาศอืรชอืคเงปเงวอ็นบปกพครุมยระะกเดทยเแู วาศลน้ เขปอ็นง ปกครอง ปัตตานแี ละตรังกานู ให้สงขลาซง่ึ เป็นหวั เมอื งเอกอีก เมืองหนง่ึ ของทางใตค้ วบคมุ ดแู ล 9

กฎหมายตราสามดวง • พระราชกรณยี กิจ ของ ร.1 ได้โปรด ให้ มกี ารรวบรวมและชาระกฎหมายเกา่ ทใี่ ชก้ ัน มาตง้ั แตค่ รงั้ กรงุ ศรอี ยุธยา เม่อื ไดช้ าระเรียบรอ้ ย แล้วโปรดเกล้าฯ ใหอ้ าลักษณค์ ัดลอกไวเ้ ป็น 3 ฉบับ ทุกฉบบั ประทบั ตราคชสหี ์ ตราราชสีห์ และตราบัวแก้ว ซึ่งเปน็ ตราประจา ตาแหน่งสมหุ พระกลาโหม สมหุ นายก และพระยาพระคลงั กฎหมายตราสาม ดวง หรอื เรียกอกี อย่างหนง่ึ วา่ ประมวลกฎหมายรัชกาลที่ 1 ได้ใช้เป็นหลักในการ ปกครองประเทศมาจนถึงรชั กาลท่ี 5 10

เศรษฐกิจ... 11

• สาหรับประชาชนทั่วไป สภาพเศรษฐกิจของไทยมลี กั ษณะเป็น \"เศรษฐกจิ แบบยังชพี \" เปน็ การผลิตเพื่อการบรโิ ภคภายใน ครวั เรอื นและนาไปแลกเปล่ยี นกบั สินคา้ อ่ืน ๆ ภายในท้องถนิ่ 12

รายไดข้ องรฐั ... จีน สนิ ค้าออกที่สาคญั ไดแ้ ก่ ดีบุก งาชา้ ง ไม้ นา้ ตาล 1.การคา้ กับตา่ งประเทศ พริกไทย รังนก กระดกู สัตว์ หนังสัตว์ กระวาน ภาษีเบกิ ร่องหรือภาษปี ากเรือ และคร่งั ส่วนสินคา้ เขา้ ท่ี สาคญั ได้แก่ เครอ่ื งถ้วย 2.การเก็บภาษีอากร อากร ชามสงั คโลก ชา ไหม เงิน ปนื ดินปนื กระดาษ สว่ ย ฤชา จังกอบ เครือ่ งแกว้ 13

การคา้ ขายกับต่างประเทศ... • ในสมยั รัตนโกสนิ ทรต์ อนต้น การค้ากับตา่ งประเทศส่วนใหญ่ทากบั จนี รองลงไปได้แกญ่ ป่ี ุ่น ชวา สงิ คโปร์ และอินเดยี และเป็นการค้า โดยใช้เรือสาเภาทัง้ ส้นิ มีทง้ั สาเภาหลวงและสาเภาเอกชนอยใู่ นความ กากบั ดูแลของกรมท่า (พระคลงั สินคา้ ) ท้งั หมด สาเภาหลวงท่ีปรากฎ ชื่อในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าจฬุ าโลก รัชกาลที่ 1 มี 2 ลา ไดแ้ ก่ เรอื หูสง และ เรืองทรงพระราชสาสน์ 14

ภาษอี ากรท่ีได้จากภายนอกประเทศ ... • ภาษเี บิกรอ่ งหรอื ภาษีปากเรอื คอื ภาษีที่เกบ็ จากเรอื สนิ ค้า ต่างประเทศ โดยคิดจากขนาดความกว้างของปากเรือ • สนิ คา้ ผกู ขาด คอื สนิ คา้ ทีร่ ัฐบาลผูกขาดเป็นผูซ้ ้ือขายแตผ่ ู้เดยี ว หา้ ม มิให้ราษฎรผู้ใดซอ้ื หรอื ขายสนิ คา้ นั้นๆ เพอื่ ความปลอดภัยและความ มั่นคงของประเทศ เช่น อาวุธปนื กระสนุ ปืน และดนิ ระเบิด • สินค้าตอ้ งห้าม คือ สนิ ค้าทห่ี ายาก มรี าคาแพง เปน็ ที่ต้องการของ ตา่ งประเทศ เชน่ งาช้าง รังนก ฝาง กฤษณา

ภาษอี ากรที่ได้จากภายในประเทศ.. เงินหรือสง่ิ ของท่ี รัฐบาลเรยี กเกบ็ การเรยี กเกบ็ จากผลประโยชน์ ของราษฎรท่ีไดจ้ าก สินค้าเมื่อผา่ น จังกอบ อากร การประกอบอาชพี นอกจากอาชพี ด่าน โดยชัก คา่ ธรรมเนยี ม ค้าขาย คือ การทา สว่ นจากสนิ ค้า นา เรยี กว่า อากร คา่ นา การทาสวน ทผ่ี า่ นดา่ นทั้ง ส่วย ฤชา เรยี กวา่ อากร ทางบกและ พลากร ทางน้าใน 16 อัตรา เงินหรือสงิ่ ของท่ไี พรส่ ว่ นนามาใหแ้ ก่ 10 หยิบ 1 ทางราชการทดแทนการเข้าเดอื น

• หน่วยงานทที่ าหน้าที่ดแู ลรับผดิ ชอบเกยี่ วกับสนิ คา้ ผูกขาด และ สนิ ค้าต้องหา้ ม คือ กรมพระคลงั สนิ คา้ (ซ่ึงตอ่ มาเรยี กวา่ กรมทา่ ) ซ่งึ มีหนา้ ท่ีติดต่อกับตา่ งประเทศ เกบ็ ภาษเี ขา้ และภาษี ออก ตรวจตราเรือสินคา้ ต่างประเทศ และเลือกซอ้ื สินค้าตามที่ ราชการต้องการ โดยจะส่งเจ้าหนา้ ท่ลี งไปตรวจเรอื สนิ ค้า กอ่ น เรยี กว่า การเหยยี บหัวตะเภา 17

การเปล่ียนแปลงที่สาคญั ในสมัยรัชกาลที่ 2.. การเดนิ สวน คือ การให้เจา้ พนักงานที่ได้รบั การแต่งตั้งออกไปสารวจเรอื กสวนของราษฎร เพื่อการเสยี ภาษีอากร ซึ่งการจดั แบง่ ภาษกี ารเดนิ สวนจัดแบ่งตามประเภทของผลไม้ การเดินนา คือ การให้เจ้าพนกั งานออกไปสารวจทีน่ าของราษฎร แล้วออกหนังสือสาคัญ ให้เจา้ ของถือไวเ้ พ่ือเปน็ หลักฐานในการเสยี ภาษอี ากรทีเ่ รยี กว่า \"หางข้าว\" คือ การเก็บขา้ วในอตั ราไรล่ ะ 2 ถัง และตอ้ งนาไปสง่ ทฉี่ างหลวงเอง เงนิ คา่ ผูกปข้ี อ้ มือจีน เดมิ ชาวจีนไดร้ ับการยกเว้นจากการเกณฑ์แรงงานในขณะท่ีราษฎร ไทยท่ีเป็นไพร่ 18

• พระราชกรณีกิจ ของ ร.2 เกย่ี วกบั การการกาหนด การเดนิ สวน เดนิ นา การสักเลก และ การผอ่ นปรนการเข้าเดอื น ออกเดอื น • http://www.trueplookpanya.com/learning/det ail/19498-029974 19

ภาษเี ดินสวน มอี ัตราจัดเกบ็ แตกต่างไปตามชนดิ ของผลไมท้ ปี ลูก สามารถแบ่งอากรได้เปน็ 3 กลมุ่ ดังนี้ • อากรสวนใหญ่มอี ัตราภาษีสงู ทส่ี ุด จัดเกบ็ จากผลไมย้ นื ต้นชั้นดี ซึง่ มที ้ังหมด 7 ชนดิ ได้แก่ ทเุ รี ยน มังคดุ มะมว่ งมะปรางลางสาด หมากและพลูคา้ งทองหลาง โดยทเุ รยี นมอี ัตราการจดั เกบ็ ภาษีสูงทีส่ ดุ • อากรพลากรจดั เก็บภาษจี ากไมย้ ืนต้นทม่ี ลี าดบั ชัน้ รองลงมา มีทงั้ หมด 8 ชนิด ได้แกข่ นุน สะท้อนหรื อ กระทอ้ น เงาะ สม้ มะไฟ ฝรัง่ สับปะรด และสาเก • อากรสมพัตสรจดั เกบ็ จากผลไมล้ ม้ ลกุ มีทัง้ หมด 2 ชนิด ไดแ้ ก่กลว้ ยและอ้อย 20

ภาษีเดินนา • - นาทา่ หรือ นาคูโ่ คคือนาทีป่ ลูกขา้ วไดป้ ี ละหลายครั้งโดยอาศัย นา้ ทา่ จากแม่นา้ ลาคลอง มีการจัดเก็บภาษเี ป็น หางขา้ วซงึ่ เป็น ผลผลติ ส่วนเกนิ จากนาข้าวในแต่ละแปลง โดยประเมินจานวน ผลผลิตจากการนบั จานวนโค หรอื กระบือทีช่ าวนาใช้ทานา • - นาฟางลอยหรือนาดอน คอื นาที่ปลกู โดยอาศัยน้าฝน จัดเกบ็ ภาษี ตามจานวนตอฟางขา้ วภายหลงั จากเกบ็ เกี่ยว แล้ว หากในปี ใด ไมไ่ ด้ผลผลิตกย็ กเว้นไม่ตอ้ งเสยี ภาษี 21

การเปล่ียนแปลงทสี่ าคัญในสมยั รัชกาลที่ 3.. http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/19501- 029708 -คอื การเปลยี่ นระบบการเกบ็ ภาษีอากร มาเปน็ แบบการประมลู เรียกว่าระบบเจ้าภาษนี ายอากร -การเกบ็ ภาษอี ากรเพ่ิมขน้ึ หลายชนดิ เชน่ ภาษีพริกไทย น้าตาล 22

สนธสิ ัญญาเบอร์นี่... การค้ากับตา่ งประเทศในสมยั รชั กาลที่ 3 ในสมยั น้ี องั กฤษไดส้ ง่ รอ้ ยเอกเฮนรี เบอร์นี เข้ามาเจรจาทาสนธสิ ัญญา เบอร์นกี ับไทย โดยมใี จความสาคัญ ดงั นี้ (1) อนุญาตให้พ่อค้าไทยและอังกฤษติดตอ่ การคา้ ไดโ้ ดยเสรี แต่ สนิ คา้ อาวธุ พอ่ คา้ ตอ้ งขายให้รฐั บาลไทยเท่าน้นั (2) การเก็บภาษปี ากเรือให้เกบ็ ตามความกว้างของปากเรอื ถ้าเรือมี สินคา้ เกบ็ วาละ 1,700 บาท ถ้าเรอื ไม่มสี ินค้า เก็บวาละ 1,500 บาท 23

สญั ญาเบอร์เปน็ สญั ญากับอังกฤษฉบบั แรกของไทย (3) พอ่ ค้าจะตอ้ งทอดสมอเรอื สนิ ค้าทปี่ ากนา้ เจา้ พระยา เพ่อื ให้เจ้าหน้าท่ี ไทยตรวจบัญชีค้นสินค้า และนาสนิ คา้ อาวุธเกบ็ รกั ษาไว้ จงึ จะอนญุ าต ใหเ้ ขา้ ไปได้ (4) คนอังกฤษทกุ คน ต้องปฏบิ ตั ิตามกฎหมายไทยทุกประการ ถ้าทา ความผดิ จะถูกลงโทษตามกฎหมาย การทาสนธสิ ญั ญาครงั้ นี้ยงั ไม่เป็น ท่พี อใจของฝา่ ยองั กฤษ องั กฤษจงึ พยายามแกไ้ ขสนธิสญั ญา โดยการ สง่ เซอร์ เจมส์ บรคู เข้ามาเจรจาใน พ.ศ. 2383 แตไ่ ม่สาเรจ็ 24

สภาพสังคม/วัฒนธรรม แบ่งประชาชน เป็น 4 ชนช้ัน ๏ เจา้ นาย ได้แก่ พระมหากษตั รยิ แ์ ละพระบรมวงศานุวงศ์ ๏ ขนุ นางและขา้ ราชการต่างๆ พวกนีม้ ีความเป็นอยู่ดี ฐานะร่ารวย มิ สทิ ธพิ เิ ศษหลายอย่าง ๏ ไพร่ เป็นชนสว่ นใหญ่ของประเทศ ซึ่งประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็น หลกั ๏ ทาส 25

สังคม และวัฒนธรรม 26 วัดสาคญั .... วดั พระศรรี ตั นศาสดาราม รัชกาลท่ี 1 วดั พระเชตพุ นวิมลมังคลารามวดั ประจา รชั กาลที่ 1 วัดสทุ ัศนเ์ ทพวราราม รชั กาลที่ 1..วัดใหญใ่ จกลางเมือง วดั อรณุ ราชวราราม วัดประจารัชกาลท่ี 2 วดั ราชโอรสาราม วดั ประจารัชกาลที่ 3 https://www.youtube.com/watch?v=qTebKys9 jlU


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook