Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประทีปทองส่องทางพลังงานไทย

ประทีปทองส่องทางพลังงานไทย

Published by DPD E-Lidrary, 2020-08-04 01:42:27

Description: ประทีปทองส่องทางพลังงานไทย

Search

Read the Text Version

รอยพระบาทยาตรายงั จารกึ ... ในดวงใจของชาว กฟผ.

รอยพระบาทยาตรายงั จารึก... ในดวงใจของชาว กฟผ. ๒๕๑๓ ๒๕๑๕ วนั ที่ ๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๑๓ วันที่ ๑๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๕ เสดจ็ พระราชด�ำ เนนิ ไปทรงเยอื นโรงไฟฟา้ พระนครใต้ เสด็จพระราชด�ำ เนินไปทรงเยอื น คร้ังแรก โรงไฟฟา้ พระนครใต้ ครง้ั ที่ ๓ วนั ท่ี ๖ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๑๓ ๒๕๑๑ เสดจ็ พระราชด�ำ เนนิ ไปทรงเยอื นโรงไฟฟ้าพระนครใต้ ครั้งท่ี ๒ วนั ที่ ๓ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๑๑ เสดจ็ พระราชด�ำ เนินไปทรงเยือนเขือ่ นภมู ิพล ๒๕๑๒ ๒๕๑๔ วันท่ี ๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๑๒ วนั ท่ี ๒ มกราคม พ.ศ. ๒๕๑๔ เสดจ็ พระราชด�ำ เนนิ ไปทอดพระเนตร เสด็จพระราชด�ำ เนนิ ไปทอดพระเนตร โรงไฟฟา้ พระนครเหนือ การก่อสร้างเข่อื นจฬุ าภรณ์ ด่ังดวงประทีปแหง่ การพลังงาน

๒๕๒๑ ๒๕๓๖ ๒๕๔๕ วนั ท่ี ๖ มกราคม พ.ศ. ๒๕๒๑ วันที่ ๒ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๓๖ วันท่ี ๒๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๕ ทรงน�ำ มกุฎราชกมุ ารเรซา ปาหล์ าวี แหง่ อิหรา่ น เสด็จพระราชด�ำ เนนิ ไปทรงเปดิ สวนสมุ าลัย ทรงประกอบพิธีเททองหลอ่ เยยี่ มชมเขอ่ื นภูมิพล ณ เขอื่ นสิริกิต์ิ หลวงพอ่ พุทธสิรสิ ตั ตราช (หลวงพอ่ เจด็ กษัตริย์) ณ การไฟฟ้าฝา่ ยผลติ แหง่ ประเทศไทย สำ�นักงานใหญ่ ๒๕๑๘ ๒๕๒๗ ๒๕๔๑ วนั ท่ี ๒๔ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๑๘ วนั ท่ี ๒๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๗ วนั ท่ี ๗ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๔๑ เสดจ็ พระราชดำ�เนนิ ไปทรงเยือนเขอ่ื นภมู พิ ล เสดจ็ พระราชด�ำ เนนิ ไปในพิธเี ปดิ เสด็จพระราชด�ำ เนินไปทรงเปดิ ครั้งท่ี ๒ โรงไฟฟา้ พลงั นำ�้ ห้วยกุยมัง่ โรงไฟฟ้าวงั นอ้ ย ดงั่ ดวงประทปี แห่งการพลงั งาน

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระมหากรุณาธิคุณต่อ การไฟฟ้าฝา่ ยผลิตแห่งประเทศไทย หรือ กฟผ. สบื เนือ่ งมาตลอด โดยไดเ้ สดจ็ พระราชด�ำเนนิ มาทอดพระเนตรกจิ การของ กฟผ. ดว้ ย ความสนพระราชหฤทยั ตง้ั แตเ่ มอื่ ครง้ั ยงั ทรงด�ำรงพระราชอสิ รยิ ยศ เป็นสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณ และสมเด็จ พระบรมโอรสาธริ าช เจา้ ฟา้ มหาวชริ าลงกรณ ฯ สยามมกฎุ ราชกมุ าร ทง้ั ทเ่ี ปน็ การเสดจ็ พระราชด�ำเนนิ สว่ นพระองค์ และเสดจ็ พระราชด�ำเนนิ แทนพระองค์พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพนั ปีหลวง ไปในพิธีเปิดการ ด�ำเนนิ กจิ การ เปดิ สถานที่ หรอื กจิ กรรมอนั เกย่ี วขอ้ งท่ี กฟผ.จดั ขนึ้ รอยพระบาทที่เสด็จยาตราในแต่ละคราน้ัน ยังคงจารึกใน หัวใจอันปล้ืมปีติของชาว กฟผ. อยู่อย่างไม่รู้ลืม ดังท่ีจะอัญเชิญ มาประมวลไว้ ณ ที่นี้ เพื่อน้อมส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณแห่ง องคผ์ ้เู ปน็ ด่งั ประทปี ทองส่องทางพลังงานไทยสืบไป 152 ประทีปทองส่องทางพลังงานไทย

ประทปี ทองสอ่ งทางพลงั งานไทย 153

154 ประทปี ทองสอ่ งทางพลงั งานไทย

 เสด็จพระราชด�ำเนินไปทรงเยือนเขอ่ื นภมู ิพล  ในปีพุทธศักราช ๒๔๙๔ ช่วงหลังสงครามโลกคร้ังท่ี ๒ รัฐบาลในขณะน้ัน มีแนวคิดที่จะสร้างโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ โดยเฉพาะโรงไฟฟ้าพลังน้�ำ ท่ีสามารถ น�ำไฟฟ้าเข้าสู่ระบบได้อย่างรวดเร็ว จึงมีการจัดตั้ง “คณะกรรมการพิจารณา สร้างโรงไฟฟ้าท่ัวราชอาณาจักร” ข้ึน เพ่ือส�ำรวจพ้ืนที่สร้างโรงไฟฟ้าทั่วประเทศ โดยพบว่าในล�ำน้�ำปิงบริเวณหุบเขาย่านรีหรือยันฮี อ�ำเภอสามเงา จังหวัดตาก มีความเหมาะสมต่อการสรา้ งเขื่อนเปน็ อยา่ งยง่ิ จึงน�ำมาสู่การสรา้ ง “เขื่อนยนั ฮี” ขึ้นในปีพุทธศักราช ๒๔๙๖ และในปีเดียวกันน้ีเองก็มีการตั้ง “การไฟฟ้ายันฮี” (กฟย.) เพ่ือรับผิดชอบการสร้างเข่ือนและผลิตไฟฟ้าให้กับพ้ืนท่ีภาคกลางและ ภาคเหนือของประเทศ เมื่อวันที่ ๒๕ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๐๐ พระบาทสมเด็จ พระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า โปรดกระหม่อมพระราชทานพระปรมาภิไธยให้เป็นชื่อเข่ือนว่า “เขื่อนภูมิพล” และเสดจ็ พระราชด�ำเนนิ ไปทรงวางศลิ าฤกษ์ เมอื่ วนั ที่ ๒๔ มถิ นุ ายน พทุ ธศกั ราช ๒๕๐๔ และในวันที่ ๑๗ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๐๗ ได้เสด็จพระราชด�ำเนิน พร้อมด้วยสมเดจ็ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง เพื่อทรงประกอบพิธีเปิดเข่ือนและ ทรงกดปุ่มขนานเคร่ืองก�ำเนิดไฟฟ้าเคร่ืองท่ี ๑ เข้าระบบ และนับตั้งแต่วันน้ัน โรงไฟฟ้าพลังน�้ำเขื่อนภูมิพลก็ได้ท�ำหน้าที่ผลิตไฟฟ้าเพ่ือความสุขของคนไทย มาโดยตลอด ตอ่ มา วนั ท่ี ๓ สงิ หาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๑ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เมอ่ื ครง้ั ยงั ทรงด�ำรงพระราชอสิ รยิ ยศเปน็ สมเดจ็ พระเจา้ ลกู ยาเธอ เจา้ ฟา้ วชริ าลงกรณ ไดเ้ สดจ็ พระราชด�ำเนนิ ไปยงั เขอ่ื นภมู พิ ล จงั หวดั ตาก ในโอกาสนี้ ทรงปลกู ตน้ สกั ไวเ้ พอื่ เปน็ สริ มิ งคล โดยมนี ายเกษม จาตกิ วณชิ ผวู้ า่ การการไฟฟา้ ยนั ฮี(ชอ่ื ต�ำแหนง่ ในขณะน้ัน) เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทรับเสด็จ ในปีพุทธศักราช ๒๕๑๒ การไฟฟ้ายันฮีได้ควบรวมกับรัฐวิสาหกิจ “การลกิ ไนท”์ และ “การไฟฟ้าตะวันออกเฉียงเหนือ” เป็นการไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย (กฟผ.) นอกเหนือจากการผลิตกระแสไฟฟ้าเพ่ือสนองความต้องการของประเทศ ตราบจนปจั จบุ นั แลว้ ตง้ั แตป่ พี ทุ ธศกั ราช ๒๕๐๗ เขอ่ื นภมู พิ ลยงั ไดเ้ รม่ิ กกั เกบ็ นำ�้ และบริหารจัดการน�้ำ โดยกักเก็บน�้ำในช่วงฤดูฝน เพื่อน�ำมาบริหารจัดการให้ เพียงพอกับความต้องการในช่วงฤดูแล้ง สามารถจัดสรรน้�ำเพ่ือการเกษตรได้ กว่า ๑๐ ล้านไร่ ครอบคลุมพ้ืนท่ีจังหวัดตาก ก�ำแพงเพชร และนครสวรรค์ นอกจากน้ัน น้�ำที่ระบายออกจากเข่ือนยังใช้ประโยชน์ในการรักษาระบบนิเวศ เช่น ผลักดันน�้ำเค็มในพื้นท่ีบริเวณปากอ่าวไทย และเข่ือนภูมิพลยังเป็นสถานที่ ท่องเที่ยวท่ีส�ำคัญแห่งหน่ึงของจังหวัดตากอีกด้วย ประทีปทองสอ่ งทางพลงั งานไทย 155

 ทอดพระเนตรโรงไฟฟา้ พระนครเหนอื   โรงไฟฟ้าพระนครเหนือ เป็นโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมที่ ทนั สมยั ทีส่ ดุ แห่งแรกของประเทศไทย ตง้ั อยูท่ ่ี ๕๓ หมู่ ๒ ต�ำบล บางกรวย อ�ำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี โดยติดอยกู่ บั กฟผ. ส�ำนักงานใหญ่ มีพื้นที่ประมาณ ๑๑๒ ไร่ ประกอบด้วย อาคาร ผลิตกระแสไฟฟ้า อาคารสถานีไฟฟ้าแรงสูง อาคารผลิตน�้ำใช้ใน โรงไฟฟา้ และหอหลอ่ เยน็ สว่ นพนื้ ทอ่ี กี จ�ำนวน ๓๔ ไร่ เปน็ พน้ื ทสี่ เี ขยี ว โรงไฟฟ้าพระนครเหนือ เปรียบเสมือน “โรงครู” ถือเป็น จุดเร่ิมต้นของการพัฒนาระบบไฟฟ้าสมัยใหม่ของประเทศไทย โดยมปี ระวตั คิ วามเปน็ มาเคยี งคกู่ บั กฟผ. ตงั้ แตใ่ นสมยั ทเี่ รม่ิ ท�ำการ กอ่ สรา้ งเข่ือนภูมิพลหรือเข่ือนยนั ฮี “การไฟฟ้ายนั ฮี” ถูกจดั ตง้ั ขึ้น มาเพ่ือดูแลการก่อสร้างและบริหารจัดการเมื่อเข่ือนแล้วเสร็จ แต่ ในระหวา่ งการกอ่ สรา้ งเขอื่ นภมู พิ ล การไฟฟา้ ยนั ฮไี ดส้ รา้ งโรงไฟฟา้ พลงั ความร้อนประเภทไอนำ�้ ข้ึนมารองรับ ในปพี ุทธศักราช ๒๕๐๒ ถือเป็นโรงไฟฟ้าโรงแรกท่ีการไฟฟ้ายันฮีสร้างขึ้น และท�ำพิธีเปิด อยา่ งเปน็ ทางการในวันที่ ๑๗ พฤษภาคม พทุ ธศักราช ๒๕๐๔ ตอ่ มาวนั ท่ี ๔ สงิ หาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๒ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว เม่ือคร้ังยังทรงด�ำรงพระราชอิสริยยศเป็นสมเด็จ พระเจา้ ลูกยาเธอ เจ้าฟา้ วชริ าลงกรณ เสด็จพระราชด�ำเนนิ ไปทอด พระเนตรกจิ การโรงจกั รพระนครเหนอื (ชอ่ื เรยี กในขณะนนั้ ) จงั หวดั นนทบรุ ี โดยมนี ายเกษม จาตกิ วณชิ ผู้วา่ การ กฟผ. ในสมัยนัน้ และนาวาอากาศตรี ก�ำธน สินธวานนท์ ผู้ช่วยผู้ว่าการปฏิบัติการ (ยศและต�ำแหน่งในขณะนน้ั ) เฝา้ ทูลละอองธลุ พี ระบาทรบั เสดจ็ โรงไฟฟ้าพระนครเหนือ ได้รับใช้สังคมไทยมายาวนานถึง ๔๐ ปี จนถึงปีพุทธศักราช ๒๕๔๔ กฟผ. ได้ปลดโรงไฟฟ้าน้ี ออกจากระบบ และร้ือถอนเพ่ือสร้างโรงไฟฟ้าข้ึนใหม่ในพื้นที่เดิม โรงไฟฟ้าพระนครเหนือโรงใหม่เป็นโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม ใชเ้ ชอ้ื เพลงิ กา๊ ซธรรมชาตจิ ากแหลง่ สาธารณรฐั แหง่ สหภาพเมยี นมา (ฝ่ังตะวันตก) และแหล่งอ่าวไทย (ฝง่ั ตะวนั ออก) เร่ิมกอ่ สร้างเม่ือ เดือนธนั วาคม พทุ ธศักราช ๒๕๔๙ ท�ำพธิ ีเปดิ อย่างเป็นทางการใน เดือนกนั ยายน พทุ ธศักราช ๒๕๕๓ และตามแผนพฒั นาก�ำลงั ผลิต ไฟฟ้าของประเทศไทย พุทธศักราช ๒๕๔๗ - ๒๕๕๘ จึงได้มี การก่อสร้างโรงไฟฟา้ พระนครเหนือ ชุดท่ี ๒ ข้ึน ตามสถานการณ์ ความต้องการใช้ไฟฟ้าของประเทศท่ีสูงขึ้น โดยได้รับอนุมัติ โครงการฯ จากคณะรัฐมนตรี เมื่อวันท่ี ๑๐ กรกฎาคม พทุ ธศักราช ๒๕๕๕ และไดจ้ า่ ยไฟเขา้ ระบบเชิงพาณิชย์เมื่อวันท่ี ๑๕ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๕๙ 156 ประทปี ทองส่องทางพลังงานไทย

ประทปี ทองสอ่ งทางพลงั งานไทย 157

158 ประทปี ทองสอ่ งทางพลงั งานไทย

 เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ๓ ครา ไปทรงเยอื นโรงไฟฟา้ พระนครใต ้ ในปีพุทธศักราช ๒๕๐๙ แหล่งผลิตไฟฟ้าขนาดใหญ่ในประเทศไทยมีเพียง ๒ แห่ง คือ โรงไฟฟ้าพระนครเหนือและโรงไฟฟ้าเขื่อนภูมิพล ในขณะท่ีความต้องการใช้ไฟฟ้าเพ่ิมขึ้น อย่างรวดเร็วตามการเจริญเติบโตของบ้านเมือง กฟผ. จึงวางแผนการขยายแหล่งผลิตไฟฟ้า ทง้ั ระบบพลงั นำ้� และพลงั ความรอ้ น เพอื่ ใหเ้ กดิ ความมน่ั คงในระบบไฟฟา้ โดยใชช้ อื่ แผนการนว้ี า่ โครงการ ๕ ปี โครงการ ๕ ปี เป็นแผนพัฒนาพลังงานไฟฟ้าในช่วงพุทธศักราช ๒๕๑๐ - ๒๕๑๔ มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ขยายแหลง่ ผลติ ไฟฟา้ โดยใช้โรงไฟฟา้ พลงั ความรอ้ นเปน็ แหลง่ ผลติ หลกั และ โรงไฟฟา้ พลงั นำ�้ เปน็ แหลง่ ผลติ เสรมิ ในชว่ งความตอ้ งการไฟฟา้ สงู วธิ นี ชี้ ว่ ยใหม้ ตี น้ ทนุ การผลติ ตำ่� และมคี วามม่ันคงในระบบไฟฟ้าสงู สุด โรงไฟฟ้าพระนครใต้ได้รับการบรรจุไว้ในโครงการ ๕ ปี ซ่ึงได้รับการอนุมัติจากคณะ รัฐมนตรีเม่ือวันท่ี ๑๖ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๑๐ และเร่ิมก่อสร้างในปีเดียวกันน้ัน โดย กฟผ. ท�ำการปรับปรุงท่ีดิน ๓๗๑ ไร่ ซึ่งเดิมเป็นท้องร่องสวน ต้ังอยู่ท่ีต�ำบลบางโปรง อ�ำเภอเมอื ง จงั หวดั สมทุ รปราการ หา่ งจากถนนสขุ มุ วทิ ไปทางทศิ ตะวนั ตกประมาณ ๗ กโิ ลเมตร แลว้ จึงตดั ถนนตอ่ ไปถึงหัวงานเปน็ ระยะทาง ๒.๕ กิโลเมตร จากน้นั ไดส้ ร้างสะพานเข่ือนรมิ น�้ำ ท่าเรือและติดต้ังปั้นจั่นส�ำหรับงานก่อสร้างฐานรากของอาคารโรงไฟฟ้าเครื่องท่ี ๑ และ ๒ ตง้ั แต่ปลายปพี ุทธศักราช ๒๕๑๑ ครนั้ วนั ท่ี ๔ มกราคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๓ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เมอ่ื ครงั้ ยงั ทรง ด�ำรงพระราชอิสรยิ ยศเปน็ สมเดจ็ พระเจ้าลูกยาเธอ เจา้ ฟ้าวชิราลงกรณ ได้เสด็จพระราชด�ำเนิน ไปทอดพระเนตรการก่อสร้างโรงจักรพระนครใต้ (ช่ือเรียกในขณะนั้น) จังหวัดสมุทรปราการ เป็นคร้งั แรก โดยมนี ายเกษม จาติกวณิช ผ้วู า่ การ กฟผ. ในขณะนน้ั และนาวาอากาศตรี ก�ำธน สินธวานนท์ ผชู้ ว่ ยผู้ว่าการปฏิบัตกิ าร (ยศและต�ำแหน่งในขณะน้ัน) เฝ้าทลู ละอองธลุ ีพระบาท รับเสด็จ ต่อมา ในวันที่ ๖ สงิ หาคม พุทธศกั ราช ๒๕๑๓ พระองค์ไดเ้ สด็จไปทรงศึกษาดงู านการ กอ่ สรา้ งโครงการโรงไฟฟา้ พระนครใต้ เปน็ ครงั้ ท่ี ๒ และเสดจ็ เปน็ องคป์ ระธานในการยก Boiler steamdrum(อปุ กรณซ์ ง่ึ ท�ำหนา้ ทเ่ี กบ็ ไอนำ�้ ทไ่ี ดจ้ ากการตม้ นำ�้ เพอื่ น�ำไปใช้ในกระบวนการผลติ ไฟฟา้ ต่อไป) ระหว่างการก่อสร้างโรงไฟฟา้ อกี ด้วย ในเวลานั้น โรงไฟฟ้าแห่งน้ีเป็นโรงไฟฟ้าประเภทพลังความร้อนขนาดใหญ่ที่สุดของ ประเทศไทย พระองค์สนพระทัยรับฟังค�ำบรรยายและซักถามเกี่ยวกับการก่อสร้างและระบบ การท�ำงานของโรงไฟฟ้า โดยมีศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักด์ิ ประธานกรรมการ กฟผ. นายเกษม จาติกวณชิ ผ้วู ่าการ กฟผ. และนาวาอากาศตรี ก�ำธน สนิ ธวานนท์ ผูช้ ว่ ยผู้วา่ การ ปฏิบัติการ เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทรับเสด็จ และทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายแบบจ�ำลอง โรงไฟฟา้ พระนครใต้ ประทีปทองสอ่ งทางพลังงานไทย 159

เม่ืองานก่อสร้างส่วนประกอบอ่ืนๆ เช่น อาคารชักน้�ำ อุโมงค์ ระบายนำ้� โรงเกบ็ พสั ดุ อาคารสถานไี ฟฟา้ แรงสงู และงานตดิ ตงั้ อปุ กรณ์ ไฟฟ้า อาทิ หมอ้ นำ�้ อุปกรณ์สถานีไฟฟ้าแรงสงู และแผงไฟฟ้าตดั ตอน ตา่ งๆแลว้ เสรจ็ ทงั้ หมด พระบาทสมเดจ็ พระมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมเสด็จ พระราชด�ำเนนิ ไปทรงประกอบพธิ เี ปดิ โรงไฟฟา้ เมอื่ วนั ท่ี ๖ พฤศจกิ ายน พุทธศกั ราช ๒๕๑๕ ต่อมา วนั ท่ี ๑๙ ธันวาคม พทุ ธศักราช ๒๕๑๕ พระบาทสมเด็จ พระเจา้ อยหู่ วั เมอ่ื ครง้ั ยงั ทรงด�ำรงพระราชอสิ รยิ ยศเปน็ สมเดจ็ พระเจา้ ลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณ ได้เสด็จพระราชด�ำเนินไปทรงเย่ียม โรงไฟฟา้ พระนครใต้ เปน็ ครง้ั ท่ี ๓ โดยมนี ายเกษม จาตกิ วณชิ ผวู้ า่ การ กฟผ. พร้อมด้วยนายส�ำเริง นารถศิลป์ รองผู้ว่าการพลังความร้อน นาวาอากาศตรี ก�ำธน สนิ ธวานนท์ ผชู้ ว่ ยผวู้ า่ การปฏบิ ตั กิ าร และนายกมลชยั ภัทโรดม ผู้ช่วยผู้ว่าการก่อสร้างโครงการ เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท รับเสด็จ โอกาสนี้ พระองค์ได้ทอดพระเนตรแบบจ�ำลองการท�ำงาน ของเข่ือนภูมิพลและเข่ือนสิริกิต์ิ โดยมีนายสฤษด์ิ อภัยภูมินารถ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายวางแผนและโครงการ เป็นผู้กราบบังคมทูลถวาย รายงาน 160 ประทีปทองสอ่ งทางพลงั งานไทย

ประทปี ทองสอ่ งทางพลงั งานไทย 161

นายวินัย ถาวรนาน อดีตผู้อ�ำนวยการเข่ือนศรีนครินทร์ ได้ร�ำลึกถึง ช่วงท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชด�ำเนินมาที่โรงไฟฟ้า พระนครใต้วา่ “ตอนนั้นผมเพิ่งเรียนจบและเริ่มเข้ามาท�ำงานในการไฟฟ้าฝ่ายผลิต ตามค�ำชวนของคุณพลั ลภ ไกรฤกษ์ ซงึ่ เป็นพนกั งาน กฟผ. และเคยไปสอน หนงั สอื ทคี่ ณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ตอนผมเขา้ มานนั้ พนักงาน กฟผ. ยังมีน้อย ประจวบกับโรงไฟฟ้าพระนครใต้ก�ำลังจะเปิด เดนิ เครอื่ ง เขาถามวา่ มใี ครสนใจไปอยโู่ รงไฟฟา้ พระนครใตบ้ า้ ง ผมกข็ ออาสา “ตอนผมไปโรงไฟฟ้าพระนครใต้ช่วงกลางปีพุทธศักราช ๒๕๑๓ จึง ไมท่ นั ตอนท่ใี นหลวงรชั กาลที่ ๑๐ เสด็จฯ ไปครง้ั แรกเม่ือต้นปี ตอนเสด็จฯ ครัง้ ที่ ๒ ผมทนั เพราะเห็นมีการเตรียมพธิ ีให้พระองค์ทา่ นทรงเปน็ ประธาน กดปุ่ม Boiler steam drum แต่ไม่ไดจ้ ดั เป็นพิธใี หญ่นกั ผมยังเปน็ พนักงาน ใหม่ ไมไ่ ดม้ ีหน้าทร่ี บั เสด็จ จึงทำ� งานตามหน้าทีไ่ ปตามปกตเิ หมือนพนักงาน คนอ่ืนๆ แต่ผู้บริหารระดับสูงมารอรับเสด็จกัน ผมจ�ำได้ว่าพระองค์เสด็จฯ มาทางรถยนต์ มีทหารติดตามไม่มาก และผู้บริหารของ กฟผ. ก็ไม่มาก พอพระองคเ์ สดจ็ ฯ มาถงึ ทรงขน้ึ ลฟิ ตต์ วั หนง่ึ ไปชนั้ บน แลว้ กม็ คี นขนึ้ ลฟิ ตบ์ า้ ง ขึน้ บันไดบ้าง กรกู นั ตามขึ้นไป ครัน้ ทอดพระเนตรเสรจ็ ก็เสดจ็ ฯ กลับ “พระองค์ทา่ นเสด็จฯ มาครง้ั ที่ ๓ เดือนธันวาคม พุทธศกั ราช ๒๕๑๕ วันน้ันเสด็จฯ ตอนเย็น เป็นวันท่ีผมเข้าเวรกะดึก พระองค์เสด็จฯ เป็นการ ส่วนพระองค์ ผมไม่รู้เร่ืองมาก่อน ส่วนผู้บริหารรู้อยู่แล้ว เพราะแต่งตัว เรยี บร้อยมารับเสดจ็ กนั ทกุ คน “ผมมีของส�ำคัญส่ิงหน่ึงเป็นเหรียญที่ระลึกพิธีเปิดโรงจักรไอน�้ำ พระนครใต้ ซ่ึงตอนน้ันเรยี กชอื่ อยา่ งนี้ แล้วภายหลังเปลีย่ นชอ่ื เป็นโรงไฟฟา้ พระนครใต้ เหรยี ญนี้ทำ� แจกแขกทมี่ าในงานพิธเี ปดิ โดยในหลวงรัชกาลท่ี ๙ เสด็จฯ มาเปน็ ประธานเมือ่ วนั ท่ี ๖ พฤศจิกายน พุทธศกั ราช ๒๕๑๕ ผมไดร้ ับ มาหน่งึ เหรียญและเกบ็ รักษาไวจ้ นถงึ ทกุ วันน”้ี 162 ประทีปทองส่องทางพลงั งานไทย

ปัจจุบัน โรงไฟฟ้าพระนครใต้มีความมุ่งมั่นผลิตไฟฟ้าให้มีคุณภาพอย่าง ต่อเน่ือง และสามารถบรรลุวิสัยทัศน์ พันธกิจของ กฟผ. เพื่อสร้างนวัตกรรม พลังงานไฟฟ้าเพ่ือชีวิตท่ีดีกว่า ด�ำเนินการผลิตไฟฟ้าอย่างมั่นคง มีประสิทธิผล และประสิทธิภาพสูงสุด ดว้ ยระบบบรหิ ารงานคณุ ภาพทเ่ี ปน็ มาตรฐานสากล โดย มงุ่ เนน้ การปรบั ปรงุ พฒั นากระบวนการและการใหบ้ รกิ าร เพอ่ื สรา้ งความพงึ พอใจ แก่ลูกค้าและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีการควบคุมและป้องกันผลกระทบที่เกิดจาก การด�ำเนนิ งาน เชน่ ดา้ นอากาศ (ฝนุ่ เขมา่ ) เสยี ง คณุ ภาพนำ้� กากของเสยี และ การใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า รวมถึงการจัดการพลังงาน เพ่ือลดผลกระทบต่อ สงิ่ แวดลอ้ มอยา่ งเปน็ ระบบ ประทปี ทองสอ่ งทางพลงั งานไทย 163

 ทรงเยือนเขอื่ นจฬุ าภรณ์  โครงการเขื่อนน�้ำพรม จังหวดั ชยั ภูมิ ไดร้ ับอนมุ ตั ิจากคณะรัฐมนตรใี ห้ด�ำเนนิ การก่อสร้างเมือ่ วนั ท่ี ๑๗ มิถนุ ายน พุทธศกั ราช ๒๕๑๒ กฟผ. ได้เร่ิมด�ำเนนิ การก่อสร้างเขอื่ นและโรงไฟฟา้ เม่ือเดือนมกราคม พทุ ธศักราช ๒๕๑๓ พระบาทสมเด็จ็ พระเจ้า้ อยู่่�หัวั เมื่�อครั้�งยังั ทรงดำ�ำ รงพระราชอิสิ ริยิ ยศเป็น็ สมเด็จ็ พระเจ้า้ ลูกู ยาเธอ เจ้า้ ฟ้า้ วชิริ าลงกรณ เสดจ็ พระราชด�ำเนนิ ไปทอดพระเนตรการก่อสร้าง เม่อื วนั ท่ี ๒ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๑๔ โดยมีนายเกษม จาติกวณิช ผวู้ า่ การ กฟผ. ในสมยั นน้ั พรอ้ มดว้ ยนาวาอากาศตรี ก�ำธน สนิ ธวานนท์ ผชู้ ว่ ยผวู้ า่ การปฏบิ ตั กิ าร(ยศและต�ำแหนง่ ในสมยั นน้ั ) เฝา้ ทูลละอองธลุ ีพระบาทรบั เสด็จ และนายเลก็ กาญจนผล ผูอ้ �ำนวยการฝา่ ยก่อสร้างพลังน้�ำ กราบบังคมทูลถวายรายงาน โอกาสนี้ พระองค์ไดท้ รงลงพระนามและจารึกขอ้ ความลงบนแผ่นหนิ พระราชทานพรให้การกอ่ สรา้ งเขอื่ นน�้ำพรมด�ำเนินไป ดว้ ยความเรยี บรอ้ ย งานกอ่ สรา้ งเข่อื นนำ้� พรมไดแ้ ล้วเสร็จและสามารถจ่ายไฟฟ้าไดต้ ้งั แต่เดือนตุลาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๕ เป็นตน้ มา พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร สมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง เสด็จ พระราชด�ำเนนิ พรอ้ มด้วยสมเดจ็ พระกนิษฐาธริ าชเจ้า กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี และสมเด็จ พระเจา้ นอ้ งนางเธอ เจา้ ฟา้ จฬุ าภรณวลยั ลกั ษณ์ อคั รราชกมุ ารี กรมพระศรสี วางควฒั นวรขตั ตยิ ราชนารี ไปทรงประกอบพธิ ี เปิดเขื่อนและโรงไฟฟา้ เมื่อวนั ที่ ๓ มถิ ุนายน พุทธศกั ราช ๒๕๑๖ พร้อมทง้ั พระราชทานพระนามสมเดจ็ พระเจา้ ลูกเธอ เจา้ ฟา้ จฬุ าภรณวลยั ลกั ษณ์ อัครราชกมุ ารี (พระอิสรยิ ยศขณะน้ัน) ขนานนามเขื่อนว่า “เข่อื นจฬุ าภรณ์” เข่อื นจฬุ าภรณ์ เป็นเขอื่ นทม่ี ีความส�ำคัญมากอกี เขอ่ื นหน่ึงตอ่ การพฒั นาพลังงานไฟฟ้าในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ตัวเขื่อนมีลักษณะเป็นแบบหินถม แกนกลางเป็นดินเหนียวบดอัดทับแน่นด้วยหินและกรวด ตัวเข่ือนยาว ๗๐๐ เมตร สันเขอื่ นกวา้ ง ๘ เมตร สูง ๗๐ เมตร ระดับสนั เขือ่ นอย่ทู ่ี ๗๖๓.๐ เมตรเหนือระดับน�ำ้ ทะเลปานกลาง (รทก.) อ่างเก็บน้ำ� มคี วามจุ ๑๖๓.๗๕ ล้านลูกบาศกเ์ มตร สว่ นโรงไฟฟ้าต้งั อยบู่ ริเวณใกล้กับล�ำน้ำ� สุ ซงึ่ อยู่อีกฟากหน่ึงของตัวเข่ือน ในการผลิตไฟฟา้ กฟผ. ท�ำการชักน้ำ� จาก หนา้ เขอ่ื นบรเิ วณฝง่ั ซา้ ยของล�ำนำ�้ ผา่ นอโุ มงคท์ เี่ จาะทะลภุ เู ขาไปหมนุ เครอ่ื งกงั หนั นำ�้ ทต่ี งั้ อยใู่ นหบุ เขาอกี ดา้ นหนงึ่ โรงไฟฟา้ ติดตัง้ เคร่อื งก�ำเนิดไฟฟ้าขนาด ๒๐,๐๐๐ กโิ ลวตั ต์ จ�ำนวน ๒ เครอ่ื ง รวมก�ำลงั ผลิต ๔๐,๐๐๐ กโิ ลวตั ต์ ใหพ้ ลงั งานไฟฟา้ เฉล่ียปลี ะ ๕๗ ลา้ นกิโลวตั ต์-ช่ัวโมง สามารถตอบสนองความต้องการใช้ไฟฟ้าของประชาชนได้อย่างเพียงพอ เขอ่ื นจุฬาภรณ์ เปน็ เขือ่ นอเนกประสงค์ทใี่ ห้ประโยชนต์ อ่ การชลประทาน ชว่ ยระบายน้ำ� เพอื่ การเพาะปลกู ในฤดูแลง้ ในพ้ืนที่การเกษตรตามล�ำน�้ำพรม ประมาณ ๕๐,๓๐๐ ไร่ และตามล�ำน้�ำเชิญ ประมาณ ๒๐,๘๐๐ ไร่ ขณะเดียวกัน อ่างเก็บน�้ำของเข่อื นเปน็ แหลง่ เพาะพนั ธ์ปุ ลานำ�้ จืดทส่ี �ำคญั แหง่ หนง่ึ ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ นอกจากน้ี เขอื่ นจฬุ าภรณย์ งั ไดร้ บั สมญานามวา่ เปน็ “สวติ เซอรแ์ ลนดข์ องประเทศไทย” เนอื่ งจากมที วิ ทศั นส์ วยงาม อากาศเย็นสบายตลอดปี จึงเป็นสถานทท่ี น่ี ักทอ่ งเทีย่ วนิยมมาพักผอ่ นอกี แหง่ หน่งึ ของภูมภิ าคอีสาน 164 ประทปี ทองสอ่ งทางพลงั งานไทย

ประทปี ทองสอ่ งทางพลงั งานไทย 165

166 ประทปี ทองสอ่ งทางพลงั งานไทย

วันท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชด�ำเนินมาน้ัน นาย กติ ตวิ ฒั น์ สจุ รติ พงศ์ อดตี ผชู้ ว่ ยผวู้ า่ การบ�ำรงุ รกั ษา ยงั จดจ�ำชว่ งเวลานนั้ ได้ แม้เวลาจะผ่านมาเกอื บหา้ ทศวรรษแลว้ “ในหลวงรชั กาลท่ี ๑๐ เสดจ็ ฯ เขอ่ื นจฬุ าภรณ์ ปพี ทุ ธศกั ราช ๒๕๑๔ ขณะนั้น ผมเป็นหัวหน้าโครงการก่อสร้างเขื่อนน้�ำพรม ซึ่งต่อมาได้ พระราชทานชื่อว่า เข่ือนจฬุ าภรณ์ ผมเปน็ คนแรกที่ไปควบคุมดแู ลตั้งแต่ เร่มิ การกอ่ สร้าง ชว่ งทเ่ี สดจ็ ฯ มานนั้ มีพระชนมายปุ ระมาณ ๑๙ พรรษา ก่อนจะทรงได้รับการสถาปนาข้ึนเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยาม มกุฎราชกุมาร ในปีพทุ ธศักราช ๒๕๑๕ “ช่วงที่เสด็จฯ มาเป็นต้นเดือนมกราคม ยังเป็นช่วงฤดูหนาว โดยเฉพาะบนนั้นเปน็ เขาสูง อากาศเย็น ตอนเช้าอณุ หภมู ิเพยี งแค่ ๒ - ๓ องศาเซลเซียส ต้องสวมเส้ือกันหนาว พระองค์ท่านเสด็จฯ มาทาง เฮลิคอปเตอร์ ซงึ่ ทาง กฟผ. ไดท้ �ำลานจอดไว้ แล้วเสดจ็ ฯ ประทับรถยนต์ ขนึ้ มา มีคณะผูใ้ หญข่ อง กฟผ. รอเฝา้ ฯ และนำ� ชม “พระองค์ท่านทรงพระด�ำเนินทอดพระเนตรการก่อสร้างทั้งหมด เปน็ เวลานานเกอื บหนง่ึ ชั่วโมง และก่อนเสดจ็ ฯ กลบั ได้ทรงลงพระนามไว้ เป็นทีร่ ะลกึ บนแผน่ หนิ ท่ีผมจัดเตรยี มไว้ มคี วามว่า ณ ทีน่ ไ้ี ด้มาเยีย่ มงานก่อสร้างโครงการไฟฟ้าพลังนำ้� เขื่อนน�้ำพรม เม่อื วนั ที่ ๒ มกราคม ๒๕๑๔ ขอใหง้ านกอ่ สรา้ งสำ� เรจ็ ลลุ ว่ งไปดว้ ยดี และเปน็ ประโยชนต์ อ่ ประชาชนชาวไทยตอ่ ไป สมเด็จ็ พระเจ้้าลูกู ยาเธอเจ้้าฟ้า้ วชิริ าลงกรณ์์ “ต่อ่ มา ผมได้เ้ ชิญิ มาแกะสลักั ตามข้อ้ ความและพระนามที่�ทรงลงไว้้ และยังั คงประดิษิ ฐานอยู่�ที่�เขื่�อนจุุฬาภรณ์จ์ นถึงึ ทุกุ วัันนี้�” ประทีปทองส่องทางพลังงานไทย 167

168 ประทปี ทองสอ่ งทางพลงั งานไทย

ประทปี ทองสอ่ งทางพลงั งานไทย 169

170 ประทปี ทองสอ่ งทางพลงั งานไทย

นายชาตรี ระพทิ ยพ์ นั ธ์ วศิ วกรประจ�ำโครงการเขอื่ น จุฬาภรณ์ในเวลานน้ั เลา่ วา่ “ก่อนที่ในหลวงรัชกาลที่ ๑๐ ซ่ึงขณะน้ันทรงเป็น สมเดจ็ พระเจ้าลกู ยาเธอ เจา้ ฟ้าวชริ าลงกรณ จะเสดจ็ ฯ มา ที่เขื่อนจุฬาภรณ์ เราได้รับทราบเร่ืองจากส่วนกลางให้เรา เตรียมการต่างๆ ในการรับเสด็จ ซึ่งผมท�ำงานอยู่กับ คุณกิตติวัฒน์ที่เขื่อนน้ีมาต้ังแต่แรก ก็รับหน้าท่ีในการ จัดเตรียมสถานท่ีรับเสด็จ โดยเร่ิมท�ำสนามลงจอด เฮลคิ อปเตอรซ์ งึ่ อยหู่ า่ งจากเขอ่ื นประมาณ ๓ - ๔ กโิ ลเมตร แล้วจัดรถแลนด์โรเวอร์เป็นรถท่ีประทับน�ำเสด็จมาท่ีเข่ือน สว่ นผขู้ บั รถถวายเปน็ ใครนนั้ ผมจำ� ไมไ่ ด้ แตค่ าดวา่ นา่ จะเปน็ ระดับผู้ใหญข่ ึน้ ไป “วนั ทท่ี า่ นเสดจ็ ฯ มานน้ั ผมไดจ้ ดั เตรยี มอาหารและนำ�้ ไวใ้ หท้ หาร ขา้ ราชการในทอ้ งถน่ิ และชาวบา้ นในพน้ื ทที่ ม่ี ารอ รบั เสด็จกันพอสมควร จ�ำได้ว่าพระองคท์ ่านทรงพระด�ำเนิน ทอดพระเนตรการกอ่ สรา้ งดว้ ยความสนพระทยั โดยมผี ใู้ หญ่ ของ กฟผ. คอยน�ำเสด็จและถวายรายงาน ผมก็เดินตาม ผใู้ หญอ่ ยู่หา่ งๆ จนกระท่ังท่านเสด็จฯ กลับ” ประทีปทองส่องทางพลังงานไทย 171

 เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ไปทรงเยอื นเขอื่ นภมู พิ ล ครง้ั ที่ ๒  วันที่ ๒๔ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๑๘ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เม่ือคร้ังยังทรงด�ำรงพระราชอิสริยยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหา วชริ าลงกรณ ฯ สยามมกฎุ ราชกมุ าร เสดจ็ พระราชด�ำเนนิ ไปทรงเยยี่ มชมเขอื่ นภมู พิ ล จังหวัดตาก โดยมีนายเกษม จาตกิ วณชิ ผ้วู า่ การ กฟผ. ในขณะน้ัน พร้อมด้วย นาวาอากาศตรี ก�ำธน สนิ ธวานนท์ ผชู้ ว่ ยผวู้ า่ การปฏบิ ตั กิ าร(ยศและต�ำแหนง่ ขณะนน้ั ) และเรือตรีวิทย์ โพธโิ ยธนิ ผู้อ�ำนวยการเข่อื นภูมพิ ล (ในขณะนน้ั ) เฝา้ ฯ รับเสดจ็ 172 ประทปี ทองส่องทางพลังงานไทย

ประทปี ทองสอ่ งทางพลงั งานไทย 173

174 ประทปี ทองสอ่ งทางพลงั งานไทย

 ทรงนำ� พระราชอาคนั ตกุ ะเยอื นเขื่อนภมู พิ ล  พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เสดจ็ พระราชด�ำเนนิ ไปยงั เขอ่ื นภมู พิ ลอกี ครง้ั เมอื่ วนั ท่ี ๖ มกราคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๒๑ ขณะนน้ั ยงั ทรงด�ำรงพระราชอสิ รยิ ยศเปน็ สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช เจา้ ฟา้ มหาวชริ าลงกรณ ฯ สยามมกฎุ ราชกมุ าร เพอื่ ทรง น�ำมกฎุ ราชกมุ ารเรซา ปาหล์ าวี แหง่ อหิ รา่ น(ในเวลานน้ั ) เสดจ็ พระราชด�ำเนนิ ไปทอด พระเนตรเขอื่ นภมู พิ ล จงั หวดั ตาก และเสดจ็ พระราชด�ำเนนิ เยอื นจงั หวดั เชยี งใหม่ คร้ันเสด็จพระราชด�ำเนินถึงตึกกองบัญชาการกองทัพอากาศดอนเมือง แล้วประทับเคร่ืองบินพระทีน่ ่งั เสดจ็ พระราชด�ำเนินไปยังสนามบินที่เขื่อนภมู พิ ล อ�ำเภอสามเงา จงั หวดั ตาก ณ ทนี่ นั้ ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ตาก นายเกษม จาตกิ วณชิ ผวู้ า่ การ กฟผ. ในขณะนน้ั และเจา้ หนา้ ทชี่ น้ั ผู้ใหญข่ อง กฟผ. เฝา้ ทลู ละอองธลุ พี ระบาท รบั เสดจ็ จากนนั้ เสดจ็ พระราชด�ำเนนิ โดยรถยนตพ์ ระทนี่ ง่ั ไปยงั โรงจกั รเขอื่ นภมู พิ ล (ชอื่ เรยี กในขณะนนั้ ) เพอื่ ทอดพระเนตรเครอ่ื งก�ำเนดิ ไฟฟา้ สนั เขอื่ น และอา่ งเกบ็ นำ�้ ตลอดจนกิจการของเขือ่ นภูมพิ ล ในการนี้ ได้ทรงปลูกต้นสักเป็นที่ระลึก ณ สวนดอกไม้ เสร็จแล้วเสด็จ พระราชด�ำเนินไปยังพระต�ำหนักในเขื่อนภูมิพล เพื่อประทับเสวยพระกระยาหาร กลางวัน ครั้นทรงพักผ่อนพระราชอิริยาบถตามพระราชอัธยาศัยแล้ว จึงเสด็จ พระราชด�ำเนินโดยรถยนต์พระที่นั่งไปยังสนามบินท่ีเข่ือนภูมิพล เพ่ือประทับ เคร่อื งบินพระที่น่งั เสด็จพระราชด�ำเนนิ ไปยังจงั หวดั เชยี งใหม่ ประทปี ทองส่องทางพลังงานไทย 175

  ห้ว้ ยกุยุ มั่�ง โรงไฟฟ้า้ แห่ง่ มิติ รภาพ ไทย - ออสเตรเลียี   โรงไฟฟ้าห้วยกุยมั่ง เป็นโรงไฟฟ้าพลังน้�ำ ขนาดเล็ก ประกอบด้วยเคร่ืองก�ำเนิดไฟฟ้าจ�ำนวน ๑ เครือ่ ง ขนาด ๑๐๐ กโิ ลวตั ต์ ตง้ั อยู่ที่ต�ำบลหนิ ดาด อ�ำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี ห่างจากเขื่อน วชริ าลงกรณประมาณ ๓๗ กโิ ลเมตร การก่อ่ สร้า้ งโรงไฟฟ้า้ แห่ง่ นี้้�ริเิ ริ่�มและสนับั สนุนุ โดยหอการค้้าออสเตรเลีีย - ไทย ซึ่�งได้้บริิจาค เงินส�ำหรับการก่อสร้าง เพ่ือร่วมฉลองและเป็น ที่ระลึกในโอกาสแห่งการสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ ครบรอบ ๒๐๐ ปี พทุ ธศกั ราช ๒๕๒๕ โดยผดู้ �ำเนนิ การ คือ ส�ำนกั งานพลังงานแหง่ ชาติ ส�ำนักงานพลังงานแห่งชาติได้สร้างโรงไฟฟ้า ท่อส่งนำ�้ และฝายนำ้� ลน้ (ระดบั เกบ็ กัก ๒๓๒ เมตร รทก.) ซ่ึงท่อส่งน้�ำมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ๔๐๐ มิลลิเมตร ส�ำหรับตัวฝายอยู่ห่างจากโรงไฟฟ้า ประมาณ ๖๐๐ เมตร ระดับสูงขึ้นไป ๙๕ เมตร โดย กฟผ. ชว่ ยเดนิ สายสง่ ขนาด ๒๒ กโิ ลโวลต์ ออกแบบ โดยบริษัท Snowy Mountains Engineering Corporation ประเทศออสเตรเลยี ระยะทาง ๔ - ๕ กิโลเมตร ใชง้ บประมาณทงั้ ส้ิน ๕.๓๓ ลา้ นบาท เม่ือก่อสร้างแล้วเสร็จ สถานเอกอัครราชทูต ออสเตรเลียได้กราบบังคมทูลเชิญพระบาทสมเด็จ พระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เสดจ็ พระราชด�ำเนนิ มาเปดิ โรงไฟฟา้ จงึ ทรงพระกรณุ า โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้พระบาทสมเด็จ พระเจา้ อยหู่ วั ซง่ึ ขณะนน้ั ทรงด�ำรงพระราชอสิ รยิ ยศเปน็ สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช เจา้ ฟา้ มหาวชริ าลงกรณ ฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชด�ำเนินแทน พระองคเ์ ปน็ ประธานในพธิ เี ปดิ โครงการไฟฟา้ พลงั นำ้� หว้ ยกยุ มง่ั เมอื่ วนั ท่ี ๒๓ เมษายน พทุ ธศกั ราช ๒๕๒๗ 176 ประทีปทองส่องทางพลงั งานไทย

ประทปี ทองสอ่ งทางพลงั งานไทย 177

นายเรวัตร สวุ รรณกิตติ อดีตผ้อู �ำนวยการฝ่ายสง่ิ แวดล้อม ซึ่งไดอ้ ยู่ร่วมในเหตกุ ารณว์ นั นั้นอยา่ งใกลช้ ดิ เลา่ วา่ “วนั ทใ่ี นหลวงรชั กาลท่ี ๑๐ เสดจ็ ฯ เปดิ โรงไฟฟา้ หว้ ยกยุ มง่ั ขณะนนั้ ทรงเปน็ สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าชฯ สยามมกฎุ ราชกมุ าร ชว่ งนนั้ การกอ่ สรา้ งเขอ่ื นเขาแหลมหรอื ตอ่ มา ไดร้ บั พระราชทานนามวา่ เขอ่ื นวชริ าลงกรณ ใกลจ้ ะเสรจ็ แลว้ ผมเปน็ หวั หนา้ หนว่ ยบรหิ าร ของโครงการเขอ่ื นเขาแหลม ไดร้ บั มอบหมายจากผอู้ ำ� นวยการโครงการเขอ่ื นเขาแหลม ในขณะนน้ั คอื คณุ สมควร วฒั กกี ลุ ใหท้ ำ� หนา้ ทเี่ ปน็ ผขู้ บั รถแลนดโ์ รเวอรข์ อง กฟผ. ซง่ึ จดั เปน็ รถพระทนี่ งั่ ถวาย ผมขบั รถรบั พระองคท์ า่ นจากขบวนรถของพระองคแ์ ลว้ ผมขบั จากตนี เขาหว้ ยกยุ มงั่ ขน้ึ ไปขา้ งบนทต่ี ง้ั ของโรงไฟฟา้ “ระหว่า่ งที่�ประทับั ในรถซึ่�งมีพี ระองค์ท์ ่า่ น ราชองครักั ษ์์ และผม พระองค์ม์ ีรี ับั สั่�ง ถามผมนิดิ หน่อ่ ยว่า่ ใครเป็น็ คนทำำ�โรงไฟฟ้า้ นี้� ผมก็ก็ ราบบังั คมทูลู ไปว่า่ ทางหอการค้า้ ออสเตรเลียี - ไทย เขามาทำำ�ให้เ้ ราในโอกาสฉลองกรุงุ เทพฯ ๒๐๐ ปีี เมื่�อขับั ถึงึ ข้า้ งบน ก็มีเจ้าหน้าท่ีเชิญเสด็จขึ้นไปที่โรงไฟฟ้า ส่วนผมไม่ได้ตามเสด็จเข้าไป มีแต่ผู้ใหญ่ ท่ีเกี่ยวข้องมารอรับเสด็จ ซ่ึงส่วนใหญ่เป็นชาวต่างชาติจากหอการค้าฯ และบริษัท Snowy Mountains “จำ� ไดว้ า่ เสดจ็ ฯ มาไมน่ าน ทรงกดปมุ่ ทำ� พธิ เี ปดิ เสรจ็ แลว้ กเ็ สดจ็ ฯ กลบั ผมก็ ขบั รถลงมาสง่ พระองคท์ า่ นทข่ี บวนเสดจ็ ซงึ่ เปน็ ขบวนเลก็ ๆ ผมจำ� ไมไ่ ดว้ า่ มรี ถกค่ี นั เพราะมวั แตต่ น่ื เตน้ พอสง่ เสดจ็ แลว้ พระองคท์ า่ นกม็ รี บั สง่ั วา่ ‘ขอบใจ’ เปน็ ครง้ั หนงึ่ ทถ่ี อื เปน็ มงคลสงู สดุ ในชวี ติ ของผมจรงิ ๆ ทม่ี โี อกาสไดถ้ วายงานรบั ใชอ้ ยา่ งใกลช้ ดิ ” 178 ประทปี ทองส่องทางพลังงานไทย

ปัจจบุ ัน โรงไฟฟา้ ห้วยกุยม่ังได้มกี ารปรับปรุงระบบควบคุม การเดนิ เครอ่ื งเปน็ แบบอตั โนมตั ิ โดยใชอ้ ปุ กรณ์PLC(Programmable Logic Controller) ควบคุมการเดินเครื่อง ท้ังนี้ โรงไฟฟ้าฯ จะเดนิ เครอื่ งในช่วงฤดฝู น ประมาณเดือนกรกฎาคม - ตุลาคมของ ทกุ ปี ชว่ งเวลานอกจากนนั้ จะไมม่ กี ารเดนิ เครอ่ื งเนอื่ งจากปรมิ าณนำ้� มีน้อย โดยแผนกบ�ำรุงรกั ษาไฟฟา้ กองบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟา้ เขือ่ น วชิราลงกรณ รับผิดชอบการเดินเครื่องให้ท�ำงานอัตโนมัติโดย ต้ังเวลาการเดินเครื่องต้ังแต่วันอาทิตย์ถึงวันพฤหัสบดี ต้ังแต่เวลา ๒๐.๐๐ - ๐๖.๐๐ น. วนั ละ ๑๐ ชว่ั โมง จ่ายกระแสไฟฟ้าเขา้ กับ ระบบไฟฟา้ ๒๒ กิโลโวลตข์ องการไฟฟา้ ส่วนภมู ภิ าค ประทปี ทองส่องทางพลังงานไทย 179

180 ประทปี ทองสอ่ งทางพลงั งานไทย

 สวนสมุ าลยั ความงดงามทีร่ ังสรรค์อยา่ งวิจิตรบรรจง  สวนสมุ าลยั เปน็ สวนที่ กฟผ. สรา้ งขนึ้ เพอื่ เฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ิ์ พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เน่ืองในโอกาสทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ ๕ รอบ วันที่ ๑๒ สิงหาคม พทุ ธศักราช ๒๕๓๕ ด้วยตระหนกั ถึงพระมหากรณุ าธิคุณทท่ี รงมตี อ่ กฟผ. เสมอมา นบั แตไ่ ดพ้ ระราชทาน พระนามาภิไธยเป็นช่ือเขื่อนสิริกิต์ิ จังหวัดอุตรดิตถ์ และได้เสด็จฯ มาประทับแรมเป็นการส่วนพระองค์ ในเขื่อนต่างๆ ของ กฟผ. หลายคร้งั ทางเขือ่ นสิรกิ ติ ิ์จึงเหน็ สมควรจัดสรา้ งสวนสุมาลัยเพอ่ื เทดิ พระเกียรติ และแสดงความจงรักภกั ดีในโอกาสนนั้ ด้วย การกอ่ สรา้ งได้เริม่ ขนึ้ เม่อื วันที่ ๑ เมษายน พทุ ธศักราช ๒๕๓๓ บนเนื้อทีป่ ระมาณ ๖๐ ไร่ โดยใช้ งบประมาณ ๑๗,๗๕๙,๐๐๐ บาท แล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๑๑ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๓๕ โดยสมเด็จ พระบรมราชชนนพี นั ปีหลวงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั เมื่อครงั้ ยงั ทรงด�ำรง พระราชอิสริยยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชด�ำเนินแทนพระองค์ มาทรงเปิดสวนสมุ าลยั อย่างเปน็ ทางการ เม่อื วันที่ ๒ มถิ ุนายน พทุ ธศกั ราช ๒๕๓๖ สัญลักษณ์ของสวนสุมาลัยที่ส�ำคัญ ได้แก่ “ประติมากรรมสู่แสงสว่าง” ซ่ึงหล่อด้วยโลหะสัมฤทธ์ิ เป็นรปู ดอกบัวตูมชกู ้านระหว่างใบบัว ๒ ใบ มคี วามสงู ประมาณ ๖ เมตร ตงั้ อย่บู นแท่นกระเบื้องสีเ่ หล่ยี ม ท�ำดว้ ยกระเบอื้ งเซรามกิ สนี ำ�้ เงนิ เขม้ ดา้ นขา้ งทง้ั สขี่ องแทน่ เขยี นเปน็ ลวดลายผา้ ทอพน้ื เมอื งของจงั หวดั อตุ รดติ ถ์ ความหมายของประติมากรรมสู่แสงสวา่ ง คอื ดอกบัว เปน็ บอ่ เกิดของศลิ ปะ และเปน็ ส่งิ ท่ีแสดงถึง สติปัญญา ส่วนในทางพุทธศาสนาถือว่าดอกบัวเป็นของสูง เป็นเครื่องหมายของการเคารพบูชา ดังเช่น สมเดจ็ พระบรมราชชนนีพันปหี ลวงทรงอยู่ในฐานะสูงส่ง เปน็ ทเ่ี คารพเทดิ ทนู ของพสกนกิ รท้งั ปวง พระองค์ สนพระราชหฤทัยและริเร่ิมส่งเสริมงานศิลปะซึ่งไม่เคยมีผู้สนใจมาก่อน ให้เป็นที่รู้จักและนิยมแพร่หลาย ซง่ึ นอกจากจะเป็นการสง่ เสรมิ และอนรุ ักษ์ศลิ ปะของไทยแลว้ ยงั ชว่ ยใหร้ าษฎรมีชีวิตและความเป็นอยูท่ ดี่ ขี ึ้น ก้านดอกบัวซ่ึงชูตรงขึ้นมาจากฐานกระเบื้องสีน้�ำเงิน อันเปรียบเสมือนระดับปัญญาที่สว่างไสวแล้ว ดังที่ พระพทุ ธเจา้ ทรงเปรยี บเทยี บสตปิ ญั ญาของคนเราไว้ ๔ ระดบั สอดคลอ้ งกบั พระปรชี าสามารถและพระจรยิ วตั ร ของพระองค์ทา่ น นอกจากน้ี ยังจัดท�ำสวนสขุ ภาพ ณ สวนสุมาลัยดว้ ย โดยก�ำหนดเปน็ พืน้ ทีส่ �ำหรบั สรา้ งเสริมสุขภาพ พลานามัย ประกอบด้วยอปุ กรณอ์ อกก�ำลงั กายชนิดตา่ งๆ ซง่ึ ผู้ใช้สามารถท�ำการฝึกฝนไดด้ ้วยตนเอง ประทีปทองสอ่ งทางพลังงานไทย 181

นายสมบรู ณ์ มณนี าวา ผวู้ า่ การ กฟผ. คนที่ ๔ และด�ำรงต�ำแหน่งในช่วงเวลาที่พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชด�ำเนินไปทรงเปิดสวน สมุ าลยั ไดเ้ ล่าย้อนร�ำลึกถงึ เหตกุ ารณ์ในวนั นน้ั ว่า “วนั นน้ั พระองคท์ า่ นเสดจ็ ฯ ไปเปดิ งาน ๒ แหง่ โดยเสด็จฯ ไปเปิดถนนกอ่ น ซึ่งไม่ได้เกย่ี วกับ กฟผ. โดยตรง แต่ กฟผ.ไดไ้ ปชว่ ยกรยุ ทางทำ� ถนนไปตำ� บล นางพญา ซง่ึ ทำ� ยากมาก เพราะทางขนึ้ เปน็ ปา่ เขาตลอด เขา้ ใจวา่ เป็นเขตวนอทุ ยาน เขตลุม่ นำ�้ เราไปชว่ ยใน ระยะแรกแล้วส่งต่อให้ส่วนราชการที่รับผิดชอบไป ด�ำเนนิ การตอ่ ในวนั นน้ั กฟผ. ได้เตรยี มการรับเสดจ็ ทสี่ วนสมุ าลยั ซง่ึ อยใู่ นความรบั ผดิ ชอบของเราโดยตรง ในพธิ รี บั เสดจ็ นอกจากคณุ อนกุ ลู มงิ่ วมิ ล ผอู้ ำ� นวยการ เขอ่ื นสริ กิ ติ แิ์ ลว้ ยงั มคี ณุ พลั ลภ ไกรฤกษ์ กบั คณุ อมั พร พงษป์ รชี า สองทา่ นนเ้ี ปน็ รองผวู้ า่ การ กฟผ. และคณะ เตรยี มกำ� กบั งานกนั อยา่ งดแี ลว้ “เมอื่ พระองคท์ า่ นเสดจ็ ฯ มาถงึ ผมกราบบงั คม ทูลถวายรายงานถึงวัตถุประสงค์และค�ำถวายสดุดี แลว้ นำ� เสดจ็ ไปยงั พ้ืนทีท่ �ำพิธเี ปดิ พรอ้ มกับทรงปลกู ตน้ ไทรเพอ่ื เปน็ สริ มิ งคล จากนนั้ เสดจ็ ฯ เยยี่ มชมสวน และท่านองคมนตรีก�ำธน สินธวานนท์ ท่ีตามเสด็จ มาด้วยก็น�ำเสด็จไปยังที่ประทับ พระองค์ประทับอยู่ ไม่นานนักกเ็ สด็จฯ กลับ” 182 ประทีปทองส่องทางพลงั งานไทย

นายอนุกูล มิ่งวิมล อดีตผู้อ�ำนวยการเขื่อนสิริกิต์ิ ผู้รับผิดชอบ การด�ำเนินงานจดั เตรียมการสร้างสวนสมุ าลยั มาแต่แรก เลา่ ว่า “ผมได้รับมอบหมายให้จัดเตรียมสถานท่ีส�ำหรับท�ำสวน เฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชนิ นี าถ(พระอสิ รยิ ยศ ขณะนนั้ ) ในโอกาสทรงเจรญิ พระชนมพรรษา ๖๐ พรรษา เพราะเขอื่ นนกี้ เ็ ปน็ พระนามาภิไธยของพระองค์ท่าน โดยแผนกโยธาของเข่ือนด�ำเนินการ เกี่ยวกับงานดิน คือ ปรับพื้นที่ให้พร้อมส�ำหรับท�ำสวน หลังจากน้ัน คุณสุรีย์ เหมะพรรณ์ ได้มาส�ำรวจสถานที่แล้วออกแบบ ทั้งเรื่อง ประตมิ ากรรมประดบั สวน การปลูกตน้ ไม้ ปูหญ้า รวมถงึ การปลกู ไมด้ อก ไม้ประดับ หลังจากที่เราเตรียมสถานที่เสร็จ การก่อสร้าง ปลูกหญ้า ปลูกต้นไม้ตา่ งๆ ก็ท�ำไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว “วนั ทพี่ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เสดจ็ ฯ มาทรงเปดิ ยงั ทรงดำ� รง พระราชอิสริยยศเป็นสยามมกุฎราชกุมาร ผมก็เฝ้าฯ รับเสด็จ คอยดูแล ความเรยี บรอ้ ยอยบู่ รเิ วณนน้ั ” ประทปี ทองสอ่ งทางพลงั งานไทย 183

184 ประทปี ทองสอ่ งทางพลงั งานไทย

ประทปี ทองสอ่ งทางพลงั งานไทย 185

186 ประทปี ทองสอ่ งทางพลงั งานไทย

นายสุรีย์ เหมะพรรณ์ อดีตผู้อ�ำนวยการฝ่าย “สงิ่ สำ� คญั ของการทำ� สวนเฉลมิ พระเกยี รตสิ ว่ นหนงึ่ คอื เรอ่ื ง ออกแบบและบรหิ ารงานกอ่ สร้าง ซึ่งมบี ทบาทส�ำคัญ ของชื่อ เพราะเม่อื ได้ชือ่ ปรชั ญาในการสร้างก็จะตามมา พอดคี ำ� วา่ ในการตง้ั ชอื่ สวนและจดั ท�ำประตมิ ากรรมตงั้ ไว้ในสวน ‘สมุ าลยั ’ ผดุ ขนึ้ มาในความคดิ รสู้ กึ วา่ คำ� นไี้ พเราะ เมอื่ ไดไ้ ปปรกึ ษา สุมาลยั เล่าว่า อาจารยด์ ำ� เนนิ สงั ขวรรณะ ซงึ่ เชยี่ วชาญภาษาบาลี บอกวา่ สมุ าลยั แปลวา่ งามอยา่ งมาลยั สุ มคี วามหมายวา่ ดี ซงึ่ การจะไดม้ าลยั ทส่ี วย ขนาดนีต้ อ้ งต้ังใจหยบิ เอาดอกไมม้ าเรยี งรอ้ ยเขา้ ไปอย่างเป็นระบบ มวี ฒั นธรรม มศี ลิ ปะ ออกมาเปน็ ความงามอกี แบบทไี่ มไ่ ดง้ ามตาม ธรรมชาตจิ ากความงามของกลบี ดอกไมท้ น่ี ำ� มาเรยี งรอ้ ยเปน็ มาลยั แตเ่ ปน็ ความงามทงี่ ามทงั้ กาย วาจา และจติ ใจ งามจากการอบรม บ่มนิสัย งามพร้อมด้วยทั้งความคิด อิริยาบถ ความมีเมตตา เหมอื นดงั ความงดงามของสมเดจ็ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง “ผู้คิดเรื่องประติมากรรมคือ คุณแหลมสิงห์ ดิษฐพันธุ์ ซงึ่ เปน็ ประตมิ ากรเจา้ ของโรงหลอ่ เขาไดว้ าดภาพดอกบวั เหมอื นกบั มีมือประคองอยู่มาให้ผมดู ผมก็ตกลงตามนั้น ครั้นถึงเวลาเขียน คำ� อธบิ ายเรอื่ งดอกบวั ซง่ึ เราตง้ั ชอ่ื ประตมิ ากรรมนว้ี า่ ‘สแู่ สงสวา่ ง’ เพราะสมเดจ็ พระบรมราชชนนพี ันปหี ลวง ทรงงานศิลปาชีพ ดแู ล ชวี ติ ความเปน็ อยขู่ องชาวบา้ น ชบุ ชพู วกเขาขนึ้ มา จนสามารถสรา้ ง ผลงานอวดนานาอารยประเทศไดอ้ ยา่ งนา่ ภาคภมู ใิ จ เหมอื นกบั ทรง น�ำแสงสว่างมาสู่ประชาชนดว้ ยพระหัตถ์ทงั้ สองของพระองคท์ ่าน “ส่วนความหมายของดอกบัวมี ๓ อย่าง คือ ๑. ดอกบัว ในพุทธพจน์ หมายถึง การอุปมาเป็นสติปัญญาของเวไนยสัตว์ ทสี่ งั่ สอนได้ ทำ� ใหบ้ วั มี ๔ เหลา่ ๒. ดอกบวั เปน็ ตวั แทนของศลิ ปะไทย เป็นต้นเค้าของศิลปะชั้นสูงไทยที่เกี่ยวเน่ืองกับชนชั้นสูงของไทย ระดบั พระมหากษตั ริย์ และ ๓. ดอกบัวเป็นดอกไมท้ ใ่ี ชใ้ นการบชู า ซึ่งการท�ำส่ิงน้ีเปรียบเสมือนการบูชาและเทิดพระเกียรติคุณของ พระองค์ท่าน การมีมือก็เหมือนการกราบไหว้ยกย่อง นอกจากนี้ ดอกบัวยังมีกล่ินหอมบริสุทธ์ิ ใครได้กล่ินจะช่ืนใจ เปรียบเสมือน พระบารมีของพระองค์ท่านที่ใครอยู่ใกล้ชิดก็จะสัมผัสได้ถึงความ สงบและสบายใจ “สุมาลัยก็คือความงามอย่างเป็นระบบของกลีบดอกไม้ ทำ� ใหง้ ามพรอ้ มสรรพยงิ่ กวา่ เดมิ และ ‘สมุ าลยั ’ ยงั ไปคลอ้ งจองกบั พระนามของพระองคท์ ่าน คือ ‘สริ กิ ติ ’์ิ ” นับแต่ก่อสร้างกระท่ังวันมหามงคลท่ีพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชด�ำเนินมาทรงเปิดอย่างเป็นทางการ สวนสมุ าลยั ยังความงดงามเคยี งคเู่ ข่ือนสริ ิกติ ์ิมาจนตราบทุกวันน้ี ประทีปทองสอ่ งทางพลังงานไทย 187

188 ประทปี ทองสอ่ งทางพลงั งานไทย

 เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ไปทรงเปดิ โรงไฟฟา้ วงั นอ้ ย  โรงไฟฟ้าวังน้อยถือเป็นโครงการเร่งด่วนเพ่ือรองรับนิคม อุตสาหกรรมท่ีเพิ่มขึ้นในภาคกลางตอนล่าง ต้ังอยู่ท่ีต�ำบลวังจุฬา อ�ำเภอวังน้อย จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา คณะรฐั มนตรมี มี ติอนุมตั ิใน หลกั การใหก้ อ่ สรา้ งโรงไฟฟ้าพลังความรอ้ นรว่ มวังน้อย ชดุ ที่ ๑ - ๓ เมอ่ื วนั ท่ี ๕ ตุลาคม พุทธศกั ราช ๒๕๓๖ และคณะรัฐมนตรรี ับทราบ เมือ่ วันที่ ๖ กันยายน พทุ ธศักราช ๒๕๓๗ โดยผา่ นความเหน็ ชอบตาม กระบวนการตา่ งๆ ของสิง่ แวดล้อมในปพี ุทธศกั ราช ๒๕๓๗ กฟผ. ได้เริ่มก่อสร้างและจ่ายไฟฟ้าเข้าระบบท้ัง ๓ ชุด ในปี พทุ ธศักราช ๒๕๔๐ และปีพุทธศกั ราช ๒๕๔๑ ตามล�ำดับ ต่อมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เม่ือครั้งยังทรงด�ำรง พระราชอสิ รยิ ยศเปน็ สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช เจา้ ฟา้ มหาวชริ าลงกรณ ฯ สยามมกฎุ ราชกมุ าร ไดม้ พี ระมหากรณุ าธคิ ณุ โปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ ม เสดจ็ พระราชด�ำเนนิ ไปทรงเปดิ โรงไฟฟา้ วงั นอ้ ย จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา เม่อื วนั ที่ ๗ สงิ หาคม พทุ ธศักราช ๒๕๔๑ โดยมีนายวีระวัฒน์ ชลายน ผวู้ า่ การ กฟผ. คนท่ี ๖ และนายสมบตั ิศานตจิ ารี ผอู้ �ำนวยการโรงไฟฟา้ วังน้อย (ในขณะนั้น) เฝ้าทูลละอองธุลพี ระบาทรบั เสด็จ ประทปี ทองส่องทางพลังงานไทย 189

นายวรี ะวฒั น์ ชลายน ผวู้ า่ การ กฟผ. คนที่ ๖ ซงึ่ อยใู่ นต�ำแหนง่ ในขณะนนั้ ได้ร�ำลกึ ถงึ เหตุการณ์ในวนั นน้ั วา่ “หลงั จากโรงไฟฟา้ วงั นอ้ ยไดด้ ำ� เนนิ การเตม็ รปู แบบแลว้ กฟผ. จงึ ทำ� หนังสือถึงส�ำนักพระราชวังเพื่อกราบบังคมทูลเชิญในหลวงรัชกาลท่ี ๙ เสดจ็ ฯ มาเปดิ อยา่ งเปน็ ทางการ ซงึ่ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหใ้ นหลวง รัชกาลที่ ๑๐ ซึ่งขณะน้ันทรงด�ำรงพระราชอิสริยยศเป็นสมเด็จพระบรม โอรสาธิราชฯ สยามมกฎุ ราชกุมาร เสดจ็ พระราชดำ� เนินแทนพระองค์ และ ทางกฟผ.กไ็ ดเ้ ชญิ ผวู้ า่ การกฟผ.ทเ่ี กษยี ณไปแลว้ หลายทา่ นมารว่ มในพธิ ีเชน่ คุณสมบูรณ์ มณีนาวา ซ่ึงท่านเป็นคนท�ำพิธีลงเสาเข็มเริ่มก่อสร้างเม่ือ ปีพุทธศักราช ๒๕๓๘ โดยวันท่ีพระองค์ท่านเสด็จฯ รูปแบบการเตรียม รับเสดจ็ เปน็ รฐั พิธี มีคุณสุวิทย์ คุณกิตติ รองนายกรัฐมนตรี (ในขณะนน้ั ) มาเป็นตัวแทนฝ่ายรัฐบาล และส�ำนักพระราชวังได้มาดูแลการเตรียมการ ใหม้ ีความเรียบร้อย สงา่ งาม ซึง่ ทกุ อย่างกเ็ ป็นไปอย่างสมพระเกียรต”ิ 190 ประทีปทองสอ่ งทางพลังงานไทย

นายสมบัติ ศานติจารี ผวู้ ่าการ กฟผ. คนที่ ๑๐ ได้มบี ทบาท ในเวลาตอ่ มา เมอื่ บา้ นเมอื งมกี ารเจรญิ เตบิ โต ส�ำคญั ในการรบั เสดจ็ ในฐานะผอู้ �ำนวยการโรงไฟฟา้ วงั นอ้ ยในขณะนนั้ ทางด้านเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ท�ำให้ความ เลา่ ถงึ เหตุการณว์ นั น้ันวา่ ต้องการใช้ไฟฟ้าในพ้ืนท่ีภาคกลางของประเทศ เพิม่ สงู ข้ึน กฟผ. จึงต้องเตรยี มการจดั หาแหล่งผลิต “พระองคท์ า่ นเสดจ็ ฯ มาทางเฮลคิ อปเตอร์ ประมาณ ๕ โมงเยน็ ไฟฟา้ เพอ่ื เสรมิ ความมน่ั คงของระบบไฟฟา้ และเปน็ ซึ่ง กฟผ. ไดเ้ ตรียมลานจอดไว้ท่ีหนา้ อาคารควบคุมการเดินเคร่อื ง ไปตามแผนพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย เมอื่ เสด็จฯ มาถงึ ก็ทรงท�ำพธิ ีเปดิ โดยกดปุ่มเปดิ แพรคลุมป้ายช่อื พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๓- ๒๕๗๓(PowerDevelopment โรงไฟฟา้ แล้วทรงเจมิ เครื่องกำ� เนดิ ไฟฟา้ และคล้องพวงมาลยั และ Plan: PDP 2010) เมื่อวันที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ ทรงปลกู ตน้ พกิ ลุ ซง่ึ เปน็ ไมม้ งคล แลว้ ทรงพระดำ� เนนิ ทอดพระเนตร พุทธศักราช ๒๕๕๔ คณะรัฐมนตรีได้เห็นชอบให้ โรงไฟฟ้าตามจุดต่างๆ ด้วยความสนพระทัย โดยผมท�ำหน้าท่ี กฟผ. ด�ำเนินการก่อสร้างโรงไฟฟ้าวังน้อยชุดที่ ๔ กราบบังคมทูลถวายรายงานถึงเรื่องการท�ำงานของโรงไฟฟ้า ภายในพื้นท่ีเดิมของโรงไฟฟ้าวังน้อยปัจจุบัน เพื่อ พระองคท์ า่ นมรี บั สงั่ ถามวา่ จา่ ยไฟไปทไี่ หนบา้ ง ผมไดถ้ วายรายงานวา่ รองรับความต้องการใช้ไฟฟ้าท่ีเพิ่มข้ึนในเขตพ้ืนที่ ใชใ้ นพนื้ ทภี่ าคกลางทม่ี กี ารใชไ้ ฟฟา้ เพมิ่ สงู ขน้ึ จนไดเ้ วลาอนั สมควร ภาคกลาง ซ่ึงการก่อสร้างแล้วเสร็จ และจ่ายไฟฟ้า กเ็ สด็จฯ กลับ เขา้ ระบบตงั้ แตเ่ ดอื นพฤษภาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๗ “ระยะเวลาผ่านมา ๒๑ ปีแล้ว ผมยังจดจ�ำและประทับใจ ที่ได้ท�ำหน้าท่ีถวายรายงานในคร้ังน้ัน และต้นพิกุลท่ีทรงปลูก กเ็ ตบิ โตเปน็ ต้นไมใ้ หญ่ขนึ้ ตามกาลเวลา” ประทปี ทองสอ่ งทางพลังงานไทย 191

192 ประทปี ทองสอ่ งทางพลงั งานไทย

ประทปี ทองสอ่ งทางพลงั งานไทย 193

 พระพุทธสิริสตั ตราช ม่ิงมงคลของชาว กฟผ.  พระพุทธสิริสัตตราช หรือหลวงพ่อเจ็ดกษัตริย์ เป็นพระพุทธรูปโบราณ ปางสมาธิ ประทบั นง่ั บนขนดหางของพญางู ๗ องค์ เหนอื องคพ์ ระมพี ญางทู งั้ เจด็ ชูเศียร แผพ่ ังพานปกป้องค้มุ ครองอยู่ ถือเป็นพระพุทธรูปคู่บุญบารมหี ลวงปู่สอ พนั ธโุ ล(พระครภู าวนากจิ โกศล) แหง่ วดั ปา่ บา้ นหนองแสง ต�ำบลสงิ ห์ อ�ำเภอเมอื ง จงั หวดั ยโสธร ซง่ึ ไดจ้ ากนมิ ติ ภาวนา เมอื่ ครงั้ หลวงปไู่ ดป้ ฏบิ ตั ธิ รรมในพรรษาที่ ๘ ขึน้ ๙ ค่�ำ เดอื น ๙ พระเกจอิ าจารยส์ ายหลวงปมู่ น่ั ภรู ทิ ตั โต ไดแ้ ก่ หลวงปมู่ หาบวั ญาณสมั ปนั โน แหง่ วดั ปา่ บา้ นตาด หลวงปเู่ ทสก์ เทสรงั สี แหง่ วดั หนิ หมากเปง้ หลวงปชู่ อบ ฐานสโม แหง่ วัดป่าสมั มานสุ รณ์ หลวงปู่ออ่ น ญาณสิริ แหง่ วดั ป่าหนองบัวบาน หลวงปู่ฝั้น อาจาโร แห่งวัดป่าอุดมสมพร และหลวงปู่ขาว อนาลโย แห่งวัดถ�้ำกลองเพล ล้วนได้พิจารณาแล้ว ต่างยกย่องว่าเป็นพระพุทธรูปท่ีมีความส�ำคัญยิ่ง สามารถ ปกป้องคุ้มครองให้เกิดความร่มเย็นเป็นสุขแก่บ้านเมือง อีกทั้งกรมศิลปากรได้ พิสูจน์ยืนยันแล้วมีความเห็นว่าเป็นพระพุทธรูปที่มีความส�ำคัญที่สุดองค์หน่ึง ในประเทศไทย ตอ่ มา ในปพี ทุ ธศักราช ๒๕๔๒ ประเทศไทยประสบปญั หาเศรษฐกจิ และ ปญั หาภยั แลง้ ประชาชนคนไทยตา่ งไดร้ บั ความเดอื ดรอ้ นกนั ถว้ นหนา้ หลวงปสู่ อ ซึ่งมพี ระพุทธรูปค่บู ุญบารมี อนั ไดแ้ ก่ หลวงพ่อเจ็ดกษัตริย์ (ภายหลงั หลวงปู่สอ ได้ถวายชื่อเป็นทางการว่า พระพุทธสิริสัตตราช ซึ่งหมายถึง “พระพุทธรูป หลวงพ่อเจ็ดกษัตริย์ ผู้ทรงเป็นสิริแห่งแผ่นดิน”) ซ่ึงเป็นสัญลักษณ์แห่งฝนและ ความรม่ เยน็ โดยเฉพาะผมู้ คี ณุ ธรรมและบารมธี รรม สามารถก�ำหนดจติ อธษิ ฐาน ขอฝนใหน้ �้ำทา่ บรบิ ูรณ์ได้ ประกอบกบั ในพุทธศักราช ๒๕๔๒ เปน็ ปมี หามงคล เฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ครบ ๖ รอบ ควรทปี่ วงพสกนกิ รจกั ไดแ้ สดงความปตี ชิ นื่ ชมโสมนสั และแสดงความกตญั ญกู ตเวทติ าคุณถวายใหป้ ระจกั ษ์ หลวงปสู่ อจงึ มดี �ำรจิ ดั สรา้ งพระพทุ ธสริ สิ ตั ตราชองคจ์ �ำลองขนึ้ ขนาดหนา้ ตกั ๓๙ นิ้ว จ�ำนวน ๒ องค์ เพื่อน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายพระบาทสมเด็จ พระมหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร และสมเดจ็ พระบรมราชชนนี พนั ปหี ลวง เพอ่ื พระราชทานแก่ กฟผ. อัญเชญิ ไปประดิษฐานไว้ ณ เขื่อนภูมิพล จังหวดั ตาก และเข่อื นสิริกติ ์ิ จงั หวดั อตุ รดิตถ์ 194 ประทีปทองส่องทางพลังงานไทย

ประทปี ทองสอ่ งทางพลงั งานไทย 195

196 ประทปี ทองสอ่ งทางพลงั งานไทย

นายวทิ ยา คชรกั ษ์ ผวู้ า่ การ กฟผ. คนที่ ๗ ไดเ้ ลา่ ถงึ จดุ เรมิ่ ตน้ ที่ กฟผ. ไดท้ �ำพธิ เี ททองหลอ่ พระพทุ ธสริ สิ ตั ตราช ขน้ึ เปน็ ครงั้ แรกวา่ “จดุ เรม่ิ ตน้ ของการหลอ่ พระพทุ ธสริ สิ ตั ตราชจำ� ลองทง้ั หมด ส�ำนักงานใหญ่ จากนั้นก็กราบขออนุญาตหลวงปู่สอ หล่อขึ้นอีก ตอ้ งยกความดคี วามชอบใหค้ ณุ หญงิ สรุ พี นั ธ์ุ มณวี ตั อดตี รองผวู้ า่ การ ๒ องค์ ขนาด ๓๙ นว้ิ เพอื่ อญั เชญิ ไปประดษิ ฐานทเ่ี ขอื่ นสริ นิ ธร บญั ชแี ละการเงนิ ซง่ึ รจู้ กั กบั หลวงปสู่ อเปน็ อยา่ งดแี ละไดท้ ราบวา่ ทา่ น จังหวัดอุบลราชธานี และโรงไฟฟ้าล�ำตะคองชลภาวัฒนา จังหวัด อยากหลอ่ พระและกำ� ลงั ตามหาโรงหลอ่ แหลมสงิ หข์ องคณุ แหลมสงิ ห์ นครราชสมี า และอกี ๑ องคข์ นาด ๑๙ นว้ิ อญั เชญิ ไปประดษิ ฐาน ดษิ ฐพนั ธ์ุ ทำ� ใหค้ ณุ หญงิ สรุ พี นั ธพ์ุ าชาว กฟผ. ไปรจู้ กั ทา่ น ทเ่ี ขอื่ นนำ�้ พงุ จงั หวดั สกลนคร “ในปีพุทธศักราช ๒๕๔๒ อันเป็นปีมหามงคล ในหลวง “ตอ่ มา ในปพี ทุ ธศกั ราช ๒๕๔๕ ซง่ึ เปน็ ชว่ งทผ่ี มเปน็ ผวู้ า่ การ รชั กาลท่ี๙ทรงเจรญิ พระชนมพรรษาครบ๖รอบหลวงปสู่ อจงึ อยากจะ กฟผ. ปนี นั้ เปน็ วาระมหามงคลทส่ี มเดจ็ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง สรา้ งพระชว่ ยปกปอ้ งในหลวงรชั กาลท่ี ๙ และคมุ้ ครองประเทศไทย ทรงเจรญิ พระชนมพรรษา ๗๐ พรรษา จงึ ไดก้ ราบปรกึ ษากบั หลวงปสู่ อ จึงเกิดเป็นพระพุทธสิริสัตตราช หรือหลวงพ่อเจ็ดกษัตริย์จ�ำลอง จะหล่อหลวงพ่อเจ็ดกษัตริย์องค์ใหญ่ท่ีสุดขนาด ๖๙ น้ิว ส�ำหรับ ๒ องคแ์ รก ประดษิ ฐาน ณ เขอ่ื นภมู พิ ลและเขอ่ื นสริ กิ ติ ์ิ ขนาด ๓๙ นวิ้ ประดษิ ฐานไวท้ ส่ี ำ� นกั งานกลาง หรอื สำ� นกั งานใหญข่ อง กฟผ. พรอ้ มกบั โดยสมเดจ็ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวงเสดจ็ ฯ ไปทรงเททองหลอ่ ที่ หลอ่ ขนาด ๓๙ นวิ้ อกี ๒ องค์ สำ� หรบั อญั เชญิ ไปประดษิ ฐานท่ี วดั บวรนเิ วศ ทล่ี านหนา้ พระอโุ บสถและมปี ระธานฝา่ ยสงฆ์ คอื สมเดจ็ เขอื่ นศรนี ครนิ ทร์ และเขอ่ื นวชริ าลงกรณ จงั หวดั กาญจนบรุ ี ทา่ นก็ พระญาณสงั วรฯ อดตี พระสงั ฆราชพระองคก์ อ่ น เมอ่ื วนั เสารท์ ี่ ๓ บอกวา่ การทจี่ ะอญั เชญิ องคใ์ หญท่ ส่ี ดุ ประดษิ ฐานทส่ี ำ� นกั งานกลาง เมษายน พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๒ หรอื สำ� นกั งานใหญ่ กจ็ ะเปน็ การเผอ่ื แผค่ วามรม่ เยน็ ใหค้ นทง้ั ประเทศ “หลงั จากทรงเททองแลว้ กไ็ ปหลอ่ ทโ่ี รงหลอ่ แหลมสงิ ห์ อำ� เภอ “ทาง กฟผ. ได้ท�ำเร่ืองกราบบังคมทูลเชิญสมเด็จ ลาดหลมุ แกว้ จงั หวดั ปทมุ ธานี ใชเ้ วลาราว ๕ เดอื น เมอ่ื แลว้ เสรจ็ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวงเสดจ็ ฯ มาเปน็ ประธานในการเททองหลอ่ กไ็ ดอ้ ญั เชญิ ไปประดษิ ฐานทเี่ ขอ่ื นทง้ั ๒ แหง่ ซง่ึ กท็ รงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหใ้ นหลวงรชั กาลที่ ๑๐ ซงึ่ ขณะนนั้ ทรงดำ� รงพระราชอสิ รยิ ยศเปน็ สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าชฯ สยามมกฎุ “ในปพี ทุ ธศกั ราช ๒๕๔๓ กฟผ. กก็ ราบขออนญุ าตหลวงปสู่ อ ราชกมุ าร เสดจ็ ฯ แทนพระองค์ ซง่ึ เสดจ็ ฯ มาในวนั ท่ี ๒๓ กรกฎาคม หลอ่ ขนึ้ อกี ๒ องค์ สำ� หรบั อญั เชญิ ไปประดษิ ฐานทเี่ ขอ่ื นอบุ ลรตั น์ พุทธศักราช ๒๕๔๕ ตอนประมาณบ่ายสี่ถึงห้าโมง ซึ่งตอนทรง จงั หวดั ขอนแกน่ กบั เขอ่ื นจฬุ าภรณ์ จงั หวดั ชยั ภมู ิ โดยคณุ วรี ะวฒั น์ เททองนนั้ กเ็ กดิ เหตอุ ศั จรรย์ ทอ้ งฟา้ ดยู าวเปน็ เกลด็ ลกั ษณะเหมอื นงู ชลายน ผู้ว่าการ กฟผ. ในขณะน้ันเป็นประธานในพิธีเททองที่ จาก ๔ ทศิ มาบรรจบกนั ซง่ึ หลายครง้ั ทท่ี ำ� พธิ เี ททอง มกั จะเกดิ เหตุ อศั จรรย์ เชน่ พระอาทติ ยท์ รงกลด หรอื มนี กมาบนิ อยใู่ นบรเิ วณนนั้ “พระองค์ท่านยังเสด็จฯ เข้ามากราบนมัสการหลวงปู่สอ ซงึ่ ทา่ นกไ็ ดถ้ วายหลวงพอ่ เจด็ กษตั รยิ ข์ นาดเทา่ องคจ์ รงิ แดพ่ ระองค์ ท่านด้วย “ในการหลอ่ หลวงพอ่ เจด็ กษตั รยิ ท์ งั้ ๓ องค์ ในครงั้ นน้ั ใช้ งบประมาณ ๓ ลา้ นบาท ซงึ่ เปน็ เงนิ จากการบรจิ าคของบรรดาลกู ศษิ ย์ หลวงปสู่ อทง้ั หมด ไมไ่ ดใ้ ชง้ บของ กฟผ. เลย ประกอบกบั ในปนี น้ั ประเทศไทยเจอวิกฤตขาดน้�ำ ชาวนาท�ำนาล�ำบาก แต่หลังจาก หลอ่ เสรจ็ แลว้ อญั เชญิ ไปประดษิ ฐาน คนื นนั้ ฝนตกลงมามาก ทำ� ให้ ระดบั นำ�้ สงู ขน้ึ และในปตี อ่ มา เกษตรกรกท็ ำ� นาได”้ ประทปี ทองส่องทางพลงั งานไทย 197

198 ประทปี ทองสอ่ งทางพลงั งานไทย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook