Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แบบนำเสนอ Best Practice

แบบนำเสนอ Best Practice

Published by ศิริชัย คชวงษ์, 2020-09-08 14:24:07

Description: แบบนำเสนอ Best Practice
ร้อยเรียงถ้อยคำประพันธ์ สร้างสรรค์สุจริต ด้วย SIRICHAI MODEL

Search

Read the Text Version

1 ปก

2 กจิ กรรมถอดบทเรยี น (Best Practice) สำหรบั ครู ระดับเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา ตามโครงการเสรมิ สรา้ งคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและธรรมาภบิ าลในสถานศกึ ษา ผลงาน รอ้ ยเรยี งถ้อยคำประพนั ธ์ สร้างสรรค์สุจริต ด้วย SIRICHAI MODEL โดย นายศิรชิ ยั คชวงษ์ ตำแหนง่ ครู โรงเรยี นไทยรฐั วทิ ยา ๒๐ (บา้ นหนองมะค่าโมง) อำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี สำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาสพุ รรณบรุ ี เขต ๓ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

ก คำนำ กิจกรรมถอดบทเรียน (Best Practice) สำหรับครู ระดับเขตพื้นที่การศึกษา เล่มนี้ ตามโครงการ เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษา ผลงาน “ร้อยเรียงถ้อยคำประพันธ์ สร้างสรรค์ สุจริต ด้วย SIRICHAI MODEL” จัดทำขึ้นเพื่อถอดบทเรียนในการจัดการเรียนรู้ ในการพัฒนานวัตกรรมการ ปฏิบัตทิ เ่ี ป็นเลศิ ดา้ นกระบวนการการจัดการเรียนรู้ ด้วยคุณลกั ษณะ 5 ประการของโรงเรียนสจุ ริต คือ ทักษะ กระบวนการคิด มีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต อยู่อย่างพอเพียง และจิตสาธารณะ นำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้และนำไป พฒั นาโรงเรยี นสจุ รติ ต่อไป กิจกรรมถอดบทเรียน (Best Practice) สผู่ ลงานในคร้ังน้ไี ด้รับความรว่ มมือจากผู้บรหิ าร คณะครู และ นักเรียนของโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๒๐ (บ้านหนองมะค่าโมง) อย่างดียิ่ง ทั้งยังได้รับความอนุเคราะห์จาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เด่นดาว ชลวิทย์ อาจารย์ประจำภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ผู้ช่วยศาสตราจารย์จันจิรา หาวิชา และดร.วัชรภัทร เตชะวัฒนศิริดำรง อาจารย์ ประจำสาขาวิชาการสอนภาษาไทย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ในการแนะนำ เสนอแนะทำให้ผลงานเล่มน้ีมีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ผู้บริหาร คณะครู โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๒๐ (บ้านหนอง มะคา่ โมง) ขอขอบคณุ ไว้ ณ โอกาสนีเ้ ปน็ อย่างสงู ผลงาน “ร้อยเรียงถ้อยคำประพันธ์ สร้างสรรค์สุจริต ด้วย SIRICHAI MODEL” ด้านกระบวนการ การจัดการเรียนรู้ ของโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๒๐ (บ้านหนองมะค่าโมง) จะมีคุณค่ามากยิ่งขึ้นเมื่อคณะครู ไม่ หยุดการพัฒนา และนำไปปรับปรุงอย่างต่อเนื่องเพื่อใช้ให้เกิดประโยชน์ในการจัดการศึกษา รวมทั้งผู้ที่มีส่วน เก่ียวขอ้ งในการจัดศึกษาเหน็ คุณค่าและนำไปใชเ้ ป็นสว่ นหนึง่ ของการจดั การเรยี นรู้ ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่ากิจกรรมถอดบทเรียน (Best Practice) ที่จัดทำน้ี คงจะเป็นประโยชน์ ต่อ โรงเรยี น คณะครู ท่ีสนใจโครงการโรงเรยี นสุจริต และผ้เู กย่ี วขอ้ งทุกฝ่ายต่อไป ผู้จัดทำ นายศิรชิ ยั คชวงษ์

ข หนา้ สารบญั 1 1 แบบนำเสนอ Best Practice 8 1. ความสำคัญของผลงาน/นวัตกรรมถอดบทเรยี น 8 2. จุดประสงค์และเปา้ หมายของผลงาน / นวัตกรรมถอดบทเรยี น 13 3. กระบวนการผลติ ผลงานหรือข้นั ตอนการดำเนนิ งาน 15 4. ผลการดำเนนิ การผลสัมฤทธแิ์ ละประโยชน์ท่ไี ด้รบั 15 5. ปจั จยั ความสำเร็จ 17 6. บทเรยี นท่ีไดร้ ับ 21 7. การเผยแพร่ / การได้รบั การยอมรบั / รางวลั ทไี่ ดร้ บั 21 8. เงื่อนไขความสำเร็จ 22 9. Best Practice สอดคล้องกบั คณุ ลักษณะ 5 ประการของโครงการโรงเรียนสจุ รติ 23 10. กิจกรรมทสี่ อดคล้องกับปฏิญญาโรงเรยี นสจุ รติ 24 บรรณานุกรม ภาคผนวก

1 แบบนำเสนอ Best Practice  ครู  ผู้บริหาร  ผ้รู บั ผดิ ชอบโครงการโรงเรียนสุจริต/สพท.สจุ ริต ช่อื ผลงาน ร้อยเรียงถ้อยคำประพันธ์ สร้างสรรค์สุจริต ดว้ ย SIRICHAI MODEL เจา้ ของผลงาน นายศริ ิชัย คชวงษ์ โรงเรียน ไทยรัฐวิทยา ๒๐ (บ้านหนองมะคา่ โมง) สงั กดั สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาสพุ รรณบรุ ี เขต 3 โทรศัพท์ 098-2680271 E-mail [email protected] ผลงานสอดคล้องของกบั คุณลักษณะโรงเรียนสุจรติ (เลือกไดม้ ากกว่า 1 ประการ)  ทกั ษะกระบวนการคดิ  มวี ินยั  ซอื่ สตั ย์ สจุ ริต  อยู่อย่างพอเพียง  จติ สาธารณะ 1. ความสำคัญของผลงาน/นวัตกรรมถอดบทเรยี น 1.1 เหตุผลทีเ่ กดิ แรงบนั ดาลใจ ความจำเป็น ปัญหาหรอื ความต้องการท่ีจะทำผลงาน / นวตั กรรม 1) ความสำคญั ของปัญหา การแต่งคำประพันธ์เป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่มลี กั ษณะโดดเดน่ ทั้งรูปแบบ เนื้อหา แนวคิด และศิลปะการประพันธ์ สะท้อนให้เห็นศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาของคนไทย บ่งบอกถึงเอกลักษณ์ของ ชาติไทยที่มีมาตั้งแต่สมัยอดีตจนถึงปัจจุบัน สามารถทำให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจ มีคุณค่าในความงามด้านคำ สัมผัส ด้านรสแห่งวรรณคดี ด้านเสียง ด้านจิตใจ และด้านสังคม การประพันธ์ก่อเกิดจากประสบการณ์ และ จินตนาการของผู้เขียนที่ถ่ายทอดผ่านตัวอักษรสู่ผู้อ่าน การที่จะรวบรวมความคิดว่าจะเขียนอะไรเป็นสิ่งที่ไม่ ง่ายนักแต่บางครั้งปัญหาว่าจะเขียนอย่างไร ถึงจะสื่อความคิด และสื่อสารให้ตรงตามวัตถุประสงค์ได้นั้นกลับ ยากยิ่งกว่า ปัญหาสำคัญอันเกิดจากทักษะกระบวนการคิด และการเขียนนั้นทำให้นักเรียนหลายคนท้อแท้ไม่ ฝึกและยกให้เป็นเรื่องของพรสวรรค์ไป แท้ที่จริงแล้วทั้งทักษะกระบวนการคิด และการเขียนนั้นเราสามารถ พัฒนาได้หากมคี วามพยายาม มคี วามตั้งใจจริง และไดร้ บั โอกาส รวมทัง้ มีส่งิ แวดล้อมท่เี หมาะสม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่า หลักสูตรได้ให้ความสำคัญกับการแต่ง คำประพันธ์ไว้ใน สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษาไทยมาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติและหลักการใช้ภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ

2 ได้กำหนดให้นักเรียนศึกษากฎเกณฑ์ของภาษาไทย การใช้ภาษาที่ถูกต้องเหมาะสมกับโอกาสและบุคคล นักเรียนสามารถการแต่งคำประพันธ์ประเภทกาพย์ยานี 11 ได้ แต่ที่ผ่านมาการสอนให้นักเรียนแต่ง คำประพันธ์ไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร การแต่งคำประพันธ์เป็นงานเขียนที่มีความสำคัญและเป็น ประโยชน์ แต่เป็นงานเขียนที่ยากและซับซ้อนมากกว่า งานเขียนประเภทอืน่ ๆ เพราะต้องมีลักษณะบังคับทาง ฉันทลักษณ์ และต้องใช้ความสามารถในการเขียนถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิดจินตนาการ และอารมณ์ท่ีเป็น นามธรรมใหเ้ ห็นเดน่ ชดั เปน็ รปู ธรรม และสามารถส่ือสารให้ผอู้ า่ นไดร้ ับรตู้ รงตามเจตนารมณ์ของผูเ้ ขยี นดว้ ย อย่างไรก็ตามในปัจจุบันการจัดการเรียนการสอนการแต่งคำประพันธ์ยังไม่ประสบผลสำเร็จ เท่าที่ควร จากการจัดการเรียนการสอนเรียนของนักเรียน มีปัญหาในการเรียนรู้ ด้านการแต่งคำประพันธ์ ประเภทกาพย์ยานี 11 นักเรียนแต่งคำประพันธ์ประเภทกาพย์ยานี 11 ไม่ได้ นักเรียนไม่แม่นฉันทลักษณ์ ไม่ รจู้ กั คำสัมผสั และการสรรคำในการแต่งคำประพนั ธ์ เปน็ ปัญหากบั ครูผู้สอนในเรื่องการแต่งคำประพนั ธ์ ซึ่งเกิด ขนึ้ กบั นกั เรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ซง่ึ ควรเลือกรปู แบบการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ให้มี ความหลากหลาย คิดค้นเทคนิค และกลวธิ ีที่เน้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ เพอ่ื นำมาปรับใช้ใหเ้ หมาะสมกับสภาพและ ลกั ษณะของผู้เรียน สาเหตุการแต่งบทร้อยกรองไม่ประสบผลสำเร็จนั้น เกิดจากตัวนักเรียนที่คิดว่าตนไม่มี ความสามารถในการเขียนร้อยกรองนักเรียนแต่ละคนมีความสามารถในการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน กล่าวคือ คนเกง่ สามารถเรยี นร้เู ร็วแต่คนอ่อนเรยี นรู้ชา้ จึงทำให้คนเกง่ ต้องรอคนเรยี นอ่อน และเบอ่ื หน่ายวิธีการสอนของ ครูจึงทำให้ไม่สนใจทจี่ ะเรยี นเกดิ จากตัวครูผสู้ อนที่ไม่สนใจและไม่ให้ความสำคัญกับการสอนเขียนร้อยกรอง ครู ไม่ถนดั เนอ้ื หาในการสอน จงึ ไม่ใส่ใจในการสอนร้อยกรองและไม่คน้ คว้าหาความรูเ้ พิ่มเติมเพราะคิดว่าไม่สำคัญ ยึดตดิ กบั วธิ ีสอนแบบใดแบบหนงึ่ ไมย่ อมเปลย่ี นแปลงวิธีสอน ปัญหาดังกล่าว จึงส่งผลต่อการเรียนซึ่งทำให้นักเรียนได้รับเนื้อหาความรู้ไม่ครบถ้วนและไม่ ถกู ต้อง เนื้อหาการเรียนไม่เรียงตามลำดับความยากง่าย ไม่สอดคล้องกับตัวช้ีวัด ขาดแรงจูงใจในการเรียนและ การปฏิบัตกิ ิจกรรม ไม่ไดฝ้ กึ ปฏิบตั ิทักษะการเขียนและการสร้างผลงาน ขาดความสนกุ สนานจึงส่งผลให้ผู้เรียน ขาดความกระตือรอื ร้นต่อการเรียนและไมส่ ามารถแต่งกาพยย์ านี 2) เหตุผลทีเ่ กิดแรงบนั ดาลใจ จากปัญหาเหลา่ น้แี สดงให้เห็นว่าครูผูส้ อนต้องพฒั นาการสอน โดยขา้ พเจา้ ได้คิดค้นหาสื่อการ เรียนการสอนที่น่าสนใจและทันสมัยใช้โดยแบบฝึกเสริมทกั ษะทเี่ ป็นสื่อการเรียนการสอนท่ีใช้ฝึกฝนทักษะหรือ สรา้ งความคิดรวบยอด ซึง่ จะทำใหน้ ักเรียนเกิดการเรียนรู้ไดด้ ี และรวดเรว็ เนือ่ งจากลกั ษณะของวิชาภาษาไทย เป็นวิชาทักษะครูจะต้องฝึกฝน การสร้างแบบฝึกเสริมทกั ษะมีกระบวนการสร้างอย่างเป็นระบบระเบียบทำให้ ลดภาระงานของครูสะดวกต่อการนำไปใช้แบบฝึกเสริมทักษะการแต่งคำประพันธ์ประเภทกาพย์ยานี โดย สอดคล้องกับคุณลักษณะโรงเรียนสุจริต 2 ประการ คือ ทักษะกระบวนการคิด ความมีวินัย ในการพัฒนา คุณลักษณะโรงเรยี นสุจรติ ของในการจดั การเรียนรู้ ร้อยเรียงถอ้ ยคำประพันธ์ สร้างสรรค์สุจริต ด้วย SIRICHAI MODELซง่ึ จะทำใหน้ กั เรียนเกดิ การเรยี นรไู้ ด้ดี เกิดการเรยี นร้ทู างภาษาได้รวดเร็วและดียิง่ ข้ึน

3 1.2 แนวคิด หลักการสำคัญที่เกี่ยวข้องกับผลงานหรือนวัตกรรม สามารถอ้างอิงถึงแนวคิด หลักการ ทฤษฎี รปู แบบ วิธกี าร ฯลฯ ท่นี ำมาใช้ในการออกแบบผลงานหรือนวัตกรรม 1) แนวคิด หลักการสำคญั ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั นวตั กรรม 1. ความหมายของคำประพันธ์ คำประพันธ์ หรือบทร้อยกรองในปจั จุบันนี้ โบราณเรียกกันหลายอย่างทั้ง บทกลอน กาพย์กลอนบท กวี กวนี ิพนธ์ กวีวจั นะ ฯลฯ ซ่ึงมนี กั การศึกษาได้ใหค้ วามหมายของคำประพนั ธ์ไวด้ ังนี้ ราชบัณฑิตยสถาน (2556, หน้า 709) กล่าวว่า คำประพันธ์ หมายถึง แต่ง เรียบเรียงร้อยกรองผูก ถ้อยคำเป็นขอ้ ความเชงิ วรรณคดี สรุปได้ว่า คำประพันธ์ หมายถึงถ้อยคำที่เรียบเรยี งให้เป็นระเบียบตามบัญญัติแห่งฉันทลักษณ์ โดยมี กำหนดข้อบังคับต่างๆ เพื่อให้เกิดความครึกครื้นและมีความไพเราะแตกต่างไปจากถ้อยคำธรรมดา มีสัมผัส คลอ้ งจองกนั ซง่ึ แต่งเป็น กาพย์ กลอน โคลง ฉันท์ และรา่ ย 2. ประเภทของกาพยย์ านี 11 ราตรี โพธิเ์ ตง็ (2551, หนา้ 230) กลา่ วถงึ ลักษณะบังคบั ของกาพยย์ านี 11 ไว้ดงั นี้ 1. คณะ กาพย์ยานี 11 มีคณะดังนี้ บทหนงึ่ มี 2 บาท บาทหน่ึงมี 2 วรรค วรรคแรกมี 5 คำ วรรคหลัง 6 คำ รวมเปน็ 11 คำ บาทแรกเรียกวา่ บาทเอก บาททสี่ องเรยี กวา่ บาทโท จะต้องแตง่ ให้จบในบาทโทเสมอ 2. สัมผัส สัมผัสบังคับ คือ คำที่ 5 ของวรรคแรกบาทเอก สัมผัสกับคำที่ 3 ของวรรคที่ 2 ในบาท เดียวกัน และคำสดุ ท้ายของวรรคที่สองในบาทเอก สมั ผสั กับคำที่ 5 ของวรรคท่ี 3 ในบาทโท สัมผัสเช่ือมระหว่างบทในกรณีทีแ่ ต่งเกินกว่าหน่ึงบท ตอ้ งส่งสัมผัสเชือ่ ม คือ คำสุดทา้ ยของวรรคที่สอง ในบาทโท ส่งสัมผัสเชื่อมกับคำสุดท้ายของวรรคที่ 2 ในบาทเอกของบทต่อไปสัมผัสในไม่บังคับ นิยม เช่นเดียวกบั กลอน แผนผงั OOOOO OOOOOO บาทเอก 1 บท OOOOO OOOOOO บาทโท OOOOO OOOOOO OOOOO OOOOOO สมั ผัสระหว่างบท บาทเอก 1 บท บาทโท

4 ตวั อยา่ งคำประพนั ธ์ สบิ เอด็ คำจำอย่าคลาย วรรคหลังหกยกแสดง กาพย์ยานลี ำนำ ไม่สำคญั อย่าระแวง วรรคหนา้ หา้ คำหมาย ให้ถกู ต้องตามวธิ ี ครลุ หุนั้น สมั ผสั ต้องจดั แจง (หลักภาษาไทย : กำชยั ทองหล่อ) 3. ลกั ษณะบงั คับของกาพย์ยานี 11 ลักษณะบังคับของกาพย์ยานี 11 คือ 1 บทมี 2 บาท บาทละ 11 คำ แบ่งเป็น 2 วรรค วรรคแรก 5 คำ วรรคหลัง 6 คำ บังคับสัมผัสระหว่างวรรคที่ 1, 2 และ 3 ทิ้งสัมผัสวรรคที่ 4 สัมผัสระหว่างบทส่งจากท้าย บทแรกไปยังทา้ ยบาทแรกของบทต่อไป ดังตวั อย่าง ปฤษณา แจ้มแจง้ (2554, หนา้ 27) กล่าววา่ บทรอ้ ยกรองทกุ ประเภทต้องมลี ักษณะบังคับในการแต่ง เพื่อให้เกิดความไพเราะ และมีความแตกจากรอ้ ยแกว้ ธรรมดา 1. คณะ กาพย์ยานี บทหน่ึงประกอบด้วย 2 บาท คอื บาทเอก และบาทโท บาทหนึ่งแบ่งเป็น 2 วรรค วรรคแรกมี 5 คำ และวรรคหลังมี 6 คำ ดังนี้ บาทเอก วรรคที่ 1 วรรคที่ 2 OOOOO OOOOOO กาพย์ยานีลำนำ สบิ เอด็ คำจำอย่าคลาย บาทโท วรรคที่ 3 วรรคที่ 4 OOOOO OOOOOO วรรคหน้าห้าคำหมาย วรรคหลงั หกยกแสดง *การแตง่ กาพย์ยานจี ะแต่งก่ีบทก็ได้แต่ต้องจบลงทบ่ี าทโท 2. สมั ผสั 2.1 สัมผัสนอก บังคับไว้ดังน้ี ตัวอย่าง ลักษณะบังคับตามแผนผังของกาพย์ยานี และตัวอย่าง ประกอบสองบท ดงั นี้

5 บาทเอก วรรคที่ 1 สมั ผสั ระหวา่ งวรรค สัมผสั ระหว่างบท บาทโท OOOOO วรรคท่ี 2 สมั ผสั ระหวา่ งบท วรรคที่ 3 OOOOO OOOOOO วรรคที่ 4 OOOOO OOOOO OOOOOO OOOOOO OOOOOO 4. หลักการสอนเขียนบทร้อยกรอง การเขียนบทร้อยกรอง เป็นส่วนหนึ่งของการฝึกเสริมทักษะการเขียนในกลุ่มทักษะภาษาไทย ผู้เรียน จะเขียนร้อยกรองได้มากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบหลายอย่าง เช่น ความคิดสร้างสรรค์ ความสามารถในการใช้ภาษา ในการสอนเขียนบทร้อยกรองนั้นถ้าครูอยากประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ ท่ีตั้งไว้ ซงึ่ มผี ใู้ ห้ความเห็นไว้ ดงั น้ี ประจักษ์ ประภาพิทยากร อ้างถึงใน นพดล จันทร์เพ็ญ (2523, หน้า 14-15) ได้แนะนำการสอนการ เขียนคำประพันธ์ไว้วา่ 1. คัดเลือกกวที ่ีเด่นมาเป็นตัวอย่างใหเ้ กดิ ความซาบซงึ้ 2. การคัดเลือกหรือวิเคราะห์ให้คำนึงถึงเนื้อเรื่องที่จะสอนด้วย เช่น สอนจินตนาการควรนำตัวอย่าง บทกลอนจินตนาการท่ีลึกซึ้ง เป็นต้น 3. ครตู ้องใจกว้างยอมรบั ความคิดเห็นที่เป็นทำนองสร้างสรรคข์ องผู้เรยี น 4. ครูควรศึกษานักกลอนปัจจุบัน ท้ังผลงานและภูมหิ ลัง เพ่ืออธบิ ายจุดมุ่งหมาย ในการแตง่ หรือชี้แจงลกั ษณะเฉพาะตวั ท่ีเป็นเอกลักษณ์ให้ผู้เรียนเห็น 5. สร้างบรรยากาศทเี่ ป็นกันเอง ไม่เครง่ เครยี ด 6. การตรวจผลงาน ไม่ควรนำตวั ครูเองเป็นเครื่องวัดว่าไพเราะถูกใจครหู รือไม่และไม่ควรตดั สนิ ชี้ขาด ว่าสงิ่ ใดผดิ สิง่ ใดถกู 7. การจัดกจิ กรรมเสริมหลกั สูตรหลายๆ รปู แบบ เช่น เม่ือสอนนริ าศควรนำนักเรียน ไปนอกสถานท่ี หรอื อาศยั การทัศนศึกษาในกลุ่มสาระอ่ืน เป็นต้น

6 5. แนวคิดการใชแ้ บบฝกึ เสริมทกั ษะ แบบฝึกเสริมทักษะในภาษาไทยมีช่ือเรียกแตกต่างกันออกไป เช่น ชุดการฝึก แบบฝึกเสริมทักษะ แบบฝกึ หัด แบบฝกึ หดั ทกั ษะ เปน็ ตน้ มีผู้ใหค้ วามหมายของแบบฝึกเสริมทักษะไว้ ดงั นี้ นิลาภรณ์ ธรรมวิเศษ (2546, หน้า 10) กล่าวว่า แบบฝึก เป็นสิ่งที่ช่วยเสริมทักษะเกี่ยวกับการเขียน ทุกรปู แบบ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การเขียนสะกดคำ ครสู ามารถ ใชแ้ บบฝกึ ช่วยพัฒนาการเขียน แบบฝึกยังเป็นสิ่ง เรา้ ใจใหผ้ ู้เรียนสนใจ และอยากฝึกทักษะการเขียนใหเ้ กิดความชำนาญมากขน้ึ ปริศนา พลหาญ (2549, หน้า 48) กล่าวว่า แบบฝึก คือ แบบฝึก หรือแบบฝึกหัด หรือแบบเสริม ทักษะ หมายถึง การจัดประสบการณ์การฝึกโดยใช้ตัวอย่างปัญหา หรือคำสั่งที่ตั้งขึ้น เพื่อให้นักเรียนเป็นผู้ลง มือปฏิบัติกิจกรรมเอง และเกิดความรูค้ วามเขา้ ใจ และมีทักษะเพิ่มมากขึ้น ช่วยให้นักเรียนมีพฒั นาการในการ เรียนรู้ และสามารถนำความรไู้ ปใชแ้ กป้ ญั หา นกั เรยี นไดเ้ รยี นรอู้ ย่างสนุกสนาน สรุปได้ว่า แบบฝึกเสริมทักษะ แบบฝึกหัด หรือชุดการฝึก เป็นคำที่มีความหมายคล้ายคลึงกัน คือ งานหรอื กจิ กรรมท่ีครูผสู้ อนมอบหมายให้ผู้เรยี นกระทำเพ่ือฝกึ ทกั ษะและทบทวนความรทู้ ี่ได้เรียนไปแล้วให้เกิด ความชำนาญ ถูกต้อง คล่องแคล่ว จนสามารถนำความรู้ไปแก้ปัญหาได้โดยอัตโนมัติ ในสร้างนวัตกรรมครั้งน้ี เลือกใช้คำว่า แบบฝึกเสริมทักษะ 6. หลักการสรา้ งแบบฝึกทักษะ ฮาเรส Haress อ้างถึงใน อังศุมาลิน เพิ่มผล (2542, หน้า 14) ได้กล่าวถึงหลักการสร้างแบบฝึกว่า แบบฝึกจะต้องใช้ภาษาให้เหมาะสมกับผู้เรียน และควรสร้างโดยอาศัยหลักจิตวิทยาในการแก้ปัญหา และการ ตอบสนองไวด้ งั น้ี 1. สร้างแบบฝกึ หลายๆ ชนิด เพื่อเรา้ ให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ 2. แบบฝกึ ทส่ี รา้ งขน้ึ นนั้ จะต้องให้ผเู้ รยี นสามารถพิจารณาไดว้ ่าต้องการให้ผูเ้ รียนทำอะไร 3. ให้ผูเ้ รียนไดน้ ำส่ิงท่ีเรียนร้จู ากการเรยี นมาตอบในแบบฝึกให้ตรงตามเป้าหมาย 4. ใหผ้ ู้เรยี นตอบสนองสง่ิ เรา้ ด้วยการแสดงความสามารถและความเขา้ ใจในการฝึก 5. กำหนดใหช้ ัดเจนว่าจะใหผ้ ูเ้ รยี นตอบแบบฝกึ แตล่ ะชนดิ แต่ละรูปแบบดว้ ยวธิ กี ารตอบอย่างไร จากที่กล่าวมา สรุปได้ว่า หลักในการสร้างแบบฝึกควรสร้างให้ตรงกับจุดประสงค์ที่ต้องการฝึก มคี วามเหมาะสมต่อพฒั นาการของผเู้ รียน สนองความสนใจและคำนงึ ถึงความแตกต่างระหวา่ งบุคคล จัดทำให้ จบเป็นเร่อื งๆ การประเมนิ ผลแจง้ ผลความก้าวหน้าในการฝึกให้ผู้เรยี นทราบทันทที ุกครั้ง

7 7. ลักษณะของแบบฝึกเสริมทกั ษะทีด่ ี ในการจัดทำแบบฝึกหัดให้บรรลุตามวัตถุประสงค์นั้นจำเป็นจะต้องอาศัยลักษณะและรูปแบบของ แบบฝึกที่หลากหลายแตกต่างกัน ซึ่งขึ้นอยู่กับทักษะที่เราจะฝึก ดังที่มีนักการศึกษาได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับ ลกั ษณะของแบบฝกึ ท่ีดไี วด้ งั นี้ ไพรตั น์ สวุ รรณแสน อา้ งถงึ ใน จริ พร จันทะเวยี ง (2542, หน้า 43) กลา่ วถึงลกั ษณะของแบบฝึกท่ีดี ไว้ดังน้ี 1. เก่ยี วกบั บทเรียนทไี่ ดเ้ รียนมาแลว้ 2. เหมาะสมกบั ระดบั วัยและความสามารถของเด็ก 3. มีคำชีแ้ จงสนั้ ๆ ท่ีจะทำใหเ้ ด็กเข้าใจ คำชแี้ จงหรอื คำสง่ั ตอ้ งกะทัดรัด 4. ใช้เวลาเหมาะสม คือ ไมใ่ ห้เวลานานหรือเร็วเกินไป 5. เป็นทนี่ า่ สนใจและทา้ ทายความสามารถ สรุปได้ว่า ลกั ษณะของแบบฝกึ ทีด่ ี ควรเป็นแบบฝกึ ส้ันๆ ฝกึ หลายๆ ครัง้ มหี ลายรปู แบบ การฝึกควร ฝึกเฉพาะเร่ืองเดียว และควรเป็นส่ิงท่ีผู้เรยี นพบเหน็ อยแู่ ลว้ คำชแ้ี จงสนั้ ๆ ใชเ้ วลาเหมาะสม เป็นเร่ืองท่ีท้าทาย ให้แสดงความสามารถ เมื่อผู้เรียนได้ฝึกแล้วก็สามารถพัฒนาตนเองได้ดี จึงจะนับว่าเป็นแบบฝึกที่ดีและมี ประโยชน์ 8) นิยามศัพทเ์ ฉพาะ เรียงร้อยถ้อยคำประพันธ์ หมายถึง การแต่งคำประพันธ์ ประเภทกาพย์ยานี เพื่อถ่ายถอดเรื่องราว ความรู้สึก หรือความคิดเห็น มีความถูกต้องตามฉันทลักษณ์ โดยประเมินจากองค์ประกอบ 5 ด้าน คือ ด้าน ฉันทลักษณ์ ด้านเนื้อหาใจความ ด้านการใช้ถ้อยคำภาษา ด้านการเขียนสะกดคำ ด้านความเป็นระเบียบ เรียบร้อยและความคิดสร้างสรรค์วัดได้โดยใช้แบบทดสอบวัดความสามารถในการแต่งคำประพันธ์ เป็นการ ทดสอบแบบปฏิบัติ (Performance test) จำนวน 1 ข้อ ทั้งนี้ การประเมินผลความสามารถในการแต่ง คำประพนั ธ์ ตอ้ งคำนงึ ถึงองค์ประกอบ 5 ดา้ น คอื 1. ดา้ นฉนั ทลกั ษณ์ คอื ความถูกตอ้ งตามขอ้ บงั คับของรอ้ ยกรองแต่ละประเภท ไดแ้ ก่ คณะ สัมผสั 2. ดา้ นเนื้อหาใจความ คอื มีเนอ้ื หาตรงตามหวั ข้อท่ีกำหนด 3. ด้านการใช้ถ้อยคำภาษา คือ ใช้ถ้อยคำถูกต้องตามอักขรวิธีและมีความไพเราะ ใช้คำเหมาะแก่ เนือ้ หาและบรบิ ท มกี ารเลน่ สมั ผสั ใน มีการเล่นสมั ผัสสระหรอื สมั ผสั อักษร 4. ดา้ นการเขยี นสะกดคำ คอื เขยี นสะกดคำถกู ตอ้ งตามหลกั ไวยากรณภ์ าษาไทย 5. ด้านความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความคิดสร้างสรรค์ คือ เขียนตัวอักษรอ่านง่าย สะอาด เรยี บรอ้ ย มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ นำเสนอแง่คิดท่ีเป็นประโยชนแ์ ละนำเสนอเนอ้ื หาทีน่ า่ สนใจหรือแปลกใหม่ แบบฝึกเสริมทักษะ หมายถึง แบบฝึกเสริมทักษะที่สร้างขึ้นสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3 เพ่อื ใหร้ ูเ้ รื่องการแตง่ คำประพนั ธ์ ประเภทกาพย์ยานี โดยนำเสนอบทเรียนในลกั ษณะการ

8 ฝึกเสริมทักษะตามลำดบั ข้ันตอน จำนวน 1 หน่วยการเรียนรู้ ได้แก่ คำคล้องจอง คำสัมผัส และการแต่งกาพย์ ยานี ซ่งึ สามารถฝึกฝนให้นักเรียนพฒั นากระบวนการคดิ และทักษะในการแต่งกาพยย์ านีในระดับพนื้ ฐานได้ กาพย์ยานี หมายถึง กาพย์ชนิดหน่งึ มี 11 คำในหนง่ึ บาท เรยี กว่า กาพยย์ านี 11 เป็นคำประพนั ธ์ ประเภทหน่งึ ซ่ึงกำหนดลักษณะบงั คบั คณะ พยางค์และสัมผัส บทหนึง่ มี 2 บาท บาทท่หี นึง่ เรยี กวา่ บาทเอก บาทท่สี อง เรียกว่า บาทโท บาทหนงึ่ ๆ จะแบง่ เป็น 2 วรรค โดยวรรคหน้ามี 5 พยางค์ วรรคหลังมี 6 พยางค์ รวมเปน็ 11 พยางค์ 2. จดุ ประสงคแ์ ละเป้าหมายของผลงาน / นวตั กรรมถอดบทเรยี น 2.1 จุดประสงค์เขยี นให้สอดคลอ้ งกบั ความสำคัญของผลงาน / นวตั กรรม 1. เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นแต่งคำประพันธ์ตามแบบแผนฉนั ทลักษณไ์ ด้ถูกต้อง 2. เพอ่ื ใหน้ กั เรียนมีทักษะความสามารถด้านการแตง่ คำประพนั ธ์ไดถ้ ูกต้องคลอ่ งแคล่วและชำนาญ 3. เพอ่ื ใหน้ ักเรียนมีทกั ษะกระบวนการคดิ ทดี่ ีต่อการแต่งคำประพันธ์ ประเภทกาพยย์ านี 11 2.2 เป้าหมายระบุจำนวนผลงาน / นวตั กรรมหรือกลุ่มเป้าหมายท่ีใชผ้ ลงาน / นวัตกรรม นวัตกรรม “เรียงรอ้ ยถ้อยคำประพันธ์ สรา้ งสรรคส์ ุจรติ ” มจี ำนวน 3 ชุด ดงั นี้ ชดุ ที่ 1 ฝึกคิดเขยี นคำคลอ้ งจอง ชดุ ท่ี 2 ฝกึ คิดลองคำสัมผสั ชุดที่ 3 ฝึกหัดแตง่ คำประพนั ธ์ กลุ่มเป้าหมายทใี่ ช้ผลงาน เชิงปริมาณ - นักเรยี นรอ้ ยละ 90 มวี นิ ยั ในการแตง่ คำประพนั ธ์ - นกั เรยี นรอ้ ยละ 90 มีทกั ษะความสามารถดา้ นการแต่งคำประพนั ธ์ได้ถูกตอ้ ง - นกั เรียนร้อยละ 90 มีทกั ษะกระบวนการคิดท่ดี ีต่อการแต่งคำประพนั ธ์ เชงิ คณุ ภาพ - นกั เรียนมพี ฒั นาการด้านทักษะกระบวนการคดิ ความมีวินัย ทงั้ 2 ดา้ น ดีขึ้น 3. กระบวนการผลติ ผลงานหรือข้นั ตอนการดำเนนิ งาน การพัฒนานวัตกรรมคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนานักเรียนให้มีความรู้ความเข้าใจในฉันทลักษณ์ รู้จักคำสัมผัส และการสรรคำใน การแต่งคำประพันธ์ นักเรียนมีความสามารถในการแต่งคำประพันธ์ ประเภท กาพย์ยานี 11 ตลอดจนพฒั นากระบวนการจดั การเรยี นรูด้ ้วยแบบฝึกเสรมิ ทักษะ การแตง่ คำประพันธ์ ประเภท กาพยย์ านี 11 นอกจากน้เี พ่ือให้นักเรียนสามารถแต่งคำประพนั ธ์ได้ถูกต้องคล่องแคลว่ และชำนาญ ซึ่งแบบฝึก เสริมทักษะถือเป็นสื่อการเรียนรู้รูปแบบหนึ่งที่มีความสำคัญต่อการจัดการเรียนรู้ ทั้งนี้แบบฝึกเสริมทักษะจะ

9 ช่วยให้นักเรียนมีพัฒนาการทางภาษาเข้าใจในบทเรียนดีขึ้น ทำให้เกิดเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิชาภาษาไทย เรื่องการแต่งคำประพันธ์ ที่จะช่วยพัฒนานักเรียนทั้งด้านทักษะกระบวนการคดิ ความมีวินัย ความรู้ คุณธรรม ทักษะทางภาษา และอนุรกั ษส์ บื สานความเป็นไทย มีรายละเอียดดงั นี้ 1. แผนการจัดการเรยี นรู้ การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้กลุม่ สาระการเรียนภาษาไทย เกี่ยวกับการแต่งคำประพันธ์ ตั้งแต่ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ถงึ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 2. เคร่ืองมอื ทีใ่ ช้ - แผนการจัดการเรียนรู้เกย่ี วกับการแตง่ คำประพันธ์ ประเภทกาพยย์ านี 11 - แบบทดสอบวดั ความร้กู อ่ นเรียนและหลังเรยี นการแตง่ คำประพนั ธ์ ประเภทกาพย์ยานี 11 จำนวน 30 ขอ้ - แบบประเมินความพงึ ใจตอ่ การแต่งคำประพนั ธ์ ประเภทกาพยย์ านี 11 3. วิธีการสรา้ งสื่อการเรยี นการสอน - ศกึ ษาหลักสตู รสถานศึกษากล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พ.ศ. 2551 - ศกึ ษาวธิ กี ารชุดแบบฝึกเสริมทกั ษะการแต่งคำประพนั ธ์ ประเภทกาพย์ยานี 11 - ศกึ ษาเน้ือหาและวิเคราะห์เนือ้ หาเก่ียวกับการแต่งคำประพนั ธ์ ประเภทกาพยย์ านี 11 ให้ สอดคลอ้ งกับวัตถปุ ระสงค์ของแผนการจดั การเรียนรู้ - นำเน้อื หามาเรยี งลำดับจากงา่ ยไปยาก แลว้ จัดทำเปน็ ชดุ แบบฝกึ ทักษะ 3 ชุด ดังน้ี ชุดท่ี 1 ฝึกคิดเขียนคำคลอ้ งจอง ชุดท่ี 2 ฝึกคดิ ลองคำสัมผสั ชุดท่ี 3 ฝึกหดั แต่งคำประพนั ธ์ 4. วิธีการสอน แบบฝึกเสริมทักษะการแต่งคำประพันธ์ ประเภทกาพย์ยานี 11 ซึ่งประกอบด้วยแบบฝึกเสริมทักษะ จำนวน 3 ชดุ ดงั นี้ ชุดที่ 1 ฝกึ คดิ เขยี นคำคล้องจอง ชุดที่ 2 ฝกึ คิดลองคำสัมผสั ชดุ ที่ 3 ฝึกหัดแตง่ คำประพนั ธ์ ครูผู้สอนทำชุดแบบฝึกเสริมทักษะทั้ง 3 ชุด แจกนักเรียนทีละชุด และเรียนในวิชาภาษาไทย โดยครู เป็นผู้จัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ชุดแบบฝึกเสริมทักษะการแต่งคำประพันธ์ ประเภทกาพย์ยานี 11 (ครูเป็นผู้การสังเกตพฤติกรรมการเรียน กระบวนการทำงานของนักเรียนแบบเพื่อนช่วยเพื่อน และทักษะการ แต่งคำประพันธ์) ซึ่งสื่อการเรียนรู้รูปแบบหนึ่งที่มีความสำคัญต่อการจัดการเรียนรู้ จะช่วยให้นักเรียนมี พัฒนาการทางภาษาเข้าใจในบทเรียน ซึ่งจะช่วยให้นกั เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเลือกใช้คำมาแต่ง

10 คำประพันธ์และสามารถเลือกใช้คำได้อย่างถูกต้องเหมาะสมตามแบบแผนฉันทลักษณ์ดีขึ้นขณะเดียวกัน นักเรียนมีทักษะกระบวนการคิด ความมีวินัย มีเจตคติท่ีดีต่อการเรียนรู้เรื่อง การแต่งกาพย์ยานี 11 และเกิด ความภาคภูมใิ จในผลงานของตนเอง แบบฝึกเสริมทกั ษะ ถอื เป็นสอ่ื การเรียนรู้รูปแบบหน่ึงที่มีความสำคัญต่อการจดั การเรียนรู้ ทั้งนี้แบบ ฝึกเสริมทกั ษะจะช่วยให้นักเรียนมีพัฒนาการทางภาษาเข้าใจในบทเรียนดีข้ึน ทำให้เกิดเจตคติท่ีดีตอ่ การเรยี น วิชาภาษาไทย ทั้งนี้ ไดอ้ อกแบบและพฒั นาโดยใชก้ ระบวนการ PDCA ในการดำเนินงานและการมสี ่วนร่วมของ ทุกฝ่าย ในการสร้างชุดแบบฝึกเสริมทักษะนี้ ได้จัดทำรูปแบบการจัดการเรียนรู้ “การเรียนรู้ด้วยแบบฝึกเสรมิ ทกั ษะการแต่งคำประพันธ์ ประเภทกาพยย์ านี 11 จากการสำรวจสภาพปัญหาจากการจัดการเรยี นรู้ของนักเรียน ครู ในรายวชิ าภาษาไทยที่พบปัญหา และอุปสรรคมากที่สุด และนำมาจัดลำดับความสำคัญตามความเหมาะสม เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ และกำหนดเป็นประเด็นสำคัญเพือ่ พัฒนาชุดแบบฝึกเสริมทักษะ เรื่องการแต่งคำประพันธ์ ประเภทกาพย์ยานี 11 ตามกระบวนการ PDCA ดังน้ี 1) P = Plan ข้นั ตอนการวางแผน ขั้นตอนการวางแผนและออกแบบสร้างชุดแบบฝึกเสริมทักษะ ตามสภาพปัญหาของการจัดการ เรยี นรู้ โดยใหเ้ หมาะสมกับผเู้ รยี นของโรงเรยี นไทยรฐั วทิ ยา ๒๐ (บา้ นหนองมะค่าโมง) 2) D = Do ข้ันตอนการปฏบิ ตั ิ ขั้นตอนการปฏิบัติตามแผนการที่ได้วางไว้ โดยศึกษาหลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. 2551 เพื่อนำมาสร้างชดุ แบบฝึกเสริมทักษะการ แต่งคำประพนั ธ์ ประเภทกาพยย์ านี 11 จำนวน 3 ชดุ คอื ชุดที่ 1 ฝกึ คดิ เขยี นคำคลอ้ งจอง ชุดท่ี 2 ฝึกคดิ ลองคำสัมผสั ชดุ ที่ 3 ฝึกหัดแตง่ คำประพันธ์ 3) C = Check ข้ันตอนการตรวจสอบ ขนั้ ตอนการตรวจสอบ ชดุ แบบฝึกเสรมิ ทักษะการแตง่ คำประพนั ธ์ ประเภทกาพยย์ านี 11 จำนวน 3 ชุด โดยคณะผู้ร่วมพัฒนาผลงานนวัตกรรม เพื่อให้มีประสิทธิภาพและบรรลุวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ และ การประเมินผลผเู้ รยี น ใน 3 ด้าน คอื ดอ้ ย ดี เดน่ 4) A = Action ข้นั ตอนการดำเนนิ งาน ขั้นตอนการดำเนินงานจากการประเมินผล วิเคราะห์ผู้เรียนถึงสภาพปัญหา ข้อบกพร่อง หรือ จุดอ่อนที่ควรปรับปรุงและพัฒนาในการสร้างชุดแบบฝึกเสริมทักษะการแต่งคำประพันธ์ ประเภทกาพย์ยานี 11 จำนวน 3 ชุด เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ สู่การพัฒนาการแต่งเพลงพื้นบ้านสุพรรณบุรี เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์และขยายผลสู่สถานศกึ ษาใกล้เคียง ตลอดจนพัฒนาชดุ แบบฝกึ เสรมิ ทักษะต่อเน่อื ง

11 กรอบแนวคิดในการพฒั นา “เรยี งรอ้ ยถ้อยคำประพันธ์ สรา้ งสรรคส์ จุ ริต ดว้ ย SIRICHAI MODEL” มีกรอบแนวคิด ดงั นี้ 1. การตรวจสอบทักษะผเู้ รยี น (Searching : S) ครูสำรวจตรวจสอบนักเรยี นในการจัดการเรยี น การสอนในการแตง่ คำประพันธ์ ถึงสภาพปัญหา อุปสรรค และทกั ษะผเู้ รียนที่สำคัญ 2. การสร้างนวัตกรรม (Innovation : I) ครูคิดค้นหาสื่อการเรียนการสอนที่น่าสนใจและทันสมยั ใช้โดยแบบฝึกเสริมทักษ ทเ่ี ปน็ สอ่ื การเรียนการสอนท่ีใช้ฝกึ ฝนทกั ษะหรือสร้างความคดิ รวบยอด ทำใหน้ กั เรียน เกดิ การเรียนรไู้ ด้ดี และรวดเร็ว ซง่ึ จะทำให้นกั เรียนเกดิ การเรียนรไู้ ด้ดี เกิดการเรียนรทู้ างภาษาไดร้ วดเร็วและดี ยิ่งขึ้น โดยศึกษาหลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พื้นฐาน พ.ศ. 2551 จากสภาพปญั หา เพอ่ื นำมาสรา้ งชดุ แบบฝึกเสริมทักษะการแต่งคำประพันธ์ ประเภทกาพย์ ยานี 11 จำนวน 3 ชุด คือ ชดุ ที่ 1 ฝกึ คดิ เขียนคำคล้องจอง ชุดท่ี 2 ฝกึ คดิ ลองคำสมั ผัส ชดุ ที่ 3 ฝึกหัดแต่ง คำประพันธ์ 3. การสะทอ้ นสงิ่ ทไ่ี ด้เรียนรู้ (Reflection : R) การสื่อสารในรูปแบบของคำประพนั ธ์ จากชดุ แบบ ฝึกเสริมทักษะ ด้วยการจัดการเรียนรู้ของครู เช่น ผลงาน ชิ้นงาน ความสำเร็จในการเรียน นักเรียนมีทักษะ กระบวนการคิด และความมีวินัย จากการแต่งคำประพันธ์ ด้วยความรู้สึกนึกคิด การเปลี่ยนแปลงความคิด วิธี คดิ ทำให้เกดิ ความคิดใหม่ ซง่ึ นำการเรียนรไู้ ปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ได้ 4. จินตนาการในการแต่งคำประพันธ์ (Imagination : I) การจินตนาการของผู้แต่งว่าจะเขียน เรื่องอะไร ด้วยการสรา้ งภาพให้เกิดขึ้นในห้วงความคิด ลำดับภาพ เหตุการณ์ให้เป็นไปอยา่ งสมเหตุสมผล โดย ถ่ายทอดความรู้สึก จินตนาการนั้นเป็นคำประพันธ์ และเลือกใช้คำที่สื่อความหมายได้ชัดเจน ทำให้ผู้อ่านเกิด ภาพพจน์ จนิ ตนาการรว่ มกับผู้ประพนั ธ์ และแตง่ คำประพนั ธไ์ ดถ้ กู ตอ้ งตามฉันทลกั ษณข์ องคำประพนั ธ์ 5. ความสัมพันธ์ในการทำงาน (Connection : C) นักเรียนมีความสัมพันธ์ในการทำงานร่วมกัน ทั้งรายบุคคล และการทำงานกลุ่ม เพื่อสร้างความร่วมมือกับบุคคลอื่น ด้วยความเข้าใจซึ่งกันและกัน มีทักษะ กระบวนการคิด แสดงความคดิ เห็นและอภิปรายในกลุ่มอย่างสร้างสรรค์ มีคณุ ธรรมในการทำงานร่วมกนั เพื่อ ความสขุ ในการทำงานรว่ มกับผอู้ ื่น 6. พลังแหง่ ความคดิ (Head : H) กระบวนการคดิ อยา่ งเป็นระบบ ทนี่ ำส่คู วามสำเร็จในการเรียนรู้ ในการแต่งคำประพนั ธ์ มีความคดิ ท่ีดี คดิ บวก คดิ ในเชิงสรา้ งสรรค์ ซึ่งเปน็ เครื่องมือสำคญั แหง่ การเรียนรู้ 7. การประเมนิ และตดิ ตามผล (Assessment : A) การประเมินผลทม่ี ีส่วนเสริมสร้างความสำเร็จ ให้กับผู้เรียน และเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดการเรียนการสอน โดยติดตามผลของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง ซึ่งนำแนวคิดการประเมินผลผู้เรียนตามสภาพจริงไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน การศึกษาด้วยตนเองและ ลงมือปฏิบัติจริง พัฒนาความรู้จากการลงมือปฏิบัติ นอกจากจะแสดงพัฒนาการของผู้เรียนแล้ว ยังเป็นการ สะท้อนการสอนของผู้สอน เพ่อื จะนำไปปรบั ปรุงการเรียนการสอนตอ่ ไป 8. แรงบันดาลใจในการเรียนรู้ (Inspiration : I) การสร้างแรงบันดาลใจในการแต่งคำประพันธ์ เกดิ การเรยี นรู้ที่ย่งั ยนื ทท่ี ำใหน้ ักเรียนนั้นแต่งคำประพันธ์ได้ เพื่อใหน้ ักเรียนมีความสนใจ มีวินัย กระตือรือร้น

12 ที่จะเขียนคำประพันธ์ขึ้นมา และเมื่อนักเรียนได้ฝึกบ่อยๆ จากการสังเกต ทำให้นักเรียนมีการพัฒนา กระบวนการต่างๆ ท่ีดีขึ้น ทำให้การแต่งคำประพันธ์ในครั้งต่อไปไม่น่าเบ่ือ นักเรียนแต่งคำประพันธ์ได้ถูกต้อง ตามบงั คบั สมั ผัส สามารถสรุปรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ตามกรอบแนวคิดในการพัฒนา “เรียงร้อยถ้อยคำประพันธ์ สร้างสรรคส์ ุจรติ ด้วย SIRICHAI MODEL” มกี รอบแนวคิด ดังน้ี

13 4. ผลการดำเนินการผลสัมฤทธิ์และประโยชนท์ ีไ่ ดร้ บั ผลการจัดการเรียนการสอนรายวชิ า ภาษาไทย ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ระดบั ผลการเรยี น (ร้อยละ) ร้อยละระดบั ผลการเรยี น ปีการศกึ ษา 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 นกั เรียนทีไ่ ด้ระดับกลาง หรือ เกรด 2 ขนึ้ ไป 2560 3 4 9 3 5 2 3 0 82.76 2561 5 7 8 15 7 3 3 0 87.50 2562 3 8 11 8 10 2 0 0 95.24 ท่ีมา : นายวชิ ัย เพช็ รวงษ์ ฝ่ายทะเบียน ผลการจัดการเรยี นการสอนรายวชิ า ภาษาไทย ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 ระดับผลการเรยี น (ร้อยละ) ร้อยละระดบั ผลการเรียน ปีการศึกษา 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 นักเรยี นท่ีได้ระดับกลาง หรือ เกรด 2 ขนึ้ ไป 2560 3 5 9 15 4 2 6 2 80.00 2561 2 3 7 4 5 2 3 0 80.77 2562 0 5 6 11 16 2 1 0 92.68 ที่มา : นายวิชยั เพ็ชรวงษ์ ฝา่ ยทะเบยี น ผลการจดั การเรียนการสอนรายวชิ า ภาษาไทย ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ระดับผลการเรียน (ร้อยละ) ร้อยละระดบั ผลการเรยี น ปกี ารศึกษา 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 นักเรียนทไ่ี ดร้ ะดับกลาง หรอื เกรด 2 ข้นึ ไป 2560 2 3 7 6 3 2 3 0 80.77 2561 3 5 6 12 8 5 3 0 80.95 2562 5 6 3 6 4 2 1 0 88.89 ที่มา : นายวิชยั เพ็ชรวงษ์ ฝา่ ยทะเบียน

14 ประโยชนท์ ไี่ ดร้ ับ 1. นักเรียนมที กั ษะกระบวนการคดิ มีวนิ ยั ในการแต่งคำประพันธ์ ประเภทกาพย์ยานีทีด่ ีข้นึ 2. นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเข้าใจในฉันทลักษณ์ รู้จักคำสัมผัส และการสรรคำในการแต่ง คำประพนั ธ์ สามารถแตง่ คำประพันธ์ไดถ้ กู ตอ้ ง 3. ได้แบบฝึกเสรมิ ทักษะการแต่งคำประพันธ์ ประเภทกาพย์ยานี สำหรับครผู ู้สอน 4. ไดพ้ ัฒนาแบบฝึกเสริมทักษะการแต่งคำประพันธ์ ประเภทกาพยย์ านี ใหม้ ปี ระสิทธิภาพ 5. ไดท้ ราบผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นรูโ้ ดยใช้แบบฝึกเสรมิ ทกั ษะการแต่งคำประพันธ์ ประเภทกาพย์ยานี 11 6. นักเรียนมีความสามารถในการแต่งคำประพันธ์ ประเภทกาพย์ยานี 11 สู่การแข่งขันในกิจกรรม ต่างๆ และได้รับรางวัล เช่น กิจกรรมวันภาษาไทย กิจกรรมวันสุนทรภู่ กิจกรรมวันต่อต้านยาเสพติด การแข่งขนั ศิลปหัตถกรรมนักเรียน เปน็ ต้น 7. การจัดการเรียนรู้ด้วยแบบฝึกเสริมทักษะ การแต่งคำประพันธ์ ประเภทกาพย์ยานี 11 นกั เรียนสามารถแต่งเพลงพืน้ บ้านได้ และนำมาแสดงในกิจกรรมวันสำคัญต่างๆ การจัดการเรียนรู้ “ร้อยเรยี งถ้อยคำประพนั ธ์ สรา้ งสรรคส์ ุจรติ ดว้ ย SIRICHAI MODEL”

15 5. ปจั จยั ความสำเร็จ 1) แบบฝึกเสรมิ ทกั ษะ มจี ำนวน 3 ชดุ คือ ชุดท่ี 1 ฝึกคิดเขียนคำคล้องจอง ชดุ ที่ 2 ฝึกคิดลองคำสมั ผัสชดุ ที่ ชุดที่ 3 ฝึกหดั แต่งคำประพันธ์ ซง่ึ ได้รบั การประเมินคุณภาพจากผ้รู ว่ มผลงานนวตั กรรม จำนวน 5 ท่าน และสามารถนำไปใช้ได้ 2) เป็นการจัดการเรียนรู้ที่ประสบความสำเร็จ นักเรียนแต่งคำประพันธ์ ประเภทกาพย์ยานี 11 ได้สู่ การพฒั นาการแตง่ เพลงพนื้ บ้าน 3) ครู และนักเรียนทักษะการแต่งคำประพันธ์ ประเภทกาพย์ยานี 11 พัฒนาสู่การจัดกิจกรรมใน โรงเรียน โดยมีการแสดงเพลงพื้นบ้านสุพรรณบุรี เป็นเอกลักษณ์ และร่วมอนุรักษ์สืบทอดมรดกไทยไว้ จาก การตกผลึกการจัดการเรยี นรทู้ ีป่ ระสิทธผิ ล 4) เป็นเครื่องมือที่ช่วยจัดการเรียนรู้ท่ีดี สามารถแก้ไขปัญหานกั เรยี นแต่งคำประพันธ์ได้ และพัฒนา สมรรถนะของผู้เรยี น มที กั ษะกระบวนการคิด มีวินยั มคี วามสามารถในการสื่อสาร และด้านความสามารถใน การแก้ปัญหา ด้วยแบบฝึกเสริมทักษะการแต่งคำประพันธ์ ประเภทกาพย์ยานี 11 ในการจัดการเรียนรู้ได้ อยา่ งมีคณุ ภาพ 5) นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในการแต่งคำประพันธ์ตามแบบแผนฉันทลักษณ์ได้ถูกต้อง ซึ่งจะทำ ใหน้ กั เรยี นแตง่ คำประพันธไ์ ด้อย่างถูกต้อง และมผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นสูงขน้ึ 6) นกั เรียนมีทกั ษะความสามารถด้านการแต่งคำประพนั ธไ์ ด้ถกู ต้องคล่องแคลว่ และชำนาญ 6. บทเรียนทไ่ี ดร้ ับ นวตั กรรม “เรยี งร้อยถอ้ ยคำประพันธ์ สร้างสรรคส์ ุจริต” มจี ำนวน 3 ชุด ดงั นี้ ชดุ ท่ี 1 ฝึกคดิ เขียนคำคล้องจอง ชุดที่ 2 ฝึกคิดลองคำสมั ผัส ชุดที่ 3 ฝกึ หัดแต่งคำประพันธ์

16 ลิงคร์ ูปเลม่ https://online.pubhtml5.com/ndyf/qqen/ ลิงค์รปู เลม่ https://online.pubhtml5.com/ndyf/mgng/

17 ลิงคร์ ูปเลม่ https://online.pubhtml5.com/ndyf/gwcn/ 7. การเผยแพร่ / การได้รบั การยอมรับ / รางวัลท่ีได้รับ นวัตกรรม “เรียงร้อยถ้อยคำประพันธ์ สร้างสรรค์สุจริต” ได้เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ แลขยายผลสู่ สถานศึกษาใกล้เคียง โรงเรียนขนาดเล็ก ในการร่วมใช้ชุดแบบฝึกเสริมทักษะ เรื่อง การแต่งคำประพันธ์ ประเภทกาพย์ยานี 11 ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เพื่อพัฒนานักเรียนด้านทักษะ การแต่งคำประพนั ธ์ ตลอดจนพฒั นาการแตง่ เพลงพืน้ บ้านมคี วามรูค้ วามชำนาญเพ่ิมมากข้ึน รางวัลท่ไี ด้รบั ที่ ชื่อ-สกุล ช้นั ชอ่ื ผลงาน ปที ีไ่ ดร้ บั จากหนว่ ยงาน หลกั ฐาน อ้างอิง 1 เดก็ หญงิ วรรณษา ธัญญผล ม.3 แต่งกาพย์ยานี11 2561 สพฐ. ระดบั ชาติ เกียรติบัตร 2 เดก็ หญงิ เจนจิรา เมืองชา้ ง ม.3 แตง่ กาพย์ยานี11 2561 สพฐ. ระดับชาติ เกยี รตบิ ัตร 3 เดก็ หญิงศุฐาศิณี ฉายอรณุ ม.2 แต่งกาพย์ยานี11 2562 สพป.สพ. เขต 3 เกียรตบิ ัตร 4 เด็กหญงิ แพรวพรรณ พลเสน ม.3 แต่งกาพย์ยานี11 2562 สพป.สพ. เขต 3 เกยี รตบิ ตั ร

18 ผลงานท่ภี าคภูมใิ จสู่ความสำเร็จ งานมหกรรมความสามารถทางศิลปหัตถกรรม วิชาการและเทคโนโลยีของนกั เรียน จังหวัดนครปฐม ระดบั ชาติ คร้ังที่ 68 ปกี ารศึกษา 2561 ครูผ้สู อน และนักเรยี น ไดร้ ับรางวัลระดบั เหรยี ญทอง รองชนะเลิศอันดบั ที่ 1 ระดับชาติ ปกี ารศกึ ษา 2561 กจิ กรรม การแข่งขนั กวีเยาวชนคนร่นุ ใหม่ กาพย์ยานี 11 ระดบั ชั้น ม.1 – ม.3 เดก็ หญงิ วรรณษา ธญั ญผล เดก็ หญิงเจนจิรา เมืองชา้ ง นักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 3

19 ผลงานทภ่ี าคภูมใิ จสู่ความสำเร็จ งานมหกรรมความสามารถทางศลิ ปหตั ถกรรมนักเรยี น ระดับเขตพน้ื ที่การศกึ ษา คร้งั ท่ี 69 ปกี ารศกึ ษา 2562 ครูผสู้ อน และนักเรียน ได้รับรางวัลระดบั เหรียญเงิน ระดบั เขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา ครง้ั ที่ 69 ปีการศกึ ษา 2562 กจิ กรรม การแขง่ ขันกวีเยาวชนคนรุ่นใหม่ กาพย์ยานี 11 ระดบั ชน้ั ม.1 – ม.3 เด็กหญิงแพรวพรรณ พลเสน เด็กหญงิ ศุฐาศิณี ฉายอรุณ นักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 2

20 การเผยแพร่ผลงานในสถานศกึ ษา

21 8. เง่อื นไขความสำเร็จ 1. รปู แบบแบบฝึกเสรมิ ทกั ษะ เร่ืองการแตง่ คำประพนั ธ์ ประเภทกาพยย์ านี 11 สู่ ควรมีรปู แบบ ที่หลากหลาย พัฒนาต่อยอดเป็นรูปแบบออนไลน์เพื่อช่วยให้การใช้แบบฝึกเสริมทักษะมีประสิทธิภาพมาก ขึ้น เน้นให้ผูเ้ รียนเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ช่วยเหลือกันทำกิจกรรม เพื่อช่วยเหลือนักเรียนที่ยังแต่งกาพย์ยานี 11 ไดถ้ ูกตอ้ ง ใหเ้ กิดความภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง 2. การเรียนรู้ด้วยแบบฝึกเสริมทักษะ เรื่องการแต่งคำประพันธ์ ประเภทกาพย์ยานี 11” น้ัน ควรคำนึงถึงวัยและระดับความสามารถของนักเรียน เนื้อหาในแบบฝึกเสริมทักษะแต่ละชุดจึงไม่ควรมาก เกนิ ไป เพราะจะทำใหน้ ักเรียนเกิดความเบื่อหนา่ ย 3. ในการทำแบบฝึกเสริมทักษะ อาจจะให้นักเรียนได้ฝึกทักษะนอกเวลา เช่น ทำการบ้าน หรือ ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหลง่ เรยี นรู้ 9. Best Practice สอดคลอ้ งกับคุณลกั ษณะ 5 ประการของโครงการโรงเรียนสจุ ริต คณุ ลักษณะ กิจกรรมที่สอดคลอ้ ง เครอื่ งมือที่ใช้ 9.1 ทักษะกระบวนการคิด การจัดการเรียนรู้เรียงร้อยถ้อยคำ - แบบประเมนิ ความพงึ ใจตอ่ การแตง่ ประพนั ธ์ สรา้ งสรรคส์ จุ ริต คำประพันธ์ ประเภทกาพย์ยานี 11 9.2 มวี ินัย - แบบทดสอบวัดความรู้ก่อนเรียน - แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียน และหลังเรียนการแต่งคำประพันธ์ - แบบสงั เกตการทำงานรายบุคคล ประเภทกาพย์ยานี 11 จำนวน 30 ขอ้ นวัตกรรมชดุ แบบฝกึ เสริมทักษะ - แบบประเมินความพงึ ใจตอ่ การแตง่ - ชุดท่ี 1 ฝึกคิดเขียนคำคล้องจอง คำประพนั ธ์ ประเภทกาพยย์ านี 11 - ชดุ ท่ี 2 ฝึกคิดลองคำสมั ผัส - แบบสังเกตพฤตกิ รรมนกั เรียน - ชดุ ท่ี 3 ฝกึ หัดแต่งคำประพันธ์ - แบบสังเกตการทำงานรายบุคคล การจัดการเรียนรู้เรียงร้อยถ้อยคำ ประพนั ธ์ สรา้ งสรรคส์ จุ รติ - แบบทดสอบวัดความรู้ก่อนเรียน และหลังเรียนการแต่งคำประพันธ์ ประเภทกาพย์ยานี 11 จำนวน 30 ขอ้ นวัตกรรมชดุ แบบฝกึ เสริมทกั ษะ - ชดุ ท่ี 1 ฝึกคิดเขียนคำคล้องจอง - ชดุ ท่ี 2 ฝึกคดิ ลองคำสมั ผัส - ชุดที่ 3 ฝกึ หัดแต่งคำประพนั ธ์

22 10. กิจกรรมทส่ี อดคล้องกับปฏิญญาโรงเรยี นสุจรติ ไดแ้ ก่ ปฏญิ ญา กิจกรรมที่สอดคลอ้ ง วธิ ีการ 10.1 การปลกู ฝงั นวัตกรรมชุดแบบฝกึ เสรมิ ทักษะ กระบวนการการจดั การเรียนรขู้ อง - ชดุ ท่ี 1 ฝึกคดิ เขียนคำคล้องจอง ครผู ู้สอน 10.2 การปอ้ งกนั - ชดุ ท่ี 2 ฝกึ คดิ ลองคำสมั ผัส - ชุดที่ 3 ฝกึ หัดแตง่ คำประพันธ์ กระบวนการการจดั การเรยี นรขู้ อง 10.3 การสรา้ งเครือข่าย นวตั กรรมชุดแบบฝึกเสรมิ ทักษะ ครูผู้สอน - ชุดที่ 1 ฝกึ คิดเขยี นคำคลอ้ งจอง - ชุดท่ี 2 ฝึกคดิ ลองคำสัมผัส 1) การมสี ่วนรวม - ชุดที่ 3 ฝกึ หดั แต่งคำประพนั ธ์ 1.1) ผบู้ รหิ าร เพอ่ื นครู 1) การมสี ่วนร่วม และนกั เรยี น 2) ประเมินและตดิ ตามผล 3) การเผยแพรผ่ ลงาน 2) แบบประเมินและติดตามผล นวัตกรรมชดุ แบบฝึกเสริมทกั ษะ

23 บรรณานกุ รม ฉนั ท์ ขำวไิ ล. (2478). ฉันทศาสตร์. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์พระจนั ทร.์ ชรนิ ทร์ เนอื งศรี. (2551). การพัฒนาชุดฝกึ ทักษะการเขียนร้อยกรอง “กาพย์ยานี กลุ่มสาระ การเรยี นรภู้ าษาไทย ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1”. วทิ ยานิพนธค์ รุศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าการพัฒนาหลกั สูตรและการเรียนการสอน มหาวิทยาลยั ราชภฏั อุบลราชธานี. ชาญชัย อาจิณสมาจาร. (2540). หลกั การสอนทั่วไป .กรุงเทพฯ : พทิ ักษ์อกั ษร. ถวัลย์ มาศจรลั . (2546). นวัตกรรมการศึกษา ชุดแบบฝึกหัด-แบบฝกึ เสริมทักษะ. กรงุ เทพฯ : ธารอกั ษร. ธิดา เจรญิ ม.ี (2555). การพัฒนาแบบฝึกทักษะการแต่งกาพยย์ านี 11 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1. วทิ ยานิพนธ์ครศุ าสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลยั ราชภฏั อบุ ลราชธานี. บารมี ถาวระ. (2541). ลกั ษณะคำประพนั ธ์ไทย. นครศรีธรรมราช : สถาบันราชภฏั นครศรีธรรมราช. บญุ เหลือ ใจมโน. (2555). การแตง่ คำประพันธ์ . กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. ปัญญา หาญนา. (2554). การพัฒนาผลการเรยี นรู้เรอ่ื งการแต่งคำประพันธ์ประเภทกลอนสุภาพ โดยการเรยี นร้แู บบบูรณาการ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2. ปริญญานิพนธก์ ารศึกษามหาบัณฑติ หลักสตู รและการสอน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ประจักษ์ ประภาพทิ ยากร. (2518). คนเจา้ บทเจ้ากลอน. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์เจริญธรรม. ประหยัด แม่นสขุ . (2557). การพัฒนาแบบฝกึ ทักษะการเขียนร้อยกรอง (กาพย์ยานี 11) กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ของนักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6. ปรญิ ญานิพนธ์การศกึ ษา มหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการพัฒนาหลักสูตรและการเรยี นการสอน บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั ราชภัฏอบุ ลราชธานี. วิทยานิพนธ์ ศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการสอนภาษาไทย มหาวิทยาลยั ราชภัฏเชียงราย. พิรุณรตั น์ นิมติ . (2550). การพัฒนาแบบฝกึ ทักษะการเขียนรอ้ ยกรอง กาพย์ยานี 11 ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 1. โรงเรียนตมู ใหญ่วิทยา อำเภอคูเมือง จงั หวัดบุรรี มั ย์. ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2554. พิมพ์คร้ังที่ 2. กรงุ เทพฯ : ราชบณั ฑติ ยสถาน. ราตรี โพธเ์ิ ต็ง. (2551). ทกั ษะภาษาไทยเพ่ืออาชีพ. กรุงเทพฯ : เอมพนั ธ์. รชั นี ศรไี พวรรณ. (2539). การสอนบทร้อยกรองและทำนองเสนาะระดับประถมศึกษา,” ในการสอนกลุ่มทักษะ 1 (ภาษาไทย). นนทบุรี : มหาบัณฑิต มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมราช. วเิ ชียร เกษประทุม. (2550). ลักษณะคำประพนั ธ์ไทย. กรุงเทพฯ : ธนธชั การพิมพ์. สุกิจ ศรพี รหม. (2541). ชุดการสอนกบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน. วารสารวิชาการ 1, 9 : 68. หอพระสมดุ วชริ ญาณฯ. (2519). ชุมนมุ ตำรากลอน ฉบับหอพระสมุดวชริ ญาณ. พระนคร : องค์การคา้ ของคุรสุ ภา.

24 ภาคผนวก

25 ตารางท่ี 1 แสดงค่าร้อยละของความพึงพอใจแบบฝกึ เสริมทักษะการแต่งคำประพนั ธ์ ประเภทกาพย์ยานี 11 ของนักเรยี นโรงเรยี นไทยรัฐวิทยา ๒๐ (บา้ นหนองมะค่าโมง) ขอ้ รายการประเมนิ ระดบั ความพึงพอใจ 1 5 432 - 1 แบบฝึกเสริมทักษะการแต่งคำประพันธ์ ประเภทกาพย์ยานี 56.4 43.6 - - - 11 คลอ้ งกบั เนอื้ หาสาระการเรียนรู้ - 2 แบบฝึกเสริมทักษะเนื้อหามีความยากง่ายพอเหมาะ และมี 59.0 23.1 7.7 10.3 - ความเหมาะสมกบั เวลา - - 3 แบบฝึกเสริมทักษะเนื้อหาน่าสนใจ และเป็นประโยชน์ต่อ 64.1 25.6 10.3 - - นักเรยี น - 4 แบบฝึกเสริมทักษะช่วยให้นักเรียนสร้างความรู้ ความเข้าใจ 64.1 35.9 - - - - ดว้ ยตนเองได้ 5 แบบฝกึ เสรมิ ทักษะทำให้นักเรียนพฒั นาทกั ษะการคดิ ท่ีสูงข้นึ 66.7 17.9 5.1 10.3 6 แบบฝกึ เสรมิ ทกั ษะทำให้นักเรยี นเขา้ ใจเนื้อหาไดง้ า่ ย 56.4 43.6 - - 7 นักเรียนมีความรู้ความเข้าในการคำประพนั ธ์ประเภท 56.4 28.2 15.4 - กาพยย์ านี 11 /คำคล้องจอง/แผนผัง/ฉันทลักษณ์/คำสมั ผัส 8 กิจกรรมการเรียนรู้เป็นไปตามขั้นตอน และเร้าความสนใจ 56.4 43.6 - - ของนักเรยี น 9 นักเรยี นนำวิธีการเรียนรู้ไปใชใ้ นวิชาอน่ื ๆ 71.8 17.9 10.3 - 10 หลงั จากใช้ส่ือฯ นกั เรียนมีความรู้ ความเข้าใจในบทเรยี น 56.4 35.9 7.7 - เพิ่มมากข้นึ จากตารางท่ี 1 พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด คือ จากแบบฝึกเสริมทักษะ นักเรยี นนำวธิ ีการเรยี นรู้ไปใช้ในวิชาอื่นๆ มคี วามพงึ พอใจอยใู่ นระดบั มากทส่ี ุด คดิ เป็นร้อยละ 71.8 รองลงมา คอื แบบฝกึ เสริมทักษะทำใหน้ ักเรยี นพัฒนาทักษะการคิดทส่ี ูงขน้ึ มคี วามพงึ พอใจอยู่ในระดบั มากที่สุด คิดเป็น ร้อยละ 66.7 น้อยที่สุด คือ หลังจากใช้สื่อฯ นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในบทเรียนเพิ่มมากขึ้น มีความพึง พอใจอยใู่ นระดับมากท่สี ุดคิดเป็นร้อยละ 56.4

26


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook