Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รูปเล่มการประเมินผลการเรียนรู้ภาษาไทย

รูปเล่มการประเมินผลการเรียนรู้ภาษาไทย

Published by ศิริชัย คชวงษ์, 2019-12-10 02:36:06

Description: รูปเล่มการประเมินผลการเรียนรู้ภาษาไทย

Search

Read the Text Version

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ก รายวิชา TTH6225 วธิ วี ดั และประเมนิ ผลการเรียนการสอนภาษาไทย เสนอ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์อดลุ ย์ ไทรเลก็ ทิม คณะจัดทา ๑. พระชยั ชนะ บรรพโคตร์ รหสั นกั ศึกษา ๖๑๑๒๖๑๐๐๐๒ ๒. นางสาวพริ าภรณ์ จักรวาลมณฑล รหัสนักศึกษา ๖๑๑๒๖๑๐๐๐๙ ๓. นางสาวศิรพิ ร ตนั จอ้ ย รหสั นกั ศึกษา ๖๑๑๒๖๑๐๐๑๐ ๔. นางสาววิไลภรณ์ เหยอ่ื กลาง รหัสนักศกึ ษา ๖๑๑๒๖๑๐๐๒๖ ๕. นายศริ ิชยั คชวงษ์ รหัสนักศกึ ษา ๖๑๑๒๖๑๐๐๓๓ ๖. นางสาวธารทิพย์ เขนิ คา รหสั นักศกึ ษา ๕๙๑๒๖๑๐๐๒๒ คณะศึกษาศาสตร์ สาขาการสอนภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ก คานา การวัดและประเมินผลมีความสาคัญในฐานะที่เป็นเคร่ืองมือวัดและประเมินการจัดการเรียนการสอน ในปัจจุบันท่ีสามารถบอกได้ว่า ผู้เรียน มีความรู้ความเข้าใจ ตลอดจนสามารถนาความรู้ต่าง ๆ ท่ีได้เรียนไปใช้ ในชวี ิตประจาวนั ไดอ้ ย่างถกู ต้อง และเหมาะสม ในการวัดและประเมินผลการจัดการเรียนการสอนภาษาไทยน้ัน มีรูปแบบและวิธีการประเมิน หลากกหลายรปู แบบ ด้วยเน้ือหาวิชาภาษาไทยในแต่ละระดับชั้น และความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียน ทาให้รปู แบบและวธิ กี ารมีความแตกตา่ งกนั ออกไป อาทเิ ชน่ การประเมนิ ผลตามสภาพจริง การประเมินผลโดย ใช้เกณฑ์ต่าง ๆ เป็นต้น เพื่อวัดและประเมินผลความสามารถของผู้เรียน คุณภาพของผู้เรียน ตลอดจน ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของผเู้ รียน ทั้งนก้ี ลมุ่ ของขา้ พเจ้าได้จัดทารายงาน เร่ือง การประเมินผลการเรียนการสอนภาษาไทย โดยมีเน้ือหา ดงั ต่อไปนี้ ๑. แนวทางการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรตู้ ามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ๒. แนวทางการวัดและประเมินผลกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพ้ืนฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ๓. วิธกี ารและเคร่อื งมือวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ๔. แนวทางการประเมนิ ตามสภาพจรงิ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ๕. เคร่ืองมอื ทใ่ี ชใ้ นการวดั และประเมนิ ผลตามสภาพจริงกลุม่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ๖. ประโยชน์ของการวดั และประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ และหากรายงานเล่มนี้มีข้อผิดพลาดประการใด ทางกลุ่มของข้าพเจ้าต้องขออภัยมา ณ ที่น้ีด้วย ขอบคุณค่ะ / ขอบคณุ ครับ คณะผู้จัดทา

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ข สารบัญ เรื่อง หนา้ คานา ก ข สารบญั 1 เนอ้ื หา 1 แนวทางการวดั และประเมนิ ผลการเรียนร้ตู ามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ 2 3 หลักการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นร้ตู ามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ องค์ประกอบของการวดั และประเมินผลการเรียนรตู้ ามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ 12 เกณฑก์ ารวัดและประเมินผลการเรียนรูต้ ามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ แนวทางการวัดและประเมินผลกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทยตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษา 12 ขน้ั พ้นื ฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ 12 ความหมายและความสาคัญของการวดั และประเมินผลการเรยี นรภู้ าษาไทย 13 ตามแนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรูต้ ามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ 13 14 ความหมายของการวดั ผล 17 ความหมายของการประเมินผล 17 ประเภทของการประเมนิ ผล 17 การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ 17 วิธกี ารและเครอ่ื งมอื วัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 18 หลักการวดั ผลและประเมินผลการเรียนรู้ 22 รปู แบบการวดั ผลและประเมินผล 28 การประเมินผลตามสภาพจรงิ (Authentic assessment) 32 ลักษณะสาคญั ของการประเมินผลตามสภาพจรงิ 40 วิธีการประเมนิ ผลตามสภาพจริง 41 แนวทางการประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย เครอ่ื งมอื ทใี่ ช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล วธิ ปี ระเมินผลการเรยี นรภู้ าษาไทยตามหลกั สตู รการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ประโยชน์ของการวัดและประเมนิ ผลตามสภาพจริง บรรณานุกรม

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ๑ แนวทางการวดั และประเมินผลการเรยี นร้ตู ามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ ได้กาหนดแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในหัวข้อหลักการดาเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ องค์ประกอบของ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การเทียบโอนผลการเรียน และการ รายงานผลการเรียน ดงั รายละเอยี ดต่อไปนี้ (2551, หนา้ 10-29) หลกั การดาเนินการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นกระบวนการเก็บรวบรวม ตรวจสอบ ตีความผลการเรียนรู้ และพัฒนาการด้านต่าง ๆ ของผู้เรียนตาม มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดของหลักสูตร นาผลไปปรับปรุงพัฒนาการจัดการเรียนรู้และใช้เป็นข้อมูลสาหรับ การตดั สินผลการเรยี น สถานศึกษาตอ้ งมกี ระบวนการจัดการท่เี ป็นระบบ เพ่ือใหก้ ารดาเนนิ การวัดและประเมิน ผลการเรียนรู้เป็นไปอย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ และให้ผลการประเมินท่ีตรงตามความรู้ความสามารถ ท่ีแท้จริงของผู้เรียน ถูกต้องตามหลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ รวมทั้งสามารถรองรับการประเมิน ภายในและการประเมินภายนอกตามระบบประกันคุณภาพการศึกษาได้ สถานศึกษาจึงควรกาหนดหลักการ ดาเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรู้เพื่อเป็นแนวทางในการตัดสินใจเก่ียวกับการวัดและประเมินผลการ เรยี นรตู้ ามหลักสูตรสถานศกึ ษา ดังน้ี 1. สถานศึกษาเป็นผูร้ บั ผิดชอบการวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยเปิดโอกาสให้ผู้ท่ี เกีย่ วข้องมีสว่ นร่วม 2. การวดั และการประเมินผลการเรยี นรู้ มีจดุ มุง่ หมายเพ่ือพัฒนาผู้เรยี นและตัดสนิ ผลการเรยี น 3. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ต้องสอดคล้องและครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวัดตาม กล่มุ สาระการเรียนร้ทู ีก่ าหนดในหลักสูตรสถานศึกษา และจัดให้มีการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ตลอดจนกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน 4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการจัดการเรียนการสอนต้อง ดาเนินการด้วยเทคนิควิธีการที่หลากหลาย เพื่อให้สามารถวัดและประเมินผลผู้เรียนได้อย่างรอบด้านทั้งด้าน ความรู้ ความคดิ กระบวนการ พฤติกรรม และเจตคติเหมาะสมกับส่ิงท่ีต้องการวัดธรรมชาติวิชาและระดับช้ัน ของผเู้ รยี น โดยต้งั อย่บู นพ้ืนฐานของความเที่ยงตรง ยุตธิ รรม และเชื่อถอื ได้ 5. การประเมินผู้เรียนพิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรม การเรียนรู้ การร่วมกิจกรรม และการทดสอบ ควบคู่ไปในกระบวนการเรียนการสอนตามความเหมาะสมของ แต่ละระดับและรูปแบบการศกึ ษา 6. เปิดโอกาสใหผ้ ู้เรียนและผู้มสี ว่ นเกีย่ วขอ้ งตรวจสอบผลการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 7. ใหม้ ีการเทียบโอนผลการเรยี นระหว่างสถานศึกษาและระหว่างรูปแบบการศึกษาต่าง ๆ 8. ให้สถานศึกษาจัดทาและออกเอกสารหลักฐานการศึกษา เพ่ือเป็นหลักฐานการประเมินผลการ เรียนรู้ รายงานผลการเรยี น แสดงวุฒกิ ารศึกษา และรบั รองผลการเรยี นของผ้เู รียน

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ๒ องคป์ ระกอบของการวัดและประเมินผลการเรียนรูต้ ามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กาหนดจุดหมาย สมรรถนะสาคัญของ ผเู้ รียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และมาตรฐานการเรยี นรู้ เปน็ เปาู หมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาเรียน ใหเ้ ปน็ คนดี มปี ัญญา มคี ณุ ภาพชีวิตท่ีดี และมีขีดความสามารถในการแข่งขันในเวทีระดับโลก กาหนดให้เรียน ได้เรยี นรู้ตามมาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวช้วี ัดท่ีกาหนดในสาระการเรยี นรู้ 8 กลุ่มสาระ มีความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน มีคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ และเข้ารว่ มกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น 1. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นร้ตู ามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ผู้สอนวัดและประเมินผลการเรียนรู้ผู้เรียนเป็นรายวิชาบนพ้ืนฐานของตัวชี้วัดในรายวิชาพื้นฐานและ ผลการเรยี นรใู้ นรายวชิ าเพม่ิ เตมิ ตามที่กาหนดในหน่วยการเรียนรู้ ผู้สอนใช้วิธกี ารท่ีหลากหลายจากแหล่งข้อมูล หลาย ๆ แหลง่ เพือ่ ใหไ้ ดผ้ ลการประเมินที่สะทอ้ นความรูค้ วามสามารถทีแ่ ทจ้ รงิ ของผ้เู รียน โดยวัดและประเมิน การเรียนรู้อย่างต่อเนื่องไปพร้อมกับการจัดการเรียนการสอน สังเกตพัฒนาการและความประพฤติของผู้เรียน สังเกตพฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรม ผู้สอนควรเน้นการประเมินตามสภาพจริง เช่น การประเมินการ ปฏิบัตงิ าน การประเมนิ จากโครงงาน หรอื การประเมินจากแฟมู สะสมงาน ฯลฯ ควบคู่ไปกับการใช้การทดสอบ แบบต่าง ๆ อย่างสมดุล ต้องให้ความสาคัญกับการประเมินระหว่างเรียนมากกว่าการประเมินปลายปี/ปลาย ภาค และใช้เป็นขอ้ มลู เพอื่ ประเมินการเลือ่ นช้ันเรียนและการจบการศกึ ษาระดับต่าง ๆ 2. การประเมนิ การอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน เป็นการประเมินศักยภาพของผู้เรียนในการอ่านหนังสือ เอกสาร และสอ่ื ต่าง ๆ เพ่ือหาความรู้ เพิ่มพูนประสบการณ์ ความสุนทรีย์และประยุกต์ใช้ แล้วนาเนื้อหาสาระ ท่ีอ่านมาคิดวิเคราะห์ นาไปสู่การแสดงความคิดเห็น การสังเคราะห์ สร้างสรรค์ การแก้ปัญหาในเร่ืองต่าง ๆ และถ่ายทอดความคิดนั้นด้วยการเขียนท่ีมีสานวนภาษาถูกต้อง มีเหตุผลและลาดับขั้นตอนในการนาเสนอ สามารถสรา้ งความเข้าใจแก่ผู้อา่ นไดอ้ ยา่ งชดั เจนตามระดบั ความสามารถในแตล่ ะระดบั ชั้น การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน สถานศึกษาต้องดาเนินการอย่างต่อเน่ืองและสรุปผล เป็นรายปี/รายภาค เพื่อวินิจฉัยและใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาผู้เรียนและประเมินการเล่ือนช้ัน ตลอดจนการ จบการศกึ ษาระดับต่าง ๆ ๓. การประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ การประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ เปน็ การประเมินคุณลกั ษณะที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน อัน เปน็ คุณลักษณะท่ีสังคมต้องการในด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม จิตสานึก สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม ได้อย่างมีความสุข ท้ังในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 กาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 คุณลักษณะ ในการประเมินให้ประเมินแต่ละคุณลักษณะแล้ว รวบรวมผลการประเมินจากผู้ประเมินทุกฝุายและแหล่งข้อมูลหลายแหล่งเพื่อให้ได้ ข้อมูลนามาสู่การสรุปผล เป็นรายปี/รายภาค และใช้เป็นข้อมูลเพื่อประเมินการเล่ือนช้ันและการจบการศึกษาระดับต่าง ๆ คุณลักษณะ อนั พึงประสงค์ มี 8 ประการ ดังน้ี

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ๓ 1) รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ 2) ซ่อื สตั ย์ สจุ รติ 3) มวี ินยั 4) ใฝุเรียนรู้ 5) อยู่อย่างพอเพยี ง 6) มุ่งม่นั ในการทางาน 7) รกั ความเปน็ ไทย 8) มจี ิตสาธารณะ 4. การประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็นการประเมินการปฏิบัติกิจกรรมและผลงานของผู้เรียนและ เวลาในการเข้าร่วมกิจกรรมตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้ในแต่ละกิจกรรม และใช้เป็นข้อมูลประเมินการเล่ือนช้ัน และการจบการศึกษาระดบั ต่าง ๆ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียนประกอบดว้ ย 1) กิจกรรมแนะแนว 2) กิจกรรมนกั เรยี น เชน่ - ลูกเสือ เนตรนารี ยวุ กาชาด ผูบ้ าเพญ็ ประโยชน์ และนักศึกษาวชิ าทหาร - ชมุ นมุ /ชมรม 3) กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ เกณฑก์ ารวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 1. ระดบั ประถมศึกษา 1.1 การตัดสนิ ผลการเรียน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กาหนดหลักเกณฑ์การวัดและ ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ เพอ่ื ตดั สนิ ผลการเรียนของผู้เรยี น ดงั นี้ 1) ผูเ้ รียนตอ้ งมเี วลาเรยี นไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทงั้ หมด 2) ผู้เรยี นต้องไดร้ ับการประเมนิ ทุกตัวช้วี ัดและผา่ นตามเกณฑท์ ่สี ถานศกึ ษากาหนด 3) ผเู้ รียนตอ้ งได้รบั การตัดสนิ ผลการเรียนทุกรายวชิ า 4) ผ้เู รียนตอ้ งได้รับการประเมนิ และมผี ลการประเมนิ ผ่านตามเกณฑ์ท่สี ถานศึกษากาหนดในการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ และกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน โดยปกตใิ นระดบั ประถมศึกษา ผู้สอนจะมเี วลาอยู่กับผู้เรยี นตลอดปกี ารศกึ ษา ประมาณ 200 วนั สถานศึกษาจึงควรบริหารจดั การเวลาท่ีไดร้ บั น้ีใหเ้ กิดประโยชน์สูงสดุ ตอ่ การพฒั นาผเู้ รียนอย่างรอบดา้ น และ ตระหนกั ว่าเวลาเรยี นเป็นทรัพยากรท่ีใช้หมดไปในแต่ละวัน มากกว่าเปน็ เพียงองคป์ ระกอบหนง่ึ ของการบริหาร หลักสูตร การกาหนดให้ผู้เรยี นมีเวลาเรียนไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 80 ของเวลาเรยี นตลอดปีการศึกษา จงึ เปน็ การ มงุ่ หวงั ให้ผสู้ อนมเี วลาในการพฒั นาผเู้ รียน เพ่ือเติมเต็มศักยภาพของผูเ้ รียน เพ่ือให้การจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ ผู้สอนต้องตรวจสอบความรู้ความสามารถที่แสดง พัฒนาการของผู้เรียนอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่อง อีกท้ังต้องสร้างให้ผู้เรียนรับผิดชอบการเรียนรู้ของตนด้วย การตรวจสอบความก้าวหน้าในการเรียนของตนเองอย่างสม่าเสมอเช่นกัน ตัวช้ีวัดซ่ึงมีความสาคัญในการ นามาใช้ออกแบบหน่วยการเรียนรู้นั้นยังเป็นแนวทางสาหรับผู้สอนและผู้เรียนใช้ในการตรวจสอบย้อนกลับว่า

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ๔ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้หรือยัง การประเมินในชั้นเรียนซ่ึงต้องอาศัยท้ังการประเมินเพื่อการพัฒนาและการ ประเมินเพ่ือสรุปการเรียนรู้จะเป็นเครื่องมือสาคัญในการตรวจสอบความก้า วหน้าในการเรียนรู้ของผู้เรียน สถานศกึ ษาโดยผู้สอนกาหนดเกณฑ์ท่ยี อมรับได้ในการผ่านตัวชี้วัดทุกตัวให้เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา กล่าวคือ ใหท้ ้าทายการเรยี นร้ไู มย่ ากหรือง่ายเกินไป เพ่ือใช้เป็นเกณฑ์ในการประเมินว่าส่ิงที่ผู้เรียนรู้ เข้าใจ ทา ได้นั้น เป็นที่น่าพอใจ บรรลุตามเกณฑ์ท่ียอมรับได้ หากยังไม่บรรลุจะต้องหาวิธีการช่วยเหลือ เพ่ือให้ผู้เรียน ได้รับการพัฒนาสูงสุด การกาหนดเกณฑ์นี้ผู้สอนสามารถให้ผู้เรียนร่วมกาหนดด้วยได้ เพื่อให้เกิดความ รบั ผิดชอบรว่ มกนั และสร้างแรงจูงใจในการเรียน การประเมินเพื่อการพัฒนาส่วนมากเป็นการประเมินอย่างไม่ เป็นทางการ เช่น สังเกต หรอื ซกั ถาม หรอื การทดสอบย่อยในการประเมินเพื่อการพัฒนานี้ ควรให้ผู้เรียนได้รับ การพัฒนาจนผ่านเกณฑ์ที่ยอมรับได้ ผู้เรียนแต่ละคนอาจใช้เวลาเรียนและวิธีการเรียนที่แตกต่างกัน ฉะนั้น ผู้สอนควรนาข้อมูลท่ีได้มาใช้ปรับวิธีการสอนเพ่ือให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาเต็มศักยภาพ อันจะนาไปสู่การ บรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ในท้ายที่สุดอย่างมีคุณภาพ การประเมินเพ่ือการพัฒนาจึงไม่จาเป็นต้องตัดสินให้ คะแนนเสมอไป การตัดสินให้คะแนนหรือให้เป็นระดับคุณภาพควรดาเนินการโดยใช้การประเมินสรุปผลรวม เมอื่ จบหนว่ ยการเรยี นรแู้ ละจบรายวิชา การตัดสินผลการเรียน ตัดสินเป็นรายวิชา โดยใช้ผลการประเมินระหว่างปีและปลายปีตามสัดส่วนท่ี สถานศึกษากาหนด ทุกรายวิชาต้องได้รับการตัดสินผลการเรียนตามแนวทางการให้ระดับผลการเรียนตามที่ สถานศกึ ษากาหนด และผเู้ รยี นต้องผ่านทุกรายวชิ าพื้นฐาน 1.2 การให้ระดับผลการเรยี น การตดั สินเพื่อให้ระดบั ผลการเรยี นรายวิชา สถานศึกษาสามารถให้ระดบั ผลการเรยี นหรือระดับ คณุ ภาพการปฏบิ ตั ิของผเู้ รียนเป็นระบบตวั เลข ระบบตัวอกั ษร ระบบรอ้ ยละ และระบบที่ใชค้ าสาคัญสะทอ้ น มาตรฐาน การตัดสินผลการเรียนในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานใช้ระบบผ่านและไม่ผ่าน โดยกาหนดเกณฑ์ การตัดสินผ่านแต่ละรายวิชาที่ร้อยละ 50 จากน้ันจึงให้ระดับผลการเรียนท่ีผ่านเป็นระบบต่าง ๆ ตามท่ี สถานศึกษากาหนด ได้แก่ ระบบตัวเลข ระบบตัวอักษร ระบบร้อยละ ระบบที่ใช้คาสาคัญสะท้อนมาตรฐาน ตารางข้างใตแ้ สดงการใหร้ ะดับผลการเรยี นดว้ ยระบบต่าง ๆ และการเทยี บกันไดร้ ะหวา่ งระบบ กรณที ่สี ถานศึกษาใหร้ ะดบั ผลการเรยี นดว้ ยระบบตา่ ง ๆ สามารถเทียบกันได้ ดังน้ี ระบบตวั เลข ระบบตัวอกั ษร ระบบรอ้ ยละ ระบบท่ใี ช้คาสาคญั สะท้อนมาตรฐาน ๕ ระดบั ๔ ระดับ ๒ ระดับ 4 A 80-100 ดีเย่ียม ดเี ยย่ี ม 3.5 B+ 75-79 3 B 70-74 ดี ดี 2.5 C+ 65-69 พอใช้ ผ่าน 2 C 60-64 1.5 D+ 55-59 ผา่ น ผา่ น 1 D 50-54 0 F 0-49 ไม่ผ่าน ไมผ่ า่ น ไมผ่ ่าน

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ๕ การประเมินการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์น้ันให้ผลการประเมิน เปน็ ผ่านและไมผ่ ่าน กรณีท่ผี ่านให้ระดบั ผลการประเมนิ เป็นดเี ย่ยี ม ดี และผา่ น 1) ในการสรุปผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน เพ่ือการเล่ือนชั้นและจบการศึกษา กาหนดเกณฑก์ ารตัดสินเปน็ 4 ระดบั และความหมายของแตล่ ะระดับ ดงั นี้ ดเี ยย่ี ม หมายถงึ มีผลงานท่แี สดงถงึ ความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนท่มี ี คณุ ภาพดีเลิศอยเู่ สมอ ดี หมายถึง มผี ลงานทแ่ี สดงถงึ ความสามารถในการอา่ น คิดวิเคราะห์และเขยี น ทม่ี ีคุณภาพเป็นท่ยี อมรบั ผ่าน หมายถงึ มีผลงานท่ีแสดงถึงความสามารถในการอ่าน คดิ วิเคราะห์และเขยี น ที่มคี ณุ ภาพเป็นที่ยอมรบั แตย่ ังมีข้อบกพร่องบางประการ ไม่ผา่ น หมายถึง ไม่มผี ลงานทแี่ สดงถึงความสามารถในการอา่ น คิดวิเคราะห์และเขยี น หรือถา้ มีผลงาน ผลงานน้นั ยงั มีข้อบกพร่องท่ีต้องไดร้ บั การปรับปรุงแก้ไข หลายประการ 2) ในการสรุปผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์รวมทุกคณุ ลักษณะเพื่อการเลื่อนชั้นและจบ การศกึ ษา กาหนดเกณฑก์ ารตดั สนิ เป็น 4 ระดับ และความหมายของแต่ละระดับ ดังน้ี ดีเย่ยี ม หมายถงึ ผู้เรียนปฏบิ ัตติ นตามคุณลกั ษณะจนเปน็ นิสัยและนาไปใชใ้ นชวี ิตประจาวนั เพอื่ ประโยชน์สขุ ของตนเองและสังคมโดยพิจารณาจากผลการประเมนิ ระดบั ดเี ยย่ี ม จานวน 5 – 8 คณุ ลักษณะ และไม่มคี ณุ ลักษณะใดไดผ้ ล การประเมนิ ตา่ กว่าระดบั ดี ดี หมายถึง ผ้เู รยี นมคี ณุ ลักษณะในการปฏิบตั ิตามกฎเกณฑ์ เพื่อให้เป็นการยอมรบั ของ สงั คม โดยพิจารณาจาก 1. ได้ผลการประเมนิ ระดบั ดเี ย่ียม จานวน 1 – 4 คุณลักษณะและไมม่ ี คุณลักษณะใดไดผ้ ลการประเมนิ ต่ากวา่ ระดับดี หรือ 2. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดบั ดที ัง้ 8 คุณลกั ษณะ หรือ 3. ไดผ้ ลการประเมนิ ตัง้ แต่ระดบั ดขี นึ้ ไป จานวน 5 – 7 คณุ ลักษณะ และมี บางคุณลกั ษณะได้ผลการ ประเมินระดบั ผ่าน ผ่าน หมายถึง ผเู้ รยี นรับรแู้ ละปฏิบตั ิตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไขท่สี ถานศกึ ษากาหนด โดยพิจารณาจาก 1. ไดผ้ ลการประเมินระดับผ่านท้ัง 8 คุณลกั ษณะหรือ 2. ได้ผลการประเมนิ ตงั้ แต่ระดับดีขนึ้ ไป จานวน 1 – 4 คุณลกั ษณะ และ คุณลกั ษณะที่เหลือได้ผลการประเมินระดบั ผา่ น ไมผ่ า่ น หมายถึง ผูเ้ รียนรบั ร้แู ละปฏิบตั ไิ ด้ไมค่ รบตามกฎเกณฑแ์ ละเงอื่ นไขทีส่ ถานศึกษา กาหนด โดยพิจารณาจากผลการประเมนิ ระดับไม่ผา่ น ตง้ั แต่ 1 คณุ ลักษณะ

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ๖ การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จะต้องพิจารณาท้ังเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติ กิจกรรม และผลงานของผ้เู รยี นตามเกณฑ์ท่สี ถานศกึ ษากาหนด และใหผ้ ลการประเมินเปน็ ผ่านและไมผ่ า่ น กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน มี 3 ลกั ษณะ คือ 1) กจิ กรรมแนะแนว 2) กจิ กรรมนักเรยี น ซงึ่ ประกอบด้วย 2.1 กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บาเพ็ญประโยชน์ และนักศึกษา วิชาทหาร โดยผู้เรยี นเลือกอยา่ งใดอย่างหนึง่ 1 กจิ กรรม 2.2 กจิ กรรมชุมนมุ หรือชมรม 1 กจิ กรรม 3) กจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์ ใหใ้ ช้ตวั อักษรแสดงผลการประเมนิ ดังน้ี “ผ” หมายถงึ ผเู้ รียนมีเวลาเข้าร่วมกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น ปฏบิ ัติกจิ กรรมและมผี ลงาน ตามเกณฑ์ทส่ี ถานศกึ ษากาหนด “มผ” หมายถึง ผูเ้ รยี นมเี วลาเข้าร่วมกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมและมผี ลงาน ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ทีส่ ถานศกึ ษากาหนด ในกรณีที่ผูเ้ รยี นได้ผลการเรยี น “มผ” สถานศึกษาต้องจดั ซ่อมเสริมนักเรียนใหผ้ เู้ รยี นทากจิ กรรมใน สว่ นท่ผี เู้ รียนไม่ไดเ้ ข้าร่วมหรอื ไมไ่ ด้ทาจนครบถ้วน แล้วจงึ เปล่ียนผลการเรยี นจาก “มผ” เปน็ “ผ” ได้ ท้ังน้ี ตอ้ งดาเนนิ การให้เสรจ็ ส้นิ ภายในปีการศึกษานั้น ยกเว้นมีเหตุสดุ วสิ ัยให้อยใู่ นดลุ ยพนิ จิ ของสถานศึกษา 1.3 การเลอื่ นชั้น เม่ือสน้ิ ปีการศกึ ษา ผเู้ รียนจะได้รับการเล่อื นช้ัน เมื่อมคี ุณสมบตั ติ ามเกณฑ์ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ผูเ้ รยี นมเี วลาเรยี นตลอดปกี ารศกึ ษาไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 80 ของเวลาเรียนท้ังหมด 2. ผ้เู รยี นมีผลการประเมนิ ผ่านทุกรายวิชาพน้ื ฐานและเพ่มิ เติมตอ้ งได้รับการประเมินและ 3. ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรม พัฒนาผเู้ รยี นผ่านตามเกณฑท์ ่ีสถานศึกษากาหนด 1.4 การเรยี นซ้าช้นั ผู้เรียนท่ีไม่ผ่านรายวิชาจานวนมากและมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนในระดับชั้นที่สูงขึ้น สถานศกึ ษาอาจต้งั คณะกรรมการพจิ ารณาใหเ้ รียนซ้าชั้นได้ ทั้งนี้ ให้คานึงถึงวุฒิภาวะและความรู้ความสามารถ ของผู้เรยี นเป็นสาคัญ การเรยี นซ้าช้นั มี 2 ลกั ษณะ คอื 1) ผู้เรยี นมีระดบั ผลการเรียนเฉลี่ยในปีการศึกษานั้นต่ากว่า 1.00 และมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อ การเรยี นในระดบั ชน้ั ท่ีสงู ขึ้น 2) ผู้เรยี นมีผลการเรยี น 0 , ร , มส เกนิ ครึ่งหน่ึงของรายวชิ าที่ลงทะเบยี นเรยี นในปีการศึกษาน้นั ท้ังน้ี หากเกิดลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรือทั้ง 2 ลักษณะ ให้สถานศึกษาแต่งคณะกรรมการพิจารณา หากเห็นว่าไม่มีเหตุผลอันสมควรก็ให้ซ้าชั้น โดยยกเลิกผลการเรียนเดิม และให้ใช้ผลการเรียนใหม่แทน หากพจิ ารณาแล้วแลว้ ไม่ตอ้ งเรยี นซ้าชั้น ใหอ้ ยู่ในดลุ ยพนิ จิ ของสถานศกึ ษาในการแกไ้ ขผลการเรียน

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ๗ 1.5 เกณฑก์ ารจบระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น 1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพ่ิมเติมไม่เติม 81 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพ้ืนฐาน 66 หน่วย กิต และรายวชิ าเพิม่ เตมิ ตามท่สี ถานกาหนด 2) ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 66 หนว่ ยกติ และรายวิชาเพิม่ เตมิ ไมน่ อ้ ยกว่า 11 หน่วยกิต 3) ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่ สถานศึกษากาหนด 4) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่ สถานศึกษากาหนด 5) ผ้เู รียนเข้ารว่ มกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี นและมผี ลการประเมินผา่ นเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษา กาหนด 1.6 เกณฑก์ ารจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพ่ิมเติมไม่น้อยกว่า 81 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพ้ืนฐาน 41 หนว่ ยกติ และรายวชิ าเพิ่มเตมิ ตามท่สี ถานศกึ ษากาหนด 2) ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพ้ืนฐาน 41 หน่วยกติ และรายวชิ าเพิ่มเติมไม่น้อยกวา่ 36 หน่วยกิต 3) ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี สถานศกึ ษากาหนด 4) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี สถานศึกษากาหนด 5) ผูเ้ รียนเข้ารว่ มกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมผี ลการประเมนิ ผ่านเกณฑก์ ารประเมินตามท่ีสถานศึกษา กาหนด 1.7 การเทียบโอนผลการเรยี น สถานศึกษาสามารถเทยี บโอนผลการเรยี นของผูเ้ รยี นจากสถานศึกษาไดใ้ นกรณีตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ การยา้ ย สถานศึกษา การเปลี่ยนรูปแบบการศึกษา การย้ายหลักสูตร การออกกลางคัน และการขอกลับเข้ารับ การศึกษาต่อการศกึ ษาจากต่างประเทศและขอเข้าศกึ ษาตอ่ ในประเทศ นอกจากน้ี ยังสามารถเทียบโอนความรู้ ทักษะประสบการณ์จากแหล่งการเรียนรู้อ่ืน ๆ เช่น สถานประกอบการ สถาบันทางศาสนา สถาบันการ ฝกึ อบรมอาชีพการจดั การศึกษาโดยครอบครวั เป็นต้น การเทียบโอนผลการเรยี นควรดาเนนิ การในช่วงกอ่ นเปิดภาคเรียน หรือตน้ ภาคเรียนท่สี ถานศึกษารบั ผู้ขอเทยี บโอนเปน็ ผู้เรียน ท้งั น้ี ผเู้ รยี นทไ่ี ดร้ ับการเทียบโอนผลการเรยี นต้องศกึ ษาต่อเนือ่ งในสถานศึกษาทร่ี ับ เทยี บโอนอย่างน้อย 1 ภาคเรยี น โดยสถานศกึ ษาที่รบั การเทียบโอนควรกาหนดรายวชิ า จานวนหน่วยกติ ที่จะ รบั เทยี บโอนตามความเหมาะสม การพิจารณาการเทยี บโอน สามารถดาเนนิ การไดด้ ังนี้ 1. พจิ ารณาจากหลักฐานการศึกษาและเอกสารอนื่ ๆ ท่ีให้ขอ้ มูลแสดงความรู้ความสามารถของผเู้ รียน 2. พิจารณาจากความรู้ความสามารถของผเู้ รยี น โดยการทดสอบดว้ ยวธิ ีการต่าง ๆ ทั้งภาคความรู้และ ภาคปฏิบตั ิ

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ๘ 3. พิจารณาจากความสามารถและการปฏิบัติในสภาพจริงการเทียบโอนผลการเรียนให้ดาเนินการใน รปู ของคณะกรรมการการเทียบโอนจานวนไม่น้อยกว่า 3 คน แต่ไม่ควรเกิน 5 คน โดยมีแนวทางในการเทียบ โอน ดังน้ี 1) กรณีผู้ขอเทียบโอนมีผลการเรียนมาจากหลักสูตรอื่น ให้นารายวิชาหรือหน่วยกิตที่มีมาตรฐาน การเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้/จุดประสงค์/เนื้อหาท่ีสอดคล้องกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 มาเทียบโอน ผลการเรียน และพจิ ารณาให้ระดบั ผลการเรียนให้สอดคลอ้ งกบั หลกั สตู รทีร่ บั เทยี บโอน 2) กรณีการเทียบโอนความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ ให้พิจารณาจากเอกสารหลักฐาน (ถ้ามี) โดยให้มกี ารประเมินด้วยเครื่องมือท่ีหลากหลาย และให้ระดับผลการเรียนให้สอดคล้องกับหลักสูตรท่ีรับเทียบ โอน 3) กรณีการเทียบโอนนักเรียนท่ีเข้าโครงการแลกเปล่ียนต่างประเทศ ให้ดาเนินการตามประกาศ กระทรวงศึกษาธิการเร่ืองหลักการและแนวปฏิบัติการเทียบช้ันการศึกษาสาหรับนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ แลกเปล่ียน ทั้งน้ี วิธีการเทียบโอนผลการเรียนให้เป็นไปตามหลักการและแนวทางการเทียบโอนผลการเรียนตาม ประกาศของกระทรวงศึกษาธิการเรื่องการเทียบโอนผลการเรียนการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และการศึกษา ระดับอุดมศึกษา ระดับต่ากว่าปริญญา ประกาศ ณ วันท่ี 10 ตุลาคม พ.ศ. 2540 และแนวปฏิบัติที่เกี่ยวกับ การเทียบโอนผลการเรียนเข้าสู่การศึกษาในระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ซ่ึงจัดทาโดยสานักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน (สงิ หาคม 2549) การรายงานผลการเรียน การรายงานผลการเรยี นเปน็ การส่อื สารให้ผู้ปกครองและผเู้ รยี นทราบความก้าวหน้าในการเรยี นรู้ของ ผูเ้ รียน ซึง่ สถานศกึ ษาต้องสรุปผลการประเมิน และจัดทาเอกสารรายงานให้ผูป้ กครองทราบเป็นระยะ ๆ หรอื อยา่ งนอ้ ยภาคเรียนละ 1 คร้งั การรายงานผลการเรยี นสามารถรายงานเป็นระดับคุณภาพการปฏบิ ตั ิของผู้เรยี นท่สี ะท้อนมาตรฐาน การเรียนรกู้ ลุ่มสาระการเรียนรู้ ๑. จุดมุ่งหมายการรายงานผลการเรยี น 1.1 เพื่อแจง้ ใหผ้ เู้ รียน ผู้เกี่ยวข้องทราบความก้าวหน้าของผ้เู รยี น 1.2 เพ่อื ให้ผูเ้ รียน ผ้เู กี่ยวขอ้ งใชเ้ ปน็ ขอ้ มูลในการปรบั ปรงุ แกไ้ ข ส่งเสรมิ และพฒั นาการเรยี น ของผเู้ รยี น 1.3 เพ่ือให้ผู้เรียน ผู้เก่ียวข้องใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนการเรียน กาหนดแนวทาง การศกึ ษา และการเลอื กอาชพี 1.4 เพ่ือเป็นข้อมูลให้ผู้เกี่ยวข้องใช้ในการออกเอกสารหลักฐานการศึกษา ตรวจสอบและ รบั รองผลการเรยี นหรือวุฒทิ างการศึกษาของผู้เรียน 1.5 เพื่อเป็นข้อมูลสาหรับสถานศึกษา เขตพ้ืนที่การศึกษา และหน่วยงานต้นสังกัด ใช้ ประกอบในการกาหนดนโยบายวางแผนในการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา 2. ขอ้ มูลในการรายงานผลการเรยี น 2.1 ข้อมูลระดับชั้นเรียน ประกอบด้วย เวลามาเรียน ผลการประเมินความรู้ความสามารถ พฤติกรรมการเรียน ความประพฤติ และผลงานในการเรียนของผู้เรียน เป็นข้อมูลสาหรับรายงานให้ผู้มีส่วน

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ๙ เก่ียวข้อง ได้แก่ ผู้เรียน ผู้สอน และผู้ปกครอง ได้รับทราบความก้าวหน้า ความสาเร็จในการเรียนของผู้เรียน เพอ่ื นาไปใช้ในการวางแผนกาหนดเปูาหมายและวิธกี ารในการพฒั นาผเู้ รียน 2.2 ข้อมูลระดับสถานศึกษา ประกอบด้วย ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลุ่ม สาระการเรียนรู้ ผลการประเมนิ การอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียน ผลการประเมินคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนรายปี/รายภาค ผลการประเมินความก้าวหน้าในการเรียนรู้รายปี/ รายภาค โดยรวมของสถานศกึ ษา เพื่อใชเ้ ป็นข้อมูลและสารสนเทศในการพฒั นาการเรยี นการสอนและคุณภาพ ของผู้เรียน ให้เป็นไปตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด การตัดสินการเล่ือนชั้นและการซ่อมเสริมผู้เรียนท่ีมี ข้อบกพรอ่ งใหผ้ า่ นระดับชน้ั และเป็นข้อมูลในการออกเอกสารหลกั ฐานการศกึ ษา 2.3 ข้อมูลระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา ได้แก่ ผลการประเมินคุณภาพของผู้เรียนด้วยแบบ ประเมินทส่ี านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาจัดทาขึ้นในกลุ่มสาระการเรียนรู้สาคัญในระดับช้ันที่นอกเหนือจากการ ประเมินคุณภาพระดับชาติ เป็นข้อมูลที่ผู้เกี่ยวข้องใช้วางแผนและดาเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ สถานศึกษาในเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เพ่ือให้เกิดการยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของผู้เรียนและ สถานศกึ ษา 2.4 ข้อมูลระดับชาติ ได้แก่ ผลการประเมินคุณภาพของผู้เรียนด้วยแบบประเมินท่ีเป็น มาตรฐานระดับชาติในกลุ่มสาระการเรียนรู้ท่ีสาคัญในชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 3 และช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 ซง่ึ ดาเนนิ การโดยหนว่ ยงานระดบั ชาติ เปน็ ขอ้ มลู ทผ่ี เู้ กย่ี วขอ้ ง ใช้วางแผนและดาเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในส่วนท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือให้เกิดการยกระดับคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษาของผู้เรียน สถานศึกษา ท้องถ่ิน เขตพื้นท่ีการศึกษา และประเทศชาติ รวมท้ังนาไป รายงานในเอกสารหลักฐานการศึกษาของผ้เู รียน 2.5 ข้อมูลพัฒนาการของผู้เรียนด้านอื่น ๆ ประกอบด้วย ข้อมูลเก่ียวกับพัฒนาการทางด้าน ร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ สงั คม และพฤติกรรมต่าง ๆ เปน็ ขอ้ มลู ส่วนหน่งึ ของการแนะแนวและจัดระบบการดูแล ช่วยเหลือ เพอื่ แจง้ ใหผ้ ู้เรียน ผูส้ อน ผูป้ กครอง และผ้เู กีย่ วขอ้ งไดร้ ับทราบข้อมูล โดยผู้มีหน้าท่ีรับผิดชอบแต่ละ ฝุายนาไปใช้ปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาผู้เรียนให้เกิดพัฒนาการอย่างถูกต้อง เหมาะสม รวมทั้งนาไปจัดทา เอกสารหลกั ฐานแสดงพัฒนาการของผูเ้ รยี น 3. ลักษณะข้อมลู สาหรบั การรายงาน การรายงานผลการเรียน สถานศึกษาสามารถเลือกลักษณะข้อมูลสาหรับการรายงานได้หลายรูปแบบ ใหเ้ หมาะสมกับวิธกี ารรายงาน และสอดคล้องกับการให้ระดับผลการเรียนในแต่ละระดับการศึกษาโดยคานึงถึง ประสิทธิภาพของการรายงานและการนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ของผู้รับรายงานแต่ละฝุายลักษณะข้อมูลมี รปู แบบ ดงั นี้ 3.1 รายงานเป็นตัวเลข ตัวอักษร คา หรอื ข้อความท่เี ป็นตัวแทนระดับความรคู้ วามสามารถ ของผู้เรียนท่ีเกดิ จากการประมวลผล สรุปตัดสินขอ้ มลู ผลการเรยี นรขู้ องผู้เรียน ได้แก่ 1) คะแนนทไี่ ด้กับคะแนนเต็ม 2) คะแนนรอ้ ยละ 3) ระดับผลการเรียน “0 - 4” (8 ระดับ) หรือตามที่สถานศึกษากาหนดและ เงอ่ื นไขของผลการเรยี น ไดแ้ ก่ “ผ” “มผ” “ร” “มส” 4) ผลการประเมินคุณภาพ “ดเี ยยี่ ม” “ด”ี “ผ่าน” 5) ผลการตดั สินผา่ นระดับชั้น “ผ่าน” “ไมผ่ า่ น”

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ๑๐ 3.2 รายงานโดยใช้สถิติ เป็นการรายงานจากข้อมูลท่ีเป็นตัวเลข ตัวอักษร หรือข้อความให้ เป็นภาพแผนภูมิหรือเส้นพัฒนาการ ซึ่งจะแสดงให้เห็นพัฒนาการความก้าวหน้าของผู้เรียนว่าดีขึ้น หรือควร ได้รบั การพัฒนาอยา่ งไร เม่ือเวลาเปลยี่ นแปลงไป 3.3 รายงานเปน็ ขอ้ ความ เป็นการบรรยายพฤติกรรมหรอื คุณภาพท่ีผปู้ ระเมินสังเกตพบ เพือ่ รายงานให้ทราบว่าผู้เรียนมีความสามารถ มีพฤติกรรม ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ตามมาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชีว้ ดั และบคุ ลกิ ภาพอย่างไร เชน่  ผูเ้ รยี นมีความเช่ือมัน่ ในตนเองสงู ชอบแสดงความคิดเห็นและมีเหตุผล  ผ้เู รยี นสนใจอา่ นเรอื่ งต่าง ๆ หลากหลายประเภท สามารถสรุปใจความของเรือ่ งได้ ถูกตอ้ งสมบูรณ์  ผเู้ รียนมผี ลการเรยี นในกลุม่ สาระการเรียนรเู้ ป็นท่ีนา่ พอใจ แตค่ วรมีการพัฒนา ดา้ นการเขยี น โดยไดร้ บั ความร่วมมอื จากผปู้ กครองในการฝกึ หรือสง่ เสริมใหน้ ักเรียน มที ักษะในการเขียนสูงขึน้ 4. เปูาหมายการรายงาน การดาเนินการจดั การศกึ ษา ประกอบด้วย บคุ ลากรหลายฝุายมาร่วมมือประสานงานกันพัฒนาผู้เรียน ทงั้ ทางตรงและทางอ้อม ให้มคี วามรูค้ วามสามารถ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยมและคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ โดยผู้มีสว่ นเกยี่ วขอ้ งควรได้รับการรายงานผลการประเมนิ ของผ้เู รียนเพ่ือใชเ้ ป็นข้อมูลในการดาเนินงาน ดงั น้ี กล่มุ เป้าหมาย การใชข้ อ้ มูล ผเู้ รียน - ปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาการเรียน รวมท้ังพัฒนาการทางร่างกาย อารมณ์ สังคม และพฤตกิ รรมต่าง ๆ ของตน - วางแผนการเรียน การเลือกแนวทางการศกึ ษาและอาชพี ในอนาคต - แสดงผลการเรียน ความรู้ความสามารถ และวฒุ กิ ารศกึ ษาของตน ผสู้ อน - วางแผนและดาเนินการปรบั ปรุงแก้ไขและพัฒนาผู้เรยี น ปรับปรุง แกไ้ ขและพฒั นาการจัดการเรียนการสอน ครูวัดผล - ตรวจสอบความถกู ต้องในการประเมนิ ผลของผสู้ อน/ผู้เรยี น - พัฒนาระบบ ระเบียบ และแนวทางการประเมนิ ผลการเรยี น นายทะเบยี น - จดั ทาเอกสารหลกั ฐานการศึกษา ครแู นะแนว - ใหค้ าแนะนาผู้เรียนในดา้ นต่าง ๆ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและ - พจิ ารณาให้ความเห็นชอบผลการเรยี นของผ้เู รยี น งานวิชาการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน - พฒั นาแนวทางการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา และคณะกรรมการอน่ื ๆ ผู้บริหารสถานศกึ ษา - พจิ ารณาตดั สนิ และอนุมตั ผิ ลการเรียนของผู้เรยี น - พฒั นากระบวนการจดั การเรยี นของสถานศกึ ษา - วางแผนการบริหารจดั การศกึ ษาด้านต่าง ๆ ผ้ปู กครอง - รับทราบผลการเรียนและพฒั นาการของผู้เรยี น - ปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาการเรียนของผเู้ รียน รวมทั้งการดแู ลสขุ ภาพอนามยั ร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ สังคม และพฤติกรรมต่าง ๆ ของผู้เรียน - พิจารณาวางแผนและสง่ เสรมิ การเรยี น การเลอื กแนวทางการศกึ ษาและ อาชพี ในอนาคตของผูเ้ รียน ฝุาย/หน่วยงานที่มีหน้าท่ีตรวจสอบ - ตรวจสอบและรับรองผลการเรยี นและวุฒกิ ารศกึ ษาของผเู้ รียน รับรองความรู้และวุฒิการศึกษา/ - เทียบระดับ/วุฒกิ ารศึกษาของผู้เรยี น สถานศกึ ษา - เทียบโอนผลการเรยี น

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ๑๑ กลุ่มเปา้ หมาย การใชข้ อ้ มูล สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา/ - ยกระดบั และพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษาในเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา หน่วยงานตน้ สังกัด - นเิ ทศ ตดิ ตามและให้ความชว่ ยเหลอื การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของ สถานศึกษาทม่ี ผี ลการประเมนิ ต่ากว่าค่าเฉลี่ยของระดบั เขตพน้ื ท่กี ารศึกษา/ ระดับชาติ 5. วิธีการรายงาน การรายงานผลการเรยี นให้ผเู้ กีย่ วขอ้ งรับทราบ สามารถดาเนนิ การไดด้ ังนี้ 5.1 การรายงานผลการเรยี นในเอกสารหลักฐานการศกึ ษา ไดแ้ ก่  ระเบยี นแสดงผลการเรยี น (ปพ.1)  ประกาศนียบัตร (ปพ.2)  แบบรายงานผสู้ าเร็จการศกึ ษา (ปพ.3)  แบบบันทกึ ผลการเรยี นประจารายวิชา  แบบรายงานประจาตัวนกั เรียน  ใบรบั รองผลการเรียน  ระเบยี นสะสม ฯลฯ ข้อมูลจากแบบรายงาน สามารถใชอ้ ้างองิ ตรวจสอบ และรับรองผลการเรียนของผเู้ รียนได้ 5.2 การรายงานคุณภาพการศึกษาให้ผู้เก่ยี วข้องทราบ สามารถรายงานได้หลายวธิ ี เชน่  รายงานคุณภาพการศึกษาประจาปี  วารสาร/จุลสารของสถานศกึ ษา  จดหมายส่วนตัว  การใหค้ าปรึกษาหารอื เป็นรายบคุ คล  การใหพ้ บครทู ี่ปรึกษาหรอื การประชมุ เครอื ข่ายผู้ปกครอง  การใหข้ อ้ มลู ทางอินเทอรเ์ นต็ ผา่ นเว็บไซต์ของสถานศึกษา 6. การกาหนดระยะเวลาในการรายงาน การกาหนดระยะเวลาในการรายงานผลการเรียนแต่ละประเภทที่ได้มีการดาเนินการในโอกาสต่าง ๆ ท้ังการประเมินระดับชั้นเรียน การประเมินระดับสถานศึกษา การประเมินระดับเขตพ้ืน ท่ีการศึกษาและ การประเมินระดับชาติ สถานศึกษาควรกาหนดช่วงเวลาในการรายงานให้สอดคล้องกับช่วงระยะเวลาท่ีผู้เรียน และผู้เกย่ี วขอ้ งจะนาข้อมูลการรายงานไปใช้ในการดาเนนิ การปรบั ปรุงแกไ้ ขและสง่ เสรมิ การเรียนของผู้เรียน ตามบทบาทหนา้ ทข่ี องแตล่ ะฝาุ ย โดยยดึ หลกั การรายงานให้เรว็ ทสี่ ุดภายหลังการประเมนิ ผลแตล่ ะคร้งั เพอื่ ให้ การรายงานเกิดประโยชนแ์ ละมปี ระสิทธิภาพในการนาไปใชส้ งู สุด

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ๑๒ ความหมายและความสาคัญของการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ภาษาไทย ตามแนวทางการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานพุทธศักราช 2551 การวัดและประเมินผลทางภาษาไทยเป็นกระบวนการที่แสดงให้เห็นถึงการทางาน ๒ ระบบ คือ การวัดผลกบั การปะเมนิ ผล เป็นการทางานท่ีมคี วามสัมพันธ์กัน ซ่งึ แตล่ ะคามีความหมายดงั นี้ ความหมายของการวัดผล การวัดผล (Measurement) หมายถึง การหาผลที่ได้จากการดาเนินงานของผู้สอนอันเกี่ยวกับการ เรยี นภาษาของผ้เู รียนตามวัตถุประสงค์ของการสอน แลว้ นาผลทไี่ ดม้ าเทียบกับเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ หรือกล่าวอีก นัยหน่ึง การวัดผลภาษาไทยเป็นการศึกษาผลที่ได้รับจากการเรียนของผู้เรียน โดยกาหนดวิธีวัดตาม วัตถปุ ระสงคข์ องการสอน จากความหมายดังกล่าว แสดงให้เห็นว่าการวัดผลภาษาไทยมีองค์ประกอบที่สาคัญ ดงั นี้ ๑. วัตถุประสงค์ของการวัดผล จะกาหนดให้สอดคล้องกับแนวทางในการสอนภาษาไทย โดยบ่งชี้ถึง ความตอ้ งการทมี่ ่งุ ใหผ้ ู้เรียนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางภาษาไทยทั้งในด้านการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และการดู ๒. วิธีวัดผล จะจัดให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ วิธีการวัด มีหลายวิธี ได้แก่ การทดสอบ การสังเกต การสัมภาษณ์ และวิธีอนื่ ๆแล้วแตผ่ ู้สอนจะพิจารณา เหน็ วา่ เหมาะสมกบั วัตถปุ ระสงค์ ๓. เครื่องมือที่ใช้วัด แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ เครื่องมือวัดอย่างเป็นทางการ และไม่เป็นทางการ เคร่ืองมือวัดผลอย่างเป็นทางการ เป็นเคร่ืองมือท่ีผ่านขั้นตอนการหาประสิทธิภาพ มีมาตรฐานส่วนเคร่ืองมือ วัดผลอยา่ งไมเ่ ป็นทางการ เป็นเครือ่ งมือท่ีสรา้ งข้ึนเพ่อื ใช้เฉพาะกลุ่มหรือเฉพาะบุคคล ไม่ได้ผ่านขั้นตอนการหา ประสิทธิภาพ บางครัง้ อาจใช้เคร่อื งมือสองประเภท เพื่อวัดผลแต่บางครั้งก็อาจใช้เพียงประเภทเดียว ซึ่งขึ้นอยู่ กบั วัตถุประสงคข์ องการสอนภาษาไทย ๔. เกณฑ์ เป็นมาตรฐานท่ีนามาใช้เทียบกับผลท่ีได้จากการวัด ซ่ึงอาจเป็นคะแนนเฉลี่ยท่ีได้การ ทดสอบกลุ่มประชากร โดยนาคะแนนของผู้เรยี นไปเปรยี บเทยี บกับเกณฑ์ กล่าวโดยสรุปจากนิยามการวัดผลได้แสดงให้เห็นองค์ประกอบท่ีสาคัญส่ีอย่างคือวัตถุของการวัดวิธี วัดผลเคร่อื งมอื ทีใ่ ช้วดั ผลและเกณฑท์ ี่ใช้เปน็ มาตรฐานสาหรับเปรียบเทียบ ความหมายของการประเมนิ ผล การประเมินผล (Assessment) หมายถึง กระบวนการรวบรวมข้อมูล โดยใช้เคร่ืองมือวัดผลประเภท ตา่ งๆ ไดแ้ ก่ แบบทดสอบ แบบสังเกต การสัมภาษณ์ และเครอ่ื งมืออ่ืนๆ แลว้ นาผลท่ีได้มาใช้ตัดสินจุดเด่น และ จุดด้อยของผเู้ รยี น จากความหมายนแี้ สดงให้เห็นลกั ษณะท่สี าคญั ของการประเมนิ ผลดังน้ี ๑. เปน็ กระบวนการทรี่ วบรวมขอ้ มูลที่ใชเ้ ครอ่ื งมอื วัดผลต่างๆ มากกว่าหนง่ึ ประเภท ๒. ไม่ได้มีการระบุท่ีมาของเคร่ืองมือวัดผลท่ีนามาใช้ในการรวบรวมข้อมูล ดังน้ันจึงเป็นเคร่ืองมือที่ ผู้สอนสรา้ งข้นึ เอง หรอื มาจากแหล่งอืน่ ทใี่ ช้ได้ตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ ๓. นาผลที่ได้จากการรวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์จุดเด่น และจุดด้อยของผู้เรียน เพ่ือพัฒนาและ ปรบั ปรุงให้มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทย สเู่ ปาู หมายที่วางไว้ กล่าวโดยสรุป การประเมินผลเป็นกระบวนการรวบรวมข้อมูลที่ใช้เครื่องมือหลายประเภท ซ่ึงมิได้มี การระบุที่มาของเครอื่ งมอื ซง่ึ ผสู้ อนอาจจะสร้างเอง หรือมาจากแหล่งอื่น ใช้ตรงตามวัตถุประสงค์ ผลที่ได้จาก การรวบรวมขอ้ มลู นามาวเิ คราะห์จดุ เด่น และจุดด้อยของผเู้ รยี นต่อไป

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ๑๓ ประเภทของการประเมินผล ๑. การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Authentic Assessment) เป็นการประเมินผลพฤติกรรมการเรียน ภาษาของผู้เรียนตามสภาพความเป็นจริงที่ปรากฏในกิจกรรมในชั้นเรียน และกิจกรรมนอกชั้นเรียน ผู้ประเมินผลจะรวบรวมผลงานของผู้เรียน ข้อสังเกตจากการใช้ภาษา การปฏิบัติตนนอกห้องเรียน รวมท้ัง พฤติกรรมการใช้ภาษาที่แสดงหรอื ปฏบิ ัติในแตล่ ะวนั ๒. การประเมนิ ผลในชัน้ เรียน (Class room Based Assessment) เป็นการประเมินผลการเรียนและ ความก้าวหนา้ ของผเู้ รียนในสภาพการเรยี นปกติเปน็ ระยะๆ 3. การประเมินผลตามเน้ือหา (Content Referenced Assessment) เป็นการประเมินผลตาม วัตถปุ ระสงค์การเรียนรู้ (Cognitive Domain) โดยวัดเน้ือหา และความคิดเป็นหลัก ได้แก่ จา เข้าใจ นาไปใช้ วเิ คราะห์ สังเคราะห์ และประเมนิ ค่า เครื่องมือที่ใช้วัดต้องมีความตรงตามเน้ือหา ๔. การประเมินผลตามสภาพความแตกต่าง (Differential Assessment) เป็นการปรับวิธีการ ประเมินผลให้เหมาะสมกับความสามารถท่ีแตกต่างกันของผู้เรียน ผู้เรียนท่ีเรียนในระดับช้ันเดียวกันมีระดับ ความสามารถทางการเรียนภาษาไทย สูง กลาง และต่า ผู้สอนจึงจาเป็นต้องปรับเกณฑ์ การประเมินผลให้ แตกต่างกนั ตามระดับความสามารถของผเู้ รยี น ๕. การประเมนิ ผลอยา่ งเปน็ ทางการ (Formal Assessment) เป็นการประเมินผลโดยรวบรวมข้อมูล จากการใช้เครื่องมือวัดผลอย่างเป็นทางการ ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ผ่านการหาประสิทธิภาพ เช่น แบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์ภาษาไทย แบบทดสอบวัดความพร้อม แบบทดสอบวัดความสามารถทางภาษาไทย และเคร่ืองมือ อื่น ๆ ท่เี ปน็ เครอื่ งมอื มาตรฐาน ๖. การประเมนิ ผลอยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการ (Informal Assessment)เปน็ การประเมินผลโดยการรวบรวม ข้อมูล จากการใช้เคร่ืองมือวัดผลอย่างไม่เป็นทางการ ซ่ึงเป็นแบบฝึกหัดหรือเครื่องมือวัดผลท่ีผู้สอนสร้างข้ึน เพ่อื ใช้ให้เหมาะสมกับผเู้ รียน ๗. การประเมินผลตามความจาเป็น (Needs Assessment) เป็นการประเมินผลตามเงื่อนไขเฉพาะ เพ่ือวัดจุดบกพร่องหรือจุดเด่นของผู้เรียน แล้วนาผลที่ได้จากการประเมินมาปรับปรุงการเรียนของผู้เรียน ใหส้ ูงขึ้น ๘. การประเมินผลจากการปฏิบัติ (Performance Assessment) เป็นการประเมินผลจากผลงานท่ี ผู้เรียนได้ปฏิบัติ เช่น การทาโครงงาน การคัดลายมือ การเขียนเรื่องสั้น นอกจากนี้ยังรวมถึงงานอื่น ๆ ที่ เก่ียวกับการเรียนภาษาไทย โดยมีเกณฑ์ (Rubrics) การประเมินท่ีชัดเจน ผลงานแต่ละอย่างจะนามา เปรยี บเทียบกบั เกณฑท์ ่ผี สู้ อนไดก้ าหนดไว้ ผู้เรยี นอาจคดั เลือกชิน้ งานผ่านเกณฑ์หรืออยู่ในระดับท่ีผู้เรียนพอใจ เก็บไวใ้ นแฟมู งานตอ่ ไป กล่าวโดยสรุปการประเมินผลเป็นการประเมินจากการปฏิบัติจริง และเป็นการประเมินผลท่ีต่อเน่ือง ซ่ึงใช้เคร่ืองมือวัดหลายชนิดท้ังอย่างเป็นทางการ และไม่เป็นทางการ การประเมินผลในลักษณะนี้ยังแบ่ง ออกเป็นหลายประเภท ผู้นาไปใชต้ อ้ งเรียกประเภทให้สอดคล้องกบั วัตถปุ ระสงค์ การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ จาแนกตามวิธกี ารแปลความหมายผลการเรียนรู้ มี ๒ ประเภท ท่ีแตกต่างกันตามลักษณะการแปลผล คะแนน ดงั น้ี ๑. การวัดและประเมินแบบอิงกลุ่ม (Norm-Referenced Assessment) เป็นการวัดและประเมินผล การเรียนรู้เพ่ือนาเสนอผลการตัดสินความสามารถหรือผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน โดยเปรียบเทียบกันเองภายใน กลมุ่ หรอื ในชน้ั เรียน

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ๑๔ ๒. การวัดและประเมินแบบอิงเกณฑ์ (Criterion-Referenced Assessment) เป็นการวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้เพื่อนาเสนอผลการตัดสินความสามารถหรือผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน โดยเปรียบเทียบกับ เกณฑท์ ่ีกาหนดขน้ึ วธิ ีการและเครือ่ งมอื วดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ วิธีการและเคร่ืองมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ หมายถึง รูปแบบ ยุทธวิธี และเคร่ืองมือประเภท ต่าง ๆ ทใ่ี ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเก่ยี วกบั การจัดการเรียนรู้ โดยท่ัวไปมีจดุ มุ่งหมาย ๓ ประการ คือ เพ่ือรู้จัก ผู้เรียน เพ่ือประเมินวิธีเรียนของผู้เรียน และเพื่อประเมินพัฒนาการของผู้เรียน ผู้สอนสามารถเลือกใช้หรือ คิดค้นวิธีการวัดและประเมินผลให้เหมาะสมกับจุดมุ่งหมายของการนาผลการประเมินไปใช้เพ่ือตอบสนอง ความตอ้ งการ วธิ กี ารและเครื่องมือวัดและประเมินผลแบบเป็นทางการ (Formal Assessment) เป็นการได้มาซ่ึงข้อมูลผลการเรียนรู้ท่ีนิยมใช้กันมาแต่ดั้งเดิม เช่น วัดและประเมินโดยการจัดสอบ และใช้แบบสอบหรือแบบวดั (Test) ท่ีครูสร้างขน้ึ โดยการเก็บข้อมลู ดังกล่าว สว่ นใหญ่ใช้ในการวัดและประเมิน ท่ีได้ผลเป็นคะแนนและนาไปใช้ในการเปรียบเทียบ เช่น เปรียบเทียบระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน เพ่ือดู พัฒนาการหรือใช้เพ่ือประเมินผลสัมฤทธ์ิ เมื่อส้ินสุดการสอนในแต่ละหน่วยการเรียนรู้หรือรายวิชาวิธีการและ เคร่ืองมือวัดและประเมินผลแบบเปน็ ทางการเหมาะสาหรับการประเมินเพื่อตัดสิน มากกว่าท่ีจะใช้เพ่ือประเมิน พัฒนาการผู้เรยี น หรือเพื่อหาจุดบกพร่องสาหรับนาไปปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนอย่างไรก็ตาม วิธีการ และเคร่ืองมือท่ีใช้เก็บรวบรวมข้อมูลผลการเรียนรู้แบบเป็นทางการ ท่ีให้ข้อมูลสารสนเทศในเชิงปริมาณมี ข้อสังเกตท่ีผู้สอนต้องระมัดระวังในการนาไปใช้ เพื่อให้ได้ผลการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพ เป็นตัวแทนของระดับ ความสามารถที่แท้จริงของผู้เรียน คือข้อมูลต้องได้มาจากวิธีการวัดที่ถูกต้อง เหมาะสมกับลักษณะข้อมูล เครื่องมือวัดและประเมินผลมีความเท่ียงตรง (Validity) หมายถึง สามารถวัดได้ตรงตามสิ่งท่ีต้องการวัดและมี ความเชือ่ มน่ั (Reliability) หมายถงึ ผลการวัดมีความคงเส้นคงวา เม่ือมีการวัดซ้าโดยใช้เครื่องมือคู่ขนานหรือ เม่ือวัดในระยะเวลาใกล้เคยี งกนั และวิธีการวดั มคี วามโปรง่ ใสสามารถตรวจสอบและเช่อื ถือได้ (Acceptable) วธิ กี ารและเครอ่ื งมอื วัดและประเมนิ ผลแบบไม่เป็นทางการ (Informal Assessment) เป็นการได้มาซึ่งข้อมูลผลการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นรายบุคคล จากแหล่งข้อมูลหลากหลายท่ีผู้สอน เก็บรวบรวมตลอดเวลาวิเคราะห์ข้อมูล ศึกษาความพร้อมและพัฒนาการของผู้เรียน ปรับการเรียนการสอนให้ เหมาะสม และแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ของผู้เรียน ลักษณะของข้อมูลที่ได้ นอกเหนือจากตัวเลขหรือข้อมูลเชิง ปริมาณแล้ว อาจเป็นข้อมูลบรรยายลักษณะพฤติกรรมที่ผู้สอนเฝูาสังเกต หรือผลการเรียนรู้ในลักษณะ คาอธิบายระดับพัฒนาการ จุดแข็งจุดอ่อน หรือปัญหาของผู้เรียนท่ีพบจากการสังเกต สัมภาษณ์ หรือ วธิ ีการอน่ื ๆ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เป็นการประเมนิ ผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระ ผลการเรยี นรู้ด้านการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ผลการพัฒนา พฤติกรรมตามคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ และผลการเรยี นรทู้ ่ีเกิดจากการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนน้ัน มีความ เหมาะสมกับวิธีการและเคร่ืองมือวัดและประเมินผลแบบไม่เป็นทางการน้ี ข้อมูลที่ได้จะเป็นประโยชน์ในการ พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นรายบุคคล ช่วยให้ผู้สอนเข้าใจพฤติกรรมของผู้เรียนได้อย่างลึกซ้ึงกว่า

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ๑๕ การประเมินแบบเป็นทางการ และเป็นวิธีการท่ียืดหยุ่นตามสถานการณ์และบริบทวิธีการประเมินแบบต่าง ๆ ทีผ่ ู้สอนสามารถเลือกใช้ได้ มีดงั ตอ่ ไปนี้ ๑. การสงั เกตพฤติกรรม เป็นการเก็บข้อมูลจากการดูการปฏิบัติกิจกรรมของผู้เรียน โดยไม่ขัดจังหวะ การทางานหรือการคิดของผู้เรียน การสังเกตพฤติกรรมเป็นสิ่งท่ีทาได้ตลอดเวลา แต่ควรมีกระบวนการและ จดุ ประสงค์ทีช่ ัดเจนวา่ ตอ้ งการประเมินอะไร โดยอาจใช้เคร่ืองมือ เช่น แบบมาตรประมาณค่า แบบตรวจสอบ รายการ สมุดจดบันทึก เพื่อประเมินผู้เรียนตามตัวชี้วัด และควรสังเกตหลายคร้ัง หลายสถานการณ์ หลาย ชว่ งเวลาเพอ่ื ขจัดความลาเอียง ๒. การสอบปากเปลา่ เปน็ การใหผ้ ู้เรียนได้แสดงออกดว้ ยการพูด ตอบประเด็นเก่ียวกับการเรียนรู้ตาม มาตรฐาน ผสู้ อนเก็บขอ้ มูล จดบันทึก รูปแบบการประเมินนี้ผู้สอนและผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กันโดยตรงสามารถ มีการอภิปราย โต้แย้ง ขยายความ ปรับแก้ไขความคิดกันได้ มีข้อที่พึงระวัง คือ อย่าเพ่ิงขัดความคิด ขณะที่ ผ้เู รียนกาลังพดู ๓. การพูดคุย เป็นการส่ือสาร ๒ ทางอีกประเภทหน่ึง ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน สามารถดาเนินการ เป็นกลุ่มหรอื รายบุคคลกไ็ ด้ โดยท่วั ไปมกั ใชอ้ ยา่ งไมเ่ ป็นทางการเพอ่ื ติดตามตรวจสอบว่าผเู้ รยี นเกิดการเรยี นรู้ เพียงใด เป็นข้อมูลสาหรับพัฒนา วธิ ีการนีอ้ าจใช้เวลา แต่มปี ระโยชนต์ อ่ การค้นหา วนิ ิจฉยั ข้อปญั หา ตลอดจน เรอื่ งอืน่ ๆ ทอี่ าจเป็นปญั หาอุปสรรคตอ่ การเรียนรู้ เช่น วิธีการเรยี นรู้ที่แตกต่างกัน เปน็ ต้น ๔. การใชค้ าถาม การใชค้ าถามเปน็ เร่ืองปกตมิ ากในการจัดการเรียนรู้ แตข่ อ้ มลู งานวจิ ัยบง่ ชี้ว่าคาถาม ท่ีครูใช้เป็นด้านความจา และเป็นเชิงการจัดการทั่ว ๆ ไปเป็นส่วนใหญ่ เพราะถามง่ายแต่ไม่ท้าทายให้ผู้เรียน ต้องทาความเข้าใจและเรียนรู้ให้ลึกซึ้ง การพัฒนาการใช้คาถามให้มีประสิทธิภาพแม้จะเป็นเร่ืองท่ียาก แต่ สามารถทาได้ผลรวดเร็วข้ึน หากผู้สอนมีการเปล่ียนแปลงวิธีการประเมินในชั้นเรียน โดยทาการประเมินเพื่อ พฒั นาให้แขง็ ขัน (Clarke, 2005) Clarke ยงั ได้นาเสนอวธิ กี ารฝกึ ถามใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ ๕ วธิ ี ๕. การเขียนสะท้อนการเรียนรู้ (Journals) เป็นรูปแบบการบันทึกการเขียนอีกรูปแบบหนึ่งท่ีให้ ผ้เู รียนเขียนตอบกระทู้ หรอื คาถามของครู ซ่ึงจะต้องสอดคล้องกับความรู้ ทักษะที่กาหนดในตัวช้ีวัด การเขียน สะทอ้ นการเรยี นรู้นี้ นอกจากทาใหผ้ ้สู อนทราบความก้าวหนา้ ในผลการเรียนรู้แล้ว ยงั ใช้เป็นเครื่องมอื ประเมิน พัฒนาการดา้ นทกั ษะการเขียนได้อกี ดว้ ย ๖. การประเมินการปฏิบัติ (Performance Assessment) เป็นวิธีการประเมินงานหรือกิจกรรมท่ี ผู้สอนมอบหมายให้ผู้เรียนปฏิบัติงานเพ่ือให้ทราบถึงผลการพัฒนาของผู้เรียน การประเมินลักษณะนี้ ผู้สอน ต้องเตรียมสิ่งสาคัญ ๒ ประการ คือ ภาระงาน (Tasks) หรือกิจกรรมท่ีจะให้ผู้เรียนปฏิบัติ เช่น การทา โครงการ/โครงงาน การสารวจ การนาเสนอ การสร้างแบบจาลอง การท่องปากเปล่า การสาธิต การทดลอง วิทยาศาสตร์การจัดนิทรรศการ การแสดงละคร เป็นต้น และเกณฑ์การให้คะแนน (Scoring Rubrics) การ ประเมนิ การปฏบิ ตั ิ อาจจะปรับเปล่ียนไปตามลักษณะงานหรือประเภทกจิ กรรม ๗. การประเมินด้วยแฟูมสะสมงาน (Portfolio Assessment) แฟูมสะสมงานเป็นการเก็บรวบรวม ช้ินงานของผู้เรียนเพ่ือสะท้อนความก้าวหน้าและความสาเร็จของผู้เรียน เช่น แฟูมสะสมงานท่ีแสดง ความก้าวหน้าของผู้เรียน ต้องมีผลงานในช่วงเวลาต่าง ๆ ที่แสดงถึงความก้าวหน้าของผู้เรียน หากเป็นแฟูม สะสมงานดีเด่นต้องแสดงผลงานท่ีสะท้อนความสามารถของผู้เรียน โดยผู้เรียนต้องแสดงความคิดเห็นหรือ เหตุผลท่เี ลือกผลงานนนั้ เกบ็ ไวต้ ามวัตถปุ ระสงคข์ องแฟมู สะสมงาน แนวทางในการจดั ทาแฟมู สะสมงาน ๘. การวัดและประเมินด้วยแบบทดสอบ เป็นการประเมินตัวช้ีวัดด้านการรับรู้ข้อเท็จจริง (Knowledge) ผู้สอนควรเลือกใช้แบบทดสอบให้ตรงตามวัตถุประสงค์ของการวัดและประเมินนั้น ๆ เช่น แบบทดสอบเลือกตอบ แบบทดสอบถูก-ผิด แบบทดสอบจับคู่ แบบทดสอบเติมคา แบบทดสอบความเรียง

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ๑๖ เป็นต้น ท้ังนี้ แบบทดสอบท่ีจะใช้ต้องเป็นแบบทดสอบที่มีคุณภาพ มีความเที่ยงตรง (Validity) และเช่ือมั่นได้ (Reliability) ๙. การประเมินด้านความรู้สึกนึกคิด เป็นการประเมินคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะ และเจตคติท่ี ควรปลกู ฝงั ในการจดั การเรยี นรู้ ซง่ึ การวดั และประเมินผลเป็นลาดับขนั้ จากต่าสดุ ไปสงู สดุ ๑๐. การประเมนิ ตามสภาพจรงิ (Authentic Assessment) เปน็ การประเมนิ ดว้ ยวิธกี ารทีห่ ลากหลาย ดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น เพ่ือให้ได้ผลการประเมินที่สะท้อนความสามารถท่ีแท้จริงของผู้เรียน จึงควรใช้การ ประเมินการปฏิบัติ (Performance Assessment) ร่วมกับการประเมินด้วยวิธีการอื่น ภาระงาน (Tasks) ควร สะท้อนสภาพความเป็นจริงหรือใกล้เคียงกับชีวิตจริงมากกว่าเป็นการปฏิบัติกิจกรรมท่ัว ๆ ไป ดังนั้นการ ประเมนิ ตามสภาพจริงจะตอ้ งออกแบบการจัดการเรียนรู้และการประเมินผลไปด้วยกัน และกาหนดเกณฑ์การ ประเมิน (Rubrics) ให้สอดคลอ้ งหรือใกล้เคยี งกับชีวิตจริง ๑๑. การประเมินตนเองของผู้เรียน (Student Self-assessment) การประเมินตนเองนับเป็นทั้ง เคร่ืองมือประเมินและเคร่ืองมือพัฒนาการเรียนรู้ เพราะทาให้ผู้เรียนได้คิดใคร่ครวญว่าได้เรียนรู้อะไร เรียนรู้ อย่างไร และผลงานที่ทาน้ันดีแล้วหรือยัง การประเมินตนเองจึงเป็นวิธีหนึ่งท่ีจะช่วยพัฒนาผู้เรียนให้เป็นผู้ท่ี สามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง การใช้การประเมินตนเองของผู้เรียนให้ประสบความสาเร็จได้ดีจะต้องมีเปูาหมาย การเรียนรู้ท่ีชดั เจน มีเกณฑท์ ่ีบ่งบอกความสาเรจ็ ของชน้ิ งาน/ภาระงาน และมาตรการการปรบั ปรุงแก้ไขตนเอง เปูาหมายการเรียนรู้ที่กาหนดชัดเจนและผูเ้ รียนไดร้ ับทราบหรือร่วมกาหนดด้วย จะทาให้ผู้เรียนทราบ วา่ ตนถกู คาดหวงั ใหร้ ู้อะไร ทาอะไร มหี ลักฐานใดทีแ่ สดงการเรียนรู้ตามความคาดหวังน้ัน หลักฐานท่ีมีคุณภาพ ควรมีเกณฑ์เชน่ ไรเพอ่ื เปน็ แนวทางใหผ้ ้เู รียนพจิ ารณาประเมนิ ซงึ่ หากเกณฑ์เกิดจากการทางานร่วมกันระหว่าง ผู้เรียนกับผู้สอนด้วยจะเป็นการเพิ่มแรงจูงใจในการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น การท่ีผู้เรียนได้ใช้การประเมินตนเอง บ่อย ๆ โดยมีกรอบแนวทางการประเมินท่ีชัดเจนนี้ จะช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนประเมินได้ค่อนข้างจริงและ ซื่อสตั ย์ คาวิจารณ์ คาแนะนาของผเู้ รียนมักจะจรงิ จังมากกวา่ ของครู การประเมินตนเองจะเกิดประโยชน์ย่ิงขึ้น หากผู้เรียนทราบสิ่งที่ต้องปรับปรุงแก้ไขและต้ังเปูาหมายการปรับปรุงแก้ไขของตน แล้วฝึกฝน พัฒนาโดยการ ดแู ลสนับสนุนจากผู้สอนและความรว่ มมือของครอบครัว เคร่ืองมือท่ใี ชใ้ นการประเมินตนเองมีหลายรูปแบบ เช่น การอภิปราย การเขียนสะท้อนผลงานการใช้ แบบสารวจ การพูดคยุ กบั ผสู้ อน เปน็ ต้น ๑๒. การประเมินโดยเพื่อน (Peer Assessment) เป็นเทคนิคการประเมินอีกรูปแบบหนึ่งที่น่าจะ นามาใช้เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้เข้าถึงคุณลักษณะของงานที่มีคุณภาพ เพราะการที่ผู้เรียนจะบอกได้ว่าชิ้นงานน้ัน เปน็ เช่นไร ผเู้ รยี นต้องมคี วามเข้าใจอยา่ งชัดเจนก่อนว่าเขากาลังตรวจสอบอะไรในงานของเพื่อน ฉะนั้น ผู้สอน ต้องอธิบายผลทคี่ าดหวงั ให้ผูเ้ รียนทราบกอ่ นท่จี ะลงมอื ประเมนิ การท่ีจะสร้างความมั่นใจว่าผู้เรียนเข้าใจการประเมินรูปแบบนี้ควรมีการฝึกผู้เรียน โดยผู้สอนอาจหา ตัวอย่าง เช่น งานเขียน ใหน้ กั เรยี นเป็นกลมุ่ ตัดสนิ ใจวา่ ควรประเมนิ อะไร และควรให้คาอธิบายเกณฑ์ที่บ่งบอก ความสาเรจ็ ของภาระงานนั้น จากน้ันให้ผู้เรียนประเมินภาระงานเขียนที่เป็นตัวอย่างนั้นโดยใช้เกณฑ์ท่ีช่วยกัน สรา้ งขึน้ หลงั จากนัน้ ครูตรวจสอบการประเมนิ ของผู้เรียนและใหข้ ้อมลู ย้อนกลับแก่ผู้เรยี นที่ประเมนิ เกนิ จรงิ การใช้การประเมินโดยเพื่อนอย่างมีประสิทธิภาพ จาเป็นต้องสร้างส่ิงแวดล้อมการเรียนรู้ที่สนับสนุน ให้เกิดการประเมินรูปแบบน้ี กล่าวคือ ผู้เรียนต้องรู้สึกผ่อนคลาย เช่ือใจกัน และไม่อคติ เพ่ือการให้ข้อมู ล ย้อนกลับจะได้ซื่อตรง เป็นเชิงบวกท่ีให้ประโยชน์ ผู้สอนท่ีให้ผู้เรียนทางานกลุ่มตลอดภาคเรียนแล้วใช้เทคนิค เพื่อนประเมินเพื่อนเป็นประจา จะสามารถพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน อันจะนาไปสู่การให้ ข้อมูลย้อนกลับทเี่ กง่ ข้นึ ได้

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ๑๗ หลักการวัดผลและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ การวัดผลและประเมินผลเป็นกระบวนการท่ีช่วยผู้สอนได้ข้อมูลสารสนเทศ ที่แสดงถึง พัฒนาการ ความกา้ วหนา้ และความสาเร็จของผู้เรียน ซ่ึงเป็นประโยชน์ต่อการส่งเสริมให้ผู้เรียน เกิดการพัฒนาและเรียนรู้ เต็มตามศักยภาพ วิธีการวัดผลและประเมินผลต้องใช้วิธีที่หลากหลาย สอดคล้องกับส่ิงที่ต้องการวัดท้ังท่ีเป็น ความรู้ ความคิดและการปฏิบัติ และจะดาเนินการควบคู่ไป กับการจัดการเรียนการสอน การวัดความรู้ ความคิดสว่ นใหญใ่ ช้การทดสอบซ่ึงอาจเป็นแบบทดสอบ แบบเลือกตอบหรือแบบทดสอบอัตนัย โดยให้ผู้เรียน เขียนคาตอบเอง การวัดผลที่เน้นการเขียน ตอบและการนาเสนอคาตอบด้วยตัวผู้เรียนเอง จะช่วยส่งเสริมให้ ผู้เรียนได้พัฒนาการคิดและการ เขียนไปพร้อม ๆ กันได้ดีกว่าเครื่องมือชนิดอ่ืน ๆ นอกจากนี้ก็อาจใช้แฟูม สะสมงาน การสังเกต การสัมภาษณ์ ซึ่งเป็นวิธีที่เหมาะกับการวัดและประเมินความดีงามและการปฏิบัติ (สานักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน, ๒๕๔๙. หน้า ๖) รูปแบบการวัดผลและประเมินผล การวดั ผลและประเมนิ ผลทใี่ ช้กันอย่ใู นปจั จุบนั นี้ มอี ยู่ ๓ ลกั ษณะ คอื การประเมินผล ตามสภาพจริง (Authentic assessment) การประเมนิ การปฏิบตั ิ (Performance assessment) และการประเมนิ จากแฟมู สะสมงาน (Portfolio assessment) เป็นตน้ เอกสารนนี้ าเสนอเฉพาะ รูปแบบการประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ เพ่ือใชเ้ ปน็ แนวทางการประเมินผลการเรียนภาษาไทย การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Authentic assessment) นักการศึกษาในปัจจุบนั แปลความหมายคาวา่ Authentic assessment ไว้ต่างกันบ้าง เชน่ การ ประเมินผลตามสภาพจริง การประเมินผลสภาพจริง การประเมนิ ผลจากสภาพจรงิ การ ประเมินสภาพที่ แทจ้ รงิ หรอื การประเมินความสามารถแท้ เป็นตน้ แต่อยา่ งไรก็ตาม Authentic assessment ก็เปน็ แนว ทางการประเมนิ ผลใหม่ท่ีสอดคล้องกับหลกั สตู รทใี่ ช้อยู่ในปัจจบุ นั น้ี การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Authentic assessment) เปน็ การประเมินผลที่ผูส้ อน เลอื กใช้ วิธกี ารที่หลากหลาย และเหมาะสม เพอื่ ให้ผู้เรียนไดล้ งมือปฏบิ ตั ิกจิ กรรมตา่ ง ๆ ใน สถานการณ์ทส่ี อดคล้องกบั ชีวติ จริง (Authentic life) โดยเช่ือมโยงเกณฑ์ (Criteria) การใหค้ ะแนน กับงาน (Tasks) ที่กาหนดให้ปฏบิ ัติ ผ้เู รยี นไดแ้ สดงความสามารถหลายด้านทัง้ ด้านการแกป้ ัญหา และการใช้กระบวนการคดิ ทซี่ บั ซ้อน จนประสบ ความสาเรจ็ ในการเรียนรู้ ลักษณะสาคญั ของการประเมนิ ผลตามสภาพจริง ๑. เปน็ การประเมนิ ผลจากการจัดการเรียนการสอนที่เปน็ สภาพจรงิ (Authentic learning) ๒. เป็นการประเมินความสามารถจรงิ ในชนั้ เรยี น การเรยี นการสอนและการประเมนิ ผล จะเกดิ ข้ึนไป พรอ้ ม ๆ กันในขณะทีจ่ ัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ๓. เป็นการประเมินความสามารถสดุ ท้ายของผเู้ รียน เพอื่ ให้เปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงค์ ของการจดั การ เรียนรู้ ๔. เป็นการกระตุ้นให้ผเู้ รยี นคิด และลงมือปฏิบตั ดิ ้วยตนเองภายใตภ้ าระงาน (Performance tasks) ท่ผี สู้ อนกาหนดไว้ ๕. เป็นการประเมินจากงาน (Tasks) โครงงาน (Project works) หรอื โครงการ (Projects) ท่ีประยุกต์ วิธกี ารและกระบวนการเรยี นร้เู ขา้ ดว้ ยกนั โดยพจิ ารณาถงึ กระบวนการทางาน คุณภาพผลงาน ความพึงพอใจ เป็นต้น

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ๑๘ ๖. เปน็ การประเมินที่ใช้สภาพปัญหา หรืองานในลักษณะปลายเปดิ สอดคล้อง กับความเป็นจริงใน ชวี ิตประจาวัน เพือ่ ใหผ้ เู้ รียนสรา้ งคาตอบได้ด้วยตนเองอย่างหลากหลาย ๗. เป็นการประเมนิ ที่ใช้ข้อมูลหลากหลาย รอบดา้ น จากการวดั หลาย ๆ วิธอี ยา่ ง เหมาะสม ๘. เปน็ การประเมินทเ่ี นน้ การมสี ่วนร่วมระหวา่ งผู้เรยี น ผสู้ อน และผูป้ กครอง วิธีการประเมินผลตามสภาพจรงิ ผู้สอนอาจเลือกใชว้ ธิ ีการประเมินผลตามสภาพจริงได้หลายวิธี ดังน้ี ๑. การสงั เกต ๒. การสมั ภาษณ์ ๓. การสอบถาม ๔. การตรวจผลงาน ๕. การประเมนิ ตนเอง ๖. การเยย่ี มบ้าน ๗. การศึกษารายกรณี ๘. การบนั ทึกจากผู้เกี่ยวข้อง ๙. การใช้ข้อสอบแบบเน้นการปฏิบตั จิ ริง ๑๐. การประเมนิ จากเอกสาร เชน่ ระเบียนสะสม ๑๑. การประเมนิ จากแฟูมสะสมงาน (Portfolio) ฯ ล ฯ แหล่งข้อมลู ท่ีใชใ้ นการประเมนิ ผลตามสภาพจริง แหล่งขอ้ มูลทีใ่ ชใ้ นการประเมินผลตามสภาพจริง ไดแ้ ก่ ๑. ผลงาน แบบฝึกหัด โครงงาน โครงการ ๒. การทดสอบ ๓. การสงั เกต ๔. การสมั ภาษณ์ ๕. บันทกึ ประจาวนั ๖. การบนั ทึกจากผูเ้ กยี่ วขอ้ ง ๗. แฟูมสะสมงาน (Portfolio) ฯ ล ฯ เกณฑก์ ารประเมิน (Rubric Assessment) การประเมินผลตามสภาพจริงผู้สอนจาเป็นต้องรู้เรื่อง เกณฑ์การประเมิน ( Rubric assessment ) ด้วย เพราะการเชื่อมโยงงานที่กาหนดให้ทาและเกณฑ์การประเมินผลงานเข้าด้วยกัน จะช่วยให้ผู้เรียน ปฏิบัติงานได้ดีข้ึน เกณฑ์การประเมินท่ีผู้สอนกาหนดข้ึน (อาจกาหนดร่วมกันกับ ผู้เรียนก็ได้) จะเป็นข้อตกลง ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ก่อนท่ีจะลงมือปฏิบัติงานหรือกิจกรรมว่า แนวทาง การให้คะแนน (Scoring guide) เป็นอย่างไร กล่าวคือผู้เรียนจะต้องรู้ว่าผลงาน หรือช้ินงานท่ีเกิดข้ึน จะประเมินผลอย่างไร จะให้คะแนน อย่างไร มีเกณฑ์การประเมิน หรือองค์ประกอบในการให้คะแนน อย่างไรบ้าง เกณฑ์ที่กาหนดจะสัมพันธ์กับ ระดับคุณภาพ (Grade) หรอื คะแนนทผี่ ู้เรยี นจะไดด้ ว้ ยเกณฑ์การประเมนิ จาแนกออกเป็น ๒ ลักษณะ คอื

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ๑๙ ลักษณะที่ ๑ เกณฑ์การให้คะแนนแบบภาพรวม (Holistic rubrics) เป็นแนวทางการให้คะแนนโดย พิจารณาจากภาพรวมของชิน้ งานแล้วใหเ้ ป็นคะแนน หรืออาจจัดชิ้นงาน ออกเป็นระดับคุณภาพ เช่น แบ่งเป็น ๓ ระดับ (ดี พอใช้ ปรับปรุง) หรือ เป็น ๔ ระดับ (ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง) หรือ เป็น ๕ ระดับ (ดีมาก ดี พอใช้ นอ้ ย นอ้ ยท่สี ดุ ) ก็ได้ ตามความเหมาะสม การประเมนิ ในภาพรวมน้ี อาจจะมวี ธิ กี ารยอ่ ย ๆ อกี ดงั นี้ วิธที ี่ ๑ แบง่ ผลงานท้งั หมดตามคณุ ภาพ ออกเปน็ ๓ กลุ่ม หรอื ๖ กลมุ่ ดงั น้ี - แบ่งเป็น ๓ กลุ่ม กลุ่มที่ ๑ หมายถึง ดี กลุ่มท่ี ๒ หมายถึง พอใช้ และกลุ่มที่ ๓ หมายถึง ปรับปรุง เป็นต้น แล้ว กาหนดคะแนนสูงสุด จากคะแนนเต็มท่ีกาหนดไว้ เช่น คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน คะแนนสูงสดุ ทีค่ วรได้เป็น ๘ ดังนั้น กลุ่มท่ี ๑ ได้ คะแนน ๗ คะแนน กลุ่มท่ี ๒ ได้ ๗ คะแนน กลุ่มที่ ๓ ได้ ๖ คะแนน หรือกลุ่มที่ ๑ ได้ ๘ คะแนน กลุ่มท่ี ๒ ได้ ๖ คะแนน และ กลุ่มท่ี ๓ ได้ ๔ คะแนน เป็นต้น ดงั น้ี - แบ่งเป็น ๖ กลุ่ม แบ่งเป็น ๓ กลุ่มกลุ่มท่ี ๑ หมายถึง ดี กลุ่มที่ ๒ หมายถึง พอใช้ และกลุ่ม ที่ ๓ หมายถึง ปรับปรุง ในแต่ละกลุ่มแบ่งออกเป็น ๒ กลุ่มย่อย จะได้ ทั้งหมด ๖ กลุ่ม แล้วกาหนด คะแนนสงู สดุ จากคะแนน เต็มท่กี าหนดไว้ เช่น คะแนนเต็ม ๑๐คะแนน คะแนน สูงสุดท่ีควรได้เป็น ๘ คะแนน ดังน้ัน กลุ่มที่ ๑ ได้ คะแนน ๘ คะแนน กลุ่มท่ี ๒ ได้ ๗ คะแนน และลด คะแนนลงมา ตามลาดบั ดังน้ี

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ๒๐ วิธีท่ี ๒ กาหนดคะแนนและความหมายของคะแนน โดยพิจารณา จากความบกพรอ่ งของคาตอบวา่ มี มากน้อยเพยี งใด แล้วลดจากระดบั คะแนนสูงสุดลงมาทีละระดบั เช่น การประเมนิ ความสามารถในการพดู วิธที ่ี ๓ กาหนดคะแนนและคาอธิบายความหมายของคะแนน แต่ละคะแนนอย่างละเอียด ในการ ประเมนิ จะพิจารณาจากผลงานวา่ มคี ุณภาพตรงกับระดับ ความหมายของคะแนนใด เช่น ประเมิน ความสามารถในการเขยี น

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ๒๑ ลักษณะที่ ๒ เกณฑ์การประเมินแบบแยกส่วน (Analytic rubrics) เป็นแนวทางการให้คะแนนท่ี กาหนดลักษณะ/รายการพิจารณาไว้เป็นด้าน ๆ ซึ่งในแต่ละด้านจะกาหนดแนวทาการให้คะแนน โดยมี คาอธิบายคุณภาพงานไว้เป็นระดับคะแนนอย่างชัดเจน เช่น การประเมิน การคัดลายมือ กาหนดรายการ พิจารณาเปน็ ๑๐ ดา้ น คอื ๑) เขยี นอักษรมีหวั ๒) เส้นอักษรคมชดั ไม่โยห้ น้า โย้หลงั ๓) วางสระ วรรณยุกต์ถูกท่ี ๔) เวน้ ระยะชอ่ งไฟได้เหมาะสม ๕) ตัวอกั ษรอยู่ในบรรทัดทีก่ าหนด ๖) ตวั อกั ษรเปน็ รปู แบบเดียวกัน ๗) ตวั อกั ษรมขี นาดสม่าเสมอ ๘) เขียนถกู ต้อง ๙) ตวั อักษรสวยงาม ๑๐) ผลงานสะอาด ในการประเมินผลงานจะพิจารณาผลงานทีละรายการ เช่น ลักษณะของ ตัวอักษรเป็นอย่างไร ถ้า เขียนอักษรมีหัวทุกตัวจะได้ ๓ คะแนน เขียนอักษรมีหัวบ้างไม่มีหัวบ้าง จะได้ ๒ คะแนน เขียนอักษรมีหัวเป็น บางตัว จะได้ ๑ คะแนน หรือเขียนอักษรไม่มีหัวทกุ ตัว จะได้ ๐ คะแนน เป็นต้น ดังตวั อย่าง

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ๒๒ แนวทางการประเมนิ ผลตามสภาพจริงกล่มุ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย การประเมินผลตามสภาพจริง ผู้สอนอาจจะต้องใช้หลายวิธี เพ่ือรวบรวมข้อมูลจากแหล่ง ข้อมูลท่ี หลากหลาย เพ่ือใหไ้ ด้ขอ้ มลู มากพอทจ่ี ะลงสรปุ เกยี่ วกับความก้าวหนา้ หรอื พฒั นาการใน การเรียนรู้ของผู้เรียน ว่าเป็นไปตามมาตรฐานการเรียนรู้ท่ีกาหนดไว้หรือไม่ อย่างไร ในการรวบรวม ข้อมูลจาเป็นต้องใช้เคร่ืองมือที่ หลากหลายเชน่ กนั เครอ่ื งมอื ท่ใี ชใ้ นการวัดผลและประเมนิ ผลการ เรยี นรู้จะตอ้ งมีความเที่ยงตรง (validity: วัด ในสิ่งที่ต้องการวัดได้) มีความเช่ือม่ัน (reliability: ความคงเส้น คงวาของผลการประเมินที่ได้) และมีความ ยุติธรรม (ผู้เรียนมีโอกาสแสดงออกในส่ิงท่ีรู้และทาได้) การสร้างเคร่ืองมือเพื่อให้มีคุณสมบัติดังกล่าว จึงดู เหมือนว่าจะเป็นเร่ืองยากสาหรับผู้สอน ดังน้ัน จึงเสนอแนวทางการสร้างเคร่ืองมือวัดผล และประเมินผลการ เรยี นรทู้ ีเ่ น้นการประเมินสภาพจริง ดงั น้ี ๑. วิเคราะห์จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ การจัดการเรยี นรู้กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทยแบบหนว่ ยการเรียนรู้ (Unit of study) ซึ่งไดม้ าจาก การนาหัวข้อเร่ือง และหัวข้อเรอ่ื งยอ่ ยในคาอธิบายรายวชิ ามากาหนดเป็น หนว่ ยการเรียนรู้ แต่ละหนว่ ยการ เรยี นรปู้ ระกอบด้วย ชอื่ หนว่ ยการเรยี นรู้ จานวนเวลาทใ่ี ชส้ อน ของแตล่ ะหนว่ ยการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ที่ คาดหวงั และสาระการเรยี นรู้ หลังจากกาหนดหนว่ ยการเรียนรแู้ ล้ว ผสู้ อนจะจัดทาแผนการจดั การเรยี นรโู้ ดย นาหน่วยการเรยี นรู้ แตล่ ะหน่วยมาจัดทาเปน็ แผนการจัดการเรียนรู้ ในแต่ละแผนจะกาหนด จุดประสงค์การเรียนรู้ ซ่ึงไดจ้ ากการ วเิ คราะหผ์ ลการเรียนรูท้ ี่คาดหวังในแต่ละหนว่ ยการเรยี นรู้ จดุ ประสงค์การเรียนร้เู ปน็ ความคาดหวงั ทผี่ สู้ อน ตอ้ งการให้เกิดข้ึนกบั ผ้เู รยี นทั้งดา้ นความรู้ (Knowledge) ด้านการปฏบิ ตั ิ (Performance) ด้านกระบวนการ (Process) และ ด้านเจตคติ (Attitude) การจัดกจิ กรรมการเรียนรใู้ นแตล่ ะแผนประกอบด้วยจดุ ประสงค์การ เรยี นรู้ครบท้ัง ๓ ดา้ น โดยเน้นหรอื ใช้จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ดา้ นใดด้านหน่งึ เปน็ แกน เชน่ สอนเขยี นเรียงความ จาก ภาพ จะเนน้ ทกั ษะการเขียน ซึ่งเป็นทักษะดา้ นการปฏิบตั มิ ากกว่าด้านความรู้ และด้านเจต คติ เป็นตน้ ดังตัวอยา่ ง จากตวั อยา่ งพบวา่ จดุ ประสงคข์ ้อ ๑ เปน็ จุดประสงคด์ า้ นความรู้ จุดประสงคข์ ้อ ๒ เปน็ จุดประสงค์ ด้านการปฏิบตั ิ และจุดประสงคข์ ้อ ๓ เปน็ จุดประสงค์ด้านเจตคติ

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ๒๓ ๒. ออกแบบภาระงานปฏิบัติ (Performance tasks design) ภาระงานปฏิบัติ หมายถึง งานหรือกิจกรรมที่ผู้เรียนต้องทา ลักษณะของงาน ดังกล่าว อาจกาหนด โดยผู้สอน หรือผู้เรียนกาหนด หรือร่วมกันกาหนดก็ได้ ลักษณะงานที่ปฏิบัติ จะต้องเป็นงานที่แสดงออกถึง ความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถ และทกั ษะตา่ ง ๆ ของผ้เู รียนทีน่ าเสนอ ผา่ นเนื้อหาของกลุ่มสาระการเรยี นรูต้ ่าง ๆ งานทีน่ าเสนออาจจะแสดงออกมาในลักษณะต่าง ๆ ดงั น้ี - ผลผลิตหรือผลงาน เชน่ จดหมาย เรยี งความ บทกวี คาประพันธ์ คาขวัญ ฯลฯ - ผลการกระทา หรือพฤตกิ รรม เชน่ การรายงานปากเปล่า การโต้วาที การอา่ นทานองเสนาะ การแสดงละคร ฯลฯ - กระบวนการ เชน่ การต้ังคาถาม กระบวนการเขียน กระบวนการอา่ น กระบวนการคิด การแกป้ ญั หา การประชุม ฯลฯ การกาหนดภาระงานจะควบคู่กับการให้ เงื่อนไข (Condition) ซ่ึงหมายถึง ส่ิงท่ี นามาเป็นตัวกาหนด ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ จนสามารถสรุปความรู้เป็นภาระงานได้สาเร็จ ตัวอย่าง เงื่อนไขท่ีใช้กันเป็นส่วนใหญ่ เช่น ประเด็นคาถาม สถานการณ์ กรณีตัวอย่าง กรณีปัญหา ฯลฯ และเม่ือผู้สอนกาหนดงานท่ีจะให้ทาแล้ว ต้องตรวจสอบด้วยว่าสอดคล้องกับจุดประสงค์การ เรียนรู้ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง และมาตรฐานการเรียนรู้ หรือไม่ เพราะงานที่ผู้เรียนปฏิบัติจะ แสดงถึงความรู้ ความสามารถ ทักษะ และเจตคติตามมาตรฐานการ เรยี นรู้ในกล่มุ สาระนน้ั ๆ ดงั ตวั อยา่ ง ๓. เลือกวิธกี ารวัดผลและประเมินผล ในข้นั ตอนนี้ ผู้สอนจาเป็นต้องเลอื กวธิ ีการวดั ผลและประเมนิ ผลให้สอดคล้องกับ จุดประสงค์ท่ีกาหนด การพจิ ารณาเลอื กวิธกี ารวดั ผลและประเมินผลทีด่ ี ต้องใหเ้ หมาะสมกับ ภาระงานปฏิบัติท่ีกาหนดไว้ด้วย ดังน้ัน ผู้สอนจึงต้องมองภาพการปฏิบัติของผู้เรียนให้ชัดเจน ว่า หลังจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แล้ว ในแต่ละ จุดประสงค์การเรียนรู้ท่ีกาหนดไว้ ผู้เรียนจะ มีผลงานหรือผลผลิต ผลการกระทาหรือพฤติกรรม หรือ กระบวนการทีม่ องเห็นได้ อยา่ งไรบ้าง เพอื่ ใชใ้ นการประเมินผลการเรียนรู้ ดังตัวอย่าง

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ๒๔ ๔. สร้างเครือ่ งมือวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ การสร้างเครื่องมือเพ่ือใช้วัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ในข้ันนี้ ผู้สอนจะต้องศึกษา หาความรู้ เก่ียวกับเรื่องลักษณะของเคร่ืองมือที่สร้างด้วยว่า เครื่องมือชนิดน้ันมีจุดเด่น จุดด้อยอย่างไร เหมาะสมกับ ลักษณะของขอ้ มูลแบบใด มีวธิ กี ารสรา้ งอย่างไร เคร่ืองมอื การวดั ผลและประเมินผล จากตัวอย่างดังกล่าว ภาระงานท่ีปฏิบัติ คือ การเขียนเรื่องจากภาพท่ีเลือกไว้ เครื่องมือท่ีใช้เก็บ รวบรวมข้อมูล ได้แก่ ภาพ บัตรงาน เกณฑ์การประเมินผล และเครื่องมือที่ใช้ บันทึกผลข้อมูล ได้แก่ แบบ บันทกึ คะแนน แบบสงั เกตพฤติกรรมในขณะท่ีเขียนเร่ือง ในส่วนของ การสร้างเคร่ืองมือวัดผลและประเมินผล การเรียนรู้บัตรงาน เกณฑ์การประเมินผล แบบสังเกต พฤติกรรม และแบบบันทึกผลคะแนน ขอนาเสนอ แนวทาง ดงั นี้ ๔.๑ บัตรงานหรือใบงาน หมายถึง คาส่ังที่เขียนส่ังให้ผู้เรียนปฏิบัติ โดย อาจปฏิบัติเป็นรายบุคคล หรือเป็นกลุ่มกไ็ ด้ บัตรงานจะประกอบด้วย ช่ือบัตรงาน เวลาท่ีใช้ปฏิบัติ กิจกรรมตามบัตรงาน คาสั่งให้ผู้เรียน ปฏบิ ตั ิ และเกณฑก์ ารประเมนิ ผล ดังตวั อยา่ ง

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ๒๕ ๔.๒ เกณฑ์การประเมินผล เป็นวิธีการท่ีได้รับการยอมรับและนามาใช้ ในการประเมินผลกันอย่าง กวา้ งขวาง เน่อื งจากผลการประเมนิ ที่ไดม้ ีคณุ ค่าตอ่ การนาไปพัฒนา การเรียนรู้ได้มากกว่าตัวเลขท่ีเป็นคะแนน การประเมนิ ผลที่นิยมใช้กันจะแบ่งออกเป็น ๒ ลักษณะ ใหญ่ ๆ ซึ่งผู้สอนจะเลือกใช้การประเมินผลลักษณะใด ก็ได้ แต่ต้องให้เหมาะสมกับภาระงาน และ วิธีการวัดผลและประเมินผลท่ีกาหนดไว้ด้วย ลักษณะสาคัญของ เกณฑก์ ารประเมินผล คือ การเขียน คาอธบิ ายคะแนน (Scoring rubrics) หรือคาอธบิ ายระดับการปฏิบัติ ควร เริ่มจากคาอธิบายคะแนน สูงสุดก่อน โดยกาหนดว่าถ้าผู้เรียนได้คะแนนเต็มในองค์ประกอบหรือรายการ ประเมนิ นัน้ ผลงาน หรือผลการปฏิบัติหรือกระบวนการท่ีสังเกตพบ ผู้เรียนมีการปฏิบัติอย่างไร ให้เขียนความ เรียง อธิบายลกั ษณะการปฏบิ ัตนิ ั้นอยา่ งละเอยี ด เชน่ การเขียนคาอธิบายคะแนน หรือคาอธบิ ายระดบั การปฏิบัติมีแนวทางในการเขยี น ๒ ลกั ษณะ ดงั น้ี ลักษณะท่ี ๑ เขียนคาอธิบายโดยกาหนดประเด็นย่อยที่ใช้พิจารณา เป็นเงื่อนไข แล้วลดจานวน เงือ่ นไขลงตามลาดบั คะแนนท่ีลดลง ดงั ตัวอยา่ ง

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ๒๖ ลกั ษณะท่ี ๒ เขียนคาอธิบายโดยกาหนดประเดน็ ยอ่ ยที่ใช้พจิ ารณาเปน็ เงื่อนไขหลกั แล้วลด จานวนเงอื่ นไขลงตามลาดับคะแนนท่ีลดลง แตม่ เี ง่ือนไขหลักกาหนดไว้ ๑ เง่ือนไข ดังตวั อย่าง ลักษณะท่ี ๓ เขียนคาอธิบายโดยกาหนดประเด็นย่อยที่ใช้พิจารณาเป็น เง่ือนไข และลด ความสาคัญของคะแนนลงโดยใช้คาอธิบายเพื่อให้เห็นความแตกต่างของคะแนน เช่น ส่วนมาก ส่วนใหญ่ ส่วน น้อย มากทส่ี ดุ มาก ปานกลาง น้อย น้อยทส่ี ดุ พอประมาณ บ้าง บางครง้ั คอ่ นขา้ ง หรอื ระบุจานวนที่ปฏิบัติได้ เช่น จานวน ๕ ขอ้ จานวน ๔ ขอ้ จานวน ๓ ขอ้ เปน็ ตน้ ดังตัวอย่าง

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ๒๗ จะเห็นได้ว่า การกาหนดคาอธิบายคะแนน หรือระดับการปฏิบัติในลักษณะนี้ ค่อนข้างยุ่งยาก เน่ืองจากผู้ประเมินต้องเขียนอธิบายลักษณะของผลงาน หรือพฤติกรรมที่พบ หรือกระบวนการท่ีต้องการให้ เกิดข้ึนอย่างละเอียด เพ่ือให้คะแนนได้ตรงกับลักษณะของงานท่ีพบ กล่าวคือ ต้องมีคะแนนให้สาหรับทุก ผลงานทปี่ ระเมนิ น่นั เอง การประเมินผลการเขยี นเรื่องจากภาพ องค์ประกอบ ๓ คะแนน คาอธบิ ายคะแนน ๑ คะแนน ๐ คะแนน ทีป่ ระเมิน ๔ คะแนน มี ๓ - ๔ ๒ คะแนน มี ๑ รายการ ไม่มีงานเขียน รายการใน ในคาอธบิ าย ๑. เนือ้ เรื่อง - น่าสนใจ คาอธบิ าย มี ๒ รายการ ๔ คะแนน ๔ คะแนน ในคาอธบิ าย ๔ คะแนน - สอดคล้องกบั ภาพ - เป็นลาดบั ไม่วกวน เขียนถูกตอ้ ง เขียนผดิ เปน็ สว่ นนอ้ ย การ เขยี นผิดเป็น ส่วน ไม่มงี านเขยี น - มแี นวคดิ ทกุ คา เลือกใช้ เลือกใชภ้ าษา คอ่ นข้าง ใหญ่ และ เลอื กใช้ - มีส่วนนา เนอื้ เร่ือง ภาษาไดอ้ ยา่ ง เหมาะสม หรอื เขียน ภาษา ไมเ่ หมาะสม และสรปุ เหมาะสม ถกู ตอ้ งทุกคา แต่เลือกใช้ ภาษาไมค่ ่อย เหมาะสม ๒. การใชภ้ าษา ผลงาน สะอาด ไมม่ ี รอยลบ ผลงานมรี อยลบบา้ ง ไม่มีงานเขยี น ๓. ความสะอาด ๔. เวลา เขียนเสร็จทนั เวลา เขยี นเกนิ เวลา ท่กี าหนด ที่กาหนดหรอื ไม่มีงานเขียน จากตวั อย่างและวิธีการประเมนิ ผลแบบจาแนกดังกล่าวข้างต้น จะพบว่ามีความเหมาะสม สาหรับการ วัดผลและประเมินผลเพ่ือวินิจฉัยจุดเด่น จุดด้อยของผู้เรียน หรือให้ข้อมูลย้อนกลับ แก่ผู้เรียนเกี่ยวกับผลการ เรียนรู้ ผู้เรียนสามารถพัฒนาหรือปรับปรุงผลงานหรือการปฏิบัติให้เป็นไป ตามความคาดหวังของระดับการ ปฏบิ ัตไิ ด้อย่างชดั เจน สอดคลอ้ งกับมาตรฐานและผลการเรยี นรู้ ทีก่ าหนดไว้ ๔.๓ แบบบันทึกคะแนนหรือแบบประเมินผลงาน เป็นแบบบันทึกคะแนน สาหรับให้ผู้ประเมิน ใช้ กรอกคะแนนทไ่ี ด้จากการตรวจผลงาน แบบบันทกึ มีสว่ นประกอบหลัก ดงั นี้ - ส่วนต้น ประกอบด้วย ชอ่ื แบบประเมนิ กลมุ่ สาระ ชนั้ ภาคเรยี น ปกี ารศึกษา เป็นตน้ - ส่วนคาช้ีแจง ประกอบด้วย คาอธบิ ายสาหรับผ้ใู ช้ เพือ่ ให้รวู้ ่า แบบประเมินน้ัน ประกอบดว้ ย อะไรบา้ ง รายการทีป่ ระเมนิ มีอะไรบ้าง ใหค้ ะแนนอย่างไร เปน็ ตน้ - ส่วนตาราง ประกอบดว้ ย คอลมั น์ตา่ ง ๆ เช่น เลขท่ี ช่อื -สกลุ รายการประเมนิ รวมคะแนน สรุป เปน็ ตน้ - ส่วนท้าย ประกอบดว้ ย เกณฑ์การตดั สินหรือการสรุปคะแนน ทไี่ ด้ และ ลงชอื่ ผปู้ ระเมนิ พรอ้ ม วัน เดือน ปี

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ๒๘ เครือ่ งมือทใี่ ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมลู เครื่องมือที่ใช้ในการเกบ็ รวมรวบข้อมลู ทน่ี ิยมใช้ในการประเมนิ ผลเรียนรู้ ไดแ้ ก่ ๑. แบบทดสอบ (Test) หมายถึง ชุดของคาถามที่ใช้วัดพฤติกรรมด้านความรู้แบบทดสอบมีหลาย ลักษณะ เชน่ ๑.๑ แบบทดสอบแบบอัตนยั เปน็ แบบทดสอบท่ีกาหนดปัญหาหรือคาถามให้ผ้ตู อบเขียนตอบ ยาว ๆ ภายในเวลาทีก่ าหนด นิยมใช้วดั ความสามารถในการใช้ภาษาความคดิ การแสดงออกของอารมณ์ เจตคติ ฯลฯ ตวั อยา่ ง ขนุ ชา้ งและขุนแผนมนี สิ ยั เหมือนและต่างกนั อย่างไร จงอธิบาย ตอบ ............................................................................... ๑.๒ แบบทดสอบแบบปรนยั เปน็ แบบทดสอบทกี่ าหนดให้ตอบสน้ั ๆ หรือกาหนดคาตอบให้ เลอื ก เชน่ แบบถูก- ผิด แบบเติมคา แบบจบั คู่ และแบบเลือกตอบ ตวั อย่างแบบถกู - ผดิ คาสง่ั เขียนเคร่อื งหมาย หนา้ ข้อความท่ีถูกต้อง และเขียนเครอ่ื งหมาย  หนา้ ข้อความท่ไี ม่ถูกต้อง …….… พยญั ชนะไทยมี ๔๔ รปู ๒๔ เสยี ง .......... พยญั ชนะไทยลาดับท่ี ๑๑ คอื “ ม ” ตัวอยา่ งแบบเตมิ คา คาสงั่ เขียนเติมคาลงในชอ่ งว่างของประโยค เพื่อทาใหป้ ระโยคมีความสมบูรณ์ ภาษาไทยเป็นภาษาตระกลู ............. ตวั อยา่ งแบบจบั คู่ คาสงั่ นาอกั ษร ก ข ค .... ดา้ นขวามือ มาเขียนเตมิ ลงหน้าขอ้ ที่มีความสัมพนั ธก์ ัน .............๑. กว่าถว่ั จะสกุ ก. นา้ เย็นปลาตาย .............๒. นา้ ร้อนปลาเป็น ข. เสือพงึ่ ปาุ .............๓. นา้ พึง่ เรอื ค. งาก็ไหม้ ตวั อย่างแบบเลือกตอบ คาสั่ง เขียนวงกลมล้อมรอบอักษร ก ข ค และ ง ท่ีถกู ต้องท่สี ุดเพยี งขอ้ เดยี ว ประโยคใดมีคาสรรพนามมากท่ีสดุ ก. ฉันเกลยี ดเขามาก ข. คุณอยา่ มายงุ่ กับฉัน ค. เอง็ ไปใหพ้ ้นหน้าขา้ ง. เราเห็นเธอคยุ กบั เขา

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ๒๙ ๒. แบบสอบถาม (Questionnaires) หมายถึง รายการคาถามที่ส่งไปให้คนกลุ่มหนึ่งเป็นผู้เขียนตอบ เก่ียวกับเร่ืองที่เราต้องการทราบ อาจเป็นคาถามท่ีถามข้อเท็จจริง ความเห็นความรู้สึก การประเมินผลการ ปฏบิ ตั ิ ฯลฯ ลักษณะของคาถามมี ๒ ประเภท คอื แบบคาถามปลายเปดิ และแบบคาถามปลายปดิ ๒.๑ แบบคาถามปลายเปิด เปน็ คาถามทีเ่ ปิดโอกาสใหผ้ ตู้ อบเขียนตอบได้อย่างอสิ ระ ไม่ มีการกาหนดคาตอบไว้ ตวั อย่าง ผเู้ รียนชอบเรียนภาษาไทยเพราะเหตุใด ...................................................................................................... ๒.๒ แบบคาถามปลายปิด เป็นแบบคาถามที่ให้ผตู้ อบเลือกตอบจากคาตอบที่กาหนดไว้ แน่นอน ลกั ษณะของคาตอบแบง่ ได้ คือ ๒.๒.๑ แบบเลือกตอบอย่างใดอยา่ งหนงึ่ จากสองคาตอบ เช่น ผู้เรียนชอบนางวนั ทอง หรือไม่ ( ) ชอบ ( ) ไมช่ อบ เพราะ ............................... ๒.๒.๒ แบบเลอื กคาตอบเดยี ว จากหลายคาตอบ เช่น ผูเ้ รยี นคิดว่าขนุ แผนเป็นคนอย่างไร ( ) เก่ง ( ) เจา้ ชู้ ( ) รักชาติ ( ) รักเดยี วใจเดยี ว ( ) กล้าหาญ ( ) ชอบผจญภัย ๒.๒.๓ แบบเลือกคาตอบเดียวไดห้ ลายคาตอบ เช่น ผูเ้ รียนชอบเรียนภาษาไทย เพราะเหตุใด (ตอบได้มากกว่า ๑ ขอ้ ) ( ) เป็นภาษาประจาชาติ ( ) หลกั สูตรกาหนดใหเ้ รียน ( ) รกั วชิ าภาษาไทย ( ) ต้องการอนุรักษภ์ าษาไทย ( ) เป็นเครอ่ื งมือใชเ้ รียนรวู้ ชิ าตา่ ง ๆ ( ) อ่ืน ๆ (โปรดระบุ) .........................

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ๓๐ ๒.๒.๔ แบบจดั เรียงลาดับความสาคญั โดยใส่หมายเลข ๑ ๒ ๓ .... ตามลาดับ เช่น ผเู้ รยี นชอบวรรณคดไี ทยเร่ืองใด (เรยี งลาดับโดยเขยี นหมายเลข ๑ ๒ ๓ ๔) ( ) พระอภยั มณี ( ) ขุนช้างขนุ แผน ( ) รามเกียรต์ิ ( ) อเิ หนา ๒.๒.๕ แบบมาตราประมาณค่า เป็นแบบเลือกตอบจากลาดับความสาคญั ท่ี กาหนดให้ ซ่งึ อาจมีความสาคัญ ๓-๕ ลาดับ ดงั น้ี - แบ่งเป็น ๓ ลาดับ คอื มาก เทา่ กบั ๓ คะแนน ปานกลาง เท่ากับ ๒ คะแนน นอ้ ย เทา่ กับ ๑ คะแนน - แบง่ เปน็ ๔ ลาดบั คอื มาก เทา่ กบั ๔ คะแนน ปานกลาง เทา่ กบั ๓ คะแนน น้อย เท่ากับ ๒ คะแนน น้อยทส่ี ุด เทา่ กบั ๑ คะแนน - แบ่งเปน็ ๕ ลาดับ คือ มากทส่ี ุดเท่ากบั ๕ คะแนน มาก เท่ากับ ๔ คะแนน ปานกลาง เทา่ กับ ๓ คะแนน นอ้ ย เท่ากับ ๒ คะแนน น้อยท่ีสดุ เทา่ กับ ๑ คะแนน คาส่งั เขียนเครอ่ื งหมาย  ลงในชอ่ งที่ตรงกบั ความคดิ ของผ้เู รียนในเรอ่ื ง “คาควบกลา้ ” ๓. แบบสัมภาษณ์ (Interview) เป็นเคร่ืองมือท่ีใช้ในการเก็บข้อมูลจากผู้เรียนหรือกลุ่มตัวอย่าง ซ่ึง ต้องใช้เวลามากในการเก็บข้อมูล เพราะผู้สัมภาษณ์ต้องอ่านคาถามและจดบันทึกคาตอบในขณะที่สัมภาษณ์ ดว้ ย ผ้สู มั ภาษณค์ วรฝกึ และสาธติ การสมั ภาษณก์ อ่ นไปสัมภาษณ์จรงิ แบบสมั ภาษณ์แบง่ เป็น ๒ ลักษณะ คือ ๓.๑ แบบสมั ภาษณ์ท่ีมีคาถามที่แน่นอน (Structured interview) เป็นแบบสัมภาษณ์ท่ีมี คาถามกาหนดไว้แน่นอน เชน่ ผู้เรียนมเี วลาในการฝึกทักษะการอา่ นออกเสยี งหรือไม่ คาตอบ ...............................................................

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ๓๑ ๓.๒ แบบสมั ภาษณ์ทไี่ ม่มีคาถามที่แนน่ อน (Unstructured interview) เปน็ แบบสัมภาษณท์ ่ี ไมม่ ีคาถามกาหนดไว้แน่นอน ผูส้ ัมภาษณส์ ามารถเปล่ยี นคาถามได้ตามสถานการณ์ แตต่ อ้ งสจู่ ดุ หมายเดยี วกนั เช่น ผเู้ รยี นมขี ้อเสนอแนะในการสอนภาษาไทยอย่างไรบ้าง คาตอบ ............................................................. ๔. แบบสังเกต (Observation) เป็นเคร่ืองมือรวบรวมข้อมูลท่ีทาได้ง่าย ผู้สังเกต จะสังเกตพฤติกรรม เป็นรายบุคคลหรือกลุ่มในเวลาใดเวลาหน่ึงก็ได้ ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของ การสังเกต ว่าต้องรู้หรือได้ข้อมูล อะไรจากผู้สังเกต ซ่ึงต้องสังเกตขณะที่ผู้ถูกสังเกตมีการปฏิบัติ กิจกรรม เช่น พฤติกรรมการทางานกลุ่ม มารยาทในการพดู วิธีการอ่านออกเสียง บรรยายการ ในการอภปิ ราย เป็นต้น ในการสังเกตแต่ละคร้ัง ผู้สังเกต ควรจะเตรียมแบบบนั ทกึ การสังเกตให้ พร้อมด้วย การสังเกตแบ่งออกเปน็ ๒ ประเภท คอื ๔.๑ การสงั เกตโดยเข้าไปร่วม (Participant observation) เปน็ การสงั เกต ทีผ่ ้สู งั เกตเข้าไปมี ส่วนร่วมหรือเป็นสมาชิกของกลุ่ม และคอยสังเกตและจดบันทึกพฤติกรรมท่ีพบ เช่น แบบสังเกตการพูดแสดง ความคิดในการทางานกลุ่ม คาชี้แจง ๑. สังเกตการพูดแสดงความคดิ เหน็ ของสมาชกิ ทุกคนในขณะท่ีทางานกลุ่ม โดยเขยี น เครื่องหมาย ลงในชอ่ งทีต่ รงกับพฤติกรรมที่สงั เกตพบ ๒. ระดบั ของพฤตกิ รรมทสี่ งั เกตแบ่งเปน็ ๓ ระดบั คือ ๒ หมายถงึ ดี ๑ หมายถึง พอใช้ ๐ หมายถึง ต้องปรับปรุง ๔.๒ การสงั เกตโดยไมเ่ ขา้ ไปรว่ ม (Non – participant observation) เป็น การสังเกตที่ผู้สังเกตไม่เข้า ไปมีส่วนร่วมหรือเป็นสมาชิกของกลุ่ม แต่จะคอยสังเกตอยู่นอกกลุ่ม และจดบันทึกพฤติกรรมที่พบ โดยท่ีกลุ่ม อาจรู้ตวั หรือไม่รู้ตัวก็ได้ ลักษณะของแบบสังเกตเหมือนกับ ข้อ ๔.๑ เพียงแต่ผู้ประเมินไม่ได้เข้าไปอยู่ในกลุ่มที่ ประเมิน ตัวอย่างเคร่ืองมือท่ีใช้ในการประเมินผลการเรียนรู้ภาษาไทย ดังกล่าวข้างต้นเป็น เพียงตัวอย่างที่ เสนอแนะเป็นแนวทางในการที่จะไปศึกษาหาความรู้เพ่ิมเติม จึงหวังว่า นักศึกษา จะไปศึกษาเอกสารต่าง ๆ เพม่ิ เติม และฝึกฝนการสร้างแบบประเมินลักษณะตา่ ง ๆ ใหช้ านาญ ตอ่ ไป

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ๓๒ วิธีประเมินผลการเรียนรภู้ าษาไทยตามหลกั สูตรการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน ตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐานได้กาหนดให้สถานศึกษาได้ ประเมนิ ผลการเรียนรใู้ น 8 กลุม่ สาระ โดยทาการประเมนิ ใหค้ รอบคลุม 3 ด้านคือ 1. ดา้ นความรู้ การพฒั นาผเู้ รยี นตามมาตรฐานการเรียนรู้ คือ การพัฒนาผู้เรียนด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) ตามจดุ ม่งุ หมายทางการศกึ ษาของ Bloom และคณะ ตามท่ไี ดก้ ลา่ วมาแล้วนน่ั เอง 2. ดา้ นทกั ษะ กระบวนการ การพัฒนาผู้เรียนด้านทักษะในสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เช่น ทักษะในการอ่าน การฟัง การดู การพูด การเขียนการสื่อสารต่าง ๆ การทางานร่วมกับกลุ่มรวมทั้งกระบวนการคิดต่าง ๆ เช่น กระบวนการคิดแก้ปญั หากระบวนการคดิ ในเชงิ สรา้ งสรรค์ เป็นต้น 3. ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ การพัฒนาผู้เรียนด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เป็น การพัฒนาผู้เรียนด้านจิตพิสัย (Affective Domain) ซึ่งเป็นพฤติกรรมทางด้านอารมณ์ความรู้สึก และ บคุ ลกิ ภาพทีต่ ้องการให้พฒั นาไปในทศิ ทางท่ีพงึ ประสงค์ เช่น ความสนใจ เจตคติ ค่านิยม จริยธรรม หรือ คุณลกั ษณะอันพึงประสงคต์ า่ ง ๆ ท่ีสถานศึกษาเปน็ ผู้กาหนดไว้ในหลกั สูตร การวดั ด้านความรู้ การวัดด้านความรู้ คือการวัดด้านพุทธิพิสัย ซึ่งวิธีการที่ใช้วัดคือการทดสอบ โดยใช้แบบทดสอบที่ เหมาะสม แบบทดสอบมหี ลายชนิด ดังต่อไปน้ี 1. แบบทดสอบความเรยี ง (Essay Test) เป็นแบบทดสอบที่วัดความสามารถในการบรรยาย อธิบาย และแสดงเหตุผลประกอบการ อธิบาย แบบทดสอบความเรียง สามารถวัดความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ สังเคราะห์ และการประเมิน ค่าได้ดี แต่จะมีปัญหาในด้านความลาเอียงในการให้คะแนนดังนั้น ผู้ตรวจจะต้องกาหนดเกณฑ์ในการให้ คะแนนอย่างชัดเจน ก็จะแกป้ ญั หาได้ 2. แบบทดสอบเตมิ คาหรอื ข้อความ (Completion Test) เป็นแบบทดสอบท่ีวดั ความสามารถในการหาคาหรือข้อความท่สี อดคลอ้ งกับประโยคที่ กาหนดให้ 3. แบบทดสอบถกู -ผดิ (True-False Test) ลกั ษณะข้อสอบแบบน้จี ะกาหนดข้อความหรอื เรื่องราวมาให้ แล้วให้ผตู้ อบพจิ ารณาว่าถูก หรือผดิ ใชห่ รือไม่ใช่ จริงหรอื เทจ็ คาตอบจงึ เปน็ ไปได้ 2 กรณเี ท่านั้น 4. แบบทดสอบจบั คู่ (Matching Test) แบบทดสอบชนดิ นีจ้ ะกาหนดรายการให้ 2 รายการ เพื่อใหผ้ ตู้ อบพจิ ารณาความเกี่ยวข้อง ระหวา่ ง 2 รายการ เพือ่ จะนามาจับคูใ่ หเ้ หมาะสม

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ๓๓ 5. แบบทดสอบเลือกตอบ (Multiple Choice) แบบทดสอบเลือกตอบประกอบด้วย 2 สว่ น คือ ส่วนทีเ่ ปน็ คาถามและสว่ นท่ใี นตัวเลือก หลายตัวเลือก โดยตวั เลือกจะแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ตัวถูก และตัวลวง ในการวัดด้านพุทธิพิสัยผู้สอนสามารถเลือกใช้แบบทดสอบหลากหลายให้เหมาะสมกับผู้เรียน และ เหมาะสมกับจุดประสงคท์ ี่จะวัดเพอื่ พัฒนาผูเ้ รียนได้ เตม็ ศักยภาพ การวดั ดา้ นทกั ษะ กระบวนการ มาตรฐานการเรยี นรู้ดา้ นทักษะเป็นมาตรฐานที่กาหนดให้ผู้เรียนท่ีผ่านการเรียนรู้แล้วควรจะปฏิบัติได้ เพราะทักษะเป็นความสามารถในการปฏิบัติสิ่งนั้นได้อย่างคล่องแคล่ว โดยเฉพาะวิชาภาษาไทยจะเน้นทักษะ ในการอ่าน ฟัง ดู พดู และเขียน เพอ่ื พัฒนาผู้เรยี นให้มคี วามสามารถในการสื่อสารกับบคุ คลอืน่ 1. การวัดทกั ษะการอ่าน การอ่านเป็นการแปลความหมายจากคาหรือข้อความที่ให้อ่าน การอ่านจึงต้องใช้ ความสามารถในการเข้าใจความหมายของคาหรือข้อความเหล่านั้นให้ชัดเจน การอ่านอาจจะแบ่งได้เป็น 2 ประเภทคอื 1) การอ่านในใจ คือ การอ่านไม่ออกเสียง มุ่งวัดเฉพาะความเข้าใจจากข้อความที่ให้อ่าน ม่งุ ที่จะใหเ้ กบ็ สาระเรื่องราวทสี่ าคญั โดยไม่สนใจเสยี งที่อ่าน 2) การอ่านออกเสียง คือ การอ่านท่ีให้ออกเสียงให้ถูกต้องตามหลักการอ่านคา หรือ เคร่ืองหมายต่าง ๆ นอกจากนี้การอ่านยังเป็นการฝึกให้ผู้เรียนสามารถอ่านได้ทั้งร้อยแก้ว และร้อยกรองให้ ถูกตอ้ งตามหลักการอ่านคาประพนั ธ์เหล่านัน้ ในการวัดทักษะการอ่าน สามารถใช้เครื่องมือประกอบการสังเกตจากการอ่านของนักเรียน เช่น แบบสารวจรายการ หรือมาตราส่วนประเมินค่า ตามที่ได้กล่าวมาแล้วในตอนต้น หรือกาหนดเกณฑ์การ ประเมนิ แบบ Rubric ตัวอย่างเกณฑ์การประเมิน “ความสามารถในการอ่าน” โดย สมศักด์ิ สินธุระเวชญ์ (2545, หน้า 102-103) ระดับ ดีมาก - อ่านและเข้าใจเรอ่ื งยากๆ - สนกุ สนานและสนใจด้วยตนเองอย่างอิสระ - สรุปได้อยา่ งถูกตอ้ ง - ใชข้ อ้ คิดเหน็ และใชห้ นงั สอื สนับสนุนความคิดเห็นของตน - ใชก้ ลยุทธ์ต่าง ๆ ในการอานเพื่อการเขา้ ใจเร่อื งท่ีแตกต่างกัน ระดบั ดี - อา่ นและเข้าใจสิ่งท่หี ลากหลายได้อยา่ งดี - อา่ นเงียบ ๆ ได้ - เลา่ เรอ่ื งได้ - เรมิ่ ตั้งข้อสังเกต

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ๓๔ - ใช้กลยุทธใ์ นการอ่านเพือ่ ความเข้าใจความหมาย ระดับ พอใช้ - อา่ นและเขา้ ใจส่ิงท่ีอ่านท่ีมเี นื้อหาส้ัน ๆ มกี ารอธบิ ายง่ายๆ - ชอบอ่านเสียงดัง - ตอ้ งการความช่วยเหลอื ในการอ่านทุกครงั้ - เขา้ ใจเพยี งหนงั สอื ในระดับช้นั ของตนเองเท่าน้ัน ระดบั ไมผ่ า่ น - ต้องการความช่วยเหลอื ในการอ่านทกุ คร้งั - จับใจความเรื่องท่อี ่านไมไ่ ด้ - ไม่ร้คู วามหมายตัวหนังสือ - อ่านตามลาพังไมไ่ ด้ 2. การวัดทักษะการเขยี น การเขียนเป็นการส่ือสารที่ถ่ายทอดออกมาเป็นตัวอักษร เพ่ือสื่อความรู้ ความคิด และ ความรสู้ กึ นกึ คดิ ตา่ ง ๆ จากผูเ้ ขียนไปสผู่ อู้ า่ น ประพนธ์ เรอื งณรงค์ และคณะ (2545, หน้า 113-114) ได้ กล่าวถึงจดุ มุ่งหมายของการเขยี น และลักษณะการเขียนท่ีดีไว้ดังน้ี 2. 1 จดุ มงุ่ หมายของการเขียน 1) การเขียนเพื่อเล่าเรื่อง เป็นการเขียนที่ผู้เขียนต้องการเล่าเร่ืองราวเหตุการณ์ ตา่ ง ๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ หรือท่ตี นรับรู้มาให้ผอู้ ื่นทราบ เชน่ เขยี นข่าว การเลา่ ประวตั ิบุคคลหรอื สถานท่ี เป็นตน้ 2) การเขียนเพื่ออธิบาย เป็นการเขียนที่ผู้เขียนต้องการช้ีแจง หรืออธิบายส่ิงหนึ่ง สงิ่ ใดใหผ้ อู้ ่านเกิดความเขา้ ใจอย่างชดั เจน เช่น การเขียนอธิบายความหมายของคาศัพท์ การอธิบายข้ันตอน การทาสง่ิ ต่าง ๆ เปน็ ต้น 3) การเขียนเพ่ือแสดงความคิดเห็น เป็นการเขียนท่ีผู้เขียนต้องการเสนอความ คิดเห็น ข้อเสนอแนะ หรอื การวิเคราะห์วิจารณ์ท่ีมีต่อเรื่องหน่ึงเร่ืองใด เช่น การวิเคราะห์ข่าว การวิจารณ์ วรรณกรรม หรอื วจิ ารณเ์ หตุการณต์ ่าง ๆ เป็นตน้ 4) การเขียนเพ่ือสร้างจินตนาการ เป็นการเขียนท่ีผู้เขียนต้องการถ่ายทอด จินตนาการ อารมณ์ และความรู้สกึ ดว้ ยการใชภ้ าษาอย่างมีวรรณศิลป์ เช่น เร่ืองสั้น นวนิยาย กวีนิพนธ์ ตา่ ง ๆ เป็นต้น 5) การเขียนเพ่ือกิจธุระ เป็นการเขียนท่ีผู้เขียนต้องการติดต่อธุระกับบุคคลหรือ กลุม่ บุคคลต่าง ๆ การเขียนลักษณะนีม้ รี ูปแบบการเขียนและลักษณะการใช้ภาษาท่ีแตกต่างกันไปตามประเภท ของกิจธุระ เช่น การเขียนจดหมายส่วนตัว จดหมายธุรกิจ จดหมายราชการ หรือการเขียนประกาศของ ราชการ เปน็ ตน้ 6) การเขียนเพื่อโน้มน้าวใจ เป็นการเขียนที่ผู้เขียนต้องการให้ผู้อ่านเปล่ียนแปลง ความคิดเจตคติ ความเชื่อ หรือพฤติกรรม เพื่อให้คล้อยตามความคิดของผู้เขียน เช่น การโฆษณาสินค้า การหาเสยี งเลือกตง้ั เปน็ ต้น

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ๓๕ 2. 2 ลักษณะของงานเขยี นท่ดี ี 1) ความถูกต้อง งานเขียนที่ดีควรมีเน้ือหาที่ถูกต้องตามข้อเท็จจริง รูปแบบการ นาเสนอท่ีถูกต้องตามประเภทของงานเขียน การใช้ภาษาที่ถูกต้องตามหลักภาษา และระดับภาษาตลอดจน การอ้างองิ ท่ีถกู ต้องตามแบบแผนของการอ้างองิ 2) ความชัดเจน งานเขยี นท่ดี คี วรสื่อความหมายใหผ้ ู้อา่ นเขา้ ใจได้อย่างชัดเจน ตรง ตามวัตถุประสงค์ของการสื่อสาร รวมทั้งมีวิธีการเขียนท่ีทาให้ผู้อ่านเกิดมโนภาพจัดเจน ผู้เขียนจึงควร หลีกเล่ียงการใช้ถ้อยคาท่ีกากวม ไม่รัดกุม และการเว้นวรรคตอนผิด ตลอดจนระมัดระวังการใช้ถ้อยคาที่มี ความหมายโดยนยั ๓) ความสละสลวย งานเขียนท่ีดีควรมีการใช้ภาษาท่ีสละสลวย มีการใช้ถ้อยคา กระชบั ไมใ่ ช้ภาษาฟุมเฟือย และร้จู ักใชถ้ ้อยคาหลากหลาย เพอ่ื เลี่ยงความซา้ ซากอนั เกดิ จากการใชค้ าซ้า ๆ 4) ความสร้างสรรค์ งานเขียนท่ีดีควรมีความสร้างสรรค์ในด้านต่าง ๆ เช่น ความ สร้างสรรค์ทางความคดิ ความสรา้ งสรรคท์ างการใช้ภาษา และประโยชน์ในทางสรา้ งสรรคท์ ี่ผอู้ า่ นจะไดร้ บั ในการวัดทักษะการเขียน สามารถใช้เครื่องมือประกอบเพื่อประเมินผลการเขียน เช่น แบบสารวจ รายการ หรอื มาตราส่วนประเมินค่า หรอื การประเมินโดยกาหนดเกณฑ์ การประเมนิ แบบ Rubric ตัวอย่างเกณฑ์การประเมิน “ความสามารถในการเขียน” โดย สมศักดิ์ สินธุระเวชญ์ (2545, หน้า 107-108) ระดับ ดีมาก - ใช้เทคนิคต่าง ๆ เพ่อื กระตนุ้ ผ้อู ่านไดอ้ ย่างกวา้ งขวาง - เขยี นได้ดมี ชี ีวิตชวี า - ประโยค และคา หลากหลายชัดเจน - ควบคุมการใช้ศพั ท์และการวางประโยค - ไมม่ ขี อ้ ผิดพลาดในการเขียนและสะกดคา - มีคุณภาพที่แนน่ อนในการเขยี นแตล่ ะหน้า ระดบั ดี - ใชเ้ ทคนคิ ต่าง ๆ ไดห้ ลากหลายเพ่อื กระตุ้นใหผ้ ูอ้ า่ นเกดิ ความสนใจ - เขยี นได้ดชี วนตดิ ตามอ่าน - ความหลากหลายของประโยคซดั เจน - เลือกศพั ท์เหมาะสมชวนใหอ้ ่าน - มขี อ้ ผดิ พลาดเพียงเลก็ น้อยในการเขยี นและสะกดคา - แตล่ ะหน้ามคี ุณภาพไมแ่ นน่ อน ระดบั พอใช้ - เขยี นดว้ ยความต้งั ใจ - ไมไ่ ดเ้ นน้ จดุ สาคัญ - ใช้ประโยคงา่ ย ๆ และซ้า ๆ กัน

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ๓๖ - มีขอ้ ผดิ พลาดในรูปแบบและการสะกด แตย่ งั ดนู ่าอา่ น - ไมม่ เี ทคนคิ กระตนุ้ ผู้อืน่ ระดบั ไม่ผา่ น - มปี ระสบการณ์การเขียนน้อย - ใชค้ าคลุมเครือและสบั สน - ใช้โครงสร้างประโยคง่าย - ใชค้ าศัพทจ์ ากดั - ข้อผดิ พลาดเกิดขึ้นบอ่ ยครงั้ ในรูปแบบการสะกด ทาใหไ้ ม่น่าอ่าน ตัวอย่างการประเมินการเขียนรายงาน ในภาพรวมทั้งหมด โดยใช้ Rubric 5 ระดับ ซ่ึงกรมวิชาการ (2544, หนา้ 95) ได้เขยี นไว้ในคู่มอื การจัดการเรียนรกู้ ลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ระดบั คาอธิบาย 4 ดีเยี่ยม นักเรียนเขียนอธิบายหัวข้อเร่ืองที่เขียนได้ชัดเจน ให้เหตุผลท่ีแสดงถึงความสาคัญของ เรื่องได้อย่างสมบูรณ์ มีการสรุปที่ละเอียดชัดเจนทาให้เข้าใจได้ทันที ให้ข้อมูลท่ีเป็น ข้อเทจ็ จรงิ รายละเอยี ดตัวอยา่ ง เพือ่ สนับสนุนเร่อื งขอ้ เขยี น จัดทารวบรวม และแสดง ความคิดได้น่าอ่าน โครงสร้างประโยคมีความหลากหลาย การใช้ตัวสะกดไวยากรณ์มี ความถูกตอ้ ง มีบันทกึ แหล่งท่มี าของข้อมูลในแนวทางที่เหมาะสม 3 ดมี าก นักเรียนเขียนอธิบายหัวข้อเร่ืองท่ีเขียนได้ตามสมควร ให้เหตุผลสนับสนุนความสาคัญ ของเรื่อง มีการสรุปถ่ายทอดความคิดละเอียด แต่มีความชัดเจนน้อยกว่าระดับ 4 มี ข้อมูลสนับสนุนหัวข้อเร่ืองเพียงพอการเขียนต่อเนื่อง อ่านง่าย โครงสร้างประโยค ไวยากรณ์การสะกดคาโดยทว่ั ไปถกู ต้อง มกี ารบนั ทึกแหลง่ ท่ขี องขอ้ มูลได้เหมาะสม 2 ดี นักเรียนอธิบายและเขียนอธิบายหัวข้อเรื่องอย่างสรุป มีข้อมูลสนับสนุนเพียงเล็กน้อย ข้อเขียนมีลักษณะพ้ืน ๆ บางจุดมีความชัดเจน บางจุดยากท่ีจะเข้าใจ โครงสร้าง ประโยคโดยทั่วไปถูกต้อง แต่มีบางส่วนผิดพลาด มีการอ้างอิงแหล่งข้อมูล แต่มี รายละเอียดเลก็ น้อย 1 พอใช้ นักเรยี นไม่อธิบายหวั ข้อเร่อื ง ข้อมลู สนบั สนุนคลมุ เครอื และขาดข้อมลู สาคัญข้อเขยี น ขาดองคป์ ระกอบ และยากท่ีจะเขา้ ใจ มีความผิดพลาดของโครงสร้างประโยค มีการ อา้ งองิ แหล่งข้อมูลบา้ งไม่อา้ งองิ บ้าง 0 คณุ ภาพตา่ นกั เรียนไม่อธบิ ายหัวขอ้ เรอ่ื ง ไมม่ ีข้อสรุป ขอ้ เขียนไม่เปน็ ระบบ

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ๓๗ ตัวอย่างแบบประเมินการเขียนจดหมายสมัครงาน (ประพนธ์ เรืองณรงค์ และคณะ 2545, หน้า 180) ช่อื .................................นามสกุล................................ชนั้ .........................เลขประจาตัว....................... หวั ข้อเรอ่ื ง............................................................................................................................................. รายการทีป่ ระเมนิ ระดบั คะแนน 12345 1. รปู แบบถกู ต้อง 2. เนื้อหาครบถว้ น 3. เนือ้ หาเหมาะสมกับเรือ่ งที่เขียน 4. ระดบั ภาษาเหมาะสม 5. ประโยคถกู ตอ้ งตามหลักไวยากรณ์ 6. ภาษาสละสลวยกระชบั รตั กุมรวม รวม 3. การวดั ทกั ษะการฟงั และการดู การฟังและการดู หมายถึง การได้รับรู้เร่ืองราวต่าง ๆ จากแหล่งส่ือสาร เช่น เสียงภาพ หรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ท้ังท่ีได้ฟังหรือดูจากแหล่งต้นตอโดยตรง หรือผ่านส่ือต่าง ๆ เช่น วีดิทัศน์ อุปกรณ์ บันทึกเสียง โทรทัศน์ วิทยุ ภาพยนตร์ หรือผ่านระบบอินเทอร์เน็ต ฯลฯ แล้วผู้ฟังหรือดูเกิดการรับรู้เข้าใจ ความหมายของสิ่งที่ได้ฟังหรือได้เห็นมาน้ัน การฟังและดูจึงเป็นทักษะท่ีจาเป็นของการส่ือสารที่ใช้ในการ เรียนรแู้ ละในชวี ิตประจาวนั อย่างย่ิง ประพนธ์ เรืองณรงค์ และคณะ (2545, หน้า 229-247) ได้กล่าวถึงหลักของการฟังและ การดูอย่างมีประสิทธิภาพ การแสดงทัศนะต่อสารท่ีฟังหรือดู การฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณไว้ดังต่อไปน้ี 3.1 หลักของการฟงั และดูอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 1) ต้องรู้จุดมุ่งหมายของการฟังและดูว่ามีจุดมุ่งหมายเพ่ืออะไร จะทาให้ เตรียมพร้อมในการฟังและดไู ด้ เลอื กเร่ืองได้ เลือกสถานท่ไี ด้ 2) ต้องฟังและดูอย่างไม่มีอคติ การมีอคติจะไม่สามารถแยกแยะ วิเคราะห์ให้ตรง ประเด็นได้ 3) ให้ความร่วมมือในการฟังและดู เช่น ร่วมกิจกรรมจะช่วยให้การฟังและดู สมบรู ณ์ขึน้ 4) ต้องมีมารยาทในการฟังและดู เช่น มองสบตาผู้พูด รักษาความสงบ แสดง กริ ิยาอาการท่ีเหมาะสม ในการดูภาพไม่ควรขดี เขยี นหรือฉีกภาพ 5) ควรเตรยี มตวั ให้พร้อม ไปกอ่ นเวลา นงั่ แถวหนา้

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ๓๘ 3.2 การแสดงทศั นะตอ่ สารที่ฟงั และดู มีหลกั ในการแสดงทศั นะหรือความคดิ เหน็ ดงั นี้ 1) สาเหตุของการแสดงความคิดเหน็ จะตอ้ งบอกว่าเพราะเหตุใดจึงต้องแสดงความ คดิ เห็นต่อเร่ืองน้นั ๆ 2) ข้อสนับสนุนท่ีแสดงความคิดเห็น ไม่ว่าจะเป็นการต้ังข้อสังเกตสนับสนุนโต้แย้ง หรือในเชิงประเมนิ คา่ 3) ข้อสรุปของการแสดงความคิดเห็น เป็นการย้าประเด็นความคิดเห็นของตนให้ ชัดเจน นอกจากนี้ มารยาท และความเหมาะสมในการแสดงความคิดเห็นยังเป็นสิ่งที่สาคัญต่อการ ฟงั และดู ซ่ึงมีขอ้ เสนอแนะดังนี้ 1) ไม่ใชถ้ ้อยคารนุ แรงเกนิ ไป 2) ไมค่ วรอ้างองิ ข้อมลู เท็จ 3) แสดงความคดิ เห็นในเชงิ สร้างสรรค์ 4) ใช้ภาษาสภุ าพ 5) ไม่ควรมีอคติ 3. 3 การฟงั และดูอย่างมีวิจารณญาณ ผู้ทีม่ ีความสามารถนี้จะต้องมที กั ษะดังตอ่ ไปน้ี 1) ทักษะในการวิเคราะห์ 2) ทักษะในการตีความ 3) ทักษะในการประเมินค่า 4) ทกั ษะในการตดั สนิ ใจ 5) ทักษะในการนาไปประยกุ ต์ใช้ วิธีการวัดทักษะในการฟังและดู สามารถวัดได้โดยการใช้เคร่ืองมือประกอบการสังเกตจาก แบบฝกึ หัด งานท่ีมอบหมายใหท้ า หรือการปฏิบตั ิ โดยใชแ้ บบสารวจรายการ หรือมาตราสว่ นประเมินค่า 4. การวดั ทักษะในการพดู การพูดเป็นทักษะทางการสื่อสารท่ีใช้ในชีวิตประจาวันมากท่ีสุด การพูดเป็นการส่ือสารโดย ใช้ภาษาเสยี ง หรอื กรยิ าท่าทางต่าง ๆ เพ่ือส่ือความให้บุคคลอื่นได้รับรู้และเข้าใจ ทักษะในการพูดที่สาคัญท่ี ผู้เรียนควรได้รับการฝึกฝน เช่น พูดเพื่อแสดงความคิดเห็น การพูดในโอกาสต่าง ๆ เช่น พูดแนะนาตน พูดสนทนาทางโทรศัพท์ การพูดเล่าเร่ือง หรือเหตุการณ์ต่าง ๆ การพูดเชิญชวนการพูดอวยพร ฯลฯ โดยมี หลักทัว่ ไปในการพดู ดงั นี้ 4.1 ศกึ ษาเรอื่ งราวท่จี ะพดู ให้เข้าใจ 4.2 วิเคราะหเ์ รอ่ื งราวทจ่ี ะพดู ทกุ แง่ทุกมุม 4.3 กาหนดจุดประสงค์ในการพูดอยา่ งชัดเจน 4.4 เตรยี มเน้อื หาทจี่ ะพูดใหต้ รงตามจุดประสงค์ของการพดู 4.5 ศึกษาธรรมชาติของผู้ฟังเพือ่ เตรยี มการพดู ให้เหมาะสม 4.6 ใชภ้ าษาใหเ้ หมา

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ๓๙ 4.7 ปฏิบตั ิกบั ผู้ฟงั อย่างมีมารยาททงั้ คาพดู น้าเสยี ง และกิริยาท่าทาง 4.8 ควรรักษาเวลาในการพูดอย่างเหมาะสม การวัดทกั ษะในการพูด จะมวี ธิ ีปฏบิ ัตเิ ชน่ เดียวกันทักษะอน่ื ๆ วธิ กี ารทีเ่ หมาะสมที่สุดคือการให้ผู้เรียน ได้ปฏิบัติจริง คือให้แสดงการพูด แล้วครูสังเกตการพูด โดยใช้เครื่องมือประกอบการสังเกตเช่นเดียวกัน ตัวอยา่ งแบบประเมนิ การพูดรายบุคคล (ประพนธ์ เรืองณรงค์ และคณะ 2545, หน้า 250) รายชือ่ นักเรียนที่พดู การ ความ เตรยี ม สมบูรณ์ การใช้ ความ คะแนน ความ ของ น้าเสียง คล่องแคล่ว รวม พร้อม เน้ือหา 5 5 5 5 20 ตวั อย่างแบบประเมนิ การพดู เชญิ ชวนและการอวยพร (ประพนธ์ เรอื งณรงค์ และคณะ 2545, หนา้ 270) ชอ่ื .................................นามสกุล................................ชนั้ .........................เลขประจาตัว....................... หัวขอ้ เรอ่ื ง............................................................................................................................................. รายการที่ประเมนิ ระดับคะแนน 12345 1. การเตรยี มความพรอ้ มในการพดู 2. การเสนอเน้ือหาสาระตรงประเดน็ 3. การใชน้ า้ เสยี งลีลาและถ้อยคา 4. การเสนอรูปแบบในการพดู รวม การวดั ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ การจัดการศึกษาตามหลกั สตู รการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน กาหนดให้จัดการเรียนรู้ในแต่ละสาระการเรียนรู้ โดยมุ่งพฒั นาผู้เรียนดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ โดยเฉพาะคุณลักษณะ อันพึงประสงคท์ ส่ี ถานศกึ ษาเป็นผู้กาหนดไวใ้ นหลกั สูตรใหพ้ ัฒนาพร้อม ๆ ไปกับความรู้ทักษะหรือกระบวนการ ต่าง ๆ วิธีการวัดด้านน้ีสามารถใช้เครื่องมือวัดคุณลักษณะต่าง ๆ เช่น แบบวัดเจตคติ แบบวัดความสนใจ แบบสังเกตพฤติกรรมต่าง ๆ เช่น ความรับผิดชอบ การมีมนุษยสัมพันธ์กับบุคคลอ่ืน การมีส่วนร่วมใน กิจกรรมกลุ่ม ความมีน้าใจ ความมีเหตุผล การยอมรับฟังความคิดเห็นของบุคคลอ่ืน ความเป็นผู้นา ฯลฯ

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ๔๐ ผู้ที่ทาหน้าที่ประเมินนั้นอาจจะเป็นครู ผู้สอน ตัวนักเรียนเอง เพื่อน หรือผู้ปกครอง จะทาให้ผลการ ประเมินเป็นการประเมนิ ผูเ้ รยี นตามสภาพจริงทีเ่ หมาะสม ประโยชน์ของการวัดและประเมินผลตามสภาพจรงิ การวัดและประเมินผลแต่ละคร้ังย่อมมีวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกันทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเป้าหมายที่ผู้สอน ตอ้ งการใหผ้ ้เู รียนเปล่ียนแปลงพฤตกิ รรมทางภาษาผลทีไ่ ด้จากการวัดและประเมินผลตามสภาพจริงจะนาไปใช้ ประโยชนใ์ นด้านต่าง ๆ ซงึ่ Groulund (1976) ไดน้ าเสนอไวด้ ังน้ี ๑. นาผลมาปรับปรุงการสอนภาษาไทยในส่วนที่เป็นข้อบกพร่องเช่นจุดประสงค์เนื้อหาในบทเรียน กิจกรรมการเรยี นการสอนสื่อตลอดจนการวดั และประเมินผลให้เหมาะสมกบั ความสามารถของผ้เู รียน ๒. นาผลเสนอผ้ปู กครองเพ่อื จะได้รคู้ วามหมายในการเรยี นของผูเ้ รียน. เพื่อจะไดห้ าทางส่งเสริมให้เด็ก ของตนมพี ัฒนาการในการเรียนเตม็ ตามศักยภาพท่ีมีอยู่ ๓. นาผลการเรยี นเสนอผู้สอนวิชาอื่น ๆ เพื่อจะได้ปรับปรุงส่ือการเรียนให้เหมาะสมกับความสามารถ ของผู้เรียน ๔. นาผลการเรียนไปใช้ในการบริหาร ช่วยให้ผู้บริหารใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการ เรยี นภาษาไทยในโรงเรียน ๕. นาผลการเรียนไปใช้ในการวิจัยในชั้นเรียน เป็นการศึกษาทดลองเพื่อหาคาตอบผลของคาตอบจะ ใชเ้ ปน็ แนวทางในประยุกตว์ ธิ สี อนใหเ้ หมาะสมกบั ผเู้ รียน กลา่ วโดยสรุป ผลทีไ่ ด้จากการวัดและประเมินผลตามสภาพจริงจะนาไปใช้ในการปรับปรุงกระบวนการ สอนภาษาไทย กจิ กรรมส่งเสริมการเรียนภาษาไทยในโรงเรียนตลอดจนงานวิจยั ในชนั้ เรียน ประโยชนข์ องการวดั และประเมินผลตามสภาพจริง การวดั และประเมนิ ผลแต่ละครง้ั ยอ่ มมวี ตั ถุประสงคท์ ่ีแตกต่างกันทัง้ น้ขี ้ึนอยู่กับเปา้ หมายท่ีผสู้ อน ต้องการให้ผ้เู รียนเปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรมทางภาษาผลทีไ่ ดจ้ ากการวดั และประเมินผลตามสภาพจรงิ จะนาไปใชป้ ระโยชน์ในด้านต่างๆ ซง่ึ

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ๔๑ บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. กรมวิชาการ. (2551). ตวั ช้วี ดั และสาระการเรยี นรู้ภาษาไทยตามหลกั สูตรแกนกลาง การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 . กรงุ เทพมหานคร. นาตยา ปลิ ันธนานนท์, มธรุ ส จงชัยกิจ, ศิรริ ตั น์ นลี ะคปุ ต.์ (2542). การศกึ ษาตามมาตรฐานแนวคิดสู่ การปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร : สานกั พิมพ์ แมค็ จากัด. พชิ ิต ฤทธ์จิ รูญ. (2557). หลกั การวดั และประเมินผลการศกึ ษา. พิมพ์คร้ังท่ี 9. กรุงเทพมหานคร : เฮา้ ออฟ เคอร์มิส จากดั . ภัทรา นิคมานนท์ . (2543). การประเมินผลการเรยี น. พิมพ์ครงั้ ที่ 3. กรงุ เทพมหานคร : อักษราพิพฒั น์ จากัด. เยาวดี วบิ ูลย์ศร.ี (2540). การวัดผลและการสร้างแบบสอบผลสัมฤทธิ.์ พมิ พค์ รัง้ ท่ี 2. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พแ์ หง่ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . รจุ ิร์ ภู่สาระ. (2538). การประเมนิ ผลวิชาภาษาไทย. พมิ พค์ รง้ั ที่ 3. กรงุ เทพมหานคร : สานกั พมิ พ์มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง. สมจติ รา เรอื งศร.ี (2558). การประเมินผลการเรียนวชิ าภาษาไทย. กรงุ เทพมหานคร : สานกั พิมพม์ หาวทิ ยาลัยรามคาแหง. สุนันทา ม่นั เศรษฐวิทย์. (2559). การประเมนิ ผลการเรยี นการสอนภาษาไทย. กรงุ เทพมหานคร : สานักพมิ พม์ หาวิทยาลยั รามคาแหง. สรุ ศักดิ์ อมรรตั นศักด.์ิ (2556). การประเมินผลการศึกษา. พิมพค์ รั้งท่ี 3. กรุงเทพมหานคร : สานกั พิมพ์มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง. อนุวตั ิ คูณแก้ว. (2559). การวดั และประเมนิ ผลการศกึ ษาแนวใหม.่ พมิ พ์ครง้ั ที่ 2. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์แห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย .

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ภ า ษ า ไ ท ย ห น้ า | ๔๒


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook