Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

Published by ศิริชัย คชวงษ์, 2021-05-06 12:59:44

Description: รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
(Self – Assessment Report : SAR)
ปีการศึกษา 2563
โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๒๐ (บ้านหนองมะค่าโมง)

Search

Read the Text Version

-ก-

-ข-

-ก- คำนำ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๒๐ (บ้านหนองมะค่าโมง) ฉบับนี้ จัดทำขึ้นตามกฎกระทรวงการ ประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ข้อ 3 ระบุให้สถานศึกษาจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้แก่ หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานท่ีกำกับดูแลสถานศึกษาเป็นประจำทุกปีเพ่ือรายงานผลการดำเนินงาน ตามมาตรฐานการศึกษาท่ีสะท้อนผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซ่ึงเป็นผลสำเร็จจากการบริหารจัด การศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาในระดับปฐมวัย 3 มาตรฐาน ได้แก่ มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพ ของเด็ก มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการมาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ท่ีเน้นเด็ก เป็นสำคญั และระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน 3 มาตรฐานได้แก่ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียนมาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็น สำคัญเพื่อนำเสนอรายงานผลการจัดการศึกษาในรอบปีการศึกษาท่ีผ่านมาต่อหน่วยงานต้นสังกัดหรือ หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องตลอดจนเผยแพร่ต่อสาธารณชนได้รับทราบ และเตรียมความพร้อมในการรับการ ประเมินคุณภาพภายนอกรอบส่ี โดยสำนักงานรับรองมาตรฐานการศึกษาและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคก์ ารมหาชน) ตอ่ ไป ขอขอบคุณคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน คณะกรรมการสถานศึกษา คณะครู ผู้ปกครอง นักเรียนและผู้มีส่วนเก่ียวข้องที่ให้ความร่วมมือ ในการจัดทำรายงานการประเมินตนเองของ สถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2563 ฉบับนี้ คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่ง ว่าเอกสารรายงานฉบับน้ีจะเป็นประโยชน์ ต่อการนำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน ไทยรฐั วิทยา ๒๐ (บ้านหนองมะค่าโมง) ในปีการศกึ ษา 2564 ต่อไป ลงชือ่ (นายวีระพงษ์ ถาวงษก์ ลาง) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นไทยรัฐวิทยา ๒๐ (บ้านหนองมะค่าโมง) 7 พฤษภาคม 2564

-ข- บทสรุปสำหรบั ผ้บู รหิ าร ช่ือเร่ือง : รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2563 โรงเรยี น : ไทยรัฐวิทยา ๒๐ (บ้านหนองมะคา่ โมง) สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบรุ ี เขต 3 ขอ้ มูลพ้ืนฐาน : โรงเรยี นไทยรฐั วทิ ยา ๒๐ (บ้านหนองมะค่าโมง) มจี ำนวนนกั เรียน 328 คน ครู 21 คน จดั การศกึ ษาในระดับช้ันอนุบาลปที ี่ 1 ถึงช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ผลการประเมนิ ตนเอง ระดับปฐมวัย มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเด็ก 1. มีผลการประเมิน ระดับ ยอดเยี่ยม 2. หลกั ฐานสนับสนุน ได้แก่ รายงานกิจกรรมตามโครงการ แบบบันทกึ สง่ เสรมิ สุขภาพ อนามัย แบบบนั ทกึ น้ำหนัก ส่วนสงู แบบบันทึกผลหลังการจดั กิจกรรม รูปภาพการจดั กิจกรรม เกรียติ บตั ร แบบบนั ทกึ ผลหลังการจัดกิจกรรม 3. แผนงานหรือแนวทางการพัฒนาคุณภาพใหด้ ีขึ้นกวา่ เดิม ไดแ้ ก่ - แผนงานที่ 1 สง่ เสรมิ สขุ ภาพหนนู อ้ ยปฐมวยั ปลกู ฝงั ในเรื่องสุขนสิ ัยท่ีดี เชน่ การลา้ งมือ ก่อนรบั ประทานอาหาร ลา้ งมือก่อนออกจากห้องน้ำ หอ้ งส้วม และการเลอื ก รับประทานอาหารที่มปี ระโยชน์ ให้เปน็ นิสัย - แผนงานที่ 2 เรง่ ดำเนนิ การตามโครงการหนูน้อยเรียนรูส้ ่โู ลกกว้าง เพ่ือให้เด็กไดเ้ รยี นรู้ การใชค้ ำพดู ขอบคุณ ขอโทษ การใช้วาจา สภุ าพเหมาะสมกับวยั มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ 1. มีผลการประเมนิ ระดับ ดเี ลิศ 2. หลักฐานสนับสนุน ได้แก่ หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย รายงานกิจกรรมตามโครงการ รูปภาพกิจกรรม วุฒิบัตร การขยายผลสู่เพื่อนครู รายงานผลเอกสารช้ันเรียน ตารางกิจกรรมประจำวัน ภาพถ่ายกิจกรรม รายงานกิจกรรมตามโครงการ หลักฐานการใช้ห้องคอมพิวเตอร์ สื่อในห้องเรียน บันทึก การใช้สอ่ื และแหล่งเรยี นรู้ รายงานผลการประเมินตนเอง การนิเทศตดิ ตาม 3. แผนงานหรือแนวทางการพฒั นาคุณภาพใหด้ ขี ้นึ กวา่ เดมิ ได้แก่ - แผนงานท่ี 1 ส่งเสริมครูให้มีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ โดยให้ครูเข้ารับ การอบรมตรงกับสายการสอนของตนเองเพื่อนำมาพัฒนาการจัดประสบการณ์ใหก้ ับเดก็ - แผนงานที่ 2 จัดให้มีการนิเทศติดตามผลอย่างต่อเนื่อง กำหนดแผนการพัฒนาครูอย่าง ชดั เจน เพ่อื ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพอยา่ งชัดเจนเดก็ ได้ผลมากขึน้

-ค- มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท์ ีเ่ นน้ เด็กเปน็ สำคัญ 1. มีผลการประเมิน ระดับ ยอดเยีย่ ม 2. หลักฐานสนบั สนุน ไดแ้ ก่ รายงานกิจกรรมตามโครงการ รูปภาพการจดั กจิ กรรม แผนการ จดั ประสบการณ์ การบนั ทึกผลหลงั การจดั ประสบการณ์ บันทกึ การเยยี่ มบ้าน อบ.01 3. แผนงานหรอื แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพใหด้ ีขนึ้ กวา่ เดิม ได้แก่ - แผนงานที่ 1 จัดใหม้ ีอุปกรณ์สอื่ การเรียนการสอนที่หลากหลายเพ่ือให้เดก็ มีความสนใจใน การเรียนรู้เรอื่ งต่างๆ - แผนงานที่ 2 พฒั นาเครื่องเลน่ สนามและระบบสาธารณปู โภคให้เพยี งพอและปลอดภัย จุดเด่น จุดควรพัฒนา 1. คุณภาพของเด็ก 1. คณุ ภาพของเดก็ - เดก็ มีร่างกายเติบโตตามวยั มนี ้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ - จดั กจิ กรรมสง่ เสริมใหเ้ ด็กกล้า - มีทกั ษะการเคลื่อนไหวตามวยั สามารถดูแลสุขภาพและ แสดงออกและส่งเสริมการเป็นผนู้ ำ หลีกเล่ยี งตอ่ สภาวะท่เี สยี่ งต่ออุบัตเิ หตุ ภัย และสิง่ เสพตดิ และผู้ตามท่ีดมี ากขนึ้ - มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมท่ีพึงประสงค์ - ส่งเสริมการใช้ภาษาเกี่ยวกบั การเล่า - มีจติ สำนึกในการอนุรักษ์และพัฒนาส่ิงแวดลอ้ ม ทำงาน เรอ่ื งสือ่ ความหมายให้ผู้อนื่ เข้าใจ และ ร่วมกับผู้อน่ื ได้อยา่ งมคี วามสุข การใช้วาจาที่สุภาพเหมาะสมตามวยั - มีอารมณแ์ จม่ ใส รา่ เรงิ สนกุ สนาน สามารถรว่ มกจิ กรรม อยู่ในสงั คมได้อย่างมคี วามสขุ - มพี ัฒนาการด้านสตปิ ัญญาและการเรยี นรู้ไดต้ ามกจิ กรรม ประจำวันเปน็ อยา่ งดี 2. กระบวนการบริหารและการจัดการ 2. กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ - หลักสูตรปฐมวัยสอดคล้องกับบริบทของท้องถ่ินเป็นแนว - จัดสภาพแวดลอ้ มภายในสนามเดก็ ปฏบิ ัตใิ นการจดั การศึกษาระดับ เล่นให้ปลอดภัย จดั หาดูแลซ่อมแซม - การมีส่วนร่วม และแสวงหาความร่วมมือกับผู้ปกครอง เครอ่ื งเล่นสนามให้ปลอดภยั และ ชมุ ชนและท้องถ่นิ พอเพยี ง ต่อจำนวน และวัยของเดก็ - ครูได้รับการพัฒนาด้านวิชาชีพและปฏิบัติหน้าท่ีด้วย ความมุ่งมั่น ทุ่มเทให้กับการสอนอย่างเต็มเวลาและเต็ม ความสามารถ - กระบวนการจัดการศึกษาส่งเสริมให้เด็กสามารถพัฒนา ตนตามธรรมชาติ สอดคล้องกับพัฒนาการและเต็มตาม ศักยภาพ

-ง- 3. การจดั ประสบการณท์ ี่เนน้ เด็กเปน็ สำคัญ 3. การจดั ประสบการณ์ทเี่ น้นเดก็ เป็น - เด็กมีพัฒนาการอย่างสมดุลเต็มศักยภาพจากการเรียนรู้ สำคัญ ผา่ นการเล่นและปฏบิ ัตกิ จิ กรรมอยา่ งมคี วามสขุ - การจัดกิจกรรมพัฒนาเด็กใหค้ รบตาม - มีการจัดบรรยากาศ สภาพห้องเรียนเอื้อต่อการเรียนรู้ โครงการต่าง ๆ เพื่อสรา้ งโอกาสให้ และใช้สื่อท่ีเหมาะสมกับวัยมีการประเมินพัฒนาการท่ี เดก็ ได้รบั ประสบการณต์ รง หลากหลายและนำผลการประเมินไปปรบั ปรงุ พัฒนาเดก็ ระดับการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรียน 1. มีผลการประเมิน ระดับ ดเี ลศิ 2. หลักฐานสนับสนุน ได้แก่ ผลการทดสอบระดับชาติ ระดับชั้น ป.1, ป.3, ป.6 และม.3 แฟ้ม ผลงานเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองดีระดับช้ัน ป. 1 - ม. 3 แฟ้มบันทึกกิจกรรมวันสำคัญ กิจกรรมเลือกต้ัง สภานักเรียน เอกสารประจำช้ันเรียน แบบทดสอบสมรรถภาพนักเรียน แบบบันทึกการตรวจสุขภาพ แบบ บันทึกกิจกรรมจิตอาสากิจกรรมการแข่งขันกีฬาสี คู่มือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือสร้างความเป็น พลเมืองดี แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ผลการเข้าร่วมการแข่งขันทักษะวิชาการ ศลิ ปหตั ถกรรม นักเรียน 3. แผนงานหรือแนวทางการพฒั นาคุณภาพให้ดีข้ึนกวา่ เดิม ได้แก่ - แผนงานที่ 1 ส่งเสริมให้มีการจัดกิจกรรมการพัฒนาด้านการนำเสนอ การอภิปรายและ แลกเปลย่ี นเรยี นรู้อยา่ งสมเหตสุ มผลในทกุ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ - แผนงานท่ี 2 ส่งเสริมครูผู้สอนทุกกลุ่มสาระเร่งพัฒนาทักษะการเรียนรู้พ้ืนฐาน เพ่ือยกระดับ ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนให้สูงขนึ้ - แผนงานที่ 3 จัดกิจกรรมส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนทุกด้านตามโครงการ/ กิจกรรมของโรงเรียนเพอ่ื พฒั นาศักยภาพของนักเรียน มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 1. มผี ลการประเมนิ ระดบั ดเี ลศิ 2. หลักฐานสนับสนุน ได้แก่ แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี หลักสูตรสถานศึกษา คำส่ังแต่งต้ังคณะดำเนินงานตามโครงการ เอกสารรายงานผลปฏิบัติงานตามโครงการ แผนการพัฒนาการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพของสถานศึกษา ระบบสารสนเทศพ้ืนฐานของโรงเรียน โปรแกรมวัดประเมินผลของโรงเรียน วัสดุครุภัณฑ์และสิ่งก่อสร้างของโรงเรียน แผนการพัฒนาตนเองและ รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านครูรายบุคคล รางวลั เกยี รติบัตรของโรงเรียน 3. แผนงานหรือแนวทางการพัฒนาคณุ ภาพให้ดีขึน้ กวา่ เดิม ไดแ้ ก่ - แผนงานที่ 1 จัดประชุมผู้ปกครอง ภาคเรียนละ 1 คร้ัง เพื่อให้ผู้ปกครองนักเรียนได้สะท้อนผล และเพิม่ ระดับความร่วมมอื ในการพัฒนาการเรยี นการสอน

-จ- - แผนงานที่ 2 ส่งเสริมให้มีการสร้างเครือข่ายความร่วมมือของผู้มีส่วนเก่ียวข้องในการจัด การศึกษาของโรงเรยี น - แผนงานที่ 3 ขับเคล่ือนกระบวนบริหารจัดการการศึกษาให้มีความเข้มแข็ง ส่งเสริมและพัฒนา บุคลากรทางการศกึ ษาอย่างเต็มศักยภาพท้ังระบบ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี น้นผู้เรยี นเปน็ สำคญั 1. มผี ลการประเมนิ ระดบั ดีเลิศ 2. หลักฐานสนบั สนนุ ได้แก่ หลักสตู รสถานศึกษา หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้ แผนจัดการเรยี นรู้ ผลงาน/นวัตกรรม/แบบอย่างท่ีดีด้านการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ คำส่ังแต่งตั้งการ ทำงาน สารสนเทศชั้นเรียน ทะเบียนการใช้สื่อและแหล่งเรียนรู้ สื่อประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ แบบ บันทึกการทำความดี แบบบันทึกกิจกรรมโฮมรูม แบบบันทึกการเย่ียมบ้าน บันทึกภาพกิจกรรมหน้าเสาธง ภาพกิจกรรมการเรียนการสอนภายในห้องเรียน เคร่ืองมือ/วิธีการวัดประเมินผล เช่น แบบทดสอบ แบบสอบถาม แบบสำรวจ การสังเกต การสัมภาษณ์ การศึกษารายกรณี แบบบันทึกการนิเทศ แบบบันทึก กิจกรรม PLC บันทกึ การประชุมทีเ่ กยี่ วขอ้ ง 3. แผนงานหรือแนวทางการพฒั นาคณุ ภาพใหด้ ีข้ึนกว่าเดิม ได้แก่ - แผนงานท่ี 1 มีการนิเทศติดตามการจัดการเรียนการสอนของครูอย่างต่อเน่ือง เพ่ือส่งเสริมให้ กำลังใจ และให้ครูมีแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีดี มีการจัดกิจกรรมท่ีหลากหลาย มีการใช้สื่อการ เรยี นการสอนทหี่ ลากหลายเหมาะสมกบั นักเรยี น - แผนงานที่ 2 ส่งเสริมให้มีการใช้กระบวนการ PLC อย่างต่อเนื่อง เพ่ือให้เกิดการเรียนรู้และให้ ข้อมูลสะทอ้ นกลับเพื่อปรบั ปรงุ พัฒนาการจดั การเรียนรู้ ใหเ้ กิดเปน็ ชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ - แผนงานท่ี 3 ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานต้นสังกัด เพื่อพัฒนาการวัดประเมินผลในช้ัน เรียน มีการวิธีการวัดและประเมินผลนักเรียนท่ีหลากหลายและเป็นการประเมินตามสภาพจริง ด้วยเคร่ืองมอื ทห่ี ลากหลายเหมาะสมกับวธิ ีการวัดและประเมินผล จดุ เดน่ จุดควรพัฒนา 1. คุณภาพของผู้เรยี น 1. คุณภาพของผู้เรียน - ผู้เรียนสามารถอ่าน เขียน สื่อสาร และคิดคำนวณ - ผู้เรียนในระดับขั้น ป.1 - ป.6 ยังต้องเร่ง ตามเป้าหมายที่สถานศึกษาและหน่วยงานต้น พัฒนาด้านการนำเสนอ การอภิปราย และ สงั กดั กำหนดไว้ แลกเปล่ียนเรียนรู้อย่างสมเหตุสมผล และ - ผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตร ต้ อ งพั ฒ น าทั ก ษ ะ ก าร แ ก้ ปั ญ ห า ต า ม สถานศกึ ษาสูงกวา่ เป้าหมายที่สถานศกึ ษากำหนด สถานการณ์ ได้อย่างเหมาะสม และยังต้อง - ผู้เรียนสามรถคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ เร่งพัฒ นาในด้านวิชาการ เพ่ือยกระดับ อภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นโดยใช้เหตุผล ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้ดีย่ิงข้นึ ประกอบการตดั สินใจ และแก้ปัญหาได้

-ฉ- - ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารเพ่ือพัฒนาตนเอง และสังคมในด้านการ เรยี นรู้ การส่ือสาร การทำงานได้ - ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพ้ืนฐาน และเจตคติที่ดี พร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับช้ันที่สูงขึ้น และ การ ทำงานหรืองานอาชีพ มที ักษะในการแสวงหาความรู้ ด้วยตนเอง และส่งเสริมให้นักเรียนเรียนรู้ การ ปฏิบัติการอาชีพ เพ่ืออนาคต โดยการฝึกการทำอิฐ บลอ็ ก อฐิ ตวั ไอ 2. กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ 2. กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ - ใช้กระบวนการ (PDCA) ในการดำเนนิ งานวางแผน - สรา้ งความร้คู วามเข้าใจและแนวทางในการ พัฒนาคณุ ภาพการจดั การศึกษา บริหารจดั สถานศกึ ษา - ครทู ุกคนไดร้ บั การพัฒนาให้มีความเชย่ี วชาญดา้ น - การนำแผนงานไปปฏิบตั ิใหเ้ กดิ ผลที่ชัดเจน วชิ าชพี และต่อเน่ือง - โรงเรียนมกี ารพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษาทเี่ น้น - จดั หาวสั ดุ ครภุ ณั ฑ์ท่ีจำเป็นและท่สี ามารถใช้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญสอดคล้องท้ัง 4 ด้านและบริบท งานได้จรงิ ตามจดุ ประสงค์ ของสถานศึกษา - การเขา้ ถึงและใช้งานระบบเทคโนโลยี - สถานศึกษามีความปลอดภัยและมแี หลง่ เรยี นรู้ สารสนเทศอยา่ งชำนาญ หลากหลาย 3. กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รยี น 3. กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน้ เปน็ สำคญั ผเู้ รียนเป็นสำคญั - การจดั การเรยี นการสอนโดยเน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ - นำเรื่องภูมิปัญญาท้องถ่ิน ให้เข้ามามีส่วนร่วม ในทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ในการจัดการเรียนการสอนให้มากขึ้น เพ่ือให้ - คณะครูและบุคลากรมีความตัง้ ใจ มุ่งมัน่ ในการ ผู้เรียนไดเ้ รียนร้สู ่ิงที่มีในทอ้ งถิ่นตนเอง พฒั นาการจดั การเรยี นการสอน โดยจดั กิจกรรม - การนำสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่ง การเรียนรู้ทีเ่ น้นทักษะกระบวนการคิด และ เรียนรู้ท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้มาใช้พัฒนาผู้เรียน สามารถปฏิบัติไดจ้ ริง ใหม้ ีความหลากหลาย - จดั กิจกรรมการเรียนรู้ทห่ี ลากหลายท้ังวิธกี ารและ แหลง่ การเรียนรู้ ใหผ้ ูเ้ รยี นแสวงหาความรดู้ ว้ ย ตนเองอยา่ งต่อเนอ่ื ง ผเู้ รยี นมีส่วนร่วมในการจัด บรรยากาศ และสภาพแวดลอ้ ม เพอื่ ให้การ จดั การเรียนการสอนประสบความสำเร็จตาม เปา้ หมายทตี่ ง้ั ไว้

-ช- หน้า ก สารบญั ข ช คำนำ 1 บทสรุปสำหรบั ผบู้ ริหาร 1 สารบญั 2 ตอนท่ี 1 ข้อมูลพน้ื ฐานของสถานศกึ ษา 2 3 1. ข้อมลู ท่วั ไป 2. ข้อมลู ครูและบุคลากร 7 3. ข้อมลู นักเรียน 4. ข้อมลู ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระดับสถานศกึ ษา 9 5. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขนั้ พื้นฐาน 10 (Ordinary National Education Test : O-NET) 12 ระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 และระดบั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 14 6. ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผเู้ รียนระดับชาติ 14 (National Test : NT) ระดบั ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 14 7. ผลการประเมนิ ความสามารถการอ่าน 14 (Reading Test : RT) ระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 1 24 ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม 24 ตอนท่ี 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา 24 ตอนท่ี 2.1 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ระดบั ปฐมวัย 39 1. สรปุ ผลการประเมนิ มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวยั 47 2. ประเมนิ มาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวยั ตอนท่ี 2.2 ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา ระดับการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน 48 1. สรุปผลการประเมินมาตรฐานการศกึ ษาระดับการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน 61 2. ประเมนิ มาตรฐานการศึกษาระดับการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ตอนที่ 3 ความโดดเด่นของสถานศกึ ษา 63 ภาคผนวก 1. ประกาศโรงเรียน เร่ือง การกำหนดมาตรฐานการศึกษาและคา่ เป้าหมายของ สถานศึกษา ปกี ารศึกษา 2563 ระดบั ปฐมวัยและระดับการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน เพ่อื การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2. คำสั่งแต่งต้งั คณะกรรมการจดั ทำรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา 3. บันทกึ และการลงนามใหค้ วามเห็นชอบ รายงานรายงานผลการประเมนิ ตนเอง ของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2563

-1- ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลพ้นื ฐานของสถานศกึ ษา 1. ข้อมูลท่วั ไป ช่ือโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๒๐ (บ้านหนองมะค่าโมง) ท่ีตั้งเลขที่ 11 หมู่ที่ 1 ตำบลหนองมะค่าโมง อำเภอหนองมะค่าโมง จังหวัดสุพรรณบุรี โทรศัพท์ 035-466035 โทรสาร 035 – 466035 email : [email protected] website : Thairath20.ac.th เปิดสอนระดับช้ันอนุบาลปีที่ 1 ถึงระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศกึ ษาสพุ รรณบุรี เขต 3 วสิ ยั ทศั น์ โรงเรยี นไทยรัฐวิทยา ๒๐ (บ้านหนองมะค่าโมง) จะเป็นโรงเรียนชั้นนำ มุ่งพัฒนาคุณภาพผู้เรียน สคู่ วามเปน็ เลศิ ทางวิชาการ และคุณธรรมบนพื้นฐานวิถไี ทย โดยใช้ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง พันธกจิ 1. พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา มีสุขภาพกายและและสุขภาพจิตที่สมบูรณ์ มคี ุณธรรมจริยธรรม รักความเป็นไทย และรับผิดชอบต่อสงั คม 2. ส่งเสริมครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ความสามารถมีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชพี 3. พฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อสนองต่อความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล ใหผ้ เู้ รียนมีความรสู้ คู่ วาม เป็นเลศิ ทางวิชาการอยา่ งยงั่ ยืน 4. พฒั นาสือ่ เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมทางการศึกษา เพ่ือพัฒนาคณุ ภาพทางการศกึ ษา 5. จัดกระบวนการเรียนการสอนการวัดและประเมินผลท่ีหลากหลายอย่างมีคุณภาพ เอ้ือต่อการ พัฒนาผเู้ รียนอยา่ งรอบดา้ น 6. พัฒนาการบรหิ ารจัดการการศกึ ษาอยา่ งมรี ะบบตามหลักธรรมาภิบาล 7. พฒั นาสถานศึกษาให้เปน็ แหลง่ เรยี นรูแ้ ละมสี ภาพแวดล้อมทเ่ี อื้อต่อการเรยี นรู้อย่างมีคุณภาพ 8. ประสานความร่วมมือระหว่างโรงเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนและสร้างภาคีเครือข่าย เพ่ือสนับสนุน การจัดการศกึ ษา อัตลกั ษณ/์ เอกลักษณข์ องโรงเรยี น ไหวน้ อบน้อม เพียบพร้อมคุณธรรม คำขวญั ของโรงเรยี น : พลานามัยดี มีคุณธรรม นำวิชาการ สปี ระจำโรงเรียน : เขียว - ขาว ปรชั ญาของโรงเรียน : นตถฺ ปิ ญฺญา สมา อาภา “แสงสว่างเสมอด้วยปญั ญาไม่มี”

-2- 2. ข้อมูลครูและบคุ ลากร 1) บคุ ลากรในโรงเรียน บุคลากร ผูบ้ รหิ าร ข้าราชการครู พนักงาน ครอู ตั ราจ้าง เจา้ หน้าท่ีอืน่ ๆ รวมทั้งหมด ราชการ จำนวน 1 17 - 2 1 21 2) วุฒิการศกึ ษาของบุคลากร บุคลากร ต่ำกว่าปรญิ ญาตรี ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก รวมท้ังหมด 7 - 21 จำนวน - 14 3. ข้อมูลนักเรยี น จำนวนนกั เรยี น ปีการศึกษา 2563 รวม 328 คน (ข้อมูล ณ วนั ท่ี 9 เมษายน 2564) ระดบั ชนั้ เรียน จำนวนห้อง เพศ รวม ชาย หญิง อ.1 1 56 11 อ.2 1 95 14 อ.3 1 10 18 28 รวม 3 24 29 53 ป.1 1 12 13 25 ป.2 1 11 8 19 ป.3 1 11 11 22 ป.4 1 15 9 24 ป.5 1 12 20 32 ป.6 1 13 24 37 รวม 6 74 85 159 ม.1 1 26 10 36 ม.2 1 28 13 41 ม.3 1 24 15 39 รวม 3 78 38 116 รวมท้ังหมด 11 176 152 328

-3- 4. ขอ้ มลู ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนระดับสถานศกึ ษาปกี ารศกึ ษา 2563 ระดบั ปฐมวัย จำนวน/ร้อยละของนกั เรียนที่มีผลการประเมินพัฒนาการแต่ละด้านในระดบั 3 ขน้ึ ไป ระดับช้ัน จำนวน ผลการประเมินพัฒนาการนกั เรยี นดา้ น นกั เรยี น อ.1 ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม สติปญั ญา อ.2 11 11 อ.3 14 14 11 11 10 รวม 28 27 53 52 14 14 14 คิดเปน็ ร้อยละ 100 98.11 26 27 25 51 52 49 96.23 98.11 92.45 ระดับการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน 1) จำนวน/รอ้ ยละ ของนักเรียนทม่ี เี กรดเฉล่ียผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนแต่ละรายวชิ าในระดับ 3 ข้ึนไป ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 รายวิชา(พื้นฐาน) จำนวน ภาษาไทย ระดบั ชนั้ นักเรยี น ค ิณตศาสตร์ ิวทยาศาสตร์ สังคมศึกษาฯ ประ ัว ิตศาสตร์ ภาษา ัองกฤษ สุขศึกษาฯ ศิลปะ การงานอา ีชพฯ ป.1 25 21 19 22 20 18 19 22 22 21 ป.2 19 12 10 13 16 17 12 17 19 12 ป.3 22 15 8 8 17 22 15 19 20 15 ป.4 24 16 12 15 17 17 12 23 24 14 ป.5 32 20 17 16 25 19 21 27 31 27 ป.6 37 28 2 17 35 32 27 26 19 35 รวม 159 112 68 91 130 125 106 134 135 124 คิดเปน็ ร้อยละ 100 70.44 42.77 57.23 81.76 78.62 66.67 84.28 84.91 77.99

-4- ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1-3 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563 รายวิชา(พื้นฐาน) ภาษาไทย ค ิณตศาสตร์ ิวทยาศาสตร์ ัสงคมศึกษาฯ ประ ัว ิตศาสตร์ ภาษา ัองกฤษ ุสข ึศกษาฯ ศิลปะ การงานอา ีชพฯ ระดับชัน้ จำนวน นกั เรียน ม.1 37 14 10 8 17 25 12 23 25 19 ม.2 40 22 10 13 11 28 3 26 25 25 ม.3 39 23 5 10 6 32 5 36 31 31 รวม 116 59 25 31 34 85 20 85 81 75 คดิ เป็นร้อยละ 100 50.86 21.55 26.72 29.31 73.28 17.24 73.28 69.83 64.66 ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563 รายวิชา(พ้นื ฐาน) ระดับชน้ั จำนวน ภาษาไทย นักเรยี น คณิตศาสตร์ ิวทยาศาสตร์ สังคมศึกษาฯ ประ ัวติศาสตร์ ภาษาอังกฤษ สุขศึกษาฯ ศิลปะ การงานอาชีพฯ ม.1 36 11 8 11 7 19 9 13 25 26 ม.2 41 16 4 18 17 28 18 11 30 33 ม.3 39 16 4 17 12 34 13 22 32 35 รวม 116 43 16 46 36 81 40 46 87 94 คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 37.07 13.79 39.66 31.03 69.83 34.48 39.66 75.00 81.03 2) จำนวน/ร้อยละของนักเรียนท่มี ผี ลการประเมินการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขยี น ระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 1-6 ระดบั ชนั้ จำนวน ไมผ่ า่ น ผลการประเมนิ ดเี ยีย่ ม ระดับดี รอ้ ยละ นกั เรยี น ผ่าน ดี ขน้ึ ไป 72.00 ป.1 25 2 5 15 3 18 100.00 86.36 ป.2 19 0 0 8 11 19 100.00 100.00 ป.3 22 0 3 12 7 19 100.00 93.71 ป.4 24 0 0 24 0 24 ป.5 32 0 0 32 0 32 ป.6 37 0 0 26 11 37 รวม 159 2 8 117 32 149

-5- ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1-3 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563 ระดับชั้น จำนวน ไม่ผ่าน ผลการประเมิน ดีเย่ียม ระดบั ดี รอ้ ยละ นักเรยี น ผา่ น ดี ขึ้นไป 83.78 82.5 ม.1 37 6 0 21 10 31 100 88.79 ม.2 40 7 0 33 0 33 รอ้ ยละ ม.3 39 0 0 35 4 39 83.33 82.92 รวม 116 13 0 89 14 103 76.92 81.03 ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563 ร้อยละ ระดบั ช้นั จำนวน ไม่ผ่าน ผลการประเมิน ดีเยย่ี ม ระดบั ดี 100 นักเรยี น ผ่าน ดี ขนึ้ ไป 100 95.45 ม.1 36 6 0 21 9 30 100 100 ม.2 41 7 0 34 0 34 100 99.37 ม.3 39 0 9 26 4 30 รวม 116 13 9 81 13 94 3) จำนวน/รอ้ ยละของนกั เรียนท่มี ีผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1-6 ระดับชั้น จำนวน ไม่ผ่าน ผลการประเมนิ ดเี ยย่ี ม ระดบั ดี นกั เรยี น ผ่าน ดี ขนึ้ ไป ป.1 25 0 0 14 11 25 ป.2 19 0 0 0 19 19 ป.3 22 0 1 16 5 21 ป.4 24 0 0 24 0 24 ป.5 32 0 0 32 0 32 ป.6 37 0 0 22 15 37 รวม 159 0 1 108 50 158

-6- ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 1-3 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563 ระดบั ชนั้ จำนวน ไม่ผ่าน ผลการประเมิน ดเี ยย่ี ม ระดับดี ร้อยละ นกั เรียน ผ่าน ดี ขึน้ ไป 83.78 ม.1 37 6 0 22 9 31 82.5 94.87 ม.2 40 7 0 33 0 33 87.06 ม.3 39 0 2 36 1 37 รวม 116 13 2 91 10 101 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 ระดับชนั้ จำนวน ไม่ผ่าน ผลการประเมนิ ดเี ย่ียม ระดบั ดี รอ้ ยละ นักเรยี น ผ่าน ดี ขึน้ ไป 83.33 ม.1 36 6 0 22 8 30 82.92 87.17 ม.2 41 7 0 34 0 34 84.48 ม.3 39 0 5 33 1 34 รวม 116 13 5 89 9 98 4) จำนวน/ร้อยละของนักเรียนท่ีมีผลการประเมินสมรรถนะสำคัญตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขน้ั พ้ืนฐานพุทธศกั ราช 2551 ระดับชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 สมรรถนะสำคญั จำนวน ผลการประเมนิ ระดบั ผ่าน รอ้ ยละ 1. ความสามารถในการส่ือสาร นักเรยี น ไม่ผ่าน ผา่ น ดี ดีเยย่ี ม ขนึ้ ไป 100 2. ความสามารถในการคดิ 100 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 37 0 0 25 12 37 100 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 100 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 37 0 0 33 4 37 100 100 รวม 37 0 0 25 12 37 37 0 0 16 21 37 37 0 0 10 27 37 185 0 0 109 76 185

-7- ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 สมรรถนะสำคญั จำนวน ผลการประเมิน ระดบั ผ่าน ร้อยละ นกั เรยี น ไม่ผ่าน ผา่ น ดี ดเี ย่ียม ดีขึน้ ไป 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 2. ความสามารถในการคดิ 39 0 1 33 5 39 100 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต 39 0 7 26 6 39 100 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 39 0 6 23 10 39 100 รวม 39 0 1 32 6 39 100 39 0 0 36 3 39 100 195 0 15 150 30 195 100 5. ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขนั้ พื้นฐาน (Ordinary National Education Test : O-NET) ระดบั ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 1) ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้ันพน้ื ฐาน (O-NET) ปีการศกึ ษา 2563 ระดับ/รายวิชา ภาษาไทย คะแนนเฉลีย่ ภาษาองั กฤษ คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ 40.63 ระดบั โรงเรียน 55.25 43.26 31.25 36.73 43.55 ระดับ สพป.สพ 3 59.49 30.41 39.83 29.99 38.78 ตำ่ กว่า ระดับ ระดับประเทศ 56.20 สงู กวา่ ระดับ ตำ่ กว่า ระดบั สพป.สพ.3 สพป.สพ.3 สพป.สพ.3 รอ้ ยละ 2.63 ผลตา่ งระดับ สพป.สพ ต่ำกวา่ ระดบั รอ้ ยละ 0.84 รอ้ ยละ 3.1 สงู กว่า ตำ่ กวา่ สงู กว่า 3 สพป.สพ.3 ระดบั สพฐ. ระดับ สพฐ. ระดับ สพฐ. รอ้ ยละ 2.66 รอ้ ยละ 0.91 ร้อยละ 1.76 กบั ระดับโรงเรียน รอ้ ยละ 4.24 สงู กว่า ตำ่ กว่า ระดับ ประเทศ ระดับ ประเทศ ต่ำกว่า ผลต่างระดับ สพฐ. สงู กวา่ รอ้ ยละ 1.26 ร้อยละ 2.05 ระดบั ประเทศ กับระดับโรงเรียน ระดบั สพฐ. รอ้ ยละ 2.92 ร้อยละ 0.29 ผลต่างระดบั ประเทศ ต่ำกว่า กบั ระดับโรงเรยี น ระดบั ประเทศ รอ้ ยละ 0.95

-8- 2) ผลการเปรยี บเทยี บการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ั้นพืน้ ฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2562–2563 รายวชิ า/ปกี ารศึกษา คะแนนเฉลย่ี (ระดบั โรงเรยี น) สรุปผล ปีการศกึ ษา 2562 ปกี ารศกึ ษา 2563 ภาษาไทย 47.04 55.25 เพิ่มขน้ึ ร้อยละ 8.21 คณิตศาสตร์ 29.69 31.25 เพิ่มข้ึนรอ้ ยละ 1.56 วิทยาศาสตร์ 40.40 36.73 ลดลงร้อยละ 3.67 ภาษาองั กฤษ 30.31 40.63 เพ่ิมขึ้นร้อยละ 10.32 แผนภูมิแทง่ เปรียบเทยี บผลการทดสอบ O-NET ป.6 60 47.04 55.25 29.69 31.25 40.4 36.73 40.63 30.31 40 20 0 คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ ภาษาไทย ปีการศกึ ษา 2562 ปกี ารศึกษา 2563 ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 1) ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ั้นพื้นฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2563 ระดับ/รายวิชา ภาษาไทย คะแนนเฉล่ยี ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ 30.00 29.06 ระดบั โรงเรยี น 55.00 16.00 27.40 34.38 ระดบั สพป.สพ 3 54.54 20.74 29.74 สงู กว่า ระดับ สพป.สพ.3 ระดบั ประเทศ 54.29 25.46 29.89 ร้อยละ 0.94 ต่ำกว่า ผลต่างระดับ สพป.สพ 3 สงู กว่า ระดับ ต่ำกว่า ระดับ ต่ำกว่า ระดับ ระดบั สพฐ. กบั ระดบั โรงเรยี น สพป.สพ.3 สพป.สพ.3 สพป.สพ.3 รอ้ ยละ 4.14 ร้อยละ 0.46 รอ้ ยละ 4.74 ร้อยละ 2.34 ต่ำกว่า ระดบั ประเทศ ผลตา่ งระดับ สพฐ. ตำ่ กว่า ตำ่ กว่า ตำ่ กว่า ร้อยละ 4.38 กับระดับโรงเรยี น ระดับ สพฐ. ระดับ สพฐ. ระดบั สพฐ. ร้อยละ 0.18 รอ้ ยละ 9.82 ร้อยละ 2.77 ผลตา่ งระดบั ประเทศ สงู กว่า ต่ำกวา่ ตำ่ กวา่ กับระดับโรงเรยี น ระดับ ประเทศ ระดบั ประเทศ ระดบั ประเทศ รอ้ ยละ 0.71 ร้อยละ 9.46 ร้อยละ 2.49

-9- 2) ผลการเปรียบเทียบการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพน้ื ฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2562–2563 รายวชิ า/ปกี ารศกึ ษา คะแนนเฉลี่ย (ระดับโรงเรยี น) สรุปผล ปกี ารศึกษา 2562 ปกี ารศกึ ษา 2563 ภาษาไทย 52.12 55.00 เพม่ิ ขึ้น รอ้ ยละ 2.88 คณติ ศาสตร์ 24.92 16.00 ลดลง ร้อยละ 8.92 วิทยาศาสตร์ 28.06 27.40 ลดลง ร้อยละ 0.66 ภาษาอังกฤษ 25.31 30.00 เพ่ิมขึ้น ร้อยละ 4.69 แผนภมู แิ ท่ง เปรยี บเทยี บผลการทดสอบ O-NET ม.3 60 52.12 55 40 24.92 28.06 27.4 25.31 30 20 16 0 คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ ภาษาไทย ปีการศกึ ษา 2562 ปกี ารศกึ ษา 2563 6. ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผูเ้ รียนระดับชาติ (NT) ระดับชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 3 1) ผลการประเมินทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผู้เรียนระดบั ชาติ (NT) ปีการศึกษา 2563 ระดับ/ความสามารถ ดา้ นภาษา คะแนนเฉลีย่ ดา้ นคำนวณ รวมความสามารถท้ัง 2 ด้าน ระดบั โรงเรียน 79.60 74.13 76.86 ระดับสพป.สพ.3 66.33 55.84 59.58 ระดับประเทศ 47.46 40.47 43.97 ผลต่างระดบั สงู กว่า ระดบั สูงกว่า ระดับ สงู กว่า ระดบั สพป.สพ.3 สพป.สพ.3 สพป.สพ.3 สพป.สพ.3 ร้อยละ 17.28 กบั ระดับโรงเรยี น รอ้ ยละ 13.27 รอ้ ยละ 18.29 ผลตา่ งระดับ สพฐ. สูงกว่า สูงกวา่ สูงกว่า ระดับ สพฐ. กบั ระดบั โรงเรยี น ระดบั สพฐ. ระดบั สพฐ. รอ้ ยละ 32.89 ร้อยละ 31.84 ร้อยละ 32.82 ผลต่างระดบั ประเทศ สงู กว่า สูงกวา่ สูงกวา่ ระดบั ประเทศ กับระดับโรงเรียน ระดบั ประเทศ ร้อย ระดับ ประเทศ รอ้ ย รอ้ ยละ 32.89 ละ 32.14 ละ 33.66

-10- 2) การเปรยี บเทียบผลการประเมินทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผูเ้ รียนระดับชาติ (NT) ปีการศกึ ษา 2562- 2563 ความสามารถ/ปกี ารศกึ ษา คะแนนเฉลี่ย (ระดับโรงเรยี น) ปกี ารศกึ ษา 2562 ปกี ารศกึ ษา 2563 สรปุ ผล ด้านภาษาไทย 80.43 79.60 ลดลง รอ้ ยละ 0.83 ดา้ นคณิตศาสตร์ 86.00 74.13 ลดลง รอ้ ยละ 11.87 รวมทง้ั 2 ด้าน 83.22 76.86 ลดลง รอ้ ยละ 6.36 แผนภูมแิ ทง่ เปรียบเทยี บผลการทดสอบ NT ป.3 90 86 83.22 74.13 76.86 85 80.43 79.6 80 75 70 65 ด้าดน้าคนณคาติ นศวาณสตร์ รวมทัง้ 2 ด้าน ด้าดนา้ ภนาภษาาษไาทย ปกี ารศึกษา 2562 ปกี ารศึกษา 2563 7. ผลการประเมนิ ความสามารถการอ่าน (RT) ของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 1 1) ผลการประเมินความสามารถการอ่าน (RT) ปีการศึกษา 2563 ระดบั /สมรรถนะ คะแนนเฉลยี่ การอ่านออกเสียง การอ่านรเู้ รอ่ื ง รวม 2 สมรรถนะ ระดับโรงเรยี น 98.36 93.81 96.09 ระดบั สพป.สพ 3 88.00 85.66 86.83 ระดบั ประเทศ 74.14 71.86 73.02 ผลตา่ งระดับ สพป.สพ 3 สงู กวา่ ระดบั สูงกว่า ระดบั สงู กวา่ ระดับ กบั ระดบั โรงเรยี น สพป.สพ.3 สพป.สพ.3 สพป.สพ.3 ร้อยละ 10.36 ร้อยละ 8.15 รอ้ ยละ 9.26 ผลตา่ งระดบั สพฐ. สงู กวา่ สูงกว่า สงู กวา่ กับระดับโรงเรยี น ระดบั สพฐ. ระดบั สพฐ. ระดบั สพฐ. ร้อยละ 24.23 ร้อยละ 21.58 ร้อยละ 22.89 ผลตา่ งระดับประเทศ สูงกว่า สงู กวา่ สูงกวา่ ระดับประเทศ กบั ระดบั โรงเรยี น ระดับประเทศ ระดบั ประเทศ ร้อย รอ้ ยละ 23.07 รอ้ ยละ 24.22 ละ 21.95

-11- 2) การเปรยี บเทียบผลการประเมินความสามารถการอ่าน (RT) ปีการศึกษา 2562- 2563 สมรรถนะ/ปีการศึกษา คะแนนเฉลยี่ (ระดบั โรงเรยี น) การอา่ นออกเสียง ปีการศึกษา 2562 ปีการศึกษา 2563 สรปุ ผล การอา่ นรู้เร่ือง รวม 2 สมรรถนะ 96.82 98.36 เพ่มิ ขึน้ รอ้ ยละ 1.54 93.41 93.81 เพม่ิ ขนึ้ รอ้ ยละ 0.4 95.11 96.09 เพมิ่ ขนึ้ ร้อยละ 0.98 แผนภูมิแท่ง เปรียบเทยี บผลการทดสอบ RT ชนั้ ป.1 100 96.09 98.36 95.11 98 96.82 93.41 93.81 96 94 92 90 การอ่านรเู้ รอื่ ง รวม 2 สมรรถนะ การอ่านออกเสยี ง ปกี ารศึกษา 2562 ปกี ารศกึ ษา 2563

-12- ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบสาม โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๒๐ (บ้านหนองมะค่าโมง) ได้รับการประเมินภายนอกจาก สมศ. คร้ังที่สาม เมื่อวันที่ 24 ,25, 28 มกราคม 2556 ผลการประเมินภายนอกของสถานศึกษามีการประเมิน 3 กลุ่มด้าน ตวั บ่งชพี้ น้ื ฐาน กลุ่มตัวบง่ ช้ีอัตลกั ษณ์ กลุ่มตวั บ่งชม้ี าตรการสง่ เสริม ซงึ่ สรปุ ผลการประเมินโดยภาพรวมตาม มาตรฐานเปน็ ตาราง ดงั น้ี 1. ระดับการศกึ ษาปฐมวัย (2 -5 ปี) ตัวบ่งช้ี น้ำหนกั คะแนน ระดบั คะแนน ทีไ่ ด้ คุณภาพ กลุม่ ตัวบง่ ช้ีพ้นื ฐาน ตวั บ่งชที้ ี่ 1 เดก็ มพี ฒั นาการดา้ นร่างกายสมวัย 5.00 5.00 ดีมาก ตวั บ่งชท้ี ่ี 2 เด็กมพี ฒั นาการด้านอารมณ์และจิตใจสมวยั 5.00 5.00 ดมี าก ตัวบ่งชท้ี ี่ 3 เดก็ มพี ัฒนาการด้านสงั คมสมวยั 5.00 5.00 ดีมาก ตวั บ่งชท้ี ่ี 4 เด็กมีพฒั นาการด้านสติปญั ญาสมวยั 10.00 8.50 ดี ตวั บง่ ชท้ี ่ี 5 เด็กมีความพรอ้ มศึกษาต่อในขั้นต่อไป 10.00 10.00 ดมี าก ตัวบง่ ชที้ ่ี 6 ประสทิ ธิผลการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ท่ีเน้นเดก็ เปน็ สำคัญ 35.00 33.00 ดมี าก ตัวบ่งชท้ี ่ี 7 ประสทิ ธภิ าพของการบรหิ ารจดั การและการพฒั นาสถานศกึ ษา 15.00 13.00 ดี ตวั บ่งชท้ี ี่ 8 ประสทิ ธผิ ลของระบบการประกนั คุณภาพภายใน 5.00 4.67 ดมี าก กลุ่มตัวบง่ ชี้อตั ลกั ษณ์ ตวั บง่ ชท้ี ่ี 9 ผลการพฒั นาให้บรรลตุ ามปรัชญา ปณธิ าน/วสิ ัยทศั น์ พันธกจิ และ 2.50 2.50 ดีมาก วตั ถปุ ระสงค์ของการจดั ตั้งสถานศกึ ษา ตัวบง่ ชที้ ่ี 10 ผลการพฒั นาตามจดุ เนน้ และจดุ เนน้ ทสี่ ่งผลสะทอ้ นเปน็ เอกลักษณข์ อง 2.50 2.50 ดีมาก สถานศึกษา กลุ่มตวั บง่ ช้มี าตรการสง่ เสรมิ 2.50 2.50 ดีมาก ตัวบ่งชท้ี ่ี 11 ผลการดำเนินงานโครงการพิเศษเพื่อสง่ เสริมบทบาทของสถานศกึ ษา 2.50 2.50 ดมี าก ตัวบ่งชท้ี ่ี 12 ผลการสง่ เสรมิ พฒั นาสถานศกึ ษาเพือ่ ยกระดบั มาตรฐาน รักษา มาตรฐาน และพฒั นาสูค่ วามเปน็ เลิศทีส่ อดคล้องกับแนวทางการปฏริ ูปการศกึ ษา 100 94.17 ดีมาก คะแนนรวม สรุปผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกการศกึ ษาปฐมวัย (2 -5 ป)ี ประเภทโรงเรยี น ผลรวมคะแนนประเมินสถานศกึ ษา .....94.17........... คะแนน มีคณุ ภาพระดบั ......ดีมาก............ การรับรองมาตรฐานสถานศกึ ษา ระดับการศกึ ษาปฐมวัย ผลคะแนนรวมทกุ ตัวบง่ ชี้ ตั้งแต่ 80 คะแนนขน้ึ ไป  ใช่  ไม่ใช่ มีตวั บ่งชี้ทร่ี ะดับดีข้ึนไป 10 ตัวบ่งช้ี จาก 12 ตัวบง่ ช้ี  ใช่  ไม่ใช่ ไมม่ ีตัวบ่งช้ีใดที่มีระดบั คุณภาพตอ้ งปรับปรงุ หรอื ตอ้ งปรับปรุงเรง่ ดว่ น  ใช่  ไม่ใช่

-13- . ๒. ระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ตัวบ่งช้ี นำ้ หนัก คะแนน ระดับ คะแนน ท่ไี ด้ คุณภาพ กลมุ่ ตัวบ่งชี้พ้นื ฐาน ตัวบง่ ชที้ ่ี 1 ผเู้ รยี นมีสขุ ภาพกายและสุขภาพจิตท่ีดี 10.00 9.72 ดีมาก ตัวบง่ ชที้ ่ี 2 ผเู้ รยี นมคี ณุ ธรรม จริยธรรมและค่านยิ มท่ีพงึ ประสงค์ 10.00 9.47 ดีมาก ตวั บ่งชท้ี ี่ 3 ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรยี นรอู้ ย่างต่อเนื่อง 10.00 9.52 ดีมาก ตวั บ่งชี้ท่ี 4 ผู้เรยี นคิดเป็น ทำเปน็ 10.00 9.03 ดีมาก ตัวบ่งชี้ท่ี 5 ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของผู้เรียน 20.00 10.13 พอใช้ ตัวบง่ ชีท้ ่ี 6 ประสิทธผิ ลของการจดั การเรยี นการสอนท่ีเน้นผู้เรยี นเปน็ สำคัญ 10.00 9.00 ดีมาก ตัวบง่ ชท้ี ี่ 7 ประสิทธภิ าพของการบรหิ ารจดั การและการพัฒนาสถานศึกษา 5.00 4.80 ดีมาก ตัวบง่ ชี้ที่ 8 พัฒนาการของการประกนั คุณภาพภายในโดยสถานศกึ ษาและ 5.00 4.49 ดี ต้นสงั กดั 5.00 5.00 ดีมาก กล่มุ ตัวบ่งช้อี ตั ลกั ษณ์ ตวั บง่ ชท้ี ี่ 9 ผลการพฒั นาให้บรรลตุ ามปรชั ญา ปณิธาน/วิสยั ทัศน์ พันธกิจ 5.00 5.00 ดมี าก และวตั ถปุ ระสงค์ของการจดั ตั้งสถานศกึ ษา 5.00 5.00 ดีมาก ตัวบง่ ชท้ี ี่ 10 ผลการพฒั นาตามจดุ เนน้ และจดุ เนน้ ท่สี ง่ ผลสะท้อนเปน็ 5.00 5.00 ดีมาก เอกลกั ษณข์ องสถานศึกษา กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการสง่ เสริม 100 86.16 ดมี าก ตวั บ่งชี้ท่ี 11 ผลการดำเนินงานโครงการพิเศษเพอ่ื ส่งเสริมบทบาทของ สถานศกึ ษา ตัวบง่ ชี้ท่ี 12 ผลการสง่ เสรมิ พัฒนาสถานศึกษาเพ่ือยกระดับมาตรฐานรกั ษา มาตรฐาน และพัฒนาส่คู วามเป็นเลศิ ที่สอดคล้องกบั แนว ทางการปฏิรปู การศึกษา คะแนนรวม สรปุ ผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ผลรวมคะแนนประเมินสถานศกึ ษา .....86.16........... คะแนน มคี ณุ ภาพระดบั .....ดมี าก............. การรับรองมาตรฐานสถานศกึ ษาระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ผลคะแนนรวมทุกตวั บ่งช้ี ต้งั แต่ 80 คะแนนขนึ้ ไป  ใช่  ไมใ่ ช่ มีตวั บง่ ชที้ ่ีระดบั ดีข้ึนไป 10 ตัวบง่ ช้ี จาก 12 ตัวบ่งช้ี  ใช่  ไม่ใช่ ไม่มีตัวบง่ ชี้ใดท่ีมีระดับคุณภาพตอ้ งปรบั ปรุงหรอื ต้องปรับปรุงเร่งด่วน  ใช่  ไมใ่ ช่

-14- ตอนท่ี 2 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ตอนท่ี 2.1 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ระดบั ปฐมวยั 1. สรุปผลการประเมินมาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวยั มาตรฐานการศึกษา ระดบั คณุ ภาพ มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก ยอดเยย่ี ม มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ดีเลศิ มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณท์ ่เี นน้ เด็กเปน็ สำคญั ยอดเยี่ยม สรปุ ผลการประเมนิ มาตรฐานการศึกษา 3 มาตรฐาน ยอดเย่ียม 2. ประเมินมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเดก็ ระดบั คณุ ภาพ : ยอดเย่ยี ม 1. วธิ ีการ/กระบวนการพัฒนา ด้านร่างกาย การมีสุขนิสัยท่ีดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการ ด้านร่างกายเจริญเติบโตตามวัย มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน มีทักษะการเคล่ือน ไหวตามวัย สามารถดูแลรักษาสุขภาพและหลีกเลี่ยงต่อสภาวะที่เส่ียงต่อโรค อุบัติเหตุ ภัย และ สิ่งเสพติด โดยการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ในรูปแบบของกิจกรรมบูรณาการผ่านการเล่น การเคลื่อนไหว การวาดภาพ การ ระบายสี การเล่นกับสี การป้ันดินน้ำมัน ฯลฯ และการทำกิจกรรมต่างๆ ที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย ได้แก่ การจัดตารางกิจกรรมให้เด็กทุกคนได้ออกกำลังกายผ่านกิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะ การเล่น ตามมุม กิจกรรมกลางแจ้ง มีการจัดกิจกรรมให้ความรู้เรื่องการดูแลอนามัยตนเองให้มีความปลอดภัย โดย บูรณาการกับโครงการเด็กดีศรีไทยรัฐ เป้าหมายที่ 11 และปฏิบัติตามสุขบัญญัติแห่งชาติ 10 ประการ เช่น การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร การรับประทานอาหารกลางวันที่ถูกหลักโภชนาการและครบ 5 หมู่ การล้างชามช้อนเมื่อรับประทานอาหารกลางวันเสร็จ การแปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวัน การ นอนกลางวันและเก็บท่ีนอน การรับประทานอาหารเสรมิ (นม) การทำความสะอาดหลังจากเขา้ ห้องน้ำ หอ้ ง ส้วม มีการจัดกิจกรรมตรวจร่างกาย รวมท้ังเครื่องแต่งกาย และการปฏิบัติตามกฎระเบียบของโรงเรียน มี ห้องพยาบาลภายในโรงเรียนท่ีถูกสุขลักษณะและมีผู้ดูแลในการใช้ยา มีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงเด็กเป็น รายบุคคล อย่างน้อยปีการศึกษาละ 4 ครั้ง จัดกิจกรรมทดสอบสมรรถภาพทางกาย จัดกิจกรรมให้ความรู้ แนะนำ ส่ังสอน ใหเ้ ดก็ ๆ รู้ถึงพิษภัยต่างๆ ของยาเสพติด ส่ิงมอมเมา รวมถึงเรื่องอุบัติเหตุและโรคภัยไข้เจ็บ ต่างๆ รวมท้ังการเฝ้าระวงั โรคภัยไขเ้ จ็บตามฤดกู าล มีการจัดสภาพแวดลอ้ มภายในหอ้ งเรียนใหเ้ หมาะสมกับ วัย มีความปลอดภยั สำหรับเดก็ ด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุมและแสดงออกทางอารมณ์ ได้ส่งเสริมพัฒนาด้านอารมณ์ จิตใจ โดยให้ เด็กได้เข้ารว่ มกิจกรรมการเคล่ือนไหวและจังหวะอย่างอิสระตามจงั หวะและดนตรีที่ใช้ประกอบ เพื่อพัฒนา อวัยวะทุกส่วนให้มีความสัมพันธ์กันและการเคล่ือนไหวรา่ งกายที่คล่องแคล่ว เพื่อให้เด็กผ่อนคลายความตึง

-15- เครียด สนองความต้องการตามธรรมชาติ ความสนใจ และความพอใจของเด็ก เพื่อให้เด็กได้รับ ประสบการณ์ ความสนุกสนานร่ืนเริง กล้าแสดงออกและมั่นใจในตนเอง รู้สึกชื่นชมในดนตรี และการ เคลื่อนไหว จากกิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะ ส่งเสริมให้เด็กมีอารมณ์ร่าเริงแจ่มใส เกิดความ เพลิดเพลิน มีความม่ันใจและกล้าแสดงออก รู้จักการปรับตัวในการทำงานร่วมกับผู้อ่ืน ฝึกความอดทน ความเอ้ือเฟ้ือเผ่ือแผ่ และความรับผดิ ชอบ เพอ่ื ให้เดก็ ชื่นชมในสงิ่ สวยงามผ่านงานศลิ ปะและเข้าใจธรรมชาติ รอบตัว จากกิจกรรมสร้างสรรค์ ฝึกให้เด็กรจู้ ักการควบคุมอารมณ์ตนเองโดยผ่านการจัดกิจกรรมประจำวัน ได้แก่ กจิ กรรมการเคลอ่ื นไหวและจังหวะ กิจกรรมสร้างสรรค์ การเล่นตามมุม กิจกรรมในวงกลม กิจกรรม กลางแจ้ง และเกมการศึกษา พฒั นาการด้านสังคม ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการดา้ นสังคม เพ่ือฝึกให้เด็ก เป็นคนมีระเบียบวินัย มี ความรบั ผดิ ชอบ และการปรับตัวในการอยู่รว่ มกับผู้อื่น เพื่อสร้างกฎกติกาในการอย่รู ่วมกันภายในห้องเรยี น (ข้อตกลงของห้องเรียน) จัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์โดยสอดแทรกเนื้อหาเกี่ยวกับความซ่ือสัตย์สุจริต การช่วยเหลือ แบ่งปัน มารยาทในการพูด การฟัง การรับประทานอาหาร การแสดงความเคารพต่อผู้อ่ืน การเชื่อฟัง มีสัมมาคารวะ และปฏิบตั ิตามคำสอนของพ่อ แม่ ผู้ปกครอง และครู การเป็นผู้นำและผู้ตามท่ีดี เป็นต้น ฝึกให้เด็กสวดมนต์ไหว้พระก่อนนอนกลางวัน ปูที่นอนและเก็บที่นอนด้วยตนเอง มีกิจกรรม รับผิดชอบตามจุดต่างๆ ในการร่วมรักษาดูแลความสะอาดอาคารเรียน ให้เด็กเข้าร่วมกิจกรรมวันสำคัญ ได้แก่ วันเด็ก วันไหว้ครู วันแม่แห่งชาติ และวันสำคัญทางศาสนา ที่โรงเรียนและชุมชนจัดขึ้น จัดกิจกรรม ออมทรพั ย์ เพอื่ ให้เด็กรจู้ กั ประหยดั อดออม และการมีวินยั ในตนเอง ด้านสติปัญญา ส่ือสารได้ มที ักษะการคิดพ้ืนฐาน และแสวงหาความรู้ได้โรงเรียนได้สง่ เสริมให้เดก็ มี พฒั นาการด้านสติปัญญา โดยจัดกิจกรรมที่สง่ เสริมการพฒั นาการคดิ เพ่ือให้เดก็ ได้พัฒนาความคิดรวบยอด สังเกต จำแนก เปรียบเทียบ จัดหมวดหมู่ เรียงลำดับเหตุการณ์ แก้ปัญหา โดยการจัดกิจกรรมให้เด็กได้ สนทนา อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น การค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ทดลอง ศึกษานอกสถานที่ การจัดให้เด็กได้เล่นเกมการศึกษาทเี่ หมาะสมกับวัย ฝึกการแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน เป็นต้น จดั กิจกรรม ที่ส่งเสริมการพัฒนาภาษา เพ่ือให้เด็กได้มีโอกาสใช้ภาษาส่ือสาร ถ่ายทอดความรู้สึก ความนึกคิด ความรู้ ความเข้าใจในสิ่งต่างๆ ที่เด็กมีประสบการณ์ โดยการจัดกิจกรรมทางภาษาท่ีมีความหลากหลายใน สภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ ปลูกฝังให้เด็กรักการอ่าน ซ่ึงต้องคำนึงถึงภาษาท่ีเหมาะสมกับเด็กเป็น สำคัญด้วย มีการส่งเสริมจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ เพื่อให้เด็กได้พัฒนาความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ ได้ถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกและเห็นความสวยงามของสิ่งต่างๆ รอบตัว โดยใช้กิจกรรมศิลปะและดนตรี เป็นส่ือ ใช้การเคล่ือนไหวและจังหวะตามจินตนาการ การประดิษฐ์สิ่งต่างๆ อย่างอิสระตามความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ของเด็ก การเล่นบทบาทสมมติ การเล่นตามมุมต่างๆ จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนรู้โดยใช้การ สืบเสาะหาความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยการสังเกต สงสัย ถามคำถาม คาดคะเนคำตอบ ออกแบบวิธีการหาความรู้ ลงมือทำ บันทึก การเรียนรู้ และการนำเสนอข้อมูลการเรียนรู้ จัดกิจกรรมที่ ส่งเสริมให้เด็กใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแสวงหาความรู้ โดยมีการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือสาร การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ และการเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ โดยการเข้า

-16- ร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยแห่งประเทศไทย มีการจัดสภาพแวดล้อมภายในห้องเรียนเพื่อ สง่ เสริมบรรยากาศในการเรียนรู้ อย่างเหมาะสมกบั วยั และได้พัฒนาอยา่ งเตม็ ศักยภาพ แผนงาน/โครงการ หลกั ฐาน/เอกสารรอ่ งรอย - โครงพฒั นาการเรียนการสอนระดับปฐมวยั - รายงานกจิ กรรมตามโครงการ - โครงการสง่ เสรมิ สขุ ภาพ - แบบบนั ทึกสง่ เสรมิ สขุ ภาพอนามัย - โครงการกจิ กรรมวนั สำคญั - แบบบันทึก น้ำหนกั ส่วนสงู - กจิ กรรมแขง่ ขันกีฬาระดบั ปฐมวัย - แบบบนั ทกึ ผลหลังการจดั กิจกรรม - กจิ กรรมหนูน้อยรักสะอาด การจดั กจิ วตั รประจำวัน - รปู ภาพการจัดกจิ กรรม - กิจกรรมตามแผนการจดั ประสบการณ์ - เกียรติบัตร - กิจกรรมสง่ เสรมิ การแสดงออก - แบบบันทกึ ผลหลังการจัดกจิ กรรม - กิจกรรมเดก็ ดศี รไี ทยรฐั - กจิ กรรมทัศนศึกษา - กจิ กรรมหนูน้อยนักสำรวจ - กจิ กรรมตามโครงการบา้ นนกั วิทยาศาสตร์น้อย - กิจกรรมแข่งขนั ทกั ษะทางวชิ าการระดับปฐมวัย 2. ผลการดำเนนิ งาน 2.1 เชงิ ปรมิ าณ 1. เดก็ ปฐมวยั ร้อยละ 98 มพี ัฒนาการด้านรา่ งกาย แข็งแรง มีสขุ นสิ ัยทีด่ ี 2. เดก็ ปฐมวัยรอ้ ยละ 96 มีพัฒนาการทางอารมณ์ จิตใจ ควบคมุ ตนเองและแสดงออกทางอารมณ์ 3. เด็กปฐมวยั รอ้ ยละ 98 มพี ัฒนาการด้านสังคม ชว่ ยเหลือตนและเปน็ สมาชกิ ทีด่ ีของสังคม และมี คณุ ลักษณะอันพึงประสงคต์ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4. เด็กปฐมวัยร้อยละ 92 มพี ัฒนาการดา้ นสติปญั ญา ส่ือสาร มีทักษะการคิดพนื้ ฐาน และแสวงหา ความรู้ 2.2 เชิงคุณภาพ 1. เด็กมพี ฒั นาการดา้ นรา่ งกาย แขง็ แรง มสี ุขนิสยั ทดี่ ี และดูแลความปลอดภยั ของตนเองได้ สงู กวา่ คา่ เป้าหมายทส่ี ถานศกึ ษากำหนด 2. เด็กมีพัฒนาการทางอารมณ์ จติ ใจ ควบคุมตนเองและแสดงออกทางอารมณ์ได้ สงู กว่าคา่ เปา้ หมายทส่ี ถานศกึ ษากำหนด 3. เด็กมีพฒั นาการดา้ นสงั คม ชว่ ยเหลือตนและเปน็ สมาชิกที่ดีของสงั คม สงู กว่าค่าเปา้ หมายที่ สถานศกึ ษากำหนด 4. เด็กพัฒนาการด้านสตปิ ัญญา ส่อื สารได้ มีทักษะการคดิ พื้นฐาน และแสวงหาความร้ไู ด้ สูงกวา่ คา่ เป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด

-17- 2.3 ภาพความสำเรจ็ (เกยี รติบัตร) รางวลั ตา่ ง ๆ Best Practice การแขง่ ขันศิลปหตั ถกรรม ระดับสหวิทยาเขตด่านช้าง - เหรียญทอง การแข่งขนั ปน้ั ดินน้ำมัน - เหรยี ญเงิน การแข่งขนั ฉีก ตดั ปะ รางวลั ต่าง ๆ Best Practice - บา้ นนกั วิทยาศาสตร์น้อย แห่งประเทศไทย 3. จุดเดน่ /จุดควรพัฒนา จุดเด่น ผลจากการดำเนินงานส่งผลให้เด็กมีร่างกายเติบโตตามวัย มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ มี ทักษะการเคล่ือนไหวตามวัย สามารถดูแลสุขภาพและหลีกเลี่ยงต่อสภาวะที่เสี่ยงต่ออุบัติเหตุ ภัย และสิ่ง เสพติด มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมท่ีพึงประสงค์ มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม ทำงาน รว่ มกบั ผอู้ ื่นได้อย่างมคี วามสุข มีอารมณแ์ จม่ ใส รา่ เริง สนกุ สนาน สามารถรว่ มกิจกรรม อยู่ในสังคมไดอ้ ย่าง มีความสุข มีพฒั นาการด้านสติปญั ญาและการเรยี นรู้ไดต้ ามกิจกรรมประจำวันเป็นอย่างดี จุดทคี่ วรพฒั นา ควรจดั กิจกรรมส่งเสริมให้เด็กกล้าแสดงออกและส่งเสรมิ การเป็นผนู้ ำ และผูต้ ามท่ี ดีมากข้ึน ส่งเสริมการใช้ภาษาเก่ียวกับการเล่าเร่ืองส่ือความหมายให้ผู้อ่ืนเข้าใจ และการใช้วาจาท่ีสุภาพ เหมาะสมตามวัย 4. แผนงานหรอื แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพให้สูงขนึ้ ในการพฒั นาเกี่ยวกับคณุ ภาพเดก็ ทางโรงเรียนมีการจัดทำโครงการและกจิ กรรมตา่ ง ๆ เพ่อื นำมา พัฒนาด้านคุณภาพเด็กให้บรรลเุ ป้าหมายในปกี ารศกึ ษา 2564 ดงั น้ี • โครงการพัฒนาคุณภาพเดก็ ปฐมวัย มกี ารทำกจิ กรรมเสริมสติปัญญาให้เหมาะสมตามวัย • โครงการสง่ เสริมสุขภาพหนนู ้อยปฐมวยั ปลกู ฝงั ในเรือ่ งสุขนิสัยท่ีดี เช่น การล้างมือ ก่อน รบั ประทานอาหาร ล้างมือก่อนออกจากห้องนำ้ หอ้ งสว้ ม และการเลือกรบั ประทานอาหารท่มี ี ประโยชน์ ให้เปน็ นิสยั • โครงการหนูนอ้ ยเรียนรู้สู่โลกกว้างเพื่อให้เด็กไดเ้ รยี นรู้ การใช้คำพดู ขอบคุณ ขอโทษ การใช้วาจา สภุ าพเหมาะสมกบั วัย มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ระดับคุณภาพ : ดีเลิศ 1. วธิ ีการ/กระบวนการพฒั นา ด้านการบริหารและการจดั การหลักสูตรทีค่ รอบคลุมพัฒนาการท้ัง 4 ด้าน สอดคล้องกับบรบิ ทของ ท้องถ่ินมีการจัดทำหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษาที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งในการจัดทำหลักสูตร ประกอบไปด้วย ครู ผู้บริหารสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ผู้แทน ชุมชน/ ผ้ทู รงคุณวฒุ ิ และหลักสูตรกไ็ ดผ้ ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา มกี ารนำผล การวิเคราะห์ เด็ก บริบท สภาพปัญหา ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย หลักสูตร การศึกษาปฐมวัยมีความสอดคล้องหรือสัมพันธ์กันเกี่ยวกับ วิสัยทัศน์ ภารกิจ เป้าหมาย คุณลักษณะที่พึง ประสงค์ สาระการเรียนรู้รายปี การจัดประสบการณ์ การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ สื่อและแหล่งการ

-18- เรียนรู้ การประเมินพัฒนาการ การบริหารจัดการหลักสูตร เป็นต้น มีการนิเทศ กำกับ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมิน ผลการใช้หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมเพื่ อให้ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้นำท้องถ่ิน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเกิดความตระหนัก และมีความรู้ความเข้าใจ เก่ียวกับหลักการจัดการศึกษาปฐมวัย เช่น การประชุมผู้ปกครอง การประชุมคณะกรรมการสถานศึ กษา การประชาสัมพนั ธ์ การและเปลี่ยนเรียนรู้ การให้คำแนะนำ การให้ศึกษาแผน่ พบั /แผ่นปลิว โครงการเยี่ยม บ้าน เป็นต้น สถานศึกษาเปิดโอกาสให้ผู้ปกครอง ชุมชน และท้องถิ่น เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ท้ังทางตรงและทางอ้อม สถานศึกษาจัดให้มีส่ิงที่จำเป็น เอื้อประโยชน์หรืออำนวยความสะดวกต่อการ พัฒนาเด็ก ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์และจิตใจ สังคม และสติปัญญา ได้แก่ มีอุปกรณ์ ของเล่น ของใช้ เครอื่ งนอน แปรงสีฟัน ยาสีฟัน แก้วน้ำ ผ้าเชด็ หน้าเชด็ มือ จำนวนเพียงพอกับเด็ก สะอาด และปลอดภัย มี มุมหนังสือ มุมบ้าน มุมบล็อก มุมคณิตศาสตร์ มุมวิทยาศาสตร์ เป็นต้น มีสนามเด็กเล่น มีเคร่ืองเล่นท่ี เหมาะสม และปลอดภัย มีที่สำหรับแปรงฟัน ล้างมือ ท้ังนี้เพื่อพัฒนาเด็กให้มีพัฒนาการทุกด้านสูงสุดตาม ศกั ยภาพ ด้านการจัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน มีครูประจำการที่จบการศึกษาปฐมวัย และได้เข้ารับการ พัฒนาอบรมอย่างต่อเนื่อง ทำให้มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าท่ีอย่างมี ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล โดยครูปฏิบัติหน้าที่ด้วยความมุ่งมั่น ทุ่มเทให้กับการสอนอย่างเต็มเวลา และเต็มความสามารถ เพ่อื พัฒนาเด็กให้มีคณุ ภาพบรรลุตามเปา้ หมายของหลกั สูตร ซง่ึ ครตู ้องเข้าใจปรัชญา หลักการ และธรรมชาติของการจัดการศึกษาปฐมวัย เพื่อนำมาจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ การจัด กิจกรรมประจำวัน และการประเมินพัฒนาการเด็ก มีการจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ท่ีสอดคล้องกับ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย โดยครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน คือ ร่างกาย อารมณ์และจิตใจ สังคม และ สติปัญญา มีการวิเคราะห์เด็กเป็นรายบุคคลเพื่อนำข้อมูลมาจัดประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีหลากหลาย สอดคล้องกับความแตกต่างของเด็ก มีการให้รางวัลหรือชื่นชมเมื่อเด็กแสดงพฤติกรรมท่ีเหมาะสม มีการ ผลิต/จัดหาสอื่ ทเ่ี หมาะสมกับวัยของเด็ก ด้ า น ก า ร ส่ งเส ริ ม ให้ ค รู มี ค ว า ม เชี่ ย ว ช า ญ ด้ า น ก า ร จั ด ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ มี ก า ร จั ด ท ำ แ ผ น ก า ร จั ด ประสบการณ์ที่สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย โดยครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน คือ ร่างกาย อารมณ์และจิตใจ สังคม และสติปัญญา มีการวิเคราะห์เด็กเป็นรายบุคคลเพื่อนำข้อมูลมาจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ที่หลากหลายสอดคล้องกับความแตกต่างของเด็ก มีการให้รางวัลหรือชื่นชมเมื่อเด็กแสดง พฤติกรรมที่เหมาะสม มีการผลิต/จัดหาส่ือที่เหมาะสมกับวัยของเด็ก มีความปลอดภัยและส่งเสริม พัฒนาการของเด็กทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ มุมบล็อก มุมหนงั สอื มุมศิลปะ มุมบทบาทสมมติ มุมวิทยาศาสตร์ มุม บ้าน มุมเกมการศึกษา มีการวัดและประเมินพัฒนาการของเด็กตามสภาพจริง ด้วยวิธีการท่ีหลากหลายมี การสรุปผลการพัฒนาการของเด็กและสื่อสารกับผ้ปู กครองให้ทราบเกี่ยวกบั ความก้าวหน้าและแนวทางการ ส่งเสริมพัฒนาเดก็ โดยการประชุมผู้ปกครองอยา่ งนอ้ ยภาคเรยี นละ 1 ครง้ั การทำวจิ ัยและนำผลการวิจัยมา พฒั นาการจัดการเรยี นรูเ้ พือ่ ใชใ้ นการแก้ปัญหาและการพัฒนาเดก็ อย่างน้อยปกี ารศกึ ษาละ 1 เร่ือง ด้านการจัดสภาพแวดล้อมและส่ือเพื่อการเรียนรู้ อย่างปลอดภัยและเพียงพอมีการจัด สภาพแวดล้อมท้ังภายในและภายนอกห้องเรียนท่ีส่งเสริมให้เด็กเกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุข และส่งเสริม

-19- พฒั นาการทุกด้าน โดยเน้นในเรื่องของความสะอาด ความปลอดภัย สะดวกในการทำกจิ กรรม มีความร้สู ึกท่ี ดี ให้ความรักและความเมตตาต่อเด็กเสมือนลกู หลาน ให้คำแนะนำและบริการแก่ผปู้ กครองด้วยการพูดจา ท่ีเป็นมิตร ยิ้มแย้ม แจ่มใส มีการขอความร่วมมือและการสนับสนุนจากผู้ปกครองในการพัฒนา/แก้ไข พัฒนาการของเด็ก มีการสอบถาม การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และรับฟังความคิดเห็นจากผู้ปกครองจาก การเยยี่ มบ้านเดก็ และการประชุมผู้ปกครอง ด้านการให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้ เพ่ือสนับสนุนการจัดประสบการณ์ สำหรับครูโรงเรียนจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการเพ่ือการจัดการเรียนรู้ เช่น จัดให้มีห้องคอมพิวเตอร์เพ่ือให้เด็ก ได้ศึกษาหาข้อมูลทางโลกออนไลน์ และ มีสื่อเทคโนโลยีใช้ในการ สืบเสาะหาความรู้ มีการจัดส่ิงอำนวยความสะดวกให้บริการด้านส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณ์เพ่ือ สนบั สนุนการจดั ประสบการณเ์ พอื่ พฒั นาครูอยา่ งเพียงพอและท่ัวถึง ด้านระบบบริหารคุณภาพท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมมีการกำหนดมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษาท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และอัตลักษณ์ท่ีสถานศึกษากำหนด มีการจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย มีการ ประเมินผลตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดำเนินงานและมีการนำผลการประเมินไป ปรับปรุงพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม พร้อมทั้งรายงานผลการประเมินตนเองให้ หน่วยงานตน้ สงั กัด แผนงาน/โครงการ หลกั ฐาน/เอกสารร่องรอย - โครงการพฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษา - หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั - โครงการพัฒนาบุคลากรและศกึ ษาแหลง่ เรยี นรู้ - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - โครงการศนู ยเ์ รยี นรูเ้ ศรษฐกจิ พอเพยี ง - รูปภาพกิจกรรม - โครงการพัฒนาการเรยี นการสอนระดบั ปฐมวัย - วฒุ ิบัตร การขยายผลสเู่ พื่อนครู - โครงการส่งเสริมการประกนั คุณภาพการศกึ ษา - รายงานผลเอกสารชนั้ เรยี น - โครงการระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี น - ตารางกจิ กรรมประจำวัน - กจิ กรรมคืนครสู หู่ ้องเรียน - ภาพถา่ ยกจิ กรรม - กจิ กรรม PLC - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - กจิ กรรมประชุมเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร - หลักฐานการใช้ห้องคอมพิวเตอร์ สื่อ - กิจกรรมอบรมคูปองครู ในห้องเรยี น - กิจกรรมเด็กนอ้ ยนักสำรวจ - บันทกึ การใชส้ ื่อและแหล่งเรยี นรู้ - กิจกรรมปรับปรงุ สภาพแวดล้อมพัฒนาแหล่งเรยี นรู้ - รายงานผลการประเมินตนเอง - กจิ กรรมเรียนร้แู หล่งเรียนรู้ในโรงเรยี น - การนเิ ทศตดิ ตาม - กิจกรรมการใช้ห้องคอมพิวเตอร์ แหล่งเรียนรู้ห้องสมุดมีชีวิต ตน้ แบบ - กิจกรรมจดั หาสือ่ การเรยี นการสอน

-20- 2. ผลการดำเนินงาน 2.1 เชิงปรมิ าณ 1.โรงเรยี นมกี ารประเมนิ และปรบั ปรุงหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศักราช 2561 สอดคล้องกับ บรบิ ทท้องถิ่น รอ้ ยละ 90 2. โรงเรียนมีครูจบตรงตามเอกปฐมวยั จำนวน 2 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100 3. ครทู กุ คนเข้ารับการอบรมเพอ่ื ให้มคี วามเช่ียวชาญด้านการจดั ประสบการณ์ รอ้ ยละ 95 4. โรงเรยี นไดผ้ า่ นคัดเลือกเป็นหอ้ งเรยี นคุณภาพปฐมวยั ของตำบลหนองมะค่าโมง 5. โรงเรียนจัดบรกิ ารสือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศและส่ิงอำนวยความสะดวกเพ่ือสนบั สนุนการจัด ประสบการณ์ ร้อยละ 90 6. มรี ะบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา การช้ีแนะระหวา่ งการปฏิบตั ิงานท่สี ง่ ตอ่ คณุ ภาพ มาตรฐานของสถานศึกษา บรู ณาการการปฏบิ ัตงิ านและเปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทกุ ฝา่ ย มสี ว่ น ร่วม ร้อยละ 95 2.2 เชงิ คุณภาพ โรงเรียนได้มีการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจของสถานศึกษาไว้อย่างชัดเจน มี องค์ประกอบท่ีสำคัญเพื่อที่จะขับเคลื่อนการศึกษาระดับปฐมวัย มีการพัฒนาวชิ าการที่เน้นคุณภาพผู้เรียน รอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ได้มีการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาและพัฒนาหลักสูตร การศึกษาปฐมวัยให้สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น พิจารณาจากวัยของเด็ก ประสบการณ์ของเด็ก โดย เป็นหลักสูตรท่ีมงุ่ พัฒนาเด็กทุกด้าน ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปญั ญา เพ่อื ให้ผู้เรียนมี ความสขุ ในการเรียนรู้ สูงกว่าคา่ ทส่ี ถานศึกษากำหนด โรงเรียนมีระบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของสถานศึกษาอย่างเปน็ ระบบ ชัดเจน ท้งั ในการวางแผน พฒั นาคณุ ภาพการจดั การศึกษา การนำแผนไปปรบั ใช้และปฏิบัติ มีการตดิ ตามตรวจสอบ ประเมินผลและ ปรบั ปรงุ พัฒนางาน สูงกว่าค่าทส่ี ถานศึกษากำหนด 2.3 ภาพความสำเร็จ (เกยี รตบิ ตั ร) รางวัลต่าง ๆ Best Practice - บา้ นนกั วิทยาศาสตร์น้อย แห่งประเทศไทย 3. จดุ เด่น/จดุ ควรพัฒนา จากผลการดำเนินงานส่งผลให้มีหลักสูตรปฐมวัยท่ีสอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่นเป็นแนวปฏิบัติในการจัด การศึกษาระดับปฐมวัย เพื่อพัฒนาให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ท่ีเหมาะสมกับวัย ความสามารถ และความแตกต่างระหว่างบุคคล มีการสรา้ งการมีส่วนร่วมและแสวงหา ความร่วมมือกับผู้ปกครอง ชุมชน และท้องถ่ิน ครูได้รับการพัฒนาด้านวิชาชีพและปฏิบัติหน้าที่ด้วยความ มุ่งมั่น ทุ่มเทให้กับการสอนอย่างเต็มเวลาและเต็มความสามารถโดยได้ตระหนักอยู่เสมอว่าการพัฒนา คณุ ภาพเดก็ น้ันถือวา่ เด็กมีความสำคญั ท่สี ดุ กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้เด็กสามารถพัฒนาตน ตามธรรมชาติ สอดคล้องกับพัฒนาการและเต็มตามศักยภาพนั้น ส่งผลให้ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ อย่างมีประสิทธภิ าพและเกดิ ประสิทธผิ ล

-21- จุดควรพัฒนา จัดสภาพแวดล้อมภายในสนามเด็กเล่นให้ปลอดภัย จัดหาดูแลซ่อมแซมเครื่องเล่น สนามให้ปลอดภัยและพอเพยี ง ตอ่ จำนวน และวัยของเด็ก 4. แผนงานหรือแนวทางการพัฒนาคุณภาพให้สูงขนึ้ ในการพัฒนาทางโรงเรยี นมีการจัดทำโครงการและกจิ กรรมตา่ งๆเพ่อื นำมาพฒั นาด้านกระบวนการ บริหารและการจดั การให้บรรลุเปา้ หมายในปีการศึกษา 2564 ดงั นี้ • โครงการสง่ เสริมครใู ห้มีความเชย่ี วชาญด้านการจดั ประสบการณ์ โดยใหค้ รูเข้ารับการ อบรมตรงกับสายการสอนของตนเองเพือ่ นำมาพัฒนาการจัดประสบการณ์ให้กับเดก็ • โครงการห้องเรียนน่าอยู่ มีการจดั สภาพแวดลอ้ มและสอ่ื เพ่ือการเรยี นรู้ อย่างปลอดภัย และพอเพียง มกี ารจดั สภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้ อยา่ งปลอดภัย และพอเพยี ง เชน่ พัฒนาเคร่ืองเล่นสนามและระบบสาธารณูปโภคให้เพยี งพอและปลอดภยั กบั เด็ก • โครงการนเิ ทศติดตามผล กำหนดแผนการพัฒนาครูอย่างชดั เจน เพ่ือให้มปี ระสิทธิภาพ อย่างชดั เจนเด็กไดผ้ ลมากขน้ึ มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณ์ท่ีเน้นเดก็ เปน็ สำคัญ ระดับคณุ ภาพ : ยอดเยี่ยม 1. วธิ ีการ/กระบวนการพฒั นา ด้านการจัดประสบการณ์ให้เด็กมีพัฒนาการทกุ ด้าน อย่างสมดุลเต็มศักยภาพ จัดการศึกษาปฐมวัย มุ่งเน้นความสำคัญของการพัฒนาการในทุกๆ ด้าน ท้ังทางด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา มีความรู้ คุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต ซึ่งเป็นการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีเน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญ เพ่ือสามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างเป็นสุข ภายใต้คำว่า เก่ง ดี มีสุข ประสบการณ์ใน รูปแบบบูรณาการการเรียนรู้ แบบเรียนผ่านเล่น เพ่ือให้เด็กได้ประสบการณ์ตรง เกิดการเรียนรู้และมีการ พัฒนาท้ังทางด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา ซ่ึงสามารถยืดหยุ่นได้ความเหมาะสมและ สอดคลอ้ งกบั หลักสูตรปฐมวัย ท้ังในห้องเรียนและนอกห้องเรียน มีการใช้ส่ือและเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับ วัย จัดประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีครอบคลุมพัฒนาการในทุกๆ ด้านให้เหมาะสมกับวัย ดังน้ี ด้านร่างกาย พัฒนาการเคลื่อนไหวทางร่างกายเด็กเคล่ือนไหวอย่างเหมาะสมตามจินตนาการเพื่อให้ร่างกายทุกส่วนทั้ง กล้ามเน้ือมัดใหญ่มัดเล็ก ให้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพด้านอารมณ์ จิตใจ เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์ ความรู้สึกได้อย่างเหมาะสม รู้จักยับย้ังช่ังใจ รู้จักการรอคอย กล้าแสดงออก ช่วยเหลือแบ่งปันมีความ รับผิดชอบด้านสังคม เด็กช่วยเหลือตัวเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ มีวินัยในตนเอง เล่นร่วมกับ ผู้อื่นได้ มีสัมมาคารวะต่อผู้ใหญ่ด้านสติปัญญามีความคิดร่วมยอด รู้จักการแก้ปัญหา ส่ือสารและมีทักษะ ความคิดพืน้ ฐานแสวงหาความรไู้ ด้อยา่ งเหมาะสมตามวัย ด้านการสร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอย่างมีความสุข จัดการเรียนรู้ ผ่านการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเองและการเรียนรู้รายกลุ่มเพื่อก่อให้เกิดความมีน้ำใจ ความสามัคคี การ แบ่งปัน และการรอคอย เพ่ือส่งผลให้เด็กเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีความสุข จัดบรรยากาศในช้ันเรียนที่ ส่งเสริมความสนใจให้แก่ผู้เรียน ช้ันเรียนมีบรรยากาศเต็มไปด้วยความอบอุ่น ความเห็นอกเห็นใจ มีความ

-22- เอื้อเผื่อเผื่อแต่ต่อกันและกัน ซึ่งเป็นแรงจูงใจภายนอกท่ีกระตุ้นให้ผู้เรียนรักการอยู่ร่วมกันในชั้นเรียน และ ปลกู ฝงั คณุ ธรรม จริยธรรม ให้แก่เดก็ นักเรยี น ด้านการจัดบรรยากาศท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ ใช้ส่ือและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัยห้องเรียนมี บรรยากาศ แจ่มใส กว้างขวางพอเหมาะ มีมุมส่งเสริมประสบการณ์การเรียนรู้ มีการตกแต่งห้องเรียนให้ สดใส และมีสื่อการเรียนรู้ที่เอ้ือต่อการจัดประสบการณ์การเรียนการสอน การประเมินพัฒนาการของเด็ก ปฐมวัย จากการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และการจัดกิจวัตรประจำวัน ด้วยเครื่องมือและวิธีการที่ หลากหลาย เช่น การสังเกต การสอบถาม การสำรวจ และการวิเคราะห์ผลพัฒนาการของเด็ก โดยให้ ผู้ปกครองมีส่วนรว่ ม เพอื่ จะไดน้ ำผลการประเมินไปพฒั นาเด็กให้มีพฒั นาการทุกด้านสูงสุดตามศักยภาพ ด้านการประเมินพฒั นาการเดก็ ตามสภาพจริงและนำผลการประเมนิ พฒั นาการเด็กไปปรับปรงุ การ จัดประสบการณ์ มีการประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวัย จากการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้และการจัด กิจวัตรประจำวัน ด้วยเครื่องมือและวิธีการท่ีหลากหลาย เช่น การสังเกต การสอบถาม การสำรวจ มีการ จัดทำแบบประเมินพัฒนาการด้านต่างๆ มีการบันทึกผลหลังการจัดกิจกรรมในแผนการจัดประสบการณ์ เพื่อนำผลมาวิเคราะห์พัฒนาการของเด็ก โดยให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วม เพื่อนำผลการประเมิน ไปพัฒนา ศักยภาพของเด็กและพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในช้ันเรียน เพ่ือพัฒนาครูอย่างเพียงพอและ ทั่วถึง มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และอัต ลักษณ์ที่สถานศึกษากำหนด มีการจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ท่ีสอดคล้องกับมาตรฐาน ตามหลักสูตร การศึกษาปฐมวัย มีการประเมินผลตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดำเนินงานและมี การนำผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม พร้อมทั้งรายงานผล การประเมนิ ตนเองใหห้ น่วยงานต้นสงั กัด แผนงาน/โครงการ หลักฐาน/เอกสารร่องรอย - โครงการพัฒนาการเรียนการสอนระดบั ปฐมวัย - รายงานกจิ กรรมตามโครงการ - โครงการความเปน็ พลเมืองดแี ละคุณธรรมจรยิ ธรรม - รปู ภาพการจดั กิจกรรม - กิจกรรมตามแผนการจดั ประสบการณ์ - แผนการจดั ประสบการณ์ - กิจกรรมหนูน้อยเรยี นนกั สำรวจ - การบันทกึ ผลหลังการจัดประสบการณ์ - การจัดประสบการณต์ ามแผนกจิ กรรมประจำวนั - บันทกึ การเยย่ี มบ้าน อบ. 01 - กจิ กรรมแหลง่ เรียนร้ใู นสถานศกึ ษา - กจิ กรรมมุมประสบการณใ์ นช้นั เรียน - กจิ กรรมประเมินพฒั นาการ - สารสัมพนั ธบ์ ้านและชุมชน ประชมุ ผู้ปกครองนกั เรียน

-23- 2. ผลการดำเนินงาน 2.1 เชิงปรมิ าณ 1. เด็กมพี ัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสตปิ ัญญาตามเกณฑ์ ร้อยละ 95 2. เดก็ ไดร้ บั ประสบการณ์ตรงบูรณาการศาสตรพ์ ระราชา โดยผ่านการเล่นและการลงมือปฏิบัติ จรงิ ร้อยละ 100 3. มสี ภาพแวดล้อมทั้งในและนอกห้องเรียนท่ีเออื้ ต่อการเรียนรู้ ใช้ส่อื และเทคโนโลยีทเ่ี หมาะสม กับวัย ร้อยละ 95 4. ครูประเมนิ พัฒนาการเด็กตามสภาพจริงด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย ร้อยละ 95 2.2 เชงิ คุณภาพ 1. เดก็ มพี ฒั นาด้านร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คมและสติปัญญา สูงกวา่ ท่ีสถานศกึ ษากำหนด 2. เด็กได้รบั ประสบการณ์ตรงบูรณาการศาสตร์ โดยผา่ นการเล่นและการลงมือปฏิบัตจิ รงิ สูงกวา่ ค่าเป้าหมายกำหนดทีส่ ถานศึกษากำหนด 3. มสี ภาพแวดล้อมทั้งในและนอกห้องเรยี นท่เี ออื้ ต่อการเรียนรู้ สูงกว่าท่ีสถานศึกษากำหนด 4. ครูประเมินพฒั นาการเด็กตามสภาพจรงิ สงู กวา่ ค่าเป้าหมายทสี่ ถานศึกษากำหนด 2.3 ภาพความสำเร็จ (เกียรตบิ ัตร) รางวลั ต่างๆ Best Practice - บา้ นนักวทิ ยาศาสตร์น้อย แห่งประเทศไทย 3. จุดเด่น/จดุ ควรพัฒนา ผลจาการดำเนินงานส่งผลให้เด็กมีพัฒนาการอย่างสมดุลเต็มศักยภาพจากการเรียนรู้ผ่านการเล่น และปฏิบัติกิจกรรมอย่างมีความสุข มีการจัดบรรยากาศ สภาพห้องเรียนเอ้ือต่อการเรียนรู้และใช้ส่ือที่ เหมาะสมกับวยั มีการประเมินพัฒนาการทีห่ ลากหลายและนำผลการประเมินไปปรบั ปรุงพัฒนาเดก็ จดุ ควรพฒั นา ควรจัดกิจกรรมในการพัฒนาเด็กให้ครบตามโครงการตา่ งๆ เพื่อสรา้ งโอกาสให้เด็ก ไดร้ ับประสบการณ์ตรง 4. แผนงานหรือแนวทางการพฒั นาคุณภาพให้สูงขึ้น ในการพฒั นาทางโรงเรียนมีการจดั ทำโครงการและกิจกรรมตา่ งๆเพือ่ นำมาพฒั นาด้านการ จัดประสบการณ์ทีเ่ น้นเด็กเป็นสำคญั ให้บรรลเุ ปา้ หมายในปกี ารศกึ ษา 2564 ดังนี้ • โครงการพฒั นาคุณภาพเดก็ ปฐมวยั โดยมกี ารจัดอุปกรณส์ ่ือการเรยี นการสอนที่ หลากหลายเพ่ือใหเ้ ดก็ มีความสนใจในการเรียนร้เู ร่ืองตา่ งๆ • โครงการห้องเรยี นน่าอยู่ พัฒนาเคร่ืองเล่นสนามและระบบสาธารณูปโภคใหเ้ พยี งพอและ ปลอดภัยกบั เดก็ • โครงการหนนู อ้ ยเรียนรูส้ ู่โลกกวา้ งมกี ารจัดกจิ กรรมส่งเสริมเดก็ เรียนร้กู ารอยรู่ ่วมกนั ท้ังใน และนอกโรงเรียน

-24- ตอนท่ี 2.2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน 1. สรปุ ผลการประเมนิ มาตรฐานการศึกษา ระดับการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน มาตรฐานการศึกษา ระดับคุณภาพ มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผ้เู รียน ดีเลิศ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ดเี ลิศ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผูเ้ รียนเป็นสำคัญ ดีเลิศ สรปุ ผลการประเมินมาตรฐานการศึกษา 3 มาตรฐาน ดเี ลิศ 2. ประเมนิ มาตรฐานการศกึ ษาระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1คุณภาพของผเู้ รียน ระดับคุณภาพ : ดเี ลศิ 1. วธิ กี าร/กระบวนการพัฒนา โรงเรียนกำหนดเป้าหมายพัฒนาผลสัมฤทธิ์ตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยเน้น ความสามารถ ในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ โดยสถานศึกษาได้จัดให้มีการพัฒนา ทักษะในการแสวงหาความรู้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ รวมถึงงานห้องสมุด โดยให้ดำเนินการในรูปแบบของ การศึกษาค้นคว้าสืบค้นจากห้องสมุดซ่ึงห้องสมุดมีการบริการสื่ออินเทอร์เน็ต และเทคโนโลยีสารสนเทศท่ี เอื้อให้ผู้เรียนทกุ ระดับชั้นได้เรียนรูไ้ ด้ด้วยตนเอง มกี ิจกรรมพัฒนาศกั ยภาพของนักเรยี นในวชิ าภาษาไทยโดย มีการบันทึกรักการอ่านของมูลนิธิไทยรัฐ และในวิชาภาษาอังกฤษมีการท่องคำศัพท์การอ่านออกเสียง ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนความ คดิ เหน็ และสามารถแก้ปญั หาไดโ้ ดยให้ผูเ้ รยี นสามารถสรปุ ความคิดจากเรอ่ื งที่อ่าน ฟงั ดูและสอ่ื สารดว้ ยการ พูดหรือเขียนตามความคิด นำเสนอความคิดวิธีการแก้ปัญหาด้วยภาพหรือวิธีการของตนเองตามแนวทาง กจิ กรรมพัฒนาทักษะความคดิ วิเคราะห์ มีความรู้และทักษะพ้ืนฐานในการสรา้ งนวัตกรรม มีความสามารถ ในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการพัฒนาตนเองและสงั คมในดา้ นการเรยี นรู้ การส่ือสาร การทำงานอย่างสร้างสรรค์และมีคุณธรรมได้อย่างเหมาะสม ผู้เรียนมคี วามรู้ทักษะพ้ืนฐานและเจตคตทิ ่ีดีต่อ งานอาชีพ มีความสามารถในการทำงานอย่างเป็นระบบโดยมีการวางแผนการทำงาน ดำเนินงานตาม แบบอย่าง ได้อย่างรอบคอบเอาใจใส่ มานะ พากเพียร มีการตรวจสอบ ทบทวนการทำงานเป็นระยะๆ จน งานที่ดำเนินการประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์และตามเป้าหมายท่ีกำหนด ทำงานอย่างมีความสุข มุ่งมั่นพัฒนางานและภูมิใจในผลงานของตนเอง สามารถทำงานเป็นหมู่คณะได้ มีความรู้สึกท่ีดีต่อการ ทำงาน สามารถบอกแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับงานอาชีพและหาความรู้เกี่ยวกับอาชีพที่ตนเองสนใจ เพื่อนำไป พัฒนาและประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจำวนั และสามารถอยู่รว่ มกนั ในสังคมไดเ้ ป็นอย่างดี ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมท่ีดีตามเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด เป็นพลเมืองที่ดีของชาติมี ความสามัคคี ภูมิใจความเป็นชาติไทย ปฏิบัติตามหลักศาสนาที่ตนนับถือและแสดงความจงรักภักดีต่อ สถาบันพระมหากษัตรยิ ์ ปฏิบตั ิตามข้อตกลง กฎเกณฑ์และระเบียบขอ้ บังคับของโรงเรียนและสังคมไดอ้ ยา่ ง เป็นปกติ ไม่ละเมิดสิทธ์ิของผู้อื่น โดยยึดหลักความเป็นจริง ความถูกต้องในการดำเนินชีวิต โดยไม่ขัดกับ

-25- กฎหมายและวัฒนธรรมอันดีงามของสังคม เพียรพยายามในการเรียนรู้และเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนอย่างสม่ำเสมอ ด้วยการเลือกใช้ส่ืออย่าง เหมาะสม บันทกึ ความรกู้ ารคิดวิเคราะห์เป็นองคค์ วามรู้แลกเปลี่ยนเรียนร้ถู ่ายทอด เผยแพร่และนำไปใช้ใน ชีวิตประจำวันได้ อยู่ร่วมกับผู้อ่ืนไม่เบียดเบียนผู้อื่น เห็นคุณค่าของทรัพยากรต่างๆ พร้อมรับการ เปล่ียนแปลงปฏิบัติหน้าท่ีที่ได้รับมอบหมายด้วยความเพียรพยายาม ในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ให้สำเร็จ ลุล่วงตามเป้าหมายที่กำหนดด้วยความรับผิดชอบ มีความภูมิใจในท้องถ่ินและความเป็นไทยแต่งกายตาม ระเบียบ มีมารยาทท่ีงดงามแบบไทย มีสัมมาคารวะ กตัญญูกตเวทีเห็นคุณค่าช่ืนชม มีส่วนร่วมในการ อนุรักษ์สืบทอดเผยแพร่ภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ และวัฒนธรรมไทย มีส่วนร่วมใน การสืบทอดภูมิปัญญาไทย มีการยอมรับท่ีจะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่าง ความหลากหลายทางวัฒนธรรม และสามารถแก้ปัญหาได้ อยู่ร่วมกันได้ด้วยความเข้าใจท่ีถูกต้องเหมาะสม มีสุขภาวะทางร่างกายและจิตใจ สังคม มีวิธกี ารรักษาสขุ ภาพของตนเองให้แข็งแรง รกั ษาอารมณแ์ ละสุขภาพจิตให้ดอี ยู่เสมอ พรอ้ มท้ังเรียนรู้ และมีวิธีป้องกันตนเอง ไม่เพิกเฉยต่อการกระทำส่ิงที่ถูกต้องและอยู่ร่วมกันด้วยดีในครอบครัว ชุมชนและ สงั คมได้ 1) ด้านผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ ดา้ นความสามารถในการอา่ น การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ ผเู้ รียนกล่มุ สาระการเรยี นรู้ ทุกกลุ่มสาระได้ดำเนินการพัฒนาในรูปแบบของกิจกรรมและได้พัฒนาศักยภาพผู้เรียนในด้านภาษาไทย ภาษาอังกฤษ เพ่ือให้ผู้เรียนนำเสนอวิธีคิด วิธีการแก้ปัญหาด้วยภาษาหรือวิธกี ารของตนเอง มีกิจกรรมด้าน การเรยี นคณติ ศาสตรเ์ พ่อื ใหพ้ ฒั นาให้ผเู้ รยี นมีทักษะในการคิดแบบรูปธรรมและนามธรรม โรงเรียนได้ดำเนินการจัดให้มีและส่งเสริมให้ครูผู้สอนจัดการเรียนรู้โดยเน้นฝึกทักษะพื้นฐานให้ นักเรียนรู้จักการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็นและแก้ปัญหา ผู้เรียนสามารถคิดโดยใช้ข้อมูล ข้อความรู้ประกอบการคิดพิจารณาไตร่ตรองอย่างรอบคอบในการทำความ เขา้ ใจกบั เร่ืองราวแลว้ นำมาตง้ั เป็นสมมติฐานจากเร่ืองราวนั้นๆ เพ่อื นำมาใช้ในการวเิ คราะหแ์ ปลความหมาย สรุปข้อมูลอย่างสมเหตุสมผล รู้จักแยกแยะข้อเท็จจริงความคิดเห็นพิจารณาความเช่ือถือของข้อมูล แล้ว ต้งั สมมติฐานเพือ่ หาสาเหตขุ องปญั หาและสามารถหาแนวทางในการแก้ไขปญั หาได้ ดา้ นความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ผู้เรียนสามารถกำหนดออกแบบสร้างนวัตกรรมโดยอาศัย องค์ความรู้ในการแก้ปญั หาด้วยทกั ษะกระบวนการคดิ ตามทีต่ นเองสนใจและประดิษฐ์สงิ่ ที่เปน็ ประโยชน์ได้ ด้านความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศและการส่อื สาร เพื่อพฒั นาตนเองและสังคมในด้านการเรยี นรู้ การส่ือสาร การทำงาน อยา่ งสร้างสรรค์และมคี ุณธรรม ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา งานด้านการเรียนการสอนได้ดำเนินการ พัฒนา การจดั กจิ กรรม ทบทวน แกไ้ ข และปรบั ปรุงเอกสารประกอบการเรียนการสอน การจัดประมวลการ สอนและแผนการจัดการเรียนรู้ โดยในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้ทำการวิเคราะห์ตามลำดับเนื้อหาทุก รายวิชา การจัดวางตัวบุคลากรครู ผู้สอนและจัดทำตารางสอนส่งเสริมการวิจัยในช้ันเรียน ส่งเสริมนักเรียน ทม่ี คี วามสามารถ โดยพฒั นาศักยภาพผเู้ รียนตามหลกั สูตรมาตรฐานสากล

-26- ด้านความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดี ต่องานอาชีพ ผู้เรียนมีสามารถในการทำงานอย่างเป็น ระบบโดยการมีการวางแผนการทำงาน ดำเนินงานตามแบบอย่างได้รอบคอบเอาใจใส่ มานะ พากเพียร มี การตรวจสอบ ทบทวนการทำงานเป็นระยะๆ จนงานท่ีดำเนินการประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์และ เป้าหมายที่กำหนด ทำงานอย่างมีความสุข มุ่งมั่นพัฒนางานและภูมิใจในผลงานของตนเอง สามารถทำงาน เป็นหมู่คณะได้ มีความรู้สึกที่ดีต่อการทำงาน สามารถบอกแหล่งข้อมูลเก่ียวกับงานอาชีพและหาความรู้ เก่ียวกบั อาชีพที่ตนเองสนใจ แผนงาน/โครงการ หลกั ฐาน/เอกสารร่องรอย - โครงการพัฒนาคณุ ภาพวิชาการ - หลักสตู รสถานศกึ ษา - โครงการส่งเสริมสขุ ภาพ - เอกสารแนวทางการวัดประเมนิ ผลของโรงเรียน - โครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา - แผนการจัดการเรยี นการสอน - โครงการความเปน็ พลเมอื งดีและคณุ ธรรม - งานวจิ ยั ในช้ันเรยี น จรยิ ธรรม - บันทึกรักการอา่ น - โครงการพัฒนาคณุ ภาพหอ้ งสมุดโรงเรียน - ผลทดสอบระดับชาติ (O-Net, NT, RT) - โครงการนิเทศติดตาม - แฟ้มสะสมผลงานนกั เรียน - กิจกรรมยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน - แบบทดสอบสมรรถภาพนักเรียน - กิจกรรมการแขง่ ขนั กีฬาสี - เอกสารประจำชนั้ เรียน - แบบบันทึกการตรวจสุขภาพ การชั่งนำ้ หนกั - สว่ นสงู - แบบบันทึกกจิ กรรมจิตอาสา - แบบประเมินการคดิ วิเคราะห์เขียน - แบบนิเทศตดิ ตาม - แฟม้ ทกั ษะการอา่ นออกเขยี นได้ - ผลการเข้าร่วมการแข่งขันทักษะวิชาการ ศิลปหัตถกรรม นกั เรยี น 2) ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้านการมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดี ตามที่สถานศึกษากำหนด ผู้เรียนเป็นพลเมืองดีของชาติ มี ความสามัคคีภูมิใจเชิดชูความเป็นไทย ปฏิบัติตนตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ และแสดงความจงรักภักดีต่อ สถาบันพระมหากษัตริย์ ปฏิบัติตนตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ และระเบียบข้อบังคับของโรงเรียนและสังคมไม่ ละเมดิ สิทธิของผ้อู ื่น ยดึ หลกั ความเป็นจรงิ ความถกู ตอ้ งในการดำเนินชวี ิต ด้านความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ผู้เรียนแต่งกายตามระเบียบของโรงเรียนและมี มารยาทงดงามแบบไทย มีสัมมาคารวะ กตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับประเพณี ศิลปะและวฒั นธรรมไทย ใชภ้ าษาไทยและเลขไทยในการสอื่ สารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม นำภูมิปัญญาไทย

-27- มาใช้ให้เหมาะสมในวิถีชีวิต ร่วมกิจกรรมท่ีเก่ียวข้องกับภูมิปัญญาไทยและแนะนำมีส่วนร่วมในการสืบทอด ภมู ปิ ัญญาไทย ด้านการยอมรับท่ีจะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นของตน อย่างสุภาพยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นด้วยความเข้าใจเห็นประโยชน์จากการแลกเปลี่ยนความคิดซ่ึงกัน และกัน ยอมรับและเห็นความงามในความแตกต่างทางวัฒนธรรมและสามารถแก้ปัญหาอยู่ร่วมกันได้ด้วย ความเข้าใจทีถ่ กู ตอ้ ง มีการสอื่ สารอยา่ งสรา้ งสรรค์ ด้านสุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม ผู้เรียนมีวิธีการรักษาสุขภาพของตนเองให้แข็งแรง รักษา อารมณ์และสุขภาพจิตให้ดีอยู่เสมอ พร้อมทั้งเรียนรู้และวิธีการป้องกันตนเองไม่เพิกเฉยต่อการกระทำสิ่งที่ ไมถ่ ูกตอ้ ง และอยรู่ ่วมกันด้วยดีในครอบครัว ชุมชนและสงั คม แผนงาน/โครงการ หลกั ฐาน/เอกสารรอ่ งรอย - โครงการความเป็นพลเมืองดีและ - แฟม้ ผลงานเพ่ือสร้างความเป็นพลเมอื งดีระดบั ป.1 - ม.3 คุณธรรมจริยธรรม - แฟม้ บนั ทึกกิจกรรมวนั สำคญั - โครงการโรงเรยี นสวยดว้ ย 5 ส - กจิ กรรมเลือกต้งั สภานกั เรยี น - โครงการอาหารกลางวนั - แบบทดสอบสมรรถภาพนกั เรียน - โครงการกจิ กรรมวันสำคญั - แบบบนั ทกึ การตรวจสุขภาพ การช่ังนำ้ หนัก - สว่ นสงู - โครงการโรงเรียนส่งเสรมิ สุขภาพ - แบบบันทกึ กิจกรรมจติ อาสา - โครงการส่งเสริมเอกลักษ ณ์ - กิจกรรมการแข่งขันกีฬาสี ศิลปะและวัฒนธรรมไทย - ค่มู ือการจดั กิจกรรมการเรียนรเู้ พอ่ื สร้างความเป็นพลเมืองดี - กิจกรรมเยาวชนคนดศี รีสุพรรณ - แบบประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ - กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - ผลการเขา้ ร่วมการแข่งขนั ทกั ษะวชิ าการ ศิลปหตั ถกรรมนกั เรียน 2. ผลการดำเนินงาน จากการจัดกระบวนการเรียนการสอนทำให้ผู้เรียนมีการพัฒนาด้าน ความสามารถในการอ่าน เขียน การส่ือสาร และการคิดคำนวณสูงกว่าเกณฑ์ท่ีโรงเรียนกำหนด มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ แลกเปล่ียนความคิดเห็นและแก้ปัญหาได้ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร พัฒนา มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนพัฒนาข้ึน มีความพร้อมในการศึกษาต่อ หรือการทำงาน โดยวิธีการจัด กจิ กรรม โครงการตา่ งๆ ในการพัฒนา โดยไม่ขัดกับกฎหมาย และวัฒนธรรมอันดีงามของสงั คม ส่งเสริมทำ ให้ผู้เรียนมีความภูมิใจในท้องถ่ิน และความเป็นไทย เป็นผู้ท่ียอมรับท่ีจะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่าง และ ความหลากหลาย ส่งเสริมให้ผู้เรียน มีสุขภาวะทางร่างกาย ท่ีแข็งแรงสมบูรณ์ตามวัย ผ่านการเรียนรทู้ ่ีเน้น ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ จากกิจกรรมและโครงการท่จี ดั ทำไว้

-28- 2.1 เชงิ ปรมิ าณ 2.1.1 ผลสมั ฤทธ์ทิ างวชิ าการของผูเ้ รยี น 1. ผู้เรียนมีความสามารถในการอา่ น การเขยี น การสื่อสารและการคดิ คำนวณร้อยละ 70 ของผ้เู รยี นทง้ั หมด 2. ผ้เู รียนมีความสามารถในการคิด วเิ คราะห์ คิดอย่างมีวจิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปล่ียน ความคิดเหน็ และแก้ปัญหารอ้ ยละ 90 ของผู้เรียนท้ังหมด 3. ผู้เรยี นมคึ วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม รอ้ ยละ 80 ของผเู้ รียนทั้งหมด 4. ผู้เรยี นมีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารร้อยละ 90 ของ ผู้เรียนท้ังหมด 5. ผเู้ รียนมผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นตามหลกั สูตรของสถานศกึ ษาร้อยละ 70 ของผู้เรียน ทั้งหมด 6. ผ้เู รียนมึความร้ทู ักษะพ้ืนฐานและเจตคติที่ดตี ่องานอาชีพ ร้อยละ 80 ของผเู้ รียนทง้ั หมด 2.1.2. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ของผ้เู รยี น 1. ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมท่ีดีต่อสถานศึกษากำหนด ร้อยละ 90 ของผู้เรียน ทัง้ หมด 2. ผเู้ รยี นมีความภมู ิใจในท้องถ่ินและความเปน็ ไทย รอ้ ยละ 90 ของผู้เรียนทั้งหมด 3. ผู้เรียนยอมรับท่ีจะอย่รู ่วมกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย ร้อยละ 80 ของผเู้ รียน ทัง้ หมด 4. ผูเ้ รียนมสี ขุ ภาวะทางรา่ งกายและจติ สังคม รอ้ ยละ 80 ของผเู้ รยี นท้งั หมด 2.2 เชงิ คุณภาพ 2.2.1 ผลสมั ฤทธิ์ทางวชิ าการของผเู้ รยี น 1. ผเู้ รียนมคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น การส่ือสารและการคดิ คำนวณได้ตาม เปา้ หมายของสถานศึกษา 2. ผเู้ รยี นมีความสามารถในการคิด วเิ คราะห์ คิดอย่างมวี ิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปล่ียน ความคดิ เหน็ และแกป้ ัญหาได้สงู กว่าคา่ เป้าหมายของสถานศึกษา 3. ผู้เรียนมคึ วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม ไดต้ ามคา่ เป้าหมายของสถานศกึ ษา 4. ผู้เรยี นมคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารร้ตู ามคา่ เปา้ หมาย ของสถานศกึ ษา 5. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรของสถานศึกษาตามค่าเป้าหมายของ สถานศึกษา 6. ผู้เรียนมึความรู้ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่องานอาชีพสูงกว่าค่าเป้าหมายของ สถานศกึ ษา 2.2.2. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคข์ องผเู้ รียน 1. ผู้เรียนมคี ุณลกั ษณะและคา่ นิยมทด่ี ีตอ่ สถานศกึ ษากำหนดตามคา่ เป้าหมาย

-29- 2. ผเู้ รียนมคี วามภมู ิใจในท้องถิน่ และความเป็นไทย ตามคา่ เป้าหมาย 3. ผ้เู รยี นยอมรับท่จี ะอยูร่ ่วมกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย ตามค่าเปา้ หมาย 4. ผ้เู รยี นมสี ุขภาวะทางร่างกายและจติ สังคม ตามค่าเปา้ หมาย 2.3 ภาพความสำเรจ็ (เกยี รติบตั ร) รางวัลตา่ ง ๆ Best Practice การแขง่ ขันทักษะวิชาการและการแสดงความสามารถนักเรียน ปีการศึกษา 2563 ระดบั สหวทิ ยาเขตด่านชา้ ง 1. กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ รางวลั ท่ีไดร้ ับ 1 เหรยี ญทอง 3 เหรียญทองแดง 2. กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รางวัลท่ีไดร้ บั 3 เหรยี ญทอง 3. กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย รางวลั ท่ีไดร้ บั 3 เหรยี ญทอง 4 เหรียญเงนิ และ 1 เหรียญทองแดง 4. กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ รางวัลทไ่ี ด้รบั 2 เหรียญทอง 1 เหรียญเงิน และ 1 เหรียญทองแดง 5. กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ รางวลั ทีไ่ ด้รับ 1 เหรียญเงนิ และ 1 เหรียญทองแดง 6. กลุ่มสาระการเรยี นรู้สุขศึกษาและพลศึกษา รางวลั ทไี่ ด้รบั 2 เหรียญทอง 7. กลมุ่ สาระการเรยี นรูก้ ารงานอาชพี รางวัลท่ไี ดร้ ับ 2 เหรยี ญทอง 8. กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม รางวลั ทไ่ี ดร้ ับ 1 เหรียญทอง 9. ปฐมวัย รางวลั ท่ีได้รบั 3 เหรียญทองแดง 10. กิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น รางวัลที่ได้รบั 2 เหรยี ญทอง 3. จดุ เดน่ /จุดควรพฒั นา จดุ เดน่ ๑. ผลสมั ฤทธทิ์ างวิชาการของผูเ้ รียน - ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ ตามเป้าหมายที่ สถานศกึ ษาและหน่วยงานต้นสังกัดกำหนดไว้ - ผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาสูงกว่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยน ความ คิดเหน็ โดยใชเ้ หตผุ ลประกอบการตดั สินใจ และแก้ปัญหาได้ - ผเู้ รียนมคี วามสามารถในการสร้างนวัตกรรม - ผู้เรียนมีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพ่ือพัฒนาตนเอง และสังคม ในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร การทำงาน - ผู้เรยี นมคี วามรู้ ทกั ษะพนื้ ฐาน และเจตคติที่ดพี ร้อมทจี่ ะศึกษาต่อในระดบั ชัน้ ทส่ี งู ข้นึ และ การ ทำงานหรืองานอาชีพ มีทักษะในการแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง และส่งเสริมให้นกั เรียนเรยี นรู้ การ ปฏิบัติการอาชพี เพอื่ อนาคต โดยการฝกึ การทำอฐิ บล็อก อิฐตวั ไอ

-30- ๒. คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของผู้เรยี น - ผูเ้ รียนมคี ณุ ลักษณะและคา่ นยิ มทด่ี สี งู กวา่ เป้าหมายท่ีสถานศึกษากำหนด จุดดอ้ ย ผู้เรียนในระดับขั้น ป.1 - ป.6 ยังต้องเร่งพัฒนาด้านการนำเสนอ การอภิปราย และแลกเปล่ียน เรียนรู้อย่างสมเหตุสมผล และต้องพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาตามสถานการณ์ ได้อย่างเหมาะสม และยัง ตอ้ งเรง่ พฒั นาในด้านวชิ าการ เพ่อื ยกระดับผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนใหด้ ยี ิง่ ข้ึน 4. แผนงานหรอื แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพให้สงู ข้นึ - สถานศึกษาควรส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นให้มีความต่อเนื่อง ในการ นำมาจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และการนำแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมใน กจิ กรรม การเรยี นการสอนให้มากขน้ึ เพื่อใหส้ อดคล้องกับนโยบายโรงเรียนประชารัฐ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ระดับคุณภาพ : ดเี ลศิ 1. วธิ ีการ/กระบวนการพัฒนา โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๒๐ (บ้านหนองมะค่าโมง) ได้ดำเนินการบริหารจัดการคุณภาพของ สถานศึกษา โดยกระบวนการ (PDCA) ได้มีการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจอย่างชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถ่ิน วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษา แห่งชาติ นโยบายของรัฐบาลและของต้นสังกัดรวมทั้งทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม ซึ่งได้จากการ วิเคราะห์สภาพปัญหา ผลการจัดการศึกษาท่ีผ่านมา รวมทั้งได้มีการศึกษาข้อมูลสารสนเทศ จากผลการ นิเทศ ติดตาม ประเมนิ การจัดการศกึ ษาตามนโยบายการ และจัดประชมุ ระดมความคิดเห็น จากบคุ ลากรใน สถานศึกษา ซ่ึงนำไปสู่การกำหนดพันธกิจ แผนพัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อลดความเล่ือมล้ำทางการศึกษา และแผนปฏิบัติการประจำปี ท่ีเน้นดำเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตร สถานศกึ ษาในทกุ กลมุ่ เปา้ หมาย ด้านการบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ โดยใช้กระบวนการ (PDCA) ทั้งใน สว่ นการวางแผนพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษา ทมี่ กี ารประชุมวางแผนท้ังสว่ นบุคลากรในสถานศึกษาและ กรรมการสถานศึกษา มีโครงการและกิจกรรมต่างๆ หัวหน้าโครงการผู้รับผิดชอบเป็นผู้จัดทำโครงการใน ส่วนท่ีรับผิดชอบเสนอต่อหัวหน้าแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาการเพ่ืออนุมัติโครงการและจัดสรร งบประมาณ เพื่อให้การนำแผนไปปฏบิ ัติไดอ้ ย่างเปน็ ระบบ มีการติดตามตรวจสอบประเมินผลและปรับปรุง พัฒนางานอย่างต่อเนื่อง มีการบริหารอัตรากำลังของสถานศึกษาอย่างสมดุล ในการรับผิดชอบภาระงาน สอนและงานในหน้าทอี่ ่ืนๆ โรงเรียนมกี ารบรหิ ารจดั การทรัพยากรทางการศึกษา ท้ังในสว่ นทเี่ ปน็ ทรัพยากร บุคคลและทรัพยากรสิ่งแวดล้อมได้สอดคล้องตามป้าหมายแผนพัฒนาการศึกษา ได้ดำเนินการระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรยี น ดว้ ยการจัดใหม้ ีระบบดูแลช่วยเหลอื นักเรียนทุกชั้นเรียนและมีคณะผรู้ ับผิดชอบโครงการ อย่างเป็นรูปธรรม โดยมกี ารแต่งตัง้ คณะนิเทศการศกึ ษา เพื่อยกระดับระบบการนเิ ทศภายในสถานศึกษาให้ มีความต่อเนื่อง มีการวางแผนและกำหนดปฏิทินการนิเทศภายในครอบคลมุ ทกุ สาระการเรียนรู้และครบทุก

-31- ช้ันเรียน การนำข้อมลู มาใช้ในการพัฒนา บุคลากรและผู้ท่ีเกีย่ วข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมการวางแผน ปรับปรุง และพฒั นา และร่วมรับผดิ ชอบตอ่ ผลการจัดการศกึ ษา ตอ่ ไป ด้านการดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน ตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุก กลุ่มเป้าหมาย ได้ดำเนินการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๒๐ (บ้านหนอง มะค่าโมง) ให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับท้องถิ่นและสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และสอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา หลักสูตรสถานศึกษามีความเป็นอัต ลกั ษณ์เฉพาะของโรงเรียนไทยรัฐวิทยา มกี ิจกรรมเสริมหลกั สูตรที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านผ่านกิจกรรม พฒั นาผู้เรียน มีการจัดกิจกรรมวิชาการตามกลุ่มสาระการเรยี นรปู้ ระจำปีและส่งเสรมิ ทักษะด้านวิชาการทุก ดา้ น เนน้ พัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี นรอบด้าน เชอื่ มโยงวิถีชีวิตจรงิ และครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย หมายรวมถึง การจัดการเรียนการสอนของกลุ่มท่ีเรียนร่วมด้วย ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้จะมุ่งเน้นการส่งเสริม กิจกรรมท่ีใช้สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน และการประเมินผลสมรรถนะ ท้ัง 5 ด้าน ตามกรอบหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 การพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์เป็นส่วนหนึ่งของ การจัดการเรียนรู้และการประเมินผู้เรียน เพ่ือให้ผ่านเกณฑ์ตามที่สถานศึกษากำหนดทุกระดับการศึกษา การพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษาน้ันดำเนินการโดยการประชุมยกร่างหลักสูตรและจดั ทำหลักสตู รให้พร้อมใช้ ก่อนเปิดภาคเรียน และได้รบั ความเห็นชอบจากกรรมการสถานศึกษา การดำเนินการจัดหลกั สตู รตอบสนอง ความต้องการข้ันพ้ืนฐานของนักเรียน และยังมีการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่ส่งเสริม ตอบสนองความ ตอ้ งการ ความถนัดและความสนใจของผู้เรียน ด้านการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเช่ียวชาญทางวิชาชีพ ได้ดำเนินการตามแผนพัฒนา คุณภาพการจัดการศึกษา โรงเรียนได้ให้ความสำคัญประการหนึ่ง ด้านการพฒั นาครูและบุคลากรให้มคี วาม เชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ด้วยการส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาครู บุคลากรให้มีการเข้ารับการอบรมที่สอดคล้อง กับบทบาทและภาระหน้าที่งานสอนตลอดปีการศึกษา โครงการโรงเรียนประชารัฐ เข้ารับการอบรมจาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในวิชาภาษาไทย วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษและครูประจำชั้น นอกจากน้ียังส่งเสริมให้เข้ารับการอบรมท้ังจากหน่วยงานต้นสังกัดและหน่วยงานอื่นที่เก่ียวข้องกับการ พัฒนาวิชาชีพตลอดมา อีกท้ังยังเปิดโอกาสให้มีการศึกษาในระดับท่ีสูงกว่าปริญญาตรีเพื่อนำมาปรับข้ัน เงินเดือนและมีวุฒิทางการศึกษาที่สูงข้ึน และยังเน้นให้มีการจัดเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ด้วย กระบวนการ PLC เปดิ โอกาสใหบ้ ุคลากรได้มาแบง่ ปันและเรียนรู้ประสบการณข์ องความสำเร็จของเพ่ือนครู เพ่ือนำมาใช้ในการพัฒนางานและการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียน โรงเรียนได้จัดโครงการให้คณะครูและ บคุ ลากรทางการศกึ ษาจะไปศกึ ษาดูงาน เพือ่ นำมาพฒั นาวิชาชพี ของตนเองในทุกปกี ารศกึ ษา ดา้ นการจดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพภายในหอ้ งเรยี นให้เอื้อตอ่ การจัดการเรียนการสอนและการ เรียนรู้ของนักเรียน โดยจัดให้มีวัสดุปุกรณ์ที่จำเป็นในชั้นเรียน การจัดให้มีโต๊ะเก้าอี้ที่เพียงพอต่อจำนวน นกั เรียนในชน้ั เรียน ส่งเสริมให้ครจู ัดมุมส่งเสริมความรู้ต่างๆ ในชั้นเรียน ป้ายนิเทศ บอร์ดเสริมความรู้ ครูมี การเตรียมความพร้อมในการจัดการเรียนรู้ในห้องเรียนตามแผนการสอน ทั้งส่ืออุปกรณ์และเหมาะสมกับ บริบทของนักเรียน มีการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามตารางเรียน เน้นการส่งเสริมทักษะอาชีพและทักษะ ชีวิต ตามความชอบและสนใจของนักเรียน การให้บริการภายนอกห้องเรียน แหล่งเรยี นรู้เศรษฐกจิ พอเพียง

-32- ห้องสมุดและห้องปฏิบัติการต่าง ที่อำนวยความสะดวกในการเสริมความรู้และแสวงหาความรู้เพิ่มเติม สำหรับนกั เรียน และนอกจากนี้ ดา้ นสภาพแวดลอ้ มภายในโรงเรียนมีความรม่ รนื่ สวยงามและสะอาด ซ่งึ ถูก ตกแต่งประดับด้วยต้นไม้มากมาย มีห้องน้ำตามแบบโรงเรียนไทยรัฐท่ีถูกสุขลักษณะ มีอ่างล้างมืออยู่ใน ระดับท่ีพอเหมาะ มโี รงอาหารสำหรับนักเรียนน่ังรบั ประทานอาหาร มีพื้นที่พักผ่อนท่ีสะอาดและรม่ รน่ื ด้าน ความปลอดภัย โรงเรียนได้ระดมทุนของบประมาณจากภายนอก มาสร้างรั้วโรงเรียนจึงทำให้โรงเรียนมี ความปลอดภัยมากขึ้น ด้านการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ และการจัดการเรียนรู้ การบริหารจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐานของโรงเรียน ข้อมูลสถานศึกษา สภาพเศรษฐกิจ การเมอื งสังคม สภาพการบริหารและการจัดการตามโครงสร้างและภารกิจ ระบบสารสนเทศเกี่ยวกับผู้เรียน ผลสัมฤทธ์ขิ องผู้เรียนจําแนกเป็นรายช้นั รายปี ผลการประเมินคุณภาพของผู้เรียน รายงานผลความก้าวหน้า ของผู้เรียน รายงานความประพฤติ พฤติกรรมการแสดงออกของผู้เรียน ระบบสารสนเทศการบริหาร วิชาการ เป็นการจัดระบบสารสนเทศเก่ียวกับหลักสูตรและการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล การ จดั กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มีห้องปฏิบัติการทางคอมพิวเตอร์ ที่มีคอมพิวเตอร์สำหรับนักเรียน และใช้จดั การ เรียนคอมพิวเตอร์พื้นฐานให้กับนักเรียนในระดับประถมศึกษาปีที่ 1 จนถึงช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ซ่ึงกำหนด สมรรถนะการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ตามช่วงช้ันท่ีสอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา และยังเปิดโอกาสให้ นกั เรยี นเข้าใช้งานเพื่อสืบคน้ ขอ้ มูลและทำงานทัว่ ไปได้ การบรกิ ารระบบเทคโนโลยีสารสนเทศยงั ครอบคลุม ไปถึงแต่ละช้ันเรียน ที่มีการบริการอินเทอร์เน็ตและชุดคอมพิวเตอร์ช่วยสอนพร้อมใช้งาน จำนวนช้ันเรียน ละ 1 ชุด ประกอบด้วย ชุดคอมพิวเตอร์พรอ้ มลำโพงและประมวลผลไปยังทวี ี ทัง้ นเี้ พ่ือสนับสนนุ การบริหาร จดั การและการเรียนรรู้ วมทั้งจัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมทเ่ี อื้อต่อการจดั การเรยี นรู้ แผนงาน/โครงการ หลักฐาน/เอกสารรอ่ งรอย - โครงการพัฒนาคุณภาพวชิ าการ - แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศกึ ษา - โครงการพัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษา - แผนปฏบิ ัติการประจำปี - โครงการพัฒนาคุณภาพหอ้ งสมดุ โรงเรียน - หลักสูตรสถานศึกษา - โครงการจัดหาและส่งเสริมการใช้สื่อการเรียนการ - คำส่ังแตง่ ต้ังคณะดำเนนิ งานตามโครงการ สอนแหลง่ เรียนรู้และภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ - เอกสารรายงานผลปฏิบตั ิงานตามโครงการ - โครงการสอื่ มวลชนศึกษา - แผนการพัฒนาการจัดสภาพแวดล้อมทาง - โครงการเรียนฟรี 15 ปีอยา่ งมคี ุณภาพ กายภาพของสถานศึกษา - โครงการโรงเรียนประชารัฐ - ระบบสารสนเทศพื้นฐานของโรงเรยี น - โครงการปรับปรุงซ่อมแซมทรัพยากรในการจัด - โปรแกรมวดั ประเมินผลของโรงเรียน การศกึ ษา - วสั ดุครภุ ณั ฑแ์ ละสิง่ กอ่ สร้างของโรงเรยี น - โครงการประชาสมั พันธโ์ รงเรียน - แผนการพัฒนาตนเองและรายงานผลการ - โครงการพัฒนาบุคลากรและศกึ ษาแหล่งการเรยี นรู้ ปฏิบัติงานครรู ายบคุ คล - โครงการสาธารณูปโภค - วารสารโรงเรยี น - กจิ กรรมนเิ ทศตดิ ตามผล

-33- 2. ผลการดำเนินงาน 2.1 เชิงปริมาณ - มหี ลกั สตู รครอบคลุมพัฒนาการทัง้ 4 ดา้ น สอดคล้องกับบริบทของท้องถนิ่ คิดเปน็ รอ้ ยละ 85 - จัดครใู ห้เพยี งพอกบั ช้ันเรียน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 90 - สง่ เสรมิ ใหค้ รมู คี วามเช่ียวชาญด้านการจัดประสบการณ์ คิดเป็นรอ้ ยละ 100 - จดั สภาพแวดล้อมและสื่อเพ่ือการเรยี นรู้ อย่างปลอดภัยและเพียงพอ คดิ เป็นร้อยละ 85 - ใหบ้ รกิ ารส่ือเทคโนโลยแี ละสื่อการเรียนรเู้ พ่อื สนับสนนุ การจดั ประสบการณ์สำหรบั ครู คิดเปน็ ร้อยละ 80 - มีระบบบริหารคุณภาพทีเ่ ปิดโอกาสให้ผเู้ กย่ี วข้องทุกฝา่ ยมีสว่ นร่วม คิดเปน็ ร้อยละ 60 2.2 เชงิ คุณภาพ - หลักสูตรสถานศกึ ษามีพัฒนาครอบคลมุ ทง้ั 4 ด้าน สอดคล้องกับบรบิ ทของท้องถ่ินชัดเจน - มีการบริหารจัดการครูไดเ้ พียงพอความต้องการของชนั้ เรยี นตามเป้าหมายของโรงเรียน - ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาทกุ คนไดร้ บั การสนับสนุนส่งเสริมให้มคี วามเชย่ี วชาญดา้ นการจดั ประสบการณ์ตามเปา้ หมายของโรงเรียน - มีการจัดสภาพแวดลอ้ มทีป่ ลอดภยั และสอ่ื เพื่อการเรียนรู้เพียงพอไดต้ ามเป้าหมายของโรงเรียน - ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาได้รับบริการส่ือเทคโนโลยแี ละสือ่ การเรยี นรู้เพ่ือสนบั สนุนการจัด ประสบการณ์ครบทุกคนตามเป้าหมายของโรงเรยี น - มรี ะบบการบรหิ ารคณุ ภาพสถานศึกษาท่ีเปิดโอกาสใหผ้ ู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายเข้ามามีสว่ นรว่ มในการ บรหิ ารเป็นไปตามเป้าหมายของโรงเรยี น 2.3 ภาพความสำเรจ็ (เกยี รติบัตร) รางวัลต่าง ๆ Best Practice - รางวัลรองชนะเลิศ โรงเรยี นจัดการเรียนการสอนสอื่ มวลชนศึกษาดีเด่น - รางวลั รองชนะเลศิ กจิ กรรมเยาวชนต้นกลา้ นนั ทนาการ แขง่ ขันแอโรบิก - รางวลั หนงึ่ โรงเรียนหนง่ึ นวตั กรรม ระดับดีเยี่ยม ด้านการจดั การเรยี นรู้ โรงเรยี นคณุ ภาพ ประจำ ตำบล - รางวัลชนะเลิศ ผู้บริหารโรงเรียนไทยรัฐวทิ ยาดเี ดน่ ระดบั ภาคกลางและภาคตะวันออก - รางวลั รองชนะเลิศอันดบั สอง การแขง่ ขันฟุตบอลเยาวชนเงนิ ล้าน อบจ.สพุ รรณบุรี ดา่ นชา้ ง จเู นยี ร์ลีก - รางวลั หอ้ งสมุดดีเด่น โรงเรียนขนาดกลาง ประจำปี 2563 3. จดุ เด่น/จุดควรพฒั นา จุดเด่น คือ การบริหารจัดการโดยใช้กระบวนการ (PDCA) ในการดำเนินงานวางแผนพัฒนา คุณภาพการจัดการศึกษา ครูทุกคนได้รับการพัฒนาให้มีความเช่ียวชาญด้านวิชาชีพเข้ารับการอบรมและ ศึกษาดูงานอย่างต่อเนื่อง โรงเรียนมีการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญสอดคล้องท้ัง 4 ดา้ นและบริบทของสถานศึกษาทุกปีการศึกษา สถานศกึ ษามีความปลอดภัยและมแี หลง่ เรยี นรู้

-34- จุดด้อย คือ ครูและบุคลากรยังขาดความรู้ความเข้าใจและแนวทางในการบริหารจัดสถานศึกษา การนำแผนงานไปปฏิบัติให้เกิดผลท่ีชัดเจนและต่อเนื่อง ขาดวัสดุ ครุภัณฑ์ท่ีจำเป็นและท่ีสามารถใช้งานได้ จรงิ ตามจุดประสงค์ ผู้รับบรกิ ารยงั ไมส่ ามารถเข้าถงึ และใช้งานระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งชำนาญ 4. แผนงานหรือแนวทางการพัฒนาคุณภาพให้สงู ขน้ึ 1. สง่ เสรมิ ใหม้ กี ารเสรมิ สร้างใหค้ รแู ละบคุ ลากรมีความรคู้ วามเขา้ ใจและแนวทางในการบรหิ ารจดั สถานศึกษา 2. ให้ความสำคญั ในการแผนงานไปปฏบิ ตั ิให้เกิดผลที่ชัดเจนและตอ่ เนื่อง 3. การจัดให้มวี ัสดุ ครภุ ณั ฑท์ ี่จำเป็นและสามารถใช้งานได้จริงตามจุดประสงค์ 4. การจัดใหค้ รหู รอื ผูร้ บั บริการเข้าถึงและใชง้ านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งชำนาญ และ กอ่ ใหเ้ กิดประโยชน์ และมกี ารจดั เก็บอยา่ งเปน็ ระบบ 5. เนน้ ให้มกี ารนเิ ทศตดิ ตามภายในอยา่ งต่อเนื่อง มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคญั ระดับคุณภาพ : ดเี ลศิ 1. วิธีการ/กระบวนการพฒั นา โรงเรียนไดจ้ ัดกระบวนการจัดการเรยี นการสอนตามมาตรฐานและตัวชีว้ ัดของหลักสูตรสถานศึกษา ปีการศึกษา 2563 โดยสร้างโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ โดยเน้นการจัดการเรียนการ สอนแบบ Active learning ผ่านกระบวนการคิดและการปฏิบัติจริง มีการบริหารชั้นเรียนเชิงบวก สร้าง ปฏิสัมพันธ์ที่ดี ครูรู้จักผู้เรียนเป็นรายบุคคล ดำเนินการตรวจสอบและประเมินผลผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน รวมท้ังร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้และนำผลที่ได้มาให้ข้อมูลย้อนกลับ เพ่ือการ พัฒนาและปรับปรุงการจดั การเรียนรู้ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๒๐ (บ้านหนองมะค่าโมง) ดำเนินการส่งเสริมให้ครจู ัดการเรียนการสอนโดย เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยดำเนินการให้เป็นไปตามหลักสูตรสถานศึกษา ตามมาตรฐานการเรียนรู้และ ตัวช้ีวัด (ฉบับปรับปรุงพ.ศ. 2560) ส่งเสริมให้ครูจัดกระบวนการเรียนการสอนโดยเน้นการปฏิบัติ (Active learning) เป็นการจัดการเรียนรู้ทเี่ น้นบทบาทการมสี ่วนรว่ มของผู้เรียน สร้างโอกาสให้ผ้เู รียน มสี ่วนรว่ มใน การเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและการได้ลงมือปฏิบัติจริง ต่อยอดได้ในการพัฒนาทักษะงานอาชีพ ปรับ สิ่งแวดล้อมในชั้นเรียนให้เหมาะสม สอดคล้องกับลักษณะความต้องการของผู้เรียน เพ่ือนำไปสู่การเรียนรู้ท่ี ยัง่ ยืนและสามารถนำไปประยกุ ต์ใชไ้ ด้ โรงเรียนสง่ เสริมให้ครจู ัดทำแผนการจดั การเรยี นรู้ทห่ี ลากหลายและมกี ารพัฒนาการเรียนการสอน อย่างต่อเน่ือง โดยมีการนเิ ทศ ติดตาม กำกับดูแล ให้ข้อแนะนำ และเสนอแนะ เพ่ือให้เกิดประโยชนต์ ่อการ พฒั นาผู้เรยี น และปรบั ปรุงการเรยี นการสอนใหม้ ีประสิทธภิ าพมากยงิ่ ขึ้น โรงเรียนสง่ เสริมด้านการใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนร้ทู ี่เออ้ื ตอ่ การเรียนรู้ มีการจัด แหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียนอย่างเหมาะสมกับผู้เรียน ครูผู้สอนมีการออกแบบและผลิตส่ือท่ี เหมาะสมกับสาระการเรียนรู้ มีการใช้ PowerPoint Video บทเรยี นออนไลน์ เพ่อื ใช้ในการพัฒนาการเรยี น การสอนอย่างสร้างสรรค์ และยังมีการสร้างส่ือนวัตกรรม โดยความรว่ มมือระหว่างจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย

-35- มิตรผล และโรงเรียนประชารัฐ ในโครงการ Connext Ed ในสาระการเรียนรู้ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ โรงเรียนจัดให้มีเครื่องคอมพิวเตอร์ Smart ทีวี สัญญาณอินเตอร์เน็ตครอบคลุม ทุกห้องเรียน และมีห้องปฏิบัติการเพื่อให้ครูสามารถใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และมีการปรับ ส่งิ แวดล้อมในชั้นเรียนให้เหมาะสม สอดคล้องกับลักษณะความต้องการของผู้เรียน เพ่ือนำไปสู่การเรียนรู้ท่ี ยั่งยนื โรงเรียนดำเนินการโครงการและกิจกรรมที่สง่ เสริมให้ผู้เรยี นทุกคนเป็นคนดี คนเก่ง และมคี วามสุข เน้นการเรียนการสอนท่ีมีการปฏิสัมพันธ์เชิงบวกให้เด็กรักครู ครูรักเด็ก เด็กรักเด็ก เด็กรักที่จะเรียนรู้ เพ่ือให้ผู้เรียนเรียนรรู้ ่วมกนั อย่างมีความสขุ ยิ่งข้ึน โดยการได้รบั ความเอาใจใส่ในการรับฟังความคิดเห็นของ นักเรียนเป็นรายบุคคล ความเข้าใจจากครู รู้สึกอบอุ่น ปลอดภัยและมีกำลังใจที่จะเรียน เพิ่มบทบาทในช้ัน เรียนใหก้ ับนกั เรียน เพอ่ื ใหม้ ีผลการเรยี นดีขึน้ ผ่านการมีปฏสิ ัมพันธ์ท่ดี ีกับเพื่อนและครู โรงเรียนมีการกำหนดให้ครูผู้สอนส่งโครงการสอน/โครงสร้างรายวิชา/แผนจัดการเรียนรู้ กอ่ นสอน หลังสอน ให้ฝ่ายวิชาการตรวจสอบมาตรฐานและตัวช้ีวัด ผลการเรียนรู้ของแต่ละรายวิชา ตรวจสอบและ ประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ มีขั้นตอนการวัดผลและประเมินผลผู้เรียนที่หลากหลาย และเป็นระบบ มีประสิทธิภาพสามารถตรวจสอบได้ มีการให้ข้อมูลย้อนกลับกับผู้เรียนเม่ือครบรอบการ ประเมิน เพื่อผู้เรียนจะได้นำไปพัฒนาตัวเอง และยังได้ส่งเสริมให้ครูผู้สอนให้เข้ารับการอบรม จัดทำคู่มือ และระเบียบวัดผลประเมินผลให้กับครูผู้สอน กิจกรรมเตรียมความพร้อมผ้เู รียนเพื่อรบั การประเมิน และวัด คณุ ภาพนกั เรยี นในระดบั ต่าง ๆ จัดทำสารสนเทศ และการรายงานผลสมั ฤทธใ์ิ ห้นกั เรียนและผ้ปู กครอง โรงเรียนใช้กิจกรรม PLC (Professional Learning Community) เพ่ือให้ครูร่วมกันหาวิธีการใน การแก้ปัญหาผู้เรียนทั้งด้านวิชาการ และพฤติกรรม ร่วมกันแลกเปล่ียนเรียนรู้วิธีการสอนท่ีทำแล้วประสบ ความสำเร็จ หรือใช้กิจกรรม PLC ในการแก้ปัญหาผู้เรียนร่วมกัน กำกับติดตามนิเทศการเรียนการสอน เพื่อให้มีการสะท้อนการจัดการเรียนรู้ท้ังก่อน ระหว่าง และหลังการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาทักษะ กระบวนการ คิด และคุณลกั ษณะทจ่ี ะเปน็ ประโยชนใ์ นการพัฒนาตนเองของครู แผนงาน/โครงการ หลกั ฐาน/เอกสารรอ่ งรอย - โครงการพฒั นาคณุ ภาพวิชาการ - หลกั สูตรสถานศกึ ษา - โครงการพัฒนาหลักสตู รสถานศกึ ษา - หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ - โครงการพัฒ นาคุณ ภาพห้องสมุด - แบบบันทกึ กิจกรรมโฮมรูม โรงเรยี น - แบบบันทึกการเย่ยี มบ้าน - โครงการจัดหาและส่งเสริมการใช้ส่ือ - บนั ทกึ ภาพกจิ กรรมหนา้ เสาธง การเรียนการสอนแหล่งเรียนรู้และภูมิ - ภาพกจิ กรรมการเรยี นการสอนภายในหอ้ งเรียน ปัญญาทอ้ งถิน่ - เคร่ืองมือ/วิธีการวัดป ระเมินผล เช่น แบ บทดสอบ - โครงการส่อื มวลชนศึกษา แบบสอบถาม แบบสำรวจ การสังเกต การสัมภาษณ์ - โครงการเรยี นฟรี 15 ปีอย่างมคี ุณภาพ การศึกษารายกรณี - โครงการโรงเรยี นประชารัฐ - แบบบนั ทกึ การนิเทศ

-36- แผนงาน/โครงการ หลักฐาน/เอกสารร่องรอย - โครงการภาพแหง่ ความสำเรจ็ - แบบบันทึกกิจกรรม PLC บันทึกการประชมุ ทเี่ กี่ยวข้อง - โครงการพัฒนาบุคลากรและศึกษา - คำสัง่ แตง่ ตั้งการทำงานสารสนเทศชั้นเรยี น แหลง่ การเรียนรู้ - แผนจัดการเรียนรู้ - โครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน - ผลงาน/นวัตกรรม/แบบอย่างที่ดีด้านการจัดการเรียนการ - แผนงานการวัดและประเมนิ ผล สอนทเ่ี น้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ - กจิ กรรมนเิ ทศตดิ ตามผล - ทะเบียนการใช้สื่อและแหล่งเรียนรู้ สื่อประกอบแผนการ - กิจกรรมการพัฒนากระบวนการ PLC จดั การเรียนรู้ - แบบบนั ทกึ การทำความดี - บันทึกการสอนซ่อมเสริม - วิจยั ในช้ันเรยี น 2. ผลการดำเนินงาน 2.1 เชงิ ปริมาณ - ครูจดั การเรยี นรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ตั ิจรงิ และสามารถนำไปประยุกต์ใชใ้ นการดำเนิน ชวี ิตไดร้ ้อยละ 90 - การจดั การเรยี นรู้โดยผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัตจิ ริง นกั เรียนที่เรยี นแตล่ ะรายวชิ าสามารถ สรา้ งชน้ิ งาน ผลงาน โครงงาน รอ้ ยละ 50 ขึ้นไป - ผูเ้ รยี นใช้สอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ท่ีเอือ้ ต่อการเรียนรู้ ร้อยละ 80 - ครูสามารถผลิตส่ือท่ีใช้ในการเรียนการสอนเชิงบวกให้กับนักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ แหล่งเรียนรู้ของโรงเรียนมีความพร้อมที่จะให้นักเรียนหรอื ครูไดใ้ ช้ส่ือและเทคโนโลยีในการจัดการเรียนการ สอนได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ การพัฒนาครูและนักเรียนให้มีการจัดการในช้ันเรียนเชิงบวกนั้นบรรลุตาม เกณฑ์รอ้ ยละ 80 - ครูทุกคนมีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบและใช้เครื่องมือ วิธีการวดั และประเมนิ ผลท่ีเหมาะสมได้ ร้อยละ 80 - ครูและผู้เกี่ยวข้อง มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และประสบการณ์ มีการให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อ นำไปใช้ในการปรับปรงุ และพฒั นาการจัดการเรยี นรไู้ ด้ ร้อยละ 80 2.2 เชงิ คณุ ภาพ - การจัดการเรียนรู้โดยผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง ทำให้ผู้เรียนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ ในการดำเนินชีวิตได้ เป็นไปตามเป้าหมายท่สี ถานศึกษากำหนด - ผู้เรยี นมศี ักยภาพดา้ นการใช้สือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นร้ทู เี่ ออื้ ตอ่ การเรยี นรู้ - ครูจัดกิจกรรมการสอน โดยส่งเสริมให้นักเรียนเข้าแข่งขันกิจกรรมทางวิชาการในงาน ศิลปหตั ถกรรม นกั เรียนมีความสามารถในการออกแบบและนำเสนอผลงานในทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้

-37- - การวัดผลและประเมินผลผู้เรียนท่ีหลากหลายและเป็นระบบ มีประสิทธิภาพตรวจสอบได้ ทำให้ สามารถให้ขอ้ มูลย้อนกลับกบั ผู้เรียนเมื่อครบรอบการประเมิน สง่ ผลต่อการพัฒนาการเรียนการสอนให้ไปไป ตามเป้าหมายทสี่ ถานศกึ ษากำหนด - ครูทุกคนได้รับการนิเทศการสอน มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้เข้าร่วมกิจกรรมชุมชนแห่งการ เรยี นรทู้ างวชิ าชพี PLC โดยรว่ มประชมุ หารอื เพอ่ื พฒั นาการเรียนการสอนในรายวิชาท่ีสอนร่วมกนั ส่งผลให้ เกิดการพัฒนาความรู้ ทักษะการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ส่งผลต่อการพัฒนาการเรียนการสอนให้ไปไปตาม เป้าหมายทสี่ ถานศึกษากำหนด 2.3 ภาพความสำเรจ็ (เกยี รตบิ ตั ร) รางวัลตา่ ง ๆ Best Practice การแข่งขนั ทักษะวชิ าการและการแสดงความสามารถนักเรียน ปีการศึกษา 2563 ระดบั สหวทิ ยาเขตด่านชา้ ง 1. กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ รางวลั ท่ไี ด้รับ 1 เหรยี ญทอง 3 เหรียญทองแดง 2. กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รางวลั ที่ได้รับ 3 เหรยี ญทอง 3. กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย รางวัลทีไ่ ด้รบั 3 เหรียญทอง 4 เหรยี ญเงิน และ 1 เหรยี ญทองแดง 4. กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ รางวลั ทไี่ ด้รับ 2 เหรยี ญทอง 1 เหรียญเงนิ และ 1 เหรียญทองแดง 5. กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ รางวัลที่ได้รบั 1 เหรยี ญเงิน และ 1 เหรยี ญทองแดง 6. กลุ่มสาระการเรียนรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา รางวัลที่ได้รบั 2 เหรียญทอง 7. กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ รางวลั ที่ได้รับ 2 เหรียญทอง 8. กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รางวัลท่ีไดร้ บั 1 เหรียญทอง 9. ปฐมวัย รางวัลท่ีได้รบั 3 เหรยี ญทองแดง 10. กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน รางวลั ที่ไดร้ บั 2 เหรยี ญทอง 3. จดุ เดน่ จุดควรพฒั นา จดุ เดน่ คือ การจดั การเรียนการสอนโดยเนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคญั ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณะครู และบุคลากรมีความตั้งใจ มุ่งมั่นในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้น ทักษะกระบวนการคิด และสามารถปฏิบัติได้จริง มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายท้ังวิธีการและ แหล่งการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศ และสภาพแวดลอ้ ม เพื่อใหก้ ารจัดการเรียนการสอนประสบความสำเร็จตามเปา้ หมายท่ีต้ังไว้ จดุ ควรพฒั นาคือ ควรนำเร่อื งภูมิปัญญาท้องถิน่ ใหเ้ ข้ามามสี ว่ นร่วมในการจัดการเรยี นการสอนให้ มากข้นึ เพ่อื ให้ผเู้ รยี นไดเ้ รียนรู้สงิ่ ท่ีมใี นท้องถนิ่ ตนเอง และการนำส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ ท่เี อ้อื ตอ่ การเรียนรู้มาใชพ้ ฒั นาผ้เู รยี นใหม้ ีความหลากหลาย

-38- 4. แผนงานหรอื แนวทางการพัฒนาคุณภาพใหส้ ูงขึน้ 1. การสง่ เสริมการจัดทำแผนการจดั การเรียนรู้ของครูผสู้ อนและนำไปใชจ้ รงิ 2. การปรบั ปรุงหลักสูตรสถานศกึ ษา 3. การพัฒนาหลักสตู รทอ้ งถิ่นให้มคี วามชัดเจน 4. การนำสอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนร้ทู เ่ี อ้อื ตอ่ การเรยี นรมู้ าใช้ 5. การนำกระบวนการวจิ ัยมาใช้การจัดการเรยี นการสอนใหเ้ ป็นรูปธรรมและมีความต่อเนื่อง การให้ชุมชนเขา้ มามีสว่ นร่วมในการจัดการเรยี นการสอน

-39- ตอนที่ 3 ความโดดเดน่ ของสถานศึกษา โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๒๐ (บ้านหนองมะค่าโมง) เป็นขยายโอกาสทางการศึกษา และเป็นโรงเรียน ในเครือ “ไทยรัฐวิทยา” ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากมูลนิธิไทยรัฐ ทำให้โรงเรียนได้รับการพัฒนา ทุกด้าน ซึ่งจัดได้ว่าเป็นโรงเรียนท่ีมีความพร้อมทางด้านอาคารสถานที่และภูมิทัศน์ของโรงเรียนท่ีมี สภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการบริหารจัดการด้านต่าง ๆ มีสภาพชุมชุมท่ีดีอยู่โดยรอบรวมท้ังมีวัดท่ีเป็นแหล่ง เรียนรู้และปฏบิ ัติกิจกรรมทางศาสนา โรงเรียนมีวิสยั ทัศนท์ ่ีเนน้ พัฒนาบุคลากรและผู้เรียนให้มีคุณภาพตาม บรบิ ทของสังคม โรงเรยี นไทยรัฐวทิ ยา ๒๐ (บ้านหนองมะค่าโมง) ยงั ไดร้ ับให้เป็นโรงเรียนประชารัฐ ซึง่ ได้รับ การสนับสนนุ สง่ เสริมด้านงบประมาณ วสั ดุอปุ กรณ์ต่าง ๆ รวมทั้งการพฒั นาบุคลากรใหม้ ีความเชยี่ วชาญใน การจัดการเรียนการสอน นอกจากนี้ยังได้รับให้เป็นโรงเรียนดีประจำตำบลอีกด้วย ปัจจัยที่ส่งผลทำให้ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๒๐ (บ้านหนองมะค่าโมง) มีความโดดเด่นแบ่งออกเป็น 5 ด้าน ได้แก่ ด้านวิชาการ ด้านคุณธรรม – จริยธรรม ด้านความสามารถพเิ ศษ ดา้ นการบรหิ ารจัดการศึกษา และดา้ นอ่นื ๆ 1. ด้านวิชาการ สถานศึกษ าได้จัดการเรียน รู้ท่ีส่งเสริมผู้เรียนให้ อ่านออกเขียนได้ตามนโยบ ายของ กระทรวงศึกษาธิการ โรงเรยี นไทยรฐั วิทยา ๒๐ (บ้านหนองมะค่าโมง) ได้ดำเนินการโครงการอ่านออกเขียน ไดง้ ่ายนดิ เดยี วดว้ ยการฝึกสะกดคำของนกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปที ่ี อยา่ งต่อเนื่องทำให้นักเรยี นมีผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนเพ่ิมมากข้ึน และผลการประเมินความสามารถในการอ่าน (Reading Test : RT) ช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2563 มีคะแนนสูงกว่าระดับประเทศท้ัง 2 ด้าน นอกจากน้ีสถานศึกษาได้ ดำเนินโครงการยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียนระดบั ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 อย่างต่อเนอ่ื ง ทำ ใหผ้ ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนในระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ผลการทดสอบระดับชาติ (National Test: NT) ทั้ง 2 ดา้ น มคี ะแนนสูงกวา่ ระดบั ประเทศ

-40- ผลการประเมนิ ความสามารถในการอ่าน (Reading Test : RT) ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563 ผลการทดสอบระดบั ชาติ (National Test: NT) ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 3 การศกึ ษา 2563

-41- 2. ด้านคณุ ธรรม – จริยธรรม สถานศึกษามีการส่งเสริม คุณธรรมจริยธรรม โดยให้นักเรียนทุกระดับช้ันเข้าค่ายในโครงการ คณุ ธรรมจริยธรรม ซงึ่ สอดคลอ้ งกบั โครงการสนับสนุนของมลู นิธิไทยรัฐความเป็นพลเมืองดี เพื่อใหน้ ักเรียน เป็นคนดีมีคุณธรรม ดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข ซึ่งนักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม เจตคติและกิจ นิสัยที่ดี ภูมิใจและรักษาเอกลักษณ์ของชาติไทย เคารพกฎหมาย เคารพสิทธิของผู้อื่น มีความรับผิดชอบ ตามบทบาทหน้าท่ีของตนเองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข มจี ิตสาธารณะ และมีจติ สานกึ รักษส์ ่ิงแวดลอ้ ม สอดคลอ้ งกบั อัตลักษณ์ของโรงเรียน “ไหว้น้อมนอบ เพยี บพร้อม คุณธรรม” 3. ดา้ นความสามารถพเิ ศษ สถานศึกษามคี วามความโดดเด่นในด้านกีฬาฟุตบอล ท่สี นบั สนุนให้นักเรยี นออกกำลงั กาย เล่นกฬี า อย่างสมำ่ เสมอ และเป็นท่ยี อมรับ การเล่นกีฬาฟุตบอลยังได้รับการสนับสนุนให้ฝกึ ฝนจนมีความสามารถใน การแข่งขันกัน สามารถสร้างชื่อเสียงให้แก่สถานศึกษาได้ โดยส่งเสริมให้ผู้เรียนออกกำลังกายโดยการเล่น ฟุตบอล อย่างต่อเนื่องตลอดปีการศึกษา มุ่งหวังให้ผู้เรียนมีนิสัยรักการออกกำลังกาย ใช้เวลาว่างให้เกิด ประโยชน์ พร้อมกับสนับสนุนให้ผู้เรียนได้แสดงความสามารถทางด้านกีฬาฟุตบอล ท้ังภายในและภายนอก โรงเรียนอย่างสม่ำเสมอ และได้เข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลเยาวชนเงินล้าน อบจ.สุพรรณบุรี ด่านช้างจูเนียร์ลีก คร้งั ที่ 8 เลกท่ี 1 ได้รับรางวัลรองชนะเลศิ อนั ดับ 2 สู่ความภาคภมู ิใจ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook