Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แฟ้มสะสมผลงาน

แฟ้มสะสมผลงาน

Published by ศิริชัย คชวงษ์, 2020-02-20 11:15:14

Description: แฟ้มสะสมผลงาน

Search

Read the Text Version

นายศริ ชิ ัย คชวงษ์ รหัสนกั ศกึ ษา 6112610033 สาขาวชิ าการสอนภาษาไทย คณะศึกษาศาสตร์

ประวตั ิส่วนตวั ชอื่ นายศริ ชิ ัย นามสกลุ คชวงษ์ ชอ่ื เลน่ หนงึ่ สัญชาติ ไทย เช้อื ชาติ ไทย ศาสนา พุทธ เกดิ เม่อื วนั ที่ 1 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2536 สถานที่เกดิ โรงพยาบาลอ่างทอง จงั หวัด อา่ งทอง ทอี่ ยู่ปจั จุบัน 95/1 หมู่ 2 ตาบลตลาดใหม่ อาเภอวเิ ศษชยั ชาญ จงั หวัดอ่างทอง รหัสไปรษณยี ์ 14110 โทรศัพทม์ อื ถอื 098-268-0271 E-mail : [email protected]

ประวตั ิการศึกษา 2549 ประถมศึกษาปีที่ 1-6 โรงเรยี นอมราวิทยาภูมิ 2552 มัธยมศกึ ษา ตอนต้น โรงเรยี นสตรอี า่ งทอง 2555 มธั ยมศึกษา ตอนปลาย โรงเรยี นสตรีอา่ งทอง 2560 ปริญญาตรี สาขาการสอนภาษาไทย (ค.บ.) เกยี รตินยิ มอันดบั 1 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา 2563 กาลงั ศกึ ษา ปรญิ ญาโท สาขาการสอนภาษาไทย คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง

ประวัติการทางาน บรรจุรับราชการ วันที่ 12 เดอื น กรกฎาคม พ.ศ. 2560 ณ โรงเรียนไทยรฐั วิทยา ๒๐ (บ้านหนองมะค่าโมง) ตาบลหนองมะค่าโมง อาเภอด่านชา้ ง จังหวัดสพุ รรณบรุ ี 72180 สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประศึกษาสพุ รรณบรุ ี เขต 3 เบอร์โทรศัพท์ 035-466035 สอนระดบั ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 4-6 รายวิชาภาษาไทย

ผลงาน รายวิชา TTH6223 การพฒั นาทักษะการสอนเขียน เสนอ รองศาสตราจารยข์ ณั ธ์ชยั อธิเกยี รติ

I tffi{asuerrn, .11 a{a-u{ {d5,t;tLbraabb u nrrrusfidl o Y nnolfif u^rr,u{-Lq g -* qs -AffiF'*nr u *-a --lo n#or-*,r*-r-{,-';-rffilw 2

งานช้นิ ที่ 2  แตง่ กลอนนิราศ 1 ก.พ. 63 ถึงบางปลาม้าพี่ละล้าพลนั คดิ ถงึ รกั ตราตรึงหว่ งบงั อรซอ่ นโศกศัลย์ เคยนั่งปอ้ นปลาม้าเผาเคลา้ เคลียกนั ตอ้ งจาบลั ย์เจา้ มาร้างหา่ งพไี่ ป ถึงบางใหญ่คิดถึงใครทใี่ หญ่ยิง่ น้องคือหญิงทผี่ ูกรักสมคั รใคร่ แมต้ ัวพี่และตวั นอ้ งจะหา่ งไกล ถึงบางใหญ่ก็ไม่กว้างเกินรักเรา นายศริ ชิ ัย คชวงษ์ : ผปู้ ระพนั ธ์ นายศริ ชิ ัย คชวงษ์ รหัสนักศกึ ษา 6112610033 สาขาวชิ าการสอนภาษาไทย คณะศึกษาศาสตร์

งานช้ินท่ี 3  สร้างแผนภมู ิแสดงลักษณะการเขียน 1 ก.พ. 63 เขยี น เขียนเรยี งความ รายงาน โครงการ เขียนบรรยาย แบบยาวๆ เขียนพรรณนา เขียนอธิบาย เขียนจดหมาย อตั ชวี ประวัติ ลักษณะ งานเขียน เขยี น เขียนยอ่ ความ เขียนอวยพร คาขวัญ คาคม โฆษณา อักษรไทย คดั ลายมอื แบบสัน้ ๆ ลกั ษณะ ประถม คัดลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทัด ประโยคง่ายๆ คาขวญั งานเขยี น มัธยม บนั ทึกประจาวัน จดหมายลาครู จดหมายส่วนตัว ย่อความ เรยี งความ คาอวยพร คาขวญั กลอนส่ี กาพยย์ านี กลอนสุภาพ ลกั ษณะ งานเขยี น คดั ลายมอื ตวั บรรจงครึ่งบรรทัด เขยี นพรรณนา เขียนบรรยาย เขียนอธิบาย เขียนเรียงความ เขียนย่อความ รายงาน โครงการ เขยี นชวี ประวัตหิ รืออตั ชีวประวตั ิ กาพย์ยานี กลอนสภุ าพ โคลงส่ีสุภาพ ร่าย ฉันท์ จดหมายกิจธุระ รายงานการประชุม รายงานวชิ าการ ร้อยกรอง งานเขยี นประเภทรอ้ ยกรอง เชน่ คาขวญั กลอนส่ี กาพย์ยานี11 กลอนสุภาพ โคลงส่สี ุภาพ รา่ ยสุภาพ เปน็ ตน้ รอ้ ยแก้ว งานเขยี นประเภทเปน็ ร้อยแกว้ เช่น บันทกึ ประจาวนั เรยี งความ ย่อความ จดหมาย รายงาน โครงงาน เขยี นวิเคราะห์วิจารณ์ เขยี นอวยพร เขียนบรรยาย พรรณนา อธิบาย เปน็ ตน้ นายศิริชัย คชวงษ์ รหสั นักศึกษา 6112610033 สาขาวชิ าการสอนภาษาไทย คณะศึกษาศาสตร์

งานชิ้นท่ี 4  ปรศิ นาผะหมี 1 ก.พ. 63 ปริศนาผะหมี “แม”่ แม่ ปรงุ อรอ่ ยเลิศล้า กว่าใคร แม่ นน่ั เมตตาให้ โอบออ้ ม แม่ นกั รบเกรียงไกร ยทุ ธตอ่ แม่ ดัง่ ตน้ แบบนอ้ ม กอ่ ตง้ั สงั คม เลขคณิต แม่ ท่องจ้าแต่นอ้ ย เอ่ยอ้าง แม่ สะกด ด ลองคิด เหนยี วแน่น แม่ ขั้วดูดกันตดิ อาจสู่สาคร แม่ กราดไหลเชย่ี วกวา้ ง นายศิรชิ ัย คชวงษ์ : ผปู้ ระพนั ธ์ คาตอบ คือ แม่ครัว แม่พระ แมท่ พั แม่พิมพ์ แม่สูตรคณู แมก่ ด แม่เหล็ก แมน่ ้า ปริศนาผะหมี “พระในวรรณคด”ี ก้าเนดิ หอยรูปลักษณ์ สกุ ใส ผู้เชี่ยวชาญดนตรีไพ- เราะก้อง แยง่ นงนุชย่งิ ใหญ่ เกดิ ศกึ หลงปลกั รกั พน่ี อ้ ง โศกเศรา้ สามเรา บารมี ทา้ บุญทานสรา้ งส่ง พใู่ ห้ รกั แม่สบิ สองนี้ อภเิ ษก พรานบญุ จับมโนรี ชือ่ ไซร้จฬุ า ชอบเลน่ ว่าวคล่งั ไคล้ นายศิริชยั คชวงษ์ : ผู้ประพนั ธ์ คาตอบ คอื พระสังขท์ อง พระอภยั มณี พระราม พระลอ พระเวสสันดร พระรถเสน พระสุธน พระปิน่ ทอง นายศริ ชิ ยั คชวงษ์ รหสั นักศึกษา 6112610033 สาขาวิชาการสอนภาษาไทย คณะศกึ ษาศาสตร์

งานชิน้ ท่ี 5  ความรักเปรยี บเหมอื นอะไร 2 ก.พ. 63 ความรกั เปรยี บเหมือนขนมทับทิมกรอบ แหว้ขา้ งนอกสชี มพสู ดใส ข้างในมแี ต่ ความรกั เปรียบเหมือนสายน้า ถงึ จะมสี ิ่งกีดขวาง แต่สายน้าก็ไม่มวี ันหยดุ ไหล ความรกั เปรยี บเหมือนวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ถ้ามโี อกาสกต็ อ้ งทดลอง นายศริ ชิ ัย คชวงษ์ รหัสนักศกึ ษา 6112610033 สาขาวชิ าการสอนภาษาไทย คณะศึกษาศาสตร์

งานช้นิ ท่ี 6  เพลงหนุม่ ฟ้อหล่อเฟยี้ ว 2 ก.พ. 63 หนุ่มฟอ้ หล่อเฟ้ยี ว มีผมคนเดียวรูปหลอ่ จริงๆ นะเนยี่ เม่อื วานแวน้ ไป ชะอา (ซ้า) สาวๆ งามขา ถามว่า พีห่ มา่ ใช่ไหมเน่ีย นายศิริชัย คชวงษ์ รหัสนักศึกษา 6112610033 สาขาวิชาการสอนภาษาไทย คณะศึกษาศาสตร์

งานช้ินท่ี 7  โฆษณาทีใ่ ชศ้ ิลปะคาประพันธ์ 2 ก.พ. 63 ทีม่ า : https://m.mgronline.com/qol/detail/9610000066768 จากข้อความโฆษณา “ลดจรงิ ลดไว เห็นผลใน 7 วนั ” “มาเปลย่ี น หนุ่ พัง ให้เปน็ หนุ่ ปงั ” ศลิ ปะการประพนั ธ์ เดน่ ดา้ นการใชค้ ้าซ้า คา้ ว่า ลด มสี ัมผัสคลอ้ งจองกัน ค้าวา่ ไว –ใน , พงั – ปัง เป็นต้น นายศริ ชิ ัย คชวงษ์ รหัสนักศกึ ษา 6112610033 สาขาวิชาการสอนภาษาไทย คณะศกึ ษาศาสตร์

งานชนิ้ ที่ 8  เพลงยอยศพระลอ 2 ก.พ. 63 เพลง : ยอยศพระลอ ศิลปนิ : ชินกร ไกรลาศ รอยรูปอนิ ทร์หยาดฟ้า มาอา่ องค์ในหลา้ แหลง่ ให้คนชม งามสมขุนลอท้าว นา้ พระทยั ณ หวั เจ้าย่ิงแม่กาหลง ยาม ธ ทรงคชสาร พระยง่ิ หาญยิ่งกล้า เกินพระยาสีหราชท้าว กลางศึก พระบาทเจ้าล้านโลกใครบ่เท่าพ่อขุนแมนสรวง รปู ดงั องค์อินทร์ หยาดฟ้ามาสู่ดนิ โสภนิ ดังดวงเดือน เหนือแผน่ ดนิ แดนสรวงเหนอื ปวงหน่มุ ใด หากว่าน้องตอ้ งสวาทยอมเปน็ ทาสรกั บา้ เรอ นามพระลอท้าวเธอทรงสถิตย์ ณ ดวงใจ ลมุ่ แม่กาหลงเจ้า หรือจะเทา่ ถงึ ครง่ึ แมน้ ้อยหนึ่งน้าหทยั เมอ่ื ทรงคชสาร พระยง่ิ หาญยิง่ กลา้ ดงั่ พระยาสีหราชผู้เปน็ ใหญ่ ใช่เพยี งศกึ รบสยบพระธงชัย แมใ้ นศึกรกั พระยังยง่ิ ใหญ่ นาถอนงค์ปลงใจให้อิงอนุ่ นับลา้ นโลกาลว้ นบ่ควรคู่บญุ ด่ังพอ่ ขนุ แมนสรวงเอย ศลิ ปะการประพันธ์ ดีเด่นด้านการพรรณนาโวหาร ทก่ี ลา่ วชมความงาม และความกล้าหาญของพระลอ ด้วย พระลอผู้มีรูปงามเหมือนองค์อินทร์ เป็นที่หลงใหลพิสวาทของบรรดาสาวๆ มีรูปงามและมีน้า พระทัยยิ่งกว่าแม่น้า มีความกล้าหาญชาญชัยในยามรบ และยามรัก พระลอทรงมีกิตติศักด์ิใน เรื่องการปกครองไพร่ฟ้าชาวแมนสรวงแล้วยังเป็นแม่ทัพที่ดีสามารถน้าชัยชนะมาสู่นคร โดยการนา้ เน้อื หามาจากวรรณคดเี ร่อื งลิลิตพระลอ มาพรรณนาผา่ นเป็นบทเพลง ยอยศพระลอ นายศิรชิ ัย คชวงษ์ รหสั นักศกึ ษา 6112610033 สาขาวิชาการสอนภาษาไทย คณะศกึ ษาศาสตร์

นายกิตตพิ งศ์ นาคกล่อม รหสั นกั ศึกษา 6112610011 นายศิริชยั คชวงษ์ รหัสนกั ศึกษา 6112610033 บทรอ้ ยกรอง (กลอนสี่ กาพยย์ านี ๑๑ กลอนสุภาพ) ระดบั ช้นั ประถมศึกษา ตอนปลาย ลักษณะงานเขยี น มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2535, หน้า 599) บทร้อยกรอง หมายถึงข้อความที่เกิดจากศิลปะ แห่งการเลอื กใชถ้ ้อยคาอันไพเราะและถูกตอ้ ง ตามฉนั ทลักษณ์ รอ้ ยกรองใช้ถ้อยคาถ่ายทอดให้เกิดอารมณ์ เกิด ความสุขความเบิกบาน หรือความสะเทอื นใจตลอดจนทาให้เกดิ ความคิดจินตนาการ วรรณา แต้ (2546, หน้า 14) บทร้อยกรอง หมายถึง เป็นการนาคาหรือถ้อยคาที่เราคัดเลือกไว้ดีแล้ว มาร้อยหรือผูกเข้าด้วยกันตามลักษณะแบบแผนของคาประพันธ์ชนิดน้ันๆ เช่น บังคับด้วยคาครุ-ลหุ เอกโท คาเปน็ -คาตาย ฯลฯ สรุปได้ว่า บทร้อยกรอง หมายถึง ถ้อยคาที่เรียบเรียงตามฉันทลักษณ์ของคาประพันธ์ชนิดนั้นๆ โดย จากัดคาและวรรคตอนให้สัมผัสกันไพเราะตามเกณฑ์ท่ีได้วางไว้ในฉันทลักษณ์ ให้เกิดความไพเราะเหมาะสม ดว้ ยเสียงและความหมาย กลอนสี่ ระดบั ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 กลอนส่ีเป็นบทร้อยกรองที่สามารถแต่งได้ง่าย สามารถที่จะฝึกหัดเขียนบทร้อยกรองในเบ้ืองต้น ผู้ท่ีเขียนกลอนส่ีได้จะเป็นพ้ืนฐานในการแต่งบทร้อยกรองประเภทอื่นต่อไปได้ง่ายยิ่งขึ้น เพราะแต่ละวรรคมี เพียง 4 คา อา่ นครั้งละ 2 คา 2 เช่น หนงึ่ ลา้ น / คาร้อย แทนถ้อย / คารกั หมน่ื แสน / ฤาจัก เทา่ รกั / ของแม่ (นภดล สงั ขท์ อง, 2546, หนา้ 10) กาพยย์ านี 11 ระดับชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 5 ราชบัณฑิตยสถาน (2556, หนา้ 113) กลา่ ววา่ กาพย์ หมายถงึ คาร้อยกรองประเภทหน่ึงมีหลายชนิด เช่น กาพย์ฉบงั กาพยส์ ุรางคนางค์ กาพยย์ านี กาพย์ขบั ไม้ กาชยั ทองหล่อ (2554, หน้า 441) กล่าวว่า กาพย์ หมายถึง คาประพันธ์ชนิดหนึ่ง ซึ่งมีกาหนด คณะ พยางค์ และสัมผัส มีลักษณะคล้ายกับฉนั ท์ แตไ่ ม่นยิ มครลุ หุเหมือนกับฉันท์ สรุปได้ว่า กาพย์ยานี 11 หมายถึง กาพย์ชนดิ หนึง่ ซง่ึ กาหนดลกั ษณะบงั คับคณะ พยางค์ และสมั ผัส บทหนงึ่ มี 2 บาท บาทหน่งึ ๆ จะแบง่ เปน็ 2 วรรค โดยวรรคหน้ามี 5 พยางค์ วรรคหลังมี 6 พยางค์ รวมเป็น 11 พยางค์ การอ่านเป็นจงั หวะตามวรรค คือวรรคหน้าเวน้ จังหวะ 2/3 คา ส่วนวรรคหลงั เว้นจงั หวะ 3/3 คา หน้า 1

เชน่ รอนรอน / ออ่ นอสั ดง พระสุริยง / เย็นยอแสง ชว่ งดงั / น้าคร่งั แดง แฝงเมฆเขา / เงาเมรุธร (กาพย์เหเ่ รอื : เจ้าฟา้ ธรรมธเิ บศ) กลอนสุภาพ ระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ราชบัณฑิตยสถาน, (2556 : 77 ) กล่าวว่า กลอนสุภาพ หมายถึง กลอนเพลงยาวบางคร้ังเรียกว่า กลอนตลาด กาชยั ทองหล่อ, (2554 : 415) กลา่ ววา่ กลอนสุภาพ หมายถงึ กลอนท่ใี ช้ถ้อยคาและทานองเรยี บๆ สรุปได้ว่า กลอนสุภาพ เป็นบทร้อยกรองประเภทหนึ่งที่บังคับ คณะ สัมผัส และเสียงวรรณยุกต์ ซึ่ง ลักษณะคาประพนั ธ์เป็นภาษาไทยเรียบเรียงเขา้ เปน็ คณะ ใช้ถ้อยคาและทานองเรียบๆ ซึ่งนับได้ว่ากลอนสุภาพ เป็นกลอนหลักของกลอนทั้งหมด เพราะเป็นพื้นฐานของกลอนหลายชนิด หากเข้าใจกลอนสุภาพ ก็สามารถ เขา้ ใจกลอนอื่นๆ ไดง้ า่ ยขน้ึ กลอนสภุ าพหนง่ึ บทมี 4 วรรค วรรคละ 7- 9 คาก็ได้ การแบง่ วรรคจงั หวะในการอ่านของกลอนสภุ าพแต่ละวรรค กลอนสุภาพจะแบ่งจังหวะการอ่านคาใน แต่ละวรรคเปน็ 3 ช่วง ดงั นี้ คอื ถา้ วรรคละ 7 คา จะแบง่ อ่านเป็น 2–2–3 ถา้ วรรคละ 8 คา จะแบง่ อ่านเปน็ 3–2–3 ถ้าวรรคละ 9 คา จะแบ่งอ่านเปน็ 3–3–3 เชน่ ถึงบางซอ่ื / ช่ือบาง / นส่ี จุ ริต เหมอื นชื่อจิต / ทีพ่ ต่ี รง / จานงสมร มติ รจติ / กข็ อให้ / มติ รใจจร ใจสมร / ขอให้ซ่อื / เหมอื นช่อื บาง (นริ าศระบาท : สุนทรภ)ู่ หน้า 2

หลักการเขยี น 1. บทร้อยกรอง ประเภทกลอนส่ี ตามฉันทลกั ษณ์ ดงั นี้ 1.1 กลอนสี่ 1 บท มี 4 วรรค วรรคละ ๔ คา 1.2 สัมผสั ระหวา่ งวรรคหรือสัมผสั บังคับหรือสมั ผสั นอกต้องเป็นสัมผัสสระซึง่ มีแบบแผนต่อไปนี้ 2.1.1 คาท้ายของวรรคแรกสมั ผสั กับคาที่ 1 หรือ 2 ของวรรคท่ี 2 2.2.2 คาท้ายของวรรคท่ี 2 สัมผัสกบั คาท้ายของวรรคที่ 3 2.3.3 คาทา้ ยของวรรคท่ี 3 สัมผสั กับคาที่ 1 หรอื 2 ของวรรคท่ี 4 2.4.4 การเขียนบทต่อไปให้คาสุดท้ายของวรรคที่ 4 สัมผัสกับคาสุดท้ายของวรรคท่ี 2 ของ บทตอ่ ไปเรียกว่า “สัมผัสระหวา่ งบท” แผนผังกลอนสี่ บทท่ี 1    สัมผสั ระหว่างบท         บทที่ 2      อกี กลอนสน่ี น้ั โดยบญั ญัตไิ ข เรียงเรยี บเทียบใน แบบไวจ้ งจา วิธคี มขา จัดวรรคละสี่ สัมผัสฟัดจอง จาแนกแจกทา (ประชมุ ลานา) 2. บทร้อยกรอง ประเภทกาพยย์ านี 11 ตามฉันทลักษณ์ ดงั น้ี ราตรี โพธิเ์ ตง็ (2551, หนา้ 230) กลา่ วถึงลกั ษณะบงั คบั ของกาพย์ยานี 11 ไวด้ งั น้ี 2.1 คณะ กาพย์ยานี 11 มีคณะดังน้ี บทหน่ึงมี 2 บาท บาทหนึ่งมี 2 วรรค วรรคแรกมี 5 คา วรรค หลัง 6 คา รวมเป็น 11 คา บาทแรกเรียกว่า บาทเอก บาทที่สอง เรียกว่าบาทโท จะต้องแต่งให้จบในบาทโท เสมอ 2.2 สมั ผัส สมั ผสั บังคับ คอื ลักษณะสัมผสั นอกหรือสัมผสั บังคบั ของกาพยย์ านี 11 ได้ ดังน้ี หนา้ 3

2.1.1 คาสุดทา้ ยของวรรคท่ี 1 ส่งสัมผัสไปยังคาท่ี 3 ของวรรคที่ 2 หรือบางครั้งอาจเล่ือนไป เปน็ คาที่ 1 หรอื 2 กไ็ ด้ 2.1.2 คาสุดท้ายของวรรคที่ 2 (ในบาทเอก) ส่งสัมผัสไปยังคาสุดท้ายของวรรคท่ี 3 (ในบาท โท) 2.1.3 คาสุดท้ายของวรรคท่ี 4 ใบบทที่ 1 จะส่งสัมผัสไปยังคาสุดท้ายของวรรคท่ี 2 ใบบทท่ี 2 ตอ่ เรียกวา่ “สมั ผัสระหว่างบท” แผนผังกาพย์ยานี 11  บาทเอก บทที่ 1  บาทโท    สัมผัสระหวา่ งบท  บทท่ี 2 บาทเอก  บาทโท  กาพย์ยานลี านา สบิ เอ็ดคาจาอยา่ คลาย วรรคหนา้ หา้ คาหมาย วรรคหลงั หกยกแสดง ครุลหุนั้น ไมส่ าคญั อย่าระแวง สมั ผัสต้องจัดแจง ให้ถกู ต้องตามวิธี (หลกั ภาษาไทย : กาชยั ทองหล่อ) 3. บทร้อยกรอง ประเภทกลอนสุภาพ ตามฉันทลกั ษณ์ ดังนี้ กุหลาบ มลั ลกิ ะมาส และวิพธุ โสภวงศ์, (2533 : 135) ได้สรุปลักษณะบังคับของกลอนสภุ าพไว้ ดังน้ี 1. กลอนบทหนึ่งมี 2 คากลอน หรอื 4 วรรค 2. วรรคหนงึ่ มีคา 7-9 คา สว่ นมากนิยมใหม้ ี 8 คา วรรคที่ 1 เรียกว่า วรรคสดบั หรือ วรรคสลับ วรรคที่ 2 เรยี กวา่ วรรครับ วรรคที่ 3 เรียกวา่ วรรครอง วรรคที่ 4 เรียกว่า วรรคสง่ 3. มีสัมผัสบังคับ หรือสัมผัสนอก 3 แห่ง คือสัมผัสภายในบท 2 แห่งและสัมผัสเช่ือมระหว่างบท 1 แหง่ ในกรณที เี่ ขยี นมากกว่าหน่งึ บทมีสมั ผัสไมบ่ ังคบั คือ สัมผัสสระภายในวรรคเพื่อความไพเราะรื่นหู และอาจ สัมผัสอักษรเพือ่ เนน้ ความไพเราะย่งิ ขึ้น หนา้ 4

4. กาหนดเสยี งวรรณยกุ ต์ ในคาสุดท้ายของแตล่ ะวรรค คอื วรรคท่ี 1 คาสุดทา้ ยใชเ้ สยี งสามญั เอก โท ตรี จัตวาได้ แตไ่ ม่นิยมเสียงสามัญ วรรคที่ 2 คาสุดท้ายหา้ มใช้เสยี งสามัญและตรี นิยมใช้เสียงจัตวา วรรคท่ี 3 คาสดุ ท้ายใช้เสยี งสามญั หรือเสียงตรี ห้ามใช้เสียงเอก โท จตั วา วรรคท่ี 4 คาสุดท้ายใช้เสยี งสามัญหรือตรี ห้ามใชเ้ สียงเอก โท จตั วา นยิ มใชเ้ สียงสามัญ แผนผงั กลอนสุภาพ วรรครับ สมั ผัส ระหว่างบท บทท่ี 1 วรรคสดับ   วรรคส่ง วรรครอง    บทที่ 2    กลอนหน่ึงบทสวี่ รรคกรองอักษร อาจย่ิงหยอ่ นเจ็ดหรือเก้าเข้าหลักการ กลอนสุภาพพงึ จามีกาหนด สลับจัดรบั รองส่งประสงค์สมาน วรรคละแปดพยางคน์ ับศพั ทส์ นุ ทร เป็นกลอนกานทค์ รบครันฉันท์นีเ้ อย หา้ แหง่ คาคล้องจองต้องสมั ผสั เสยี งสูงต่าตอ้ งเรียงเยี่ยงโบราณ หน้า 5

ปญั หาการเขยี น ปัญหาในการเขียนบทร้อยกรองของนักเรียนนั้น เกิดจากปัจจัยหลายปัจจัยที่ส่งผลให้นักเรียนไม่ ประสบความสาเร็จในการเขียนบทร้อยกรอง โดยสาเหตุท่ีทาให้เกิดปัญหาการแต่งบทร้อยกรองนั้น เกิดจาก ปจั จยั สาคัญท่เี กิดจากตวั นักเรยี นและตัวครผู ู้สอน ดังน้ี 1. ปัญหาจากตวั นักเรียน นักเรียนน้ันจะประสบความสาเร็จในการแต่งบทร้อยกรอง ข้ึนอยู่กับความชอบ และความถนัดของ นักเรียนแต่ละคน ซ่ึงนักเรียนจะสนใจในการแต่งบทร้อยกรองได้จากเรียนรู้ท่ีเกิดขึ้นจากครู และพบเจอใน ชีวิตประจาวัน หากนักเรียนมีประสบการณ์ในการแต่งบทร้อยกรอง เคยอ่าน ได้ยิน หรือได้ฟัง นักเรียนก็จะมี ความช่ืนชอบ และเจตคติท่ีดีต่อการแต่งบทร้อยกรอง เกิดแรงจูงใจ ในการเรียนรู้ ซ่ึงมีส่วนสาคัญในการท่ีจะ ประสบความสาเร็จในการแตง่ บทประพนั ธไ์ ด้ ปญั หาจากตัวนักเรียนนน้ั นอกจากด้านเจตคติแล้ว ยังมีปัญหาในการเรียน และความรู้พ้ืนฐานในการ แต่งบทรอ้ ยกรอง ปัญหาสาเหตุการแต่งบทรอ้ ยกรองไม่ประสบผลสาเร็จน้ัน เกิดจากตัวนักเรียนที่คิดว่าตนไม่มี ความสามารถในการเขียนร้อยกรอง นักเรียนแต่ละคนมีความสามารถในการเรียนรู้ท่ีแตกต่างกัน กล่าวคือ คนเก่งสามารถเรียนรู้เร็ว แต่คนอ่อนเรียนรู้ช้า จึงทาให้คนเก่งต้องรอคนเรียนอ่อน เช่น เร่ือง คาคล้องจอง ฉันทลักษณ์ สัมผัสบังคับ ท่ีนักเรียนอาจจะจาไม่ได้ และเรียนรู้ยาก ซึ่งปัญหาในส่วนน้ี สามารถแก้ไขได้จาก การจัดกิจกรรมการเรยี นของครทู จ่ี ะสามารถชว่ ยไดน้ น้ั เอง 2. ปัญหาจากตัวครผู สู้ อน ครูผู้สอนอาจจะมีแนวทางในการสอนที่แตกต่างกัน กิจกรรมท่ีจัดการเรียนการสอนในเร่ืองการแต่ง บทร้อยกรองนั้น อาจจะไม่ทันสมัย ไม่สามารถสร้างแรงจูงใจให้กับนักเรียนได้ อีกท้ังตัวครูผู้สอนอาจจะไม่มี ความรู้ ไม่มีความถนัดในเรอ่ื งการแต่งบทร้อยกรอง นักเรียนเบ่ือหน่ายวิธีการสอนของครู จึงทาให้ไม่สนใจที่จะ เรียน เกิดจากครูผู้สอนที่ไม่สนใจและไม่ให้ความสาคัญกับการสอนเขียนร้อยกรอง และไม่ค้นคว้าหาความรู้ เพมิ่ เตมิ เพราะคดิ วา่ ไม่สาคญั ยึดติดกับวิธีสอนแบบใดแบบหน่ึงไม่ยอมเปลี่ยนแปลงวิธีสอน ซึ่งส่งผลให้นักเรียน กระทบตอ่ นักเรยี น และเป็นปญั หาในการเรียนเร่ืองบทร้อยกรองดว้ ย หนา้ 6

กิจกรรมพฒั นาทักษะการเขยี น กจิ กรรมการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะในการเขียนบทร้อยกรองมากย่ิงข้ึนนั้น ครูสามารถออกแบบกิจกรรมการสอนได้อย่างหลากหลาย ใช้เทคนิค และวิธีการสอนท่ีทาให้นักเรียนเข้าใจ และสามารถสร้างจูงใจให้กบั นกั เรยี นในการเรียนรู้เร่ืองการแต่งบทร้อยกรอง ดังนี้ 1. การเรยี นร้ฉู นั ทลกั ษณ์และสมั ผัสบังคบั ครูสามารถจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้ฉันทลักษณ์ และสัมผัสบังคับ จากการออกแบบกิจกรรม นอกเหนือจากการบรรยาย เช่น ให้นักเรียนถอดฉันทลักษณ์และสัมผัสบังคับเองจากตัวอย่างหลายๆ ตัวอย่าง ใหน้ ักเรียนไดส้ ังเกต โดยครูอาจออกแบบกิจกรรมเป็นกลมุ่ เนน้ การสอนแบบรว่ มมือ เปน็ ต้น 2. การสร้างความรพู้ ืน้ ฐาน พื้นฐานความร้ใู นการแตง่ บทร้อยกรอง โดยท่ีสาคัญน้นั ได้แก่ เรอ่ื งคาคลอ้ งจอง ซ่ึงสามารถให้นักเรยี น ทากจิ กรรมท่ีสามารถสรรค์คาจานวนมาก เพื่อสามารถมีคาศัพท์ทส่ี ามารถนาไปใช้ในการแต่งบทร้อยกรองได้ โดยออกแบบกิจกรรม เช่น การต่อคาคลอ้ งจองไปเร่อื ยๆ จานวนมาก บา้ นเรา – เขาใหญ่ – ไปเทีย่ ว – เปรย้ี วหวาน – งานแต่ง – แยง่ ชงิ – ลงิ หลบั ครูสามารถเพิ่มจานวนของคาพยางค์ให้มากขึ้น และสอนควบคู่ไปกับการเรียนรู้ฉันทลักษณ์ได้ สามารถเรียนอยา่ งงา่ ยไปสู่ฉนั ทลักษณ์ทย่ี ากข้นึ ได้ 3. การใชเ้ พลงในการแต่งบทร้อยกรอง ในเรื่องการแต่งบทร้อยกรองเป็นเรื่องท่ียากสาหรับนักเรียน การใช้เพลงจะทาให้นักเรียนเกิดความ สนใจมากย่ิงข้ึน เกิดการเรียนรู้ ชอบในการแต่งบทร้อยกรอง และไม่รู้สึกเบื่อหน่ายในการแต่งบทร้อยกรอง เพราะได้ประโยชน์จากคาสัมผัสคล้องจองทีป่ รากฏในบทเพลงตา่ งๆ เชน่ เพลงไทยลูกทุ่ง เพลงพ้ืนบ้าน เป็นต้น เช่น (สร้อย) ลามะลิลา ข้นึ ต้นเปน็ มะลิซ้อน พอแตกใบออ่ นเปน็ มะลลิ า (สร้อย) ลามะลลิ า ขึน้ ต้นอะไรก็ได้ แตต่ อ้ งลงทา้ ยด้วยสระอา (สร้อย) ลามะลิลา สวัสดีนะเพ่ือนพ้อง ขอให้พน่ี อ้ งจงได้เมตตา (สรอ้ ย) ลามะลลิ า ดินเหนยี วให้รว่ มสนุก มารว่ มเปล้อื งทุกข์ใหส้ ขุ อุรา (สร้อย) ลามะลลิ า วันน้ีมาร่วมสุขสนั ต์ ไดม้ าประพนั ธก์ ลอนมะลิลา (สร้อย) ลามะลลิ า ไม่วา่ จะอยูแ่ ห่งไหน จะใกล้หรือไกลไม่เป็นไรแก้วตา หน้า 7

4. การใช้แบบฝกึ ทักษะในการแต่งบทร้อยกรอง แบบฝึกทักษะเป็นส่วนประกอบที่สาคัญประการหน่ึง แบบฝึกทักษะจะทาให้เด็กเกิดความแม่นยา คล่องแคล่วในแต่ละทักษะ สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการประเมินทักษะทางภาษาของนักเรียนได้ เด็ก นักเรียนที่เรียนด้วยแบบฝึกทักษะ จะมีความคงทนในการเรียนรู้ได้ดี เพราะนักเรียนได้ฝึกกระทาบ่อยๆ นักเรียนได้ลงมือกระทาเอง และนักเรียนเกิดความสนุกสนานในการทาแบบฝึกทักษะ ตัวอย่างแบบฝึกทักษะ จานวน 3 ชดุ ดงั นี้ ชุดท่ี 1 ฝึกคิดเขยี นคาคล้องจอง ชดุ ที่ 2 ฝึกคิดลองคาสัมผัส ชุดที่ 3 ฝกึ หัดแต่งคาประพันธ์ 5. การประกวดแตง่ บทร้อยกรองในกจิ กรรมวันสาคัญ การประกวดการแข่งขันในการแต่งบทร้อยกรอง แต่ละระดับช้ัน เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการแต่ง บทร้อยกรอง และมีการมอบรางวัลให้แก่นักเรียนท่ีชนะเลิศตามลาดับ เพ่ือสร้างแรงจูงใจให้กับนักเรียน เช่น กิจกรรมวันไหว้ครู กิจกรรมวันภาษาไทย กิจกรรมวันสุนทรภู่ กิจกรรมวันแม่แห่งชาติ กิจกรรมวันพ่อ แห่งชาติ ฯลฯ 6. การเรยี นรู้วรรณศิลป์ เม่ือนักเรียนมีความเข้าใจในการฉันทลักษณ์ สัมผัสบังคับ และมีความรู้พ้ืนฐานต่างๆ ท่ีสามารถนามา แต่งบทร้อยกรองได้แล้ว อีกส่วนท่ีสาคัญคือ วรรณศิลป์ ซ่ึงทาให้บทร้อยกรองนั้น มีความงามในภาษามาก ย่ิงขึ้น มีลูกเล่นประทับใจแก่ผู้อ่าน และสามารถจรรโลงใจ ได้ข้อคิดจากการซึมซับ งานเขียนนั้นๆ ได้ โดย วรรณศลิ ปท์ ี่สามารถให้นักเรียนเรยี นรู้ได้ เชน่ การเล่นคา การใชโ้ วหารภาพพจน์ และรสวรรณคดี เป็นต้น การจัดกิจกรรมท่ีสามารถทาให้นักเรียนได้เรียนรู้วรรณศิลป์น้ัน ครูสามารถออกแบบกิจกรรม การเรียนการสอนใหม้ คี วามสนกุ และเกดิ จากความสนใจของนักเรียนเอง ให้นักเรียนเลือกบทร้อยกรองที่สนใจ และมาหาความงาม วรรณศิลป์ในบทร้อยกรองน้ัน ๆ ให้นักเรียนสังเกตวรรณศิลป์ โวหารต่างๆ และได้เรียนรู้ ดา้ นแต่งบทร้อยกรอง และการใช้หลกั ภาษาซงึ่ เรียนรู้ควบคู่กนั ไปได้ หน้า 8

เอกสารอา้ งองิ กาชยั ทองหล่อ. (2554). หลักภาษาไทย. พิมพค์ รง้ั ที่ 53. กรงุ เทพฯ : รวมสาส์น. กุหลาบ มัลลกิ ะมาส และวพิ ุธ โสภวงศ.์ (2533). การเขียน 1 (ท.041). กรุงเทพฯ : อกั ษรเจริญทศั น์. ขณั ธ์ชัย อธิเกยี รติ. (2562). ร้อยกรองไทย. กรุงเทพฯ : บริษทั เพอลงั อิ พบั ลิชช่งิ (ประเทศไทย) จากดั . นภดล สังข์ทอง. (2546). ร้อยกรองเขียนไม่ยาก. กรงุ เทพฯ : นามมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส.์ มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช. (2535). การสอนกลุ่มทักษะภาษาไทย 1 (ภาษาไทย). กรุงเทพฯ : บางกอกบล็อค. ราชบณั ฑติ ยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. พมิ พค์ ร้ังท่ี 2. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน. ราตรี โพธเ์ิ ตง็ . (2551). ทกั ษะภาษาไทยเพื่ออาชพี . กรงุ เทพฯ : เอมพันธ์. วรรณา แต.้ (2546). บทรอ้ ยกรอง. กรงุ เทพฯ : เอ.พี. กราฟฟิคดีไซน์และการพิมพ.์ หนา้ 9

20/02/63 บทร้อยกรอง กลอนส่ี กาพย์ยานี11 กลอนสภุ าพ เสนอ รองศาสตราจารย์ขัณธ์ชัย อธิเกยี รติ ช้ันประถมศึกษา ตอนปลาย TTH6223 การพัฒนาทกั ษะการสอนเขียน โดย นายกิตติพงศ์ นาคกล่อม รหสั นกั ศกึ ษา 6112610011 นายศริ ิชัย คชวงษ์ รหสั นกั ศกึ ษา 6112610033 สาขาวชิ าการสอนภาษาไทย คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั รามคาแหง บทร้อยกรอง ลักษณะงานเขียน กลอนส่ี ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 1

20/02/63 บทร้อยกรอง ลักษณะงานเขยี น กลอนสี่ เป็นบทรอ้ ยกรองทีส่ ามารถแต่งได้ง่าย สามารถท่ีจะฝึกหัดเขียน บทร้อยกรองในเบื้องต้น ผู้ท่ีเขียนกลอนสี่ได้จะเป็นพื้นฐานในการแต่ง บทร้อยกรองประเภทอื่นต่อไปได้ง่ายยิ่งขึ้น เพราะแต่ละวรรคมีเพียง 4 คา อา่ นครง้ั ละ 2 คา 2 เชน่ หน่ึงลา้ น / คารอ้ ย แทนถ้อย / คารัก หม่นื แสน / ฤาจัก เท่ารกั / ของแม่ (นภดล สังขท์ อง, 2546, หนา้ 10) บทร้อยกรอง ลกั ษณะงานเขยี น กาพย์ยานี11 ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 2

20/02/63 บทร้อยกรอง ลกั ษณะงานเขยี น กาพย์ยานี11 เป็นกาพย์ชนิดหน่ึง ซึ่งกาหนดลักษณะบังคับคณะ พยางค์ และสัมผัส บทหนึ่งมี 2 บาท บาทหนึ่งๆ จะแบ่งเป็น 2 วรรค โดยวรรคหน้ามี 5 พยางค์ วรรคหลังมี 6 พยางค์ รวมเป็น 11 พยางค์ การอ่านแบ่งจังหวะตามวรรค คือ วรรคหน้าเว้นจังหวะ 2/3 คา ส่วน วรรคหลังเวน้ จังหวะ 3/3 คา เช่น รอนรอน / อ่อนอสั ดง พระสุรยิ ง / เยน็ ยอแสง ชว่ งดัง / นา้ ครัง่ แดง แฝงเมฆเขา / เงาเมรธุ ร (กาพย์เหเ่ รอื : เจ้าฟา้ ธรรมธเิ บศ) บทรอ้ ยกรอง ลกั ษณะงานเขยี น กลอนสุภาพ ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 6 3

20/02/63 บทรอ้ ยกรอง ลักษณะงานเขยี น กลอนสุภาพ เป็นบทร้อยกรองประเภทหนึ่งที่บังคับ คณะ สัมผัส และ เสียงวรรณยุกต์ ซึ่งนับได้ว่ากลอนสุภาพเป็นกลอนหลักของกลอน ทง้ั หมด เพราะเป็นพนื้ ฐานของกลอนหลายชนิด หากเข้าใจกลอนสุภาพ ก็สามารถเข้าใจกลอนอื่นๆ ได้ง่ายข้ึน กลอนสุภาพหน่ึงบทมี 4 วรรค วรรคละ 7- 9 คาก็ได้ บทร้อยกรอง ลักษณะงานเขยี น การแบ่งวรรคจังหวะในการอ่านของกลอนสุภาพแต่ละวรรค กลอน สภุ าพจะแบ่งจงั หวะการอา่ นคาในแตล่ ะวรรคเป็น 3 ชว่ ง ดงั น้ี คอื ถา้ วรรคละ 7 คา จะแบง่ อา่ นเป็น 2–2–3 ถ้าวรรคละ 8 คา จะแบง่ อา่ นเป็น 3–2–3 ถา้ วรรคละ 9 คา จะแบง่ อา่ นเป็น 3–3–3 ถึงบางซือ่ / ชื่อบาง / นี่สุจรติ เหมอื นชือ่ จติ / ทพ่ี ีต่ รง / จานงสมร มิตรจติ / ก็ขอให้ / มิตรใจจร ใจสมร / ขอให้ซ่ือ / เหมอื นชือ่ บาง (นริ าศระบาท : สุนทรภ)ู่ 4

20/02/63 หลักการเขียน บทร้อยกรอง กลอนส่ี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 บทร้อยกรอง หลักการเขียน บทร้อยกรอง ประเภทกลอนส่ี ตามฉนั ทลกั ษณ์ ดังนี้ กลอนสี่ 1 บท มี 4 วรรค วรรคละ ๔ คา แผนผังกลอนสี่ 5

20/02/63 บทร้อยกรอง หลกั การเขยี น บทร้อยกรอง ประเภทกลอนส่ี ตามฉนั ทลักษณ์ ดงั น้ี กลอนสี่ 1 บท มี 4 วรรค วรรคละ ๔ คา ตัวอยา่ งคาประพันธ์ อีกกลอนสี่น้ัน โดยบัญญตั ไิ ข สัมผสั ระหว่างบท เรยี งเรยี บเทยี บใน แบบไวจ้ งจา จัดวรรคละสี่ วธิ คี มขา จาแนกแจกทา สัมผัสฟดั จอง (ประชมุ ลานา) บทร้อยกรอง หลกั การเขยี น กาพยย์ านี 11 ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 6

20/02/63 บทรอ้ ยกรอง หลกั การเขยี น บทรอ้ ยกรอง ประเภทกาพย์ยานี 11 ตามฉนั ทลักษณ์ ดงั น้ี กาพย์ยานี 11 มคี ณะดังน้ี บทหน่งึ มี 2 บาท บาทหนึง่ มี 2 วรรค วรรคแรกมี 5 คา วรรคหลัง 6 คา รวมเป็น 11 คา บาทแรกเรียกวา่ บาทเอก บาทที่สอง เรยี กว่าบาทโท จะตอ้ งแตง่ ให้จบในบาทโทเสมอ แผนผงั กาพย์ยานี 11 บทรอ้ ยกรอง หลักการเขียน บทร้อยกรอง ประเภทกาพย์ยานี 11 ตามฉนั ทลักษณ์ ดงั น้ี กาพย์ยานี 11 มคี ณะดังน้ี บทหนึง่ มี 2 บาท บาทหนึง่ มี 2 วรรค วรรคแรกมี 5 คา วรรคหลัง 6 คา รวมเป็น 11 คา บาทแรกเรียกว่า บาทเอก บาทที่สอง เรียกวา่ บาทโท จะต้องแตง่ ให้จบในบาทโทเสมอ ตวั อยา่ งกาพย์ยานี 11 กาพย์ยานีลานา สบิ เอ็ดคาจาอยา่ คลาย วรรคหนา้ ห้าคาหมาย วรรคหลงั หกยกแสดง สมั ผสั ครุลหุนัน้ ไมส่ าคัญอยา่ ระแวง ระหวา่ งบท สมั ผัสต้องจดั แจง ใหถ้ ูกต้องตามวิธี (หลกั ภาษาไทย : กาชัย ทองหล่อ) 7

20/02/63 บทร้อยกรอง หลกั การเขยี น กลอนสภุ าพ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6 บทร้อยกรอง หลักการเขียน บทร้อยกรอง ประเภทกลอนสุภาพ ตามฉันทลักษณ์ ดังน้ี 1. กลอนบทหน่ึงมี 2 คากลอน หรือ 4 วรรค 2. วรรคหนงึ่ มคี า 7-9 คา ส่วนมากนิยมให้มี 8 คา วรรคท่ี 1 เรยี กวา่ วรรคสดบั วรรคที่ 2 เรียกวา่ วรรครบั วรรคที่ 3 เรียกวา่ วรรครอง วรรคที่ 4 เรียกวา่ วรรคส่ง แผนผงั กลอนสุภาพ 8

20/02/63 บทรอ้ ยกรอง หลักการเขยี น บทร้อยกรอง ประเภทกลอนสุภาพ ตามฉันทลกั ษณ์ ดังนี้ สมั ผัส ระหวา่ งบท 1. กลอนบทหนึ่งมี 2 คากลอน หรอื 4 วรรค 2. วรรคหน่ึง มคี า 7-9 คา สว่ นมากนิยมใหม้ ี 8 คา วรรคที่ 1 เรียกว่า วรรคสดบั วรรคที่ 2 เรยี กว่า วรรครับ วรรคท่ี 3 เรียกวา่ วรรครอง วรรคที่ 4 เรียกว่า วรรคส่ง ตัวอยา่ งกลอนสภุ าพ กลอนสภุ าพพึงจามีกาหนด กลอนหน่ึงบทสี่วรรคกรองอกั ษร วรรคละแปดพยางค์นับศพั ท์สนุ ทร อาจย่งิ หย่อนเจ็ดหรอื เก้าเขา้ หลักการ ห้าแห่งคาคลอ้ งจองต้องสมั ผัส สลับจดั รบั รองส่งประสงค์สมาน เสียงสงู ตา่ ตอ้ งเรียงเยยี่ งโบราณ เปน็ กลอนกานท์ครบครนั ฉนั ท์นีเ้ อย บทร้อยกรอง หลักการเขยี น บทร้อยกรอง ประเภทกลอนสภุ าพ ตามฉันทลกั ษณ์ ดังน้ี กาหนดเสยี งวรรณยกุ ต์ ในคาสุดท้ายของแตล่ ะวรรค คือ วรรคที่ 1 คาสดุ ท้ายใชเ้ สยี งสามัญ เอก โท ตรี จตั วาได้ แต่ไม่นิยมเสียงสามัญ วรรคท่ี 2 คาสุดท้ายหา้ มใช้เสียงสามญั และตรี นิยมใชเ้ สยี งจัตวา วรรคที่ 3 คาสดุ ทา้ ยใชเ้ สียงสามัญ หรือเสียงตรี ห้ามใชเ้ สียงเอก โท จตั วา วรรคที่ 4 คาสุดท้ายใช้เสยี งสามัญหรือตรี หา้ มใชเ้ สยี งเอก โท จตั วา นิยมใชเ้ สยี งสามัญ 9

20/02/63 บทร้อยกรอง ปัญหาการเขียน ปญั หาจากตวั นกั เรียน ปัญหาการเขยี น บทรอ้ ยกรอง ปัญหาจากตวั นักเรียน นักเรียนนั้นจะประสบความสาเร็จในการแต่งบทร้อยกรอง ขนึ้ อยกู่ ับความชอบ และความถนัดของนักเรียนแต่ละคน ซง่ึ นกั เรียนจะสนใจในการแต่งบทร้อยกรองได้จากเรียนรู้ ที่เกิดข้ึนจากครู และพบเจอในชีวิตประจาวัน หาก นักเรียนมีประสบการณ์ในการแต่งบทร้อยกรอง เคยอ่าน ได้ยิน หรือได้ฟัง นักเรียนก็จะมีความช่ืนชอบ และ เจตคติที่ดีต่อการแต่งบทร้อยกรอง เกิดแรงจูงใจ ในการ เรียนรู้ ซึ่งมีส่วนสาคัญในการท่ีจะประสบความสาเร็จใน การแต่งบทประพันธ์ได้ 10

20/02/63 ปญั หาการเขยี น บทร้อยกรอง ปัญหาจากตัวนักเรยี น ปัญหาจากตัวนักเรียนน้ัน นอกจากด้านเจตคติแล้ว ยังมี ปัญหาในการเรียน และความรู้พ้ืนฐานในการแต่งบทร้อย กรอง ปัญหาสาเหตุการแต่งบทร้อยกรองไม่ประสบ ผลสาเร็จนั้น เกิดจากตัวนักเรียนที่คิดว่าตนไม่มี ความสามารถในการเขียนร้อยกรอง นักเรียนแต่ละคนมี ความสามารถในการเรยี นรทู้ แี่ ตกต่างกัน กล่าวคือ คนเก่ง สามารถเรียนรู้เร็ว แต่คนอ่อนเรียนรู้ช้า จึงทาให้คนเก่ง ตอ้ งรอคนเรยี นอ่อน บทรอ้ ยกรอง ปัญหาการเขยี น ปญั หาจากตวั ครูผ้สู อน 11

20/02/63 ปัญหาการเขียน บทรอ้ ยกรอง ปัญปัญหาหจาาจกาตกัวตควั รนูผักสู้ เอรยีนน ครูผู้สอนอาจจะมีแนวทางในการสอนที่แตกต่างกัน กิ จ ก ร ร ม ที่ จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ใ น เ ร่ื อ ง ก า ร แ ต่ ง บทร้อยกรองนั้น อาจจะไม่ทันสมัย ไม่สามารถสร้าง แรงจูงใจให้กับนักเรียนได้ อีกท้ังตัวครูผู้สอนอาจจะไม่มี ความรู้ ไม่มีความถนัดในเรื่องการแต่งบทร้อยกรอง นักเรียนเบื่อหน่ายวิธีการสอนของครู จึงทาให้ไม่สนใจที่ จะเรียน ปัญหาการเขียน บทรอ้ ยกรอง ปัญปัญหาหจาาจกาตกัวตคัวรนูผกั ูส้ เอรียนน เกิดจากครูผู้สอนท่ีไม่สนใจและไม่ให้ความสาคัญกับการ สอนเขียนร้อยกรอง และไม่ค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม เพราะคิดวา่ ไมส่ าคัญยึดตดิ กับวิธีสอนแบบใดแบบหนึ่งไม่ ยอมเปล่ียนแปลงวิธีสอน ซ่ึงส่งผลให้นักเรียนกระทบต่อ นักเรียน และเป็นปัญหาในการเรียนเรื่องบทร้อยกรอง ด้วย 12

20/02/63 บทร้อยกรอง กิจกรรมพัฒนาทักษะการเขยี น  การเรียนรู้ฉนั ทลักษณแ์ ละสัมผสั บังคบั ครูสามารถจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้ฉันทลักษณ์ และสัมผัสบังคับ จากการออกแบบกจิ กรรมนอกเหนือจากการบรรยาย เช่น ให้นักเรียนถอดฉันทลักษณ์และสัมผัสบังคับเองจากตัวอย่างหลายๆ ตัวอย่าง ให้นักเรียนได้สังเกต โดยครูอาจออกแบบกิจกรรมเป็นกลุ่ม เน้นการสอน แบบร่วมมอื เป็นตน้ บทร้อยกรอง กจิ กรรมพฒั นาทกั ษะการเขียน  การสรา้ งความรู้พ้ืนฐาน พ้ืนฐานความรู้ในการแต่งบทร้อยกรอง โดยท่ีสาคัญน้ัน ได้แก่ เรื่องคา คล้องจอง ซ่ึงสามารถให้นักเรียนทากิจกรรมที่สามารถสรรค์คาจานวนมาก เพื่อ สามารถมีคาศัพท์ท่ีสามารถนาไปใช้ในการแต่งบทร้อยกรองได้ โดยออกแบบ กิจกรรม เชน่ การตอ่ คาคลอ้ งจองไปเรอื่ ยๆ จานวนมาก บ้านเรา – เขาใหญ่ – ไปเทีย่ ว – เปรีย้ วหวาน – งานแต่ง – แยง่ ชงิ – ลิงหลับ ครูสามารถเพ่ิมจานวนของคาพยางค์ให้มากขึ้น และสอนควบคู่ไปกับการ เรยี นรู้ฉนั ทลกั ษณไ์ ด้ สามารถเรียนอย่างงา่ ยไปสู่ฉันทลกั ษณ์ทีย่ ากข้นึ ได้ 13

20/02/63 บทร้อยกรอง กิจกรรมพฒั นาทักษะการเขยี น  การใช้เพลงในการแตง่ บทรอ้ ยกรอง ในเร่ืองการแต่งบทร้อยกรองเป็นเร่ืองท่ียากสาหรับนักเรียน การใช้เพลง จะทาให้นักเรียนเกิดความสนใจมากย่ิงข้ึน เกิดการเรียนรู้ ชอบในการแต่งบทร้อย กรอง และไม่รู้สึกเบื่อหน่ายในการแต่งบทร้อยกรอง เพราะได้ประโยชน์จากคา สัมผัสคล้องจองท่ีปรากฏในบทเพลงต่างๆ เช่น เพลงไทยลูกทุ่ง เพลงพ้ืนบ้าน เป็น ต้น เชน่ บทรอ้ ยกรอง กจิ กรรมพฒั นาทักษะการเขยี น  การใชเ้ พลงในการแตง่ บทร้อยกรอง (สร้อย) ลามะลลิ า ข้ึนตน้ เปน็ มะลิซอ้ น พอแตกใบอ่อนเปน็ มะลิลา (สร้อย) ลามะลิลา ขึ้นต้นอะไรกไ็ ด้ แตต่ อ้ งลงท้ายด้วยสระอา (สร้อย) ลามะลลิ า สวสั ดีนะเพ่ือนพ้อง ขอให้พ่นี อ้ งจงได้เมตตา (สร้อย) ลามะลลิ า ……….…. …………..... 14

20/02/63 บทร้อยกรอง กจิ กรรมพัฒนาทกั ษะการเขียน การใช้แบบฝกึ ทกั ษะในการแต่งบทรอ้ ยกรอง แบบฝึกทักษะเป็นส่วนประกอบที่สาคัญประการหนึ่ง แบบฝึกทักษะจะทา ให้เด็กเกิดความแม่นยาคล่องแคล่วในแต่ละทักษะ สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการ ประเมินทกั ษะทางภาษาของนักเรยี นได้ เด็กนกั เรียนที่เรียนด้วยแบบฝึกทักษะ จะมี ความคงทนในการเรียนรู้ได้ดี เพราะนักเรียนได้ฝึกกระทาบ่อยๆ นักเรียนได้ลงมือ กระทาเอง และนักเรียนเกิดความสนุกสนานในการทาแบบฝึกทักษะ ตัวอย่างแบบ ฝกึ ทักษะจานวน 3 ชดุ ดงั น้ี ชุดที่ 1 ฝกึ คิดเขียนคาคลอ้ งจอง ชุดที่ 2 ฝึกคิดลองคาสัมผัส ชุดท่ี 3 ฝกึ หัดแตง่ คาประพนั ธ์ บทร้อยกรอง กจิ กรรมพฒั นาทกั ษะการเขียน การประกวดแตง่ บทรอ้ ยกรองในกิจกรรมวนั สาคญั การประกวดการแข่งขันในการแต่งบทร้อยกรอง แต่ละระดับช้ัน เพื่อให้ นักเรียนมีทักษะในการแต่งบทร้อยกรอง และมีการมอบรางวัลให้แก่นักเรียนที่ ชนะเลศิ ตามลาดับ เพือ่ สร้างแรงจูงใจใหก้ ับนักเรียน เชน่ กจิ กรรมวนั ไหว้ครู กิจกรรมวันภาษาไทย กจิ กรรมวันสนุ ทรภู่ กจิ กรรมวันแมแ่ ห่งชาติ กิจกรรมวันพ่อแหง่ ชาติ ฯลฯ 15

20/02/63 บทร้อยกรอง กจิ กรรมพฒั นาทักษะการเขียน  การเรยี นรู้วรรณศิลป์ เม่ือนักเรียนมีความเข้าใจในการฉันทลักษณ์ สัมผัสบังคับ และมีความรู้ พ้ืนฐานต่างๆ ท่ีสามารถนามาแต่งบทร้อยกรองได้แล้ว อีกส่วนท่ีสาคัญคือ วรรณศิลป์ ซึ่งทาให้บทร้อยกรองน้ัน มีความงามในภาษามากยิ่งขึ้น มีลูกเล่น ประทับใจแก่ผู้อ่าน และสามารถจรรโลงใจ ได้ข้อคิดจากการซึมซับ งานเขียนนั้นๆ ได้ โดยวรรณศิลป์ที่สามารถให้นักเรียนเรียนรู้ได้ เช่น การเล่นคา การใช้โวหาร ภาพพจน์ และรสวรรณคดี เป็นตน้ บทร้อยกรอง จบ การนาเสนอ ขอบคณุ ครับ 16


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook