Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 7 สิ่งที่ควร เปลี่ยน

7 สิ่งที่ควร เปลี่ยน

Published by ห้องสมุดประชาชน, 2021-04-03 03:13:16

Description: 7 สิ่งที่ควร เปลี่ยน

Search

Read the Text Version

“7 ส่งิ ที่ควรเปล่ยี น เพื่อ...”



ค�ำ นำ�ผู้เรยี บเรียง หลายคนคงเคยต้งั เปา้ วางแผนชีวติ ว่าจะปรับปรุง เปลย่ี นแปลงตวั เอง เพือ่ ยกระดับ คุณภาพชวี ติ พฒั นาศักยภาพท่ีมีภายในตัว เป็นต้นว่า จะ ‘เปลยี่ น’ มาตน่ื แตเ่ ชา้ จะ ‘เปล่ียน’ มาออกก�ำ ลังกาย จะ ‘เปล่ียน’ ไมม่ าท�ำ งานสาย จะ ‘เปล่ียน’ ฯลฯ และอีกเหตผุ ลต่างๆ มากมาย ท่เี ราตอ้ งการจะ ‘เปล่ียนแปลง’ เพ่ือลด ละ เลกิ พฤติกรรมความเคยชิน ไม่ให้ ครอบง�ำ หยง่ั รากฝังลกึ จนบานปลายกลายเป็น ‘นสิ ยั เสยี ’ ซง่ึ หากถึงข้ันนั้นแล้ว เช่ือว่าการ เปลยี่ นแปลงคงทำ�ไดย้ ากย่ิงยวด “แคค่ ดิ จะเปลย่ี น” ส�ำ หรับผมก็ถือวา่ เขา้ Gap คนคิดดแี ลว้ ถึงแมส้ งิ่ ท่คี ณุ ตั้งใจจะ เปลย่ี นมนั อาจจะยังไมบ่ รรลุผล แตห่ ากคณุ มุ่งมนั่ มี passion มั่นคง สิ่งทีม่ งุ่ หวงั กไ็ ม่ใช่เรื่อง ยาก ‘7 สงิ่ ทีค่ วรเปล่ยี น เพื่อ...’ หนงั สือเลม่ นี้เรยี บเรยี งข้ึนเพ่อื ตอ้ งการนำ�เสนอทางเลอื ก อกี รปู แบบของการใช้ชวี ิต ซึ่งต่างจากแนวทางการใชช้ วี ติ ตามกระแสสงั คม (ยุคทนุ นิยม) ใน ปัจจุบนั แน่นอนวา่ ใน 7 สงิ่ ท่ีผมยกตัวอย่าง ย่อมต้องมถี ูกใจและไมถ่ กู ใจ ใครดว้ ยกนั เยอะแยะ มากมาย แต่หากคณุ เปดิ ใจอ่านจนจบ ผมเชือ่ ว่า สมองของคณุ ตอ้ งตกผลกึ ความคดิ อะไร อยบู่ ้างไม่มากก็นอ้ ย สว่ นเหตุผลจะเพ่อื ? ของชื่อหนงั สือน้นั ขอปล่อยใหเ้ ปน็ ไปตามนานาจิต ตัง และหนงั สอื เลม่ นจ้ี ะสมบูรณ์แบบไมไ่ ด้ ถา้ ขาด Graphic design คนหมวยอยา่ ง คณุ Ping Mantana และ Huuyaowstudio ยงั ไงลองแวะเข้าไปทกั ทายตัวการ์ตนู น่ารกั ๆ เหล่านี้ไดท้ ี่ Facebook/huuyaowfanpage นายบวั บก [email protected]



๑ เปลย่ี น มากิน slow food เพือ่ เพ่ิมสุนทรียภาพให้ชวี ิต วา่ กันว่าเม่อื โลกเข้าสู่ยุคระบบอุตสาหกรรม ผลลพั ธ์ คือ การกา้ วลำ�้ ดา้ น เทคโนโลยี ทำ�ให้มนษุ ยส์ ามารถด�ำ เนนิ ชีวติ ประจ�ำ วันได้อย่างสะดวกสบาย ลดทอนเรอ่ื ง พลงั งาน, เวลา และปัจจัยส้นิ เปลอื งต่างๆ ที่เคยสญู เพลิงจากรปู แบบในการทำ�งาน การใช้ชวี ติ ประจ�ำ วัน ทำ�ใหผ้ คู้ นมเี วลาและโอกาสในการใชช้ ีวิตรปู แบบท่ีแตกตา่ งหลาก หลายขน้ึ จากเดิมท่ีเราเคยใช้เวลาประกอบกิจกรรมไดท้ ลี ะอยา่ ง ณ ช่วงเวลาขณะน้นั ก็ เรม่ิ ค่อยๆ ปรบั เปลีย่ นพฤติกรรมให้เราสามารถท�ำ กจิ กรรมหลายอย่างพร้อมกันได้ใน เวลาเดียว น่ันก็เพราะความทันสมยั ของเทคโนโลยีท่ีปจั จุบันมันเขา้ มาเป็นส่วนหนง่ึ ในการ ด�ำ เนนิ ชีวติ ประจำ�วนั ของคนเราแบบเสยี ไมไ่ ด้ ฉะน้นั เมอ่ื ค่านิยมบูชาความเรว็ คอ่ ยๆ รุก คืบคลานเข้ามา ทศั นะความคิดแบบ ‘กินทีละค�ำ ท�ำ ทลี ะอย่าง’ ของคนยุคกอ่ นจึงคอ่ ยๆ ลม้ หายตายจาก กเ็ พราะ “วฒั นธรรมความเร็ว” ค่อยๆ กดั เซาะวิถีชวี ิตมนษุ ย์ พร้อม ปลกู ฝงั พฤตกิ รรมดว่ นเรว็ ด่วนได้ชนดิ เฉียบพลนั โดยเฉพาะคนท่อี าศัยอยู่ในสงั คม เมือง ซ่งึ มกั จะมพี ฤติกรรมเหล่าน้ีแทบทง้ั สน้ิ และ time poverty หรอื ความขัดสนเวลา คอื ภาวะปจั จัยหลกั ทค่ี นสังคมเมืองตา่ งประสบปญั หาชะตากรรมโดยส่วนใหญ่

McDonald พ่ีเบ้ิมในอุตสาหกรรมอาหารโลกคือผทู้ ่ีอา่ นเกมออกว่าคนจะ ใหค้ วามสำ�คญั กบั เวลา จงึ ได้ดำ�เนนิ ธรุ กจิ ทีต่ อบสนอง lifestyle ผ้คู นดว้ ยอาหาร สไตล์ ‘แดกด่วน’ กระทงั่ McDonald เริ่มค่อยๆ ขยายอ�ำ นาจมาทีก่ รงุ โรมเม่ือปี 1986 กลมุ่ สาวกอนรุ ักษน์ ยิ มซ่ึงน�ำ ขบวนโดย คาร์โล เปรตินี (carlo petrini) นกั หนังสือพมิ พช์ าวอติ าเลีย่ น ผ้หู ลงใหลและใหค้ วามส�ำ คญั กับศิลปะการปรงุ อาหาร อย่างพถิ ีพถิ นั ทัง้ ยังตอ้ งการรักษาอาหารทอ้ งถ่ินที่เป็นเอกลกั ษณป์ ระจำ�ชาติให้คง อยู่ จงึ ออกอาการของข้ึน! ลกุ ขน้ึ มาประท้วงพร้อมจัดต้ังสมาคม Slow food โดย มสี ัญลกั ษณ์เปน็ รูปหอยทากตวั เล็กๆ ใหเ้ ป็นตัวแทนการเคล่ือนท่ีอย่างชา้ ๆ เพื่อชู คณุ คา่ ของความละเมยี ดละไมในการใชช้ ีวติ โดยจดุ ประสงค์หลกั ของสมาคม ก็เพื่อ อนุรกั ษอ์ าหารทอ้ งถิน่ อาหารประจ�ำ ชาติ และศลิ ปะการปรุงอาหารแบบดั้งเดมิ ท่ีก�ำ ลัง ถกู กลนื หาย ก่อนจะขยายตัวขนึ้ เป็นขบวนการระดับสากล เรมิ่ จากกล่มุ ประเทศในยโุ รป เยอรมนี สวติ เซอร์แลนด์ ฝร่ังเศส สเปน กรีซ ขยายตอ่ ไปแคนาดา สหรัฐอเมรกิ า แลว้ ข้ามมาทีอ่ อสเตรเลยี นิวซแี ลนด์ จนมายงั ทวปี เอเชยี โดยปัจจุบันมสี มาชกิ กว่า 60,000 คนจาก 5 ทวีป (กว่าครึ่งหน่ึงมาจากอติ าล)ี โดยยึด concept สากลว่า good-clean-fair หรือ เปน็ อาหารท่มี ีคณุ ภาพและรสชาติ “ดี” มกี ระบวนการผลิตที่ “สะอาด” เคารพธรรมชาติ และ “เปน็ ธรรม” คือผ้ผู ลิตมีศักดิศ์ รี ได้รับค่าตอบแทน เหมาะสม รวมทัง้ ได้รับความนบั ถือจากผ้บู ริโภค

ยง่ิ ไปกว่านั้น Slow food ยงั จดุ ประกายให้ผูค้ นหลายคนต้ังคำ�ถาม? และลุกข้ึน มารว่ มขบวนการ ช้าๆ ดว้ ยกันอย่างต่อเนอื่ ง อาทิ Slow fish (ทำ�ประมงช้าๆ เหลือ ปลามาก) slow design (ออกแบบอยา่ งมีคุณค่า รักษาทรัพยากร) slow travel (เท่ียวเนบิ ๆ เข้าถงึ ชมุ ชน) slow reading (อ่านชา้ ๆ เขา้ ถงึ แกน่ ) slow email (ละลด การออนไลน)์ slow living (ใช้ชวี ติ อย่างมีสติในทุกขณะ) slow thinking (คิดให้ช้าลง) slow architecture (ปลกู สร้างอย่างข้าๆ ลดมลพษิ ) slow transportation (เดินทาง ด้วยการขจ่ี กั รยาน) slow drink (คอ่ ยๆ ดม่ื อยา่ งมีศลิ ปะ) หรือแม้กระทั่ง slow sex (เสพสงั วาสแบบละเมียดละไม) “เรากินทกุ วัน เราเปล่ียนแปลงโลกทกุ วัน” คือสโลแกนของมูลนิธิชีววถิ ี ร่วม กบั เครอื ข่ายเกษตรกรรมทางเลอื ก ชมุ ชนคนรกั ปา่ และสถาบนั ตน้ กล้า ร่วมกนั กอ่ ตัง้ ข้นึ บนพน้ื ฐานเดียวกับ slow food โดยเปดิ ตัวเครือข่าย slow food Thailand เพอ่ื รณรงคใ์ ห้คนไทยได้หนั มากนิ อาหารท่ผี ลติ จากวิธกี ารธรรมชาตดิ ้ังเดมิ ของทอ้ งถนิ่ , กินข้าวกบั นำ�้ พริก (ตำ�เอง) จิม้ ผักพ้นื บ้าน ลดการบริโภคอาหารปรงุ สำ�เร็จ, อาหารแช่ แข็ง เปน็ ตน้ เพราะการกินมันไม่ใช่ประเด็นเฉพาะเร่อื งการบริโภคแคอ่ มิ่ ท้อง แตม่ นั เช่อื มโยงไป ถงึ รูปแบบการใชช้ วี ิตอยา่ งมีศลิ ปะ รวมถงึ เพอื่ กระชับความสมั พันธ์ในครอบครวั และ ปจั จัยอน่ื ๆ ไดด้ ว้ ยเชน่ กัน สนใจรายละเอียดเพมิ่ เติม ตดิ ตอ่ มลู นิธโิ ลกสเี ขยี ว 394/46-48 ถ. มหาราช แขวงพระบรมมหาราชวงั เขตพระนคร กทม. 10200 โทรศพั ท:์ 0-2662-2250-2 Fax: 0-2662-2366 www.greenworld.or.th ติดตอ่ มลู นธิ ิฯ ผ่านอเี มล:์ [email protected] ติดตอ่ กองบรรณาธิการเวบ็ ไซดผ์ า่ นอเี มล์: [email protected]



๒ เปลย่ี น ‘ผละ’ จากเครอื ขา่ ย social media เพ่อื สานสมั พนั ธค์ นรอบข้าง “If Facebook ever falls through. I’ll consider going back to Harvard.” วลีขา้ งต้นคอื ค�ำ พดู ของหนมุ่ สดุ Geed Mark Zuckerberg เจ้าของเว็บไซด์เครือ ขา่ ย social media ที่ทรงอทิ ธิพลของโลกอย่าง Facebook ซ่ึงเขาไดร้ ับการข้ึนปก นิตยสารชอ่ื ดงั อย่าง time magazine เมือ่ ปี 2010 ในฐานะท่ีเป็น CEO เวบ็ ไซด์ so- cial media ท่ีประสบความส�ำ เรจ็ ตั้งแตอ่ ายยุ ังน้อย ที่ยงั ไมจ่ บมหาวิทยาลยั (ปัจจุบนั Zuckerberg อายุ 29 ปี และเตรียมผนั ตวั เองลงส่สู นามการเมือง) พรอ้ มยังเข้าซ้อื กจิ การเวบ็ ไซด์ social media ดังๆ อย่าง Instagram, Gowalla ฯลฯ เพือ่ ขยาย การเตบิ โตอย่างตอ่ เน่อื ง… วา่ กนั ตามความเปน็ จริง Zuckerberg คอื ผทู้ ีเ่ ปล่ยี น lifestyle ของคนทัง้ โลกให้ เกิดการเปลย่ี นแปลงในระดบั มหภาค สงั เกตจากพฤตกิ รรมการใชอ้ ินเตอรเ์ น็ตปจั จุบนั ท่ีผ้เู ขียนเชอ่ื วา่ ทกุ คนจะต้องเขา้ หน้าเว็บไซด์ facebook ก่อนอันดับแรก เพ่ืออพั ส เตตสั สว่ นตัว หรอื บา้ งเช็คเรทต้ิง สำ�หรบั บางคนท่ีมผี ตู้ ดิ ตามระดับ ‘แฟนเพจ’

‘บางครง้ั เทคโนโลยีก็ทำ�ใหช้ วี ิตคนเราเกิดความง่ายดาย แต่บางเวลาเทคโนโลยีก็ ปลูกฝงั (ค่านิยม) ความมกั งา่ ยให้เกดิ ขึน้ ในใจคนเราด้วยเช่นกัน’ กับเร่อื งบางอยา่ งท่ีคนเราไม่กล้าเผชญิ หน้า หรือพูดความจรงิ ก็มักระบายบอก ผ่านสเตตสั Social media ตนเองทำ�ใหใ้ ครหลายคนออกอาการเข้าใจผดิ กระท้ังจิต ตก วิกลจริต (เร้ือน) คดิ เอาวา่ เป็นการพาดพงึ ถงึ ตน กอ่ การจลาจลกระท้งั บานปลาย เป็น ววิ าทะชวนทะเลาะ! หรือในขณะท่ีก�ำ ลังประชุม, คุยงาน, ฟงั บรรยาย ผู้เขยี นกเ็ ชือ่ ว่าต้องมีใครหลายคนหยบิ มือถือขน้ึ มา chat คุย line ถา่ ยรูป/คลปิ หรอื up sta- tus ความรสู้ กึ ตวั เอง ณ ขณะน้ัน เพือ่ แสดงสถานะความมตี ัวตนใหค้ นอ่ืนๆ ท่ีตดิ ตาม รบั ทราบความเคลือ่ นไหว (เรียกร้องความสนใจ?) ทำ�ใหป้ ระสทิ ธภิ าพในการทำ�งาน ตกต�ำ่ กลายเป็นคนสมาธสิ ั้น มีพฤตกิ รรมจับจด ไม่สามารถอดทนท�ำ กิจกรรมหลกั ได้ ต่อเนือ่ งนานๆ รวมถงึ ประตสิ ัมพนั ธร์ ะหวา่ งเพ่ือน ครอบครวั หรือคนใกล้ชดิ ตกต�ำ่ เพราะไมไ่ ด้ใหค้ วามสนใจ เอาใจใส่นอ้ ยกว่ากลุม่ คนทีร่ ู้จักในสงั คมออนไลน์ อ่านมาถงึ ตรงน้ี หลายคนอาจคดิ ว่าผเู้ ขยี นต้องเป็นคนท่มี อี คตกิ บั เรื่องเหล่านี้ เป็นแน่แท้ไม่มากกน็ อ้ ย แตผ่ เู้ ขียนเองกเ็ ป็นคนหนง่ึ ที่อาศยั เครือข่าย Social media ใน การท�ำ งานอพั เดตข้อมูลขา่ วสารร่วมดว้ ย แตจ่ ะผละหนตี จี ากทนั ที หากรู้สึกวา่ ตวั เอง หมกมุ่นอยกู่ ับสิง่ เหล่าน้มี ากเกินไป จนกระทบตอ่ การทำ�กจิ กรรมนนั ทนาการอน่ื ๆ อาทิ ออกก�ำ ลังกาย อ่านหนงั สือ นอนขึ้นอืด หรอื แม้กระท้งั ถา่ ยรูปพระจันทร์ในคนื เต็ม ดวง ซง่ึ เป็นกิจกรรมทีผ่ ู้เขยี นช่นื ชอบมากกกกก!

เพราะในแต่ละคนื ท่ีพระจนั ทรเ์ ต็มดวงนัน้ ผเู้ ขียนรสู้ ึกวา่ พระจนั ทร์ในแต่ละคนื แมจ้ ะเปน็ ดวงเดียวกนั แตว่ า่ ความสวยงามกลับแตกตา่ งกนั โดยสน้ิ เชิง เพราะชวี ิตยังมเี รื่องราวและมิตรภาพดีๆ อีกมากมายใหเ้ ราได้คน้ หา ฉะนัน้ การ ออกไปผจญภัยในโลกกว้างและเปดิ หูเปดิ ตาท�ำ ความรู้จักกบั สิ่งแวดลอ้ มใหมๆ่ สถานที่ ทอ่ งเท่ียวใหม่ๆ เพ่ือนใหม่ (รวมท้งั กระชับไมตรกี บั เพอื่ นก๊วนเดมิ ไวใ้ ห้แนบแนน่ ) ในโลก แห่งความเปน็ จริง มันย่อมใหป้ ระสบการณ์ ความรู้สึกสมจรงิ ยิ่งกว่า โลกแห่งความ เสมอื นจริงบนเครือขา่ ย social media เพราะในโลกชุมชนอวตาร (social network) เราอาจท�ำ ความรจู้ ักกันง่าย ส่ือสารกนั ง่าย กด like ถูกใจ status/รูปภาพ ของใคร ตอ่ ใครได้ง่าย แตไ่ มไ่ ด้แปลวา่ เราจะตซี ี้ตสี นิทกบั คนเหล่านัน้ ไดง้ ่าย เหมือนเพ่ือนท่คี บกนั มาอย่างยาวนาน รู้ใจกนั ช่วยเหลือกัน และไปมาหาสกู่ นั อยา่ งในโลกปัจจบุ ันไดอ้ ย่าง สนทิ ใจ



๓ เปล่ียน หันมาเล่นกีฬา ออกกำ�ลงั กาย เพอ่ื สุขภาพและรปู ร่างที่สมส่วน หนึ่งใน Spam mail ซง่ึ มกั จะส่งมาหาเราในกล่องข้อความคือ โฆษณาขาย ผลติ ภณั ฑ์สขุ ภาพ ยาลดความอ้วน ผลิตภณั ฑเ์ สริมสมรรถภาพเร่ือง 7 ยบั ฯลฯ ซึ่งมกั กลา่ วอา้ งสรรพคุณเกินจริง อีกท้งั ผลิตภณั ฑส์ ว่ นใหญ่ มกั ถกู น�ำ เข้ามา จ�ำ หน่ายอยา่ งผดิ กฎหมาย และไม่ไดร้ บั การรับรองมาตรฐาน อย. ฉะนั้นโอกาสเส่ยี ง แบบตายฉับพลนั ย่อมมีความเปน็ ไปไดส้ งู ! “สขุ ภาพดีไมม่ ีขาย อยากได้ตอ้ งเล่นกฬี า หม่นั ออกก�ำ ลงั กาย” ประโยคสจั ธรรมแห่งชวี ติ ท่ีหลายคนมกั จะหละหลวมในเรอ่ื งการดแู ลสุขภาพ แมจ้ ะเป็น เรอ่ื งงา่ ย แตไ่ ม่ไดป้ ฏิบตั ิใหเ้ หน็ ผลลพั ธแ์ บบปัจจุบนั ทันด่วน (ยกเวน้ ถา้ คุณมีฐานะแล้วไป คลนิ กิ ศัลยกรรม ลดความอว้ นก็อกี เรือ่ ง) เพราะตอ้ งอาศัยการฝึกฝนอยา่ งต่อเนอ่ื ง จึงจะเห็นผลการเปลีย่ นแปลงที่เกดิ ข้นึ กับสุขภาพ รูปรา่ งตัวคุณ เช่นเดียวกบั ‘วิทยา มมี ยุ้ ’ แชมปน์ ักกีฬางัดขอ้ ประเทศไทย ซึ่งกวาดรางวัลชนะเลศิ มากวา่ 40 รายการ ตลอดเวลา 4 ปี ของการแข่งขนั อะไรเปน็ แรงผลกั ดนั ให้เขาหันมาออกกำ�ลัง ใส่ใจ สขุ ภาพจนมีรูปร่างทีบ่ ึกบนึ อย่างทกุ วนั นี้ รวมทั้งเปา้ หมายบนเส้นทางกีฬางัดข้อของ เขาจะเป็นอยา่ งไรต่อไปไดร้ ้กู นั

อะไรทำ�ใหค้ ณุ สนใจกีฬาน?ี้ คอื มันเป็นกฬี าของคนท่ีบ้าพลัง แล้วผมก็เปน็ คนบา้ พลังคนหน่ึงว่างา่ ยๆ ก็ ตอนแรกผมไปร้ขู า่ วงานแข่งขนั ของพวกกีฬาเพาะกายอย่างงาน Latchford Classic ผมกไ็ ปตระเวนแขง่ ประจ�ำ ทนี ี้ต่อมามีรายการของทวี ีธนั เดอร์จดั กิจกรรมงดั ขอ้ ช่อื รายการ ‘The Hero ผชู้ นะสิบทศิ ’ ผมก็ไป audition ดว้ ย ปรากฏวา่ ติด แลว้ ผมกไ็ ด้ เขา้ ไปแข่งในรายการนัน่ แหละ กเ็ ปน็ แชมป์นานเหมือนกนั ตวั ใหญ่ขนาดน้ี วันหนง่ึ กินขา้ วกี่ม้อื ? ผมจะกนิ อาหารยอ่ ยๆ ดว้ ยกนั 6 มอ้ื ต่อวัน และก็จำ�กัดปริมาณสารอาหาร แตล่ ะชนิด คอื ผมจะไมก่ นิ แบบ 3 ม้อื หลกั ๆ อยา่ งคนทั่วไป เพราะกนิ อย่างนั้นมนั ท�ำ ให้ รา่ งกายอว้ น มีไขมนั ส่วนเกนิ คอื น�ำ้ หนกั มนั เพ่มิ น่ะใช่ แต่มันไม่ถูกโภชนาการส�ำ หรบั นักกีฬาแบบผม แตถ่ ้าเราเฉลี่ยม้อื อาหารยอ่ ยๆ รา่ งกายมนั จะนำ�สารอาหารไปใชเ้ ป็น พลังงานให้กลา้ มเนอ้ื จนหมด ไม่เกบ็ สะสมเป็นไขมนั สว่ นเกนิ ตอ้ งมีตวั ชว่ ยอย่างพวกอาหารเสริมดว้ ยมั้ย? ถา้ เป็นตอนแข่งออกทีวีช่วงแรกๆ ใช้ครบั เพราะตอนนนั้ ผมทำ�งานประจ�ำ เป็น พนักงานในบริษัทนำ�เขา้ ฯ อุปกรณก์ ฬี า และเป็นวทิ ยากรสอนการออกก�ำ ลังกายตาม มหาลัย หนว่ ยงานตา่ งๆ เพราะตอนนน้ั ยังไมม่ ีเวลาออกก�ำ ลงั กายจรงิ จงั ก็ใชเ้ ยอะนะ ประมาณ 2 ปี ผมถงึ หยดุ กนิ จนปัจจุบนั นี้ คอื ชอ่ื มันบอกอยู่แล้วว่าเปน็ ‘อาหารเสรมิ ’ ไม่ใช่อาหารหลกั ฉะนนั้ กรณที ม่ี ีเวลากนิ อาหารหลักเพียงพอแล้ว กไ็ มจ่ �ำ เปน็ ต้องกนิ ของพวกนี้

มันมเี สน่หต์ รงไหนในกฬี างัดข้อ? มันเหมอื นกฬี าเอ็กซต์ รีมอยา่ งหน่ึงนะ เปน็ กฬี าตอ่ ส้ทู ่ีเราตอ้ งเอาแรงไปปะทะ อีก อย่างผมเชื่อว่าผชู้ ายทกุ คนตอนเดก็ ๆ สมยั เรียนประถม ตอ้ งเคยไดล้ องงดั ขอ้ มนั จะมคี วามรสู้ กึ วา่ สนกุ ตืน่ เต้น เหมือนไดต้ อ่ สกู้ นั และมัน Fair play ตรงท่ีเราเอาแขน มาจบั มือกัน แล้วกดมอื ฝา่ ยตรงข้ามใหล้ งแค่นน้ั จบ ไมต่ อ้ งใช้ทกั ษะเยอะ อกี อยา่ งที่ได้ คอื เรอ่ื งวนิ ัยการฝึกซอ้ มร่างกาย เพราะคนท่จี ะแข่งงัดข้อระดบั อาชีพ ไม่ใช่จๆู่ จะตวั ใหญ่แบบนกั เพาะกาย หรือตวั ใหญแ่ ล้วมาเลน่ กฬี าประเภทนี้ หวงั จะเปน็ แชมป์ มนั ไม่ใช!่ (เสยี งสูง) มนั ตอ้ งมกี ารฝกึ ซ้อมที่ดี มีวนิ ยั การกินทถี่ ูกต้อง มนั ถงึ ได้เร่ืองระเบียบ ได้สมรรถภาพร่างกาย อกี อยา่ งผมเองไดง้ านตามอเี วน้ ท์และเกมโชวก์ จ็ ากการดูแล สุขภาพ มรี ปู รา่ งสมส่วน และมนั ช่วยส่งเสริมให้มบี ุคลิกภาพท่ดี ีขนึ้ เคยมบี าดเจ็บจากกฬี างัดขอ้ มยั้ ? คือพนื้ ฐานก่อนเล่นกีฬางัดข้อเราตอ้ งมีกลา้ มเน้ือทแี่ ข็งแรงกอ่ น อยา่ งผมกเ็ ร่มิ จากเล่น Weight training แรกๆ นี่ปวดทั้งตวั แต่ไม่เลกิ เพราะผมมี Idol เป็นนักกีฬา strong man คือ john brzenk เป็นแชมปโ์ ลก strong man ทีแ่ ขง็ แรงที่สดุ ในโลก ก็ ตรงน้ีเปน็ แรงบันดาลใจใหเ้ ราฝกึ ซอ้ ม เคย่ี วกรำ�ตัวเองใหแ้ กรง่ จนถงึ ตอนน้ี คอื ถ้าไมม่ ี แรงบันดาลใจ เดี๋ยวก็ต้องถอดใจ เลิก! ทกุ วันน้เี วลายกเวทหนักๆ แล้วจากทเ่ี ราเคยยก ไม่ข้นึ แลว้ มนั ยกได้ มันมคี วามสขุ นะ เหมือนมคี วามสขุ บนความทรมาน (หวั เราะ) มีเทคนิคพเิ ศษแนะน�ำ หรือเปลา่ ในกีฬางัดข้อ? หลกั ๆ จะมดี ว้ ยกนั 3 เทคนิคครบั อย่างแรกเปน็ เทคนิคท่เี รยี กว่า Top roll หรือ การงดั ขอ้ โดยโจมตีขอ้ มือส่วนบนเพือ่ ให้ฝ่ายตรงขา้ มเกิดความออ่ นล้า โดยการงดั ถอยหลงั 2. คือ Hook หรือการงัดข้อแบบขอเกี่ยว คือบดิ ขอ้ มอื เข้าหาตัว จากนั้น ลากมือคู่ตอ่ สู้แลว้ กดลง และ 3. คือ Press เร่มิ จากเปดิ ลำ�ตวั ด้านข้าง จากนัน้ ใช้ปลาย นวิ้ เกยี่ วทฝี่ ่ามอื คตู่ อ่ สแู้ ละออกแรงบรเิ วณกล้ามเน้อื หลังแขนส�ำ หรบั กดมอื คูต่ อ่ สู้ เป็น ทา่ ส�ำ หรับใชแ้ กเ้ กมสใ์ นกีฬางัดข้อ ก็เนย่ี ครบั เทคนิคหลกั ๆ ที่ผมใช้

เกณฑก์ ารแขง่ ขัน มีรายละเอยี ดยงั ไง? มันจะมี 2 แบบครับ อย่างเป็นการแข่งในอเี วน้ ทใ์ หญๆ่ เช่น NEMIROFF WORLD หรือ Arm fight (การแขง่ ขันงดั ขอ้ ระดบั โลก โดยเปดิ โอกาสเฉพาะนกั กีฬาท่ี ไดร้ บั เชญิ ) น่ีจะแข่งดว้ ยกนั ทั้งหมด 6 ครง้ั ในแต่ละคู่ ส่วนถา้ เปน็ แมตซท์ ั่วไปกต็ ัดสิน เอาชนะแบบ 2 ใน 3 หรือถา้ ใครสนใจลองเข้าไปดูรายละเอียดได้ท่ี www.worldofarm- wrestling.com อันนจี้ ะเป็น website กลางของเมืองนอก จะมรี ายละเอยี ดท้ังหมดให้ ศกึ ษา สว่ นของเมอื งไทยตอนน้เี รากำ�ลงั จัดตั้งเป็นสมาคมงัดข้อแห่งประเทศไทยอยู่ หรือไม่ลองเขา้ ไปท่ี Facebook ผมก็ไดท้ ่ี WITTHAYA MEEMUI โดยเฉลี่ยอาทิตยห์ น่ึงคุณซ้อมเวทก่วี ัน? อย่างมากก็ 2-3 วันครบั วนั หนง่ึ กป็ ระมาณ 5-6 ชั่วโมง ที่ผมจะวนเล่นอยู่ ในห้องซอ้ มตลอด เลน่ เคร่ืองบ้าง ดมั เบลล์ บาร์เบลล์ ฯลฯ จะบรหิ ารทุกสว่ นของ ร่างกาย แตบ่ างทีอาจเล่นแบบ hardcore คอื วนซำ้�กล้ามเนือ้ ส่วนที่ล้าไปแลว้ เพอ่ื เพ่ิม ความทนทาน ซ่ึงตา่ งกับนกั กีฬาเพาะกายทีบ่ รหิ ารแบบเน้นความคมชดั ของมัดกล้าม สรรี ะสมสว่ น มผี ู้หญงิ สนใจเลน่ กีฬาแบบนม้ี ั้ย? มันเปดิ กว้างนะ เพราะอยา่ งเมืองนอกเขากม็ จี ัดแขง่ งัดขอ้ สำ�หรับผู้หญิงด้วย เหมอื นกนั แล้วรปู ร่างก็ฟิต สวยสมสว่ น คอื ดู Beauty และ Healthy อย่างผมเคย ไปแขง่ งัดข้อท่ีมาเลเซีย กม็ ีนักกีฬางัดข้อผู้หญิงแข่งกนั เยอะ โหย! แต่ละคนหนา้ สวย ตาคม หนุ่ ดี แตข่ องไทยผู้หญงิ อาจยังสนใจนอ้ ยอยู่ หรอื อาจจะยงั ไมเ่ ปิดกว้างให้ผู้ หญิงลงแข่งดว้ ยก็ได้

สดุ ทา้ ยเปา้ หมายในชวี ิตคณุ คือ? ก็อยากไปแข่งขันรายการงัดขอ้ ทั่วโลกครับ แล้วถา้ ทำ�ได้อยากชนะการแขง่ ไปทุก รายการ อยากสร้างช่ือเสียงตวั เองไปในระดบั โลกเลย เพราะการทเี่ ราจะเป็นแบบอยา่ งให้ คนหมมู่ ากได้ ผมวา่ ตวั เราต้องเป็นคนทม่ี ชี ่อื เสียงในกีฬาประเภทนนั้ ๆ ก่อน หรือสรา้ ง กระแสเพอ่ื เรียกคนซะก่อน ส่วนอนาคตถ้ามีโอกาส ผมกอ็ ยากเปน็ ตัวแทนประเทศไทยไป แขง่ ขันกีฬางดั ขอ้ ในแมตซร์ ะดบั โลกดว้ ยเหมือนกนั สนใจรายละเอยี ดสามารถตามตอ่ ไดท้ ี่ Facebook/ WITTHAYA MEEMUI Google search: Pattaya International Arm Wrestling Championship รายการกระบ่ีมอื หนง่ึ ตอน วทิ ยา ราชันขอ้ เหลก็ www.worldofarmwrestling.com



๔ เปลย่ี น หนั มาเดินทางโดยข่ีจักรยาน เพือ่ ทำ�ให้โลกเยน็ “โหย! ข่จี กั รยานในกรุงเทพฯ อันตรายนะพี่ ไหนจะรถยนต์บนถนน ไหนจะมอไซด์ บนฟุตบาท ขนื ขๆ่ี ไปโดนชนน่ีซวย เจบ็ ฟรี เผลอๆ ตายฟร”ี “ใส่สูทผกู ไทแตข่ จ่ี ักรยานไปท�ำ งาน โอย้ ! แม่งไม่บ้าก็เรอ้ื นละ่ ว้า ไอท้ ่ีเห็นในปา้ ย รถเมล์กแ็ ค่โฆษณา ชวี ิตจรงิ ท�ำ ไมไ่ ดห้ รอก” “ประเทศไทยเป็นเมอื งรอ้ นนะพ่ี ยิง่ ในเมืองนรี่ ้อนนรกแตก แล้วพ่จี ะให้เดนิ ทางโดย ขี่จกั รยาน ทรมานตายชกั ” หลายเสยี งข้างตน้ คอื คำ�บอกเล่าจากคนใกลต้ วั ทเ่ี คยพูดคุยเกยี่ วกบั การขี่ จกั รยานเปน็ พาหนะในการเดนิ ทางแทนรถยนต์ ซึง่ คงไม่ใชเ่ รอ่ื งงา่ ยส�ำ หรับการปรับ เปลยี่ นพฤติกรรมของคนส่วนใหญ่ทเ่ี คยชินกบั ความสบายด้วยการขับรถยนต์สว่ นตัว ไปทำ�งาน แต่ใช่ว่าสงั คมเมอื งกรงุ ฯ จะยากไร้ผ้คู นขบั ขีจ่ ักรยานใหเ้ ห็น เพราะตามถนน ตรอกเลก็ ซอยนอ้ ย หรอื ตามหมบู่ ้านจัดสรรตา่ งๆ เราเองยังได้พบเจอกลุม่ คนท่เี ดิน ทางด้วยจกั รยาน

ช่วง Car free day 2012 (สว่ นในปี 2013 ตรงกับวันอาทิตยท์ ี่ 23 กนั ยายน) มูลนธิ โิ ลกสเี ขยี วเคยท�ำ สำ�รวจความเห็นคนกรงุ ฯ (ประมาณ 4000 คน) เรอ่ื งเลนจกั รยานในกรงุ เทพฯ โดยถามว่า “ถา้ สามารถขจ่ี ักรยานในกรุงเทพฯ ได้ อย่างปลอดภยั คุณจะขหี่ รือไม”่ คำ�ตอบรอ้ ยละ 86 ของผู้ตอบแบบสอบถามบอกวา่ จะออกมาข่ีจักรยานบน ถนน หากร้สู กึ วา่ สามารถขี่ได้อย่างปลอดภัย สว่ นรอ้ ยละ 14 กลับปฏิเสธการใช้ จกั รยาน ในจำ�นวนนม้ี ีร้อยละ 5 ท่ีใหเ้ หตผุ ลไม่ข่ีจักรยานเพราะอากาศรอ้ น เลยี บๆ มองๆ แถบประเทศเพ่ือนบา้ น อาทิ พมา่ ลาว เวยี ดนาม เลนจักรยาน หรอื นโยบายรณรงคข์ ับข่ีจักรยาน กไ็ ม่ไดจ้ ัดทำ�แบบจริงๆ จังๆ แตท่ วา่ ผคู้ นในประเทศ เหลา่ นน้ั ปั่นจกั รยานกันจนเจนตา (แม้แนวโนม้ จะลดลงดว้ ยกระแสวตั ถุนยิ ม หรอื เหตุ ผลอื่นๆ ก็ตาม) บรรดาคนบนหลังอานเหล่านั้นกเ็ ปน็ ดชั นีบง่ ชค้ี ะแนนความนยิ มในตวั พาหนะ 2 ล้อชนิดนว้ี ่ายงั ไมส่ นิ้ มนต์ขลัง ถึงแมอ้ ากาศเมอื งกรุงจะรอ้ นแรง แสงแดดแผดเผา แต่กไ็ ม่ถงึ กับเป็นอุปสรรค ส�ำ คัญทท่ี �ำ ให้คนส่วนใหญห่ ันหลงั ใหจ้ กั รยาน ฉะน้ันลองมาดกู ันว่าท่ามกลางแสงแดด ทารณุ ในหนา้ รอ้ นนี้ เราจะมีวิธเี อาตัวรอดอย่างไรบ้าง?

หลีกเล่ียงถนนใหญ:่ ความรอ้ นท่ีเรารบั รู้กนั ทกุ วนั นี้ไม่ไดเ้ กิดจากแสงแดดเทา่ นัน้ บนถนนทเ่ี ต็มไปด้วย รถยนตพ์ น่ ควันพิษและความรอ้ นจากการเผาไหม้น�้ำ มนั เชือ้ เพลงิ หากใครเคยลองซอ้ น ทา้ ยมอเตอร์ไซดซ์ อกซอนไปตามถนนสายหลกั จะร้สู ึกได้ทนั ทีวา่ มไี อรอ้ นวูบวาบจาก เคร่ืองยนต์ทุกคร้งั ท่แี ทรกตัวผ่านช่องวา่ งระหว่างเลนเวลารถติด เฉพาะรถยนตจ์ ด ทะเบียนกรงุ เทพฯ จ�ำ นวน6ลา้ นคัน เปรียบกับมฮี ีตเตอร์เคลือ่ นท่อี ยู6่ ล้านเครื่อง หาก ลดจ�ำ นวนฮีตเตอร์พวกน้ลี งได้ อากาศและคุณภาพชีวติ ริมถนนคงจะเยน็ ลงไมน่ อ้ ย อย่างไรกต็ าม แม้เราจะลดจำ�นวนฮีตเตอร์บนถนนไมไ่ ด้ แตโ่ ชคยงั มที เ่ี มอื งกรุง มีตรอกซอกซอยค่อนข้างมาก (แถมไม่คอ่ ยเปน็ ระเบียบด้วย) ท�ำ ให้ยังพอมีเสน้ ทางท่ี รถยนตเ์ ขา้ ไมถ่ ึง หรอื การจราจรไม่ตดิ ขัด การข่ีจกั รยานในตรอกซอกซอยเหลา่ นั้น นอกจากไดส้ ูดอากาศทีส่ ะอาดกวา่ และไม่รอ้ นเทา่ ปั่นกลางถนนใหญ่ ยงั เปน็ โอกาสดที จ่ี ะ ท�ำ ความรู้จักเมืองกรุงในแง่มมุ ทีต่ า่ งไปจากเดิมด้วยเช่นกนั หลบแดดเทยี่ งวนั : ชว่ งเวลาท่ีไมเ่ หมาะกบั การขีจ่ ักรยานทส่ี ุดคอื ช่วงเทีย่ งวนั ดวงอาทิตยต์ รงหัวเป๊ะ เพราะเป็นช่วงแสงแดดจดั และโอกาสอาศยั รม่ เงาของต้นไม้ใหญห่ รอื เงาตึกเพอื่ หลบแดด มคี อ่ นขา้ งนอ้ ย ฉะน้ันถา้ เปน็ ไปไดค้ วรวางแผนเดนิ ทางก่อนสบิ โมงเช้าและหลงั สี่โมงเย็น ยิ่งปนั่ ตามตรอกซอกซอยก็ย่ิงช่วยให้ไดร้ ่มเงามากขึน้ ร้หู รือไมว่ ่านอกจากต้นไมใ้ หญจ่ ะช่วยดดู ซบั คาร์บอนไดออกไซด์ เพม่ิ ออกซิเจน และฟอกอากาศพษิ ใหส้ ะอาดขนึ้ แล้ว ยงั ทำ�ใหอ้ ากาศใตร้ ม่ เงาเยน็ ลง ร่มร่นื ไม่แปลกใจที่ หลายคนจะเปรยี บเทยี บว่าตน้ ไม่ใหญ่เปน็ เหมือนแอรธ์ รรมชาติทีว่ เิ ศษ เพราะให้ความเย็น แบบไมต่ อ้ งจ่ายค่าไฟสักแดง เสอ้ื ผา้ คลายรอ้ น: ปฏิเสธไม่ไดว้ า่ เสอ้ื ผา้ มีผลตอ่ ความรสู้ ึกของผู้ขีจ่ ักรยาน หากเราใสเ่ สื้อผา้ โทน สีเข้มจะรูส้ กึ ร้อนกวา่ ปกติ เนอ้ื ผา้ ก็มผี ลมากเช่นกนั ควรเลอื กใส่เสอื้ ทร่ี ะบายอากาศ ได้ดี ไมซ่ บั เหงอื่ จะช่วยให้รสู้ ึกรอ้ นน้อยกว่า บางคนชอบใสเ่ สอื้ กล้ามโปร่งๆ เวลาป่นั จกั รยาน เพราะระบายอากาศดี สว่ นคณุ ผหู้ ญงิ ท่ชี อบข่จี กั รยานอาจใช้ผา้ คลมุ

ห่มกนั แดดเวลาอากาศร้อนเพ่อื ป้องกันผวิ เสยี แตอ่ าจต้องเรียนรเู้ ทคนคิ การพนั ผ้า เพอ่ื ป้องกันไม่ให้ชายผา้ เกย่ี วพนั วงลอ้ ส�ำ หรับคนทีป่ ่ันจักรยานไปทำ�งาน ถา้ มที ี่อาบน้�ำ ก็โชคดี แต่ถ้าไมส่ ะดวกอาบน�้ำ ท่ี ออฟฟิศ ลองพกผ้าขนหนผู ืนเล็กๆ ชบุ น�้ำ เชด็ ตวั ก่อนเรมิ่ ท�ำ งาน ก็ชว่ ยเพม่ิ ความ สดชน่ื ลดกลนิ่ เหงื่อเหม็นตๆุ ไดด้ ีอกี ทางหน่งึ เชน่ กัน สมั ภาระอย่าติดตวั : ขา้ วของต่างๆ ควรใส่ตะกรา้ หรอื ผกู รดั เขา้ กบั ตะแกรงท้ายจกั รยาน การมีของ ที่สมั ผัสตวั เราน้อยทีส่ ดุ จะช่วยใหเ้ ราสบายตวั ทสี่ ดุ ประเดน็ สำ�คญั คือการระบายอากาศ กับน�ำ้ หนกั หากมเี ปส้ ะพายหลงั ใบโต เวลาปั่นจักรยานจะรสู้ ึกเหนื่อยงา่ ย หนำ�ซ้�ำ กว่าจะ ถึงทห่ี มาย แผน่ หลงั อาจชมุ่ ฉำ�่ ไปดว้ ยเหงอื่ ขนึ้ เงาเปซ้ ะกอ่ น และกลน่ิ ตัวจะตามมา -*- ถ้าจักรยานของคณุ ไมม่ ีตะกรา้ และตะแกรงหลัง กระเป๋าเปแ้ บบสะพายข้างหรอื ย่าม ก็เปน็ ตัวเลอื กท่นี ่าสนใจเพราะมีสว่ นทส่ี มั ผสั ตวั ค่อนข้างน้อยและปรบั เปลี่ยนตำ�แหนง่ ได้ เร่อื ยๆ ขนส่งสาธารณะ ย่นเวลา: ปัจจุบันระบบขนส่งมวลชน อาทิ รถไฟฟ้า BTS, MRT, เรอื ด่วน เปดิ โอกาสให้ จกั รยานเดนิ ทางไปด้วยได้ แม้ส่วนใหญ่จะอนุญาตเฉพาะจกั รยานพบั เท่านั้น หากใคร สนใจตวั เลอื กน้ี จักรยานพบั ได้ดูจะสะดวกกวา่ มาก สำ�หรบั ใครทชี่ ่ืนชอบวถิ ีจักรยาน และยังยืนกรานว่าจะใช้มนั เปน็ พาหนะขบั ขี่ รวม ทงั้ หอ้ ตะบงึ เทีย่ วทางไกลรว่ มดว้ ย เรามีวิธีเตรียมตวั ไวใ้ หท้ ราบดว้ ย สว่ นจะมอี ะไรมัง่ ลองดกู นั ประเมนิ สมรรถนะของตวั เอง: ทกุ การเดินทางหากไม่อยากใหเ้ กิดปัญหา จะตอ้ งรูจ้ กั การวางแผน และการเดิน ทางดว้ ยจกั รยานก็เชน่ กนั ฉะน้ันขัน้ แรกเราตอ้ งร้จู กั ประเมนิ สมรรถนะของตวั เอง โดย เฉพาะรา่ งกายของเราที่เป็นตวั ขบั เคลอ่ื น ถีบจักรฯ ซึ่งจากข้อมลู ใน FB: Bikepack- ing Thailand ไดบ้ อกคา่ เฉลย่ี ไวว้ ่า คนทั่วไปขีจ่ กั รยานทางไกลดว้ ยความเรว็ (เฉลย่ี ) 20-25 กม./ชัว่ โมง และในหนึ่งวันจะเดนิ ทางได้ไกลสดุ ประมาณ 150-200 กม. แต่หาก

ทางลาดชัน ขรุขระมาก หรือตอ้ งแบกบรรทุก ‘สัมภารก’ ยบุ ยิบ ความเรว็ และระยะทาง ที่ใชก้ ล็ ดลง แต่ทัง้ น้ีทัง้ น้นั กข็ ้ึนอยกู่ ับสมรรถนะร่างกายของตัวคณุ เองว่าจะมคี วามอดึ อดทน ทรหด ไดม้ ากนอ้ ยแค่ไหน ฉะนนั้ กอ่ นวันเดนิ ทางหากมเี วลาทดสอบสมรรถภาพ รา่ งกาย กน็ ับเป็นแนวทางในการประเมนิ ศักยภาพของคุณที่ดีดว้ ย เลอื กเสน้ ทาง: ‘ถนนสายหลกั ’ คงไม่ใช่เสน้ ทางทเี่ หมาะกับการขจ่ี ักรยานทางไกลอยา่ งแนน่ อน เพราะด้วยจำ�นวนรถยนต์ รถจกั รยานยนต์ จำ�นวนมากทวี่ ิง่ ด้วยความเร็วสูง ซ่งึ เป็น ปัจจยั เส่ยี งทำ�ให้คนขี่จกั รยานถกู เฉ่ยี ว ถูกโฉบ โดนชน เสย่ี งตายได้ทกุ เมื่อ อีกทง้ั ถนน สายหลกั มักมีฝุ่น ควันพิษ และความรอ้ น ขาดแคลนต้นไมใ้ หญ่ให้ความร่มรนื่ รมิ ทาง เสน้ ทางทีเ่ หมาะสมจึงมักเป็นถนนสายรอง โดยสงั เกตจากหมายเลขทางหลวง ย่ิงมีเลข หลายหลักยิง่ เป็นถนนสายรอง ซึ่งรถสญั จรนอ้ ยกว่ามาก มักอากาศดี ร่มรน่ื และมี ทิวทัศนท์ ส่ี วยแปลกตานา่ ค้นหามากกวา่ แตท่ ง้ั นถ้ี นนสายรองมากๆ หรือถนนท้องถน่ิ อาจเปลยี่ ว ผิวทางขรุขระ หรือเป็นทางลูกรัง ฉะน้นั หากมคี วามจ�ำ เป็นตอ้ งใชเ้ ส้นทาง เหล่านี้ควรตอ้ งตรวจสอบ หรือสอบถามสภาพเส้นทางเพ่ิมเติมได้ทก่ี รมทางหลวง (www.doh.go.th) กำ�หนดเวลาปั่น: นกั ป่นั มืออาชีพหลายคนนิยมออกเดนิ ทางเวลาเชา้ ตรู่ เพราะอากาศดสี ดชื่นกวา่ ตอนกลางวนั และวางแผนให้แต่ละวนั ต้องจบทรปิ ช่วงบ่ายแก่ๆ เพ่ือเผื่อเวลาหาท่พี ัก หรือเผอื่ กรณีต้องเดินทางนานกว่าท่คี าด ก็จะยังสามารถถึงทหี่ มายได้กอ่ นตะวนั ชิงพลบ มาตรการรกั ษาความปลอดภยั : เพราะทกุ การเดินทางยอ่ มตอ้ งมกี ารวางแผน และการวางแผนท่ีดีก็ควรจะต้องมี แผนส�ำ รอง หากการเดนิ ทางไม่เป็นไปตามคาด เราจะได้ไมล่ ำ�บากนัก เช่น

- วางแผนแรกไวว้ า่ จะเดินทางใหไ้ ดว้ ันละ 150 กม. แตถ่ ้าไปไม่ถงึ ก็คิดถึงแผน 2 ว่าจะเลือกพกั จุดไหน หรือจะเดนิ ทางต่อวธิ ีใด - ถ้าจกั รยานเสียระหว่างทางจะแก้ไขอย่างไร? กรณไี หนซอ่ มเองได้ – ไมไ่ ด้, ต้องเตรียมอุปกรณช์ ่วยซอ่ มแซม หรืออะไหลช่ นิ้ ใดทจี่ ำ�เปน็ ต้องใชไ้ ปบา้ ง - จดเบอร์โทรฯ ฉุกเฉนิ ลงสมุดบนั ทกึ , พิมพข์ ้อมลู เสน้ ทางทจี่ ำ�เป็นพกติดตัวไป ด้วย เผื่อกรณไี มม่ ีสญั ญาณมอื ถอื หรอื แบตเตอรห่ี มด เตรียมตัวใหพ้ ร้อมตลอดการเดนิ ทาง: การเตรยี มแผนลว่ งหน้าทด่ี ีจะทำ�ให้เราป่ันจกั รยานท่องเทยี่ วด้วยความสนุก ไร้ กงั วล แต่การบำ�รงุ ร่างกายใหพ้ ร้อมท้ังกอ่ นและระหว่างออกทริป ก็เป็นส่ิงจ�ำ เป็นด้วย เชน่ กัน - นอนหลบั พักผอ่ นให้เต็มท่ี กินข้าวใหอ้ มิ่ ทอ้ ง กอ่ นการเดินทาง - ฟิตซอ้ มรา่ งกาย ยดื เส้นยดื สายกอ่ นออกถนน ป้องกันการเป็นตะครวิ ลด อาการบาดเจ็บ ชว่ ยใหก้ ลา้ มเน้ือทำ�งานเต็มประสทิ ธภิ าพ - แวะพักรมิ ทางทุกๆ หน่ึงช่ัวโมง จบิ น�้ำ ทกุ 10-15 นาที แมไ้ ม่กระหาย กิน อาหารให้เพยี งพอก่อนรู้สกึ หวิ เพือ่ ไม่ให้ร่างกายอ่อนเพลยี ลา้ เกนิ ไป เพราะการกินและ พกั เปน็ ประจ�ำ จะทำ�ใหร้ า่ งกายไม่ทรดุ โทรมแม้ในวนั ร่งุ ข้ึน - อย่าฝนื เรง่ ท�ำ ความเร็วมากเกนิ ไป หลายคนมักเผลอเร่งทำ�ความเร็วในชัว่ โมง แรกๆ เพอื่ หวังความเร็วเฉลี่ยรวมทสี่ ูงขึ้น แตก่ ารฝืนเรง่ จะทำ�ใหร้ า่ งกายออ่ นลา้ เรว็ จน หมดแรงป่นั ในชว่ั โมงตอ่ ๆ มา แทนท่คี วามเรว็ เฉลีย่ จะเพม่ิ ขนึ้ แต่กลับกลายความเร็วลด ลงกว่าการปน่ั ตามจังหวะปกตดิ ว้ ยซำ้�!

การขีจ่ ักรยานทางไกลเป็นการเดินทางด้วยพละก�ำ ลังของเราเอง ทำ�ใหเ้ ราภูมิใจในการ พ่งึ พาตนเอง ไดเ้ ปดิ โลกชน่ื ชมสิ่งตา่ งๆ รอบตวั ทง้ั ยังท�ำ ใหม้ สี มาธิอยู่กบั ตัวเองได้ เปน็ อยา่ งดี วถิ ีจกั รยานในเมืองจึงเป็นทางออกหนึง่ ของปญั หาสิง่ แวดล้อมเมือง เพราะจกั รยาน ไมส่ ร้างมลพิษ ไมก่ ่อความร้อน ใช้พ้นื ท่นี ้อย หากคนหันมาปนั่ จักรยานกนั มากๆ พื้นท่ี สาธารณะท่ถี ูกรถยนตย์ ดึ ชงิ ไปจะเปลยี่ นแปลงสู่สภาวะทีเ่ ปน็ ไปได้ มีต้นไม้ใหญ่ให้ความ ร่มเย็น ฝนุ่ ควันนอ้ ยลง มพี ื้นว่างให้ชุมชนทำ�กิจกรรมร่วมกัน คณุ ภาพชีวิตของ สงั คมคนเมืองย่อมดีขน้ึ ตามไปดว้ ย ขอ้ มลู เพ่ิมเตมิ นิตยสารสารคดี ปีที่ 26 ฉบับ 309 พฤศจกิ ายน 2553 เร่อื ง จกั รยาน ทางเลือกการเดินทางใน เมืองใหญ่ (www.sarakadee.com) FB/sarakadeemag กรมทางหลวง: www.doh.go.th FB/กรมทางหลวง www.facebook.com/groups/bikepackingthailand



๕ เปล่ยี น มาคดั แยกขยะก่อนทิ้งเพ่ือลดปรมิ าณของเสีย รวมทงั้ สร้างนสิ ยั ให้รจู้ กั ความพอเพยี ง เมอื งใหญ่คนเยอะอย่างกรงุ เทพมหานคร กำ�ลงั เผชิญปัญหาขยะลน้ เพราะแตล่ ะ วันมหานครเมอื งกรุงมีปริมาณขยะมูลฝอยมากถึง 8700 ตนั ซ่ึงวิธีกำ�จดั ขยะท่ีผา่ น มาคอื ขนไปฝังกลบในพน้ื ทตี่ า่ งจังหวัด อยา่ ง นครปฐม, ฉะเชงิ เทรา, สมุทรปราการ แตก่ ารระบายขยะดว้ ยวิธีนี้มผี ลข้างเคยี งคอื กอ่ ปญั หามลพษิ ดว้ ยกนั หลายดา้ น ท้ัง มลพษิ ระหวา่ งการขนสง่ , มลพษิ เรือ่ งกลิน่ , มลพษิ เร่ืองน�้ำ เสียและแก๊สไข่เน่าท่ีเกดิ จาก การหมกั หมมของปริมาณขยะ รวมถงึ มลพษิ ท่ีกระทบต่อเจ้าของพ้นื ทผ่ี ู้รับขยะทีต่ ้อง จ�ำ ทนโดนผลักภาระมลพษิ ไปสูพ่ วกเขา ทาง กทม. จงึ สรา้ งเตาเผาขยะในพืน้ ที่เขตหนองแขม โดยใชเ้ ทคโนโลยที ด่ี ีและทนั สมยั ท่สี ดุ เพ่อื หวงั แกป้ ัญหาสง่ิ แวดลอ้ มระยะยาว โดยเพง่ิ เปดิ ใช้อยา่ งเป็นทางการเมอ่ื เดือน กนั ยายน 2555 แม้วันน้ีเรายงั ไมอ่ าจสรปุ ผลไดช้ ัดเจนวา่ เทคโนโลยีดงั กลา่ วจะชว่ ยแกป้ ัญหาสิง่ แวดล้อมไดแ้ คไ่ หน แตส่ ำ�หรับคนกลุ่มหนึ่งกลับเลือกใชว้ ธิ กี ารที่ไม่ซบั ซ้อน ย่งุ ยาก และ งา่ ยตอ่ การบรหิ ารจัดการชนดิ เปน็ มิตรกับชุมชนและสิง่ แวดล้อมไดอ้ ย่างไรร้ อยตอ่ คอื ใช้วิธนี ำ�ขยะแทนเงนิ

“ขยะทุกชนิ้ มคี ่าทั้งสิน้ ตราบใดทเ่ี ราไม่มองข้าม มันก็สามารถดแู ลชีวติ เราได้” คำ�กล่าวข้างต้นมาจาก พีรธร เสนีย์วงศ์ ผ้จู ดั การโครงการ “ศนู ยว์ สั ดุรไี ซเคลิ กลมุ่ อาชีพซาเลง้ ชุมชนออ่ นนุช 14 ไร”่ ซึ่งได้พดู ใหค้ วามรกู้ บั ผสู้ นใจที่มาศึกษาวิธคี ดั แยกขยะ และการบริหารจัดการ ซง่ึ เม่อื ผ่านการคดั แยก ขยะเหลา่ นอ้ี าจมคี ่าเท่ากับน�ำ้ ดม่ื 1 ขวด หรือบัตรเตมิ เงินคา่ โทร.มอื ถอื ไดห้ น่งึ ใบ หากน�ำ ขยะนีม้ าที่ “ร้านศนู ย์บาท” “ปกติเราตอ้ งใช้เงนิ ซือ้ สนิ ค้าตามรา้ นคา้ ทัว่ ไปอยูแ่ ล้ว ทนี ้ีพอใช้เสรจ็ กเ็ ปน็ ขยะ แต่ ถ้าเราเอาขยะมาแลกสินคา้ ทร่ี ้านศูนยบ์ าท พอใช้เสร็จมนั ยงั ทำ�ใหเ้ กิดประโยชน์ คอื มัน เป็นขยะกจ็ ริง แต!่ ไม่เกิดปัญหาสงั คม ถ้าน�ำ กลบั มาใชแ้ ทนเงินไดอ้ ีกทร่ี า้ นเดมิ ” พีรธรเล่าถงึ จดุ เร่มิ ต้นของโครงการและรา้ นศนู ย์บาทแห่งแรกในประเทศไทยว่า ตนเองและเพ่อื นบา้ นส่วนใหญ่ย้ายมาจากชมุ ชนแออดั แถวมักกะสนั พ้ืนเพมอี าชีพเก็บ ขยะขายอยแู่ ลว้ เมอ่ื ทาง กทม. เรียกเวนคนื ทดี่ นิ จงึ โยกย้ายมาอย่ชู มุ ชนอ่อนนุช 14 ไร่ ตงั้ แต่ปี 2544 และชว่ ยกนั ปรับปรงุ พืน้ ทว่ี ่างเปล่าเป็นบ่อเล้ยี งปลา เล้าหมหู ลุม เล้าเป็ด แปลงปลกู ผักสวนครัว เช่น คะนา้ , กวางตงุ้ ฯลฯ ใครมาเก็บผกั ไปกนิ ก็หยอดเงิน 5 บาท 10 บาท ลงในกระป๋องส่วนกลางเพื่อไวเ้ ป็นทนุ ซ้อื เมลด็ พนั ธผ์ุ ักมาปลูกใหม่ ต่อมาทางส�ำ นกั พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยเ์ ปิดโอกาสใหเ้ ขาและ เพื่อนบ้านอกี 3 ครอบครัวไปอบรมวธิ คี ัดแยกขยะที่โรงงานคดั แยกขยะรไี ซเคลิ “วงษ์ พาณชิ ย์” เปน็ เวลา 3 วนั โดยใหเ้ บ้ยี เล้ียงคนละ 2000 บาท พวกเขาจึงนำ�เงินจำ�นวน นีม้ าลงขนั ซ้ือสนิ ค้าจาก แมค็ โคร และชว่ ยกันน�ำ วัสดเุ หลอื ใช้ต่างๆ มาท�ำ รา้ น “สหกร”

(กรไมม่ ี “ณ์” หมายถึงมือ) ให้ใครก็ได้นำ�ขยะท่คี ัดแยกแล้วมาแลกสนิ ค้าในรา้ นไปช่วยลด คา่ ใช้จา่ ยในครวั เรือน “เราเร่ิมท�ำ โครงการนีม้ า 10 กวา่ ปแี ลว้ เมอ่ื ก่อนรา้ นคา้ มพี ืน้ ทขี่ นาดปอ้ มยาม เอง การดำ�เนนิ งานช่วงแรกไม่ราบรื่นนกั เพราะผู้ร่วมอุดมการณ์ทัง้ 3 ครอบครวั ตา่ ง ก็ไมม่ ีเงนิ ทนุ เรากค็ อ่ ยๆ ลองผดิ ลองถูกแก้ไขปัญหากนั ไป” กระทงั่ ทิปเอม็ เซ่ (TIPMSE) สถาบันการจัดการบรรจภุ ณั ฑ์และรไี ซเคิลเพ่ือสงิ่ แวดลอ้ มภายใต้สภาอตุ สาหกรรมแห่งประเทศไทยมองเหน็ ความมงุ่ มัน่ ของร้าน สหกร ว่าเป็นตวั ย่างทด่ี ีใหผ้ ู้อ่ืนปฏบิ ตั ติ ามได้ จึงช่วยแนะนำ�การจดั การระบบร้านคา้ ใหข้ ้อมูล เกยี่ วกับแหล่งนำ�ขยะไปรไี ซเคลิ ใหค้ วามรู้เรอื่ งการบริหารต้นทุน – ก�ำ ไร ชว่ ยจดั เรยี ง สินคา้ บนชัน้ วางให้น่าสนใจ รวมถึงเปลย่ี นชื่อร้านใหมเ่ พือ่ ดึงดูดลกู ค้า นั่นคอื ท่มี าของ “ร้านศนู ยบ์ าท” พรี ธรเผยว่าร้านศนู ยบ์ าทตา่ งจากรา้ นคา้ ท่วั ไป คอื ลกู คา้ ซื้อของท่นี ี่ไดโ้ ดยไม่ ต้องจา่ ยเงินสักแดง เพียงแต่น�ำ ขยะรไี ซเคลิ มาคดั แยกประเภทวัสดุแล้วช่งั นำ้�หนักเพื่อตี ราคาเปน็ จ�ำ นวนเงนิ แลว้ น�ำ ใบราคาที่พนักงานร้านออกให้ไปเลอื กสินคา้ อุปโภค บรโิ ภค ท่ีจ�ำ เปน็ ตอ่ ชวี ติ ประจำ�วนั ตามต้องการ เช่น สบู่, ยาสระผม, ยาสฟี ัน, ผงซกั ฟอก, น้�ำ มันพชื , เครื่องดืม่ ฯลฯ ราคารบั ซ้อื ขยะรไี ซเคลิ ข้ึนอยกู่ ับประเภทของวัสดุ เช่น ขวดน้ำ�ดม่ื พลาสตกิ (ทัง้ ชนิดใสและขนุ่ ) กิโลกรัมละ 15 บาท, กระดาษขาวดำ� กิโลกรัมละ 5 บาท, ขวดแกว้ (ทง้ั ชนดิ ใสและสี) กิโลฯ ละ 1 บาท ขวดเบียร์พรอ้ มลงั กก. ละ 30 บาท กระปอ๋ งอลู มเิ นียม กก. 30 บาท กลอ่ งนมหรอื กล่องน�้ำ ผลไม้ที่ลา้ งสะอาดแลว้ กก. 3 บาท เปน็ ตน้ หากสนิ ค้าที่เลอื กราคาต�่ำ กว่าขยะทน่ี �ำ มาตรี าคา ลูกค้าจะไดร้ บั เงนิ สดส่วนต่าง กลบั คืนไป หรือถ้าสินคา้ ราคาสูงกวา่ ขยะที่นำ�มาจงึ คอ่ ยจ่ายเงนิ เพิม่ ปจั จุบนั รา้ นศูนยบ์ าทได้รบั การตอบรบั จากชุมชนดีมาก ถึงอย่างน้นั พีรธรก็ ระลึกเสมอวา่ รา้ นศูนย์บาทจ�ำ เป็นตอ้ งอาศยั ความร่วมมือของชาวชมุ ชนต่อไป ถ้าไม่มี ใครคดั แยกขยะมาแลกสนิ ค้า ร้านก็อย่ไู มไ่ ด้ จงึ เปิดโอกาสให้ชาวชุมชนมสี ่วนร่วมเป็น เจ้าของในลกั ษณะสหกรณร์ ้านค้า

“ใครท่อี ยากรว่ มเปน็ เจา้ ของร้านศูนยบ์ าทกแ็ ค่นำ�ขยะมลู คา่ 100 บาท มาลง หุ้นกนั เราจำ�กดั ใหใ้ ชส้ ทิ ธ์ิไดแ้ ค่ครอบครัวละ 1 หนุ้ เทา่ น้ัน แตล่ ะครอบครวั จะได้รับ เงนิ ปนั ผลทกุ 6 เดือน ในอตั รารอ้ ยละ 20 และยงั ได้รบั สวสั ดกิ ารดแู ลชีวติ อ่ืนๆ เพียบ เชน่ เด็กทเ่ี รียนดเี กรดเฉลยี่ 2 กว่าขนึ้ ไปเราให้เทอมละ 500 บาท หน่มุ สาวทีจ่ ะแตง่ งาน เราก็รับเปน็ เจา้ ภาพเรอื่ งพิธีสงฆใ์ ห้ ผ้สู ูงอายทุ ่ีไมม่ ีใครดแู ลเรามอบขา้ วสารให้เดอื น ละ 5 กก. ถ้าเจบ็ ปว่ ยไปหาหมอเราใหค้ า่ รถไปโรงพยาบาล แล้วถา้ ตอ้ งเสียค่ายานอก บัญชที ่นี อกเหนอื โครงการ 30 บาทฯ เราช่วยรับผิดชอบใหค้ รงึ่ หนง่ึ หากจำ�เป็นจะ ตอ้ งนอนโรงพยาบาลเราชว่ ยเหลือคนื ละ 200 บาท หรือเสยี ชีวติ เรายังชว่ ยค่าท�ำ ศพ 2000 บาท พรอ้ มจดั หาโลงศพ พวงหรีด และเป็นเจ้าภาพให้ 1 คืน ถ้านับถือศาสนา อิสลามประกอบพิธีกรรมไม่เยอะเหมอื นชาวพุทธ เราให้ 3000 บาท ทั้งหมดนี้ไม่มี สัญญาผูกมัด ใครจะถอนหุ้นออกเมอ่ื ไหร่ก็ได้ เราคนื เงนิ ใหเ้ตม็ จ�ำ นวนทเ่ีขาน�ำ มาลงหนุ้ ไว”้ พรี ธรกลา่ ววา่ ปัจจบุ นั ร้านศนู ย์บาทมรี ายรบั ถึง 1-2 แสนบาท/ปี และเหลือ เป็นเงนิ เกบ็ 4 หมน่ื กว่าบาท สว่ นหนึง่ ของรายรบั ได้จากการน�ำ ขยะรีไซเคลิ ของชาว ชุมชนไปขายตอ่ ให้บริษัทที่เขา้ รว่ มสนับสนุน เช่น บริษทั บางกอกกล๊าส จำ�กัด รบั ซือ้ ขวดแก้ว บริษทั SCG จ�ำ กัด (มหาชน) รบั ซื้อทกุ อยา่ งแมแ้ ต่ขยะท่ีมีพษิ อนั ตราย (ขยะ อเิ ลก็ ทรอนิกส์) เช่น ถ่านไฟฉาย, แบตเตอร,ี่ หลอดไฟ ฯลฯ และบางส่วนได้จากการ รวมกลุ่มกันของสมาชกิ ผ้ถู อื หุ้น ท่ีใชเ้ วลาว่างโดยนำ�ขยะมาเพิ่มมูลค่าประดษิ ฐเ์ ปน็ กระ เป๋า, กลอ่ งใส่ดินสอ, เครื่องประดับ, หมวก เป็นต้น กระท่ังโครงการเติบโตมี “ธนาคาร คนจน” ให้ชาวบ้านนำ�ขยะมาทำ�ประกันชีวิตด้วย

“หากไม่มีขยะมากๆ แต่อยากได้รบั สทิ ธิ์ประกันชวี ติ และสวสั ดิการดูแลเหมอื น สมาชกิ ทีล่ งหนุ้ กเ็ พียงน�ำ ขยะมูลค่า 1 บาท มาฝากทุกวนั ที่ธนาคารคนจน หรือ รวบรวมไวจ้ นไดข้ ยะมูลค่า 30 บาท ค่อยน�ำ มาฝากเดอื นละครง้ั กไ็ ด้ เมื่อฝากครบ 6 เดือน กจ็ ะได้รับสทิ ธป์ิ ระกนั ชีวติ และสวสั ดกิ ารตา่ งๆ เชน่ เดียวกบั หุ้นส่วนรา้ นศูนย์บาท” จากจุดเร่ิมต้นเลก็ ๆ 3 ครอบครวั กบั ระยะเวลานับสบิ ปี เพอ่ื พิสจู นค์ วามพยายาม จนสมั ฤทธิผลเป็นรปู ธรรม วนั นีร้ ้านศนู ย์บาทมสี มาชิกร่วมโครงการ 120 ครอบครวั แล้ว ชายผ้มู สี ่วนรกั ษาสิ่งแวดลอ้ มอยา่ งยงั่ ยนื โดยลดปรมิ าณขยะต้งั แต่ตน้ ทางเสนอ ความคิด “ผมอยากใหต้ ามมหาวิทยาลัยมรี ้านศนู ยบ์ าท ผมเชอื่ วา่ นักศึกษาหลายคนมี ปญั หาการเงนิ และในมหาวทิ ยาลัยเองกต็ ้องมขี ยะอยู่แลว้ นอกจากจะทำ�ใหส้ ถานศึกษา สะอาดขนึ้ ตัวนกั ศกึ ษาก็ได้มาม่ากนิ ประทังหวิ อย่างนอ้ ย 1-2 ซอง แลว้ คดิ ดวู ่าต้ังแต่ มีร้านศูนยบ์ าท ขยะในชมุ ชน อ่อนนชุ 14 ไร่ ยังลดปรมิ าณได้ตง้ั 300 กก. เดอื น เดียวลดขยะได้เปน็ ตัน และถ้าแตล่ ะหม่บู ้านมรี ้านศูนยบ์ าท ปรมิ าณขยะและค่าใชจ้ ่ายในการ กำ�จัดขยะท้ัง กทม. จะลดลงได้มากขนาดไหน” แท้จริงแลว้ โลกน้ีไมม่ ขี ยะ มันเปน็ เพยี งทรพั ยากรที่ไวผ้ ดิ ทเี่ ทา่ นน้ั เพราะของท่ีไร้ คา่ สำ�หรับใครหลายคนอาจจะเป็นของทล่ี ้ำ�คา่ ใหก้ ับใครบางคนด้วยก็ได้ ขอ้ มูลเพ่ิมเติม นติ ยสาร สารคดี ปีท่ี 29 ฉบบั 336 กุมภาพันธ์ 2556 คอลมั น์ Green person Facebook/0 bathshop www.tipmse.or.th www.wongpanit.com E-mail: [email protected]



๖ เปลี่ยน หนั มาปลกู ผักในแหล่งพำ�นกั อาศัย เพอื่ เปดิ รับพลังชวี ิตให้ใกล้ชิดธรรมชาติ สังคมเมอื งหรอื คนทอ่ี าศัยอยู่ในเมืองใหญ่หลายคนอาจมีความคดิ วา่ การท�ำ เกษตรหรือการปลกู ผักชา่ งเปน็ เรื่องไกลตัว เหมาะส�ำ หรบั ชนบทหา่ งไกล เพราะในเขต เมืองใหญม่ แี ต่ความแออัด ตกึ อาคารพาณชิ ย์สูงชนั บ้านเรือนเรียงรายแน่นหนา การ จราจรติดขดั ฯลฯ วิถชี วี ิตคนเมอื งในแต่ละวันจงึ ตอ้ งผจญกับความวุ่นวาย รบี เร่ง ฉะนั้นอย่าวา่ แต่ ปลกู ผกั กนิ เองเลย ขนาดเวลาจะท�ำ กบั ข้าวยงั ไมม่ ี ยงิ่ ถา้ เป็นมนุษยเ์ งนิ เดอื นทเ่ี ช่าอพาร์ ทเมนทอ์ ย่คู นเดียวละ่ ก็ กับข้าวส�ำ เร็จรูปหรือร้านอาหารตามสั่งคือแหลง่ ประทงั ความ หวิ ชว่ งแรกทีพ่ วกเขานกึ ถงึ ทว่าความจริงในขณะนี้คือมกี ระแสการปลูกผกั ในเมืองเรม่ิ ไดร้ ับความสนใจมาระยะ หนงึ่ แลว้ และก�ำ ลงั ขยายตวั อย่างตอ่ เนื่อง ตงั้ แต่ในหมปู่ ัจเจกชน คนท่สี นใจปลูกผักไว้ กินเองในครวั เรอื น ไปจนถงึ ระดับชมุ ชน หนว่ ยงานองคก์ รตา่ งๆ เชน่ โรงงาน, สถาน ศึกษา, โรงพยาบาล, บรษิ ทั ต่างๆ ฯลฯ ปจั จัยทสี่ นบั สนนุ เรื่องน้ีสว่ นหนึ่งมาจากศนู ย์ เผยแพรค่ วามร้ดู ้านการทำ�เกษตรในเมอื งหลายแหง่ ทเ่ี ปิดอบรมแก่ผู้สนใจ รวมท้ังการ เกดิ ขึ้นของ “โครงการสวนผักคนเมอื ง” ที่ใหท้ นุ สนับสนนุ โครงการปลูกผกั ในเมอื งใน รูปแบบต่างๆ

แปลงผักสเี ขียวจงึ ค่อยๆ เกิดขึ้นตรงนัน้ ตรงน้ีในเมอื งใหญ่ ไม่วา่ ในสนามขา้ ง บ้าน บนก�ำ แพงรั้วบา้ นทาวนเ์ ฮาส์ ระเบียงหอพักบนตกึ สงู หรอื บนดาดฟา้ อาคาร ซ่ึงล้วนแสดงใหเ้ หน็ ว่า ไม่ว่าเมอื งใหญ่จะมีขอ้ จ�ำ กดั ด้านพนื้ ทีข่ นาดไหน เราก็สามารถ ปลูกผกั ได้ คนที่เคยปลกู ผกั ย่อมเข้าใจดีว่า ผักท่ปี ลกู กินเองนนั้ ให้รสชาติทัง้ ความสด กรอบอร่อยมากกว่าผกั ทีข่ ายตามท้องตลาด อีกทง้ั ยังช่วยประหยดั คา่ ใชจ้ า่ ยและทำ�ให้ สขุ ภาพกายและใจดีขึน้ แลว้ ยงั น�ำ ไปส่กู ารสานสมั พนั ธ์ดงี ามระหว่างผ้คู น จนถงึ ชว่ ย เรื่องสิ่งแวดลอ้ มในเมือง “การปลกู ผกั ไม่ได้หวงั ผลแคผ่ ัก แตม่ นั ได้อะไรมากกว่าทค่ี ดิ อาทิ ไดส้ ขุ ภาพท่ี ดี ไดเ้ รียนรู้สิ่งใหม่ๆ ได้เพื่อน ได้ออกกำ�ลงั กาย ไดม้ ีโอกาสสัมผสั พลงั ชวี ติ ท่แี ฝงเรน้ อยู่ในเสน้ ใยผัก ผมเชอื่ วา่ ทุกคนมสี ทิ ธจิ ะเปน็ ผ้ปู กปอ้ งสภาวะแวดล้อมของโลกใบนีด้ ้วย การปลูกผักหรือปลกู ตน้ ไม้ เมือ่ เราเรมิ่ ปลกู ผกั ดนิ จะดขี ึน้ อากาศก็ดขี ้ึนโดยอตั โนมตั ิ การมองเห็นคณุ ค่าของพืชผกั ยงั เปน็ การอนรุ ักษส์ ่งิ ลำ�้ คา่ ใหค้ งอย่กู ับเราต่อไป ปลกู ผักเป็นเร่อื งเลก็ ที่ส่งผลกระทบถงึ เร่อื งใหญ่ ดังคำ�กล่าวว่าเดด็ ดอกไมส้ ะเทอื นถงึ ดวงดาว” ข้างตน้ คอื ค�ำ กล่าวของ นคร ลมิ ปคุปตถาวร หรือทก่ี ลุม่ Facebook เมื่อคน เมอื งอยากปลูกผกั เรยี กฉายาเขาว่า “ปรน๊ิ ซ”์ เจ้าชายผัก ซึ่งเปน็ ผูบ้ ุกเบิกโครงการ สวนผกั คนเมือง สนับสนุนให้กลุ่มบุคคล โรงเรยี น วดั มัสยดิ องค์กรเอกชนทัว่ กรงุ เทพฯ และปริมณฑล ตลอดจนชมุ ชนเมอื งในตา่ งจงั หวัดปลูกผกั ปลอดสารพิษ กนิ เอง มีกจิ กรรมไฮไลตค์ อื การประกวดโครงการ “สวนผักในบ้านฉัน” ซง่ึ โครงการน้ี

ปร๊ินซไ์ ด้จดั ร่วมกบั มูลนธิ เิ กษตรกรรมยงั่ ยืน (ประเทศไทย) และไดร้ บั ความนยิ มเพิ่มมาก ขึ้นเรอ่ื ยๆ ทุกปี “สว่ นตวั ผมไม่เคยนึกฝันวา่ จะต้องมาปลูกผกั ท�ำ แลว้ กอ็ ดประหลาดใจไมไ่ ด้ วา่ การปลกู ผักท�ำ ใหเ้ รามปี ฏิสัมพันธ์กับคนมากมาย คนท่ีไม่น่าจะมาเกีย่ วขอ้ งกนั ได้ อย่างนกั ธุรกิจนกั วิทยาศาสตร์ นกั วชิ าการ แพทย์ สุดทา้ ยเราก็ได้เป็นเพ่ือนกัน เรายัง ไดท้ ำ�ส่งิ ทต่ี วั เองรักและอย่กู บั ครอบครัว ไดน้ อนหลับอย่างเป็นสขุ แมไ้ ม่ไดค้ รอบครอง อะไรมากมาย” เจา้ ชายผักกล่าวถึงผลลพั ธ์ท่ีไดจ้ ากการปลกู ผกั ว่ามคี ุณค่ามากกว่าการได้ แหล่งอาหาร แตย่ ังท�ำ ให้ไดเ้ พ่อื น ไดส้ ังคม ได้ร้จู ักผู้คนหลากหลายอาชีพ รวมทั้งได้รับ “พลงั ชีวติ ในพืชผกั ” ซงึ่ เปน็ ความมหัศจรรยท์ ่ีธรรมชาติมอบให้ “พลงั ชีวิตในพชื ผกั เป็นเรือ่ งที่คนท่ัวไปไม่ยอมรับ แตเ่ รารับรูไ้ ดด้ ว้ ยการปลกู ผักแลว้ พบว่ามีพลังบางอยา่ งเปลง่ ออกมาในทางกายภาพเราอาจพสิ ูจน์ไดโ้ ดยการนำ� ผกั ปลูกเองกับผักตลาดมาเปรยี บเทยี บกนั เราจะพบวา่ ผักปลกู เองเกบ็ รักษาไดน้ าน กวา่ มาก ถงึ เวลาก็เหีย่ วแหง้ ไปโดยไม่เละเป็นน�้ำ เหมือนผักฉีดสารเคมี พิสูจน์คุณคา่ ทางโภชนาการกพ็ บว่าสงู กวา่ ผักตลาด คร้งั หนึง่ เคยตรวจพบว่ามสี ารต้านอนมุ ูล อิสระมากกว่าผักฉดี สารเคมีเกอื บร้อยเทา่ นอกจากนี้ยังมีพลงั ชวี ิตอีกแบบหนึ่งทเ่ี รา ไม่อาจประเมินค่าได้ แต่รบั ร้ไู ดเ้ มอ่ื เดนิ เข้าไปในสวนผัก ให้รา่ งกายได้สัมผัสตน้ ไม้ใบหญา้ ไดเ้ หยียบดนิ ได้รดน�ำ้ แปลงผกั ให้ฉ�่ำ เย็น จิตใจจะคอ่ ยๆ ผอ่ นคลาย ความคิดฟุง้ ซา่ น หายไป หากวันใดคุณอารมณไ์ มด่ ี ลองเดินเขา้ ไปในสวนดสู ิ พลังชีวิตในธรรมชาตจิ ะ เยยี วยาเรา” และก่อนทง้ิ ทา้ ยปร๊นิ ซย์ งั ไดเ้ ลา่ ถึงเปา้ หมายในอนาคตที่ตัวเขาอยากจะท�ำ เพื่อให้ สังคมเตบิ โต เกิดการเรยี นรูอ้ ย่างยัง่ ยนื

“เปา้ หมายในอนาคตเราอยากพฒั นาพ้ืนท่เี พาะปลกู ผักใหเ้ ป็นแหลง่ เรยี นรูค้ รบ วงจร จากเดมิ เน้นเรอ่ื งการปลูกผักเปน็ อาหาร อนาคตอยากให้มีเรอ่ื งสมนุ ไพรเพ่ือ สขุ ภาพ พลังงานทดแทน การรกั ษาสิง่ แวดลอ้ ม อยากทำ�ให้จำ�นวนตึกร้างท่ีมอี ยู่เดมิ อยู่ได้โดยไม่ทำ�ร้ายใคร ขณะเดียวกันก็ขอให้เราดำ�เนนิ ชวี ติ อยไู่ ด้เขา้ ข่ายคำ�วา่ ผู้ประกอบ การทางสังคม (Social Entrepreneur) คอื ผู้ประกอบการที่ฝนั อยากเปลีย่ นสังคมให้ ดขี ึ้น ผลของการทำ�งานอาจไม่ได้ตอบสนองกำ�ไรของตวั เอง แต่เปน็ ความคาดหวงั ถึง สงั คมที่น่าอยู่ แมจ้ ะเพม่ิ ขนึ้ เพยี งเลก็ น้อยกต็ าม” เพราะมนษุ ยย์ ่อมควรต้องอยเู่ รยี นร้คู ธู่ รรมชาติกับป่า ต้นไม้ พืชผัก จงึ จะถอื วา่ เป็นคนสมบูรณแ์ บบ และการทก่ี ลุ่มคนบางจ�ำ นวนสร้างกระแสให้คนสว่ นใหญ่ใช้ชีวิต ในระบอบทนุ นิยม อยู่กบั หา้ งสรรพสินคา้ สินคา้ แบรนด์เนม กนิ อาหารแปรรูปปลอด เอนไซม์ธรรมชาติ ดื่มน�้ำ อัดลมใส่สี สารปรุงแต่ง ฯลฯ ความเป็นคนและความย่งั ยนื ของชวี ิตจงึ สญู เสีย เพราะผกู ติดอย่กู ับธรรมชาตจิ อมปลอม คณุ ภาพชวี ติ ยอ่ ม ตกต่�ำ ตามไปด้วย ขอ้ มลู เพิม่ เติม นติ ยสาร สารคดี ปที ี่ 28 ฉบับ 325 มนี าคม 2555 เร่อื งจากปก ‘คนเมืองปลูกผกั ’ โครงการสวนผกั คนเมือง 912 ซอยงามวงศว์ าน 31 ซอยยอ่ ย 7 ถนนงามวงศ์วาน อ�ำ เภอเมอื ง จังหวัด นนทบรุ ี 11000 โทร. 02-591-1195-6 www.thaicityfarm.com E-mail: [email protected] Facebook/เมอ่ื คนเมอื งอยากปลูกผัก



๗ เปลี่ยน เข้ารว่ มกบั Change.org เพอ่ื เพ่อื สรา้ งการเปลย่ี นแปลงที่ดีในสังคม Change.org คอื เว็บไซต์ท่ีเปดิ พน้ื ที่ใหค้ นทุกคนสามารถเรมิ่ เร่ืองรณรงค์ของ ตวั เองได้ ไม่ว่าเรือ่ งรณรงคเ์ หล่านน้ั จะเปน็ เรอ่ื งเลก็ ระดับชมุ ชน กระทั่งเรอื่ งใหญโ่ ต ระดบั ชาติ หากการรณรงคด์ ังกล่าวเป็นเรื่องทดี่ แี ละนำ�ไปสกู่ ารเปลย่ี นแปลงท่ดี ีในสังคม เครือขา่ ยเวบ็ ไซด์ Change.org คอื เว็บเพอื่ การรณรงคท์ ่ีใหญ่ทสี่ ดุ ในโลก มี ผูใ้ ช้มากกว่า 25 ลา้ นคน ใน 196 ประเทศ โดยเปดิ รับใหค้ นทว่ั โลกไดใ้ ชพ้ น้ื ที่ของ Change.org ในการลงชอื่ รณรงค์เรยี กร้องสิทธใิ นเรอ่ื งทคี่ นส่วนใหญ่เห็นสมควรวา่ จะตอ้ งมกี ารเปลยี่ นแปลง เพอ่ื ให้เกดิ ความเหมาะสม ยุติธรรม อาทิ กรณีนกั ศกึ ษาชาว อเมรกิ ันทีเ่ รยี กร้องใหธ้ นาคารแหง่ ชาติยกเลิกคา่ ธรรมเนียมบตั รเดบติ หรือกรณีเจา้ หน้าท่ี รปภ. สวนสาธารณะในอังกฤษที่เรียกร้องใหเ้ จา้ ของสุนัขเกบ็ อจุ จาระ (ที่สัตว์ เลีย้ งพวกเขาถ่ายเรี่ยราด) ใสถ่ งุ ไปท้ิงในที่ ทจี่ ดั เตรียมไว้

กรณี Change.org ประเทศไทย ตอนนมี้ ียอดผ้ใู ช้อยู่ 170,000 คน หลังจาก ทีเ่ ปิดตัวมาประมาณ 7 เดือน โดยในรอบ 7 เดอื นทผี่ ่านมา ได้มีเรื่องรณรงค์ทีป่ ระสบ ความส�ำ เร็จเปน็ จ�ำ นวนมาก ต้ังแตก่ ารปกป้องพทุ ธสถานโบราณ การหยุดจ�ำ หน่ายเมนู หฉู ลามในภตั ตาคาร – โรงแรม การปกป้องต้นไม้เก่าแก่ 100 ปี ไปจนถงึ การชว่ ยให้ ชาวจักรยานขบั ขี่ปลอดภัยลอ้ ไมต่ ดิ ท่อ และการจัดระเบยี บการฉายหนังทีม่ ีเนอื้ หาความ รุนแรงบนรถทัวร์ ท้ังหมดน้ีเคยเป็นเร่อื งยากสำ�หรับคนธรรมดาๆ อยา่ งเราที่จะรว่ มพลงั และสร้าง การเปลีย่ นแปลงในสงั คม ตอ้ งทุม่ เทเวลา และใชก้ ำ�ลังทรพั ย์มหาศาล แต่ในยุคเทคโนโลยี ส่ือสารไร้พรมแดน ข้อจำ�กัดต่างๆ พังทลาย ตอนนีท้ ุกคนสามารถเรม่ิ รณรงค์และ ชักชวนคนจากทัว่ ทุกมมุ โลกมาสนับสนุนเรอื่ งราวของตนได้ทันที เพือ่ ใหห้ นว่ ยงา นรัฐฯ บรษิ ทั เอกชนต่างๆ ได้มีความโปรง่ ใสและตอ้ งรับฟงั เสยี งประชาชนมากย่ิงข้ึน Change.org ตอ้ งการมสี ว่ นช่วยให้การเปล่ียนแปลงเกดิ ได้รวดเรว็ และงา่ ยยิง่ ขึ้น เราตอ้ งการใหท้ กุ คนรวู้ า่ ทกุ อยา่ งเปน็ ไปได้ถ้าทกุ คนพร้อมจะต่อส้เู พือ่ สิ่งท่ีถูกต้อง ยตุ ธิ รรม ไมว่ ่าเร่ืองดงั กลา่ วจะเป็นเร่ืองที่เล็กน้อยแคไ่ หนก็ตาม ราตอ้ งการเห็นโลกทป่ี ราศจากคนท่ีไร้สทิ ธ์ิไร้เสียง โลกที่การรณรงค์เพอ่ื ส่งิ ที่ดี กวา่ เป็นเรอื่ งธรรมดา น่เี ป็นแคเ่ พยี งจดุ เร่ิมต้น ฉะน้ันมาเรม่ิ สรา้ งการเปลย่ี นแปลงน้ีไป ด้วยกนั ขอ้ มูลเพ่ิมเตมิ www.change.org/th Facebook/Change.orgThailand


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook