ศนู ย์พฒั นาองค์ความรู้ด้านกิจกรรมทางกายประเทศไทย (ทีแพค): Thailand Physical Activity Knowledge Development Centre (TPAK) สถาบนั วิจยั ประชากรและสงั คม มหาวิทยาลยั มหิดล เป็นหน่ึง ในกลไกสนับสนุนทางวิชาการด้ านการส่งเสริ มกิจกรรมทางกายตาม ข้ อแนะน�ำของแผนปฏิบัติการส่งเสริมกิจกรรมทางกายโลก หรือ Global Action Plan on Physical Activity 2018-2030 ขององค์การ อนามยั โลก ทงั้ นี ้ภายใต้สถานการณ์ของประเทศท่ีต้องการองค์ความรู้ ทัง้ ในเชิงสถานการณ์ ข้อมูลเพ่ือประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบาย ต้นแบบและแนวทางการด�ำเนินนโยบายกบั ประชากรกลมุ่ ตา่ ง ๆ ที่เน้น ศกึ ษาพฤตกิ รรมของบคุ คล กลมุ่ บคุ คล และปรากฏการณ์ในสงั คมอยา่ ง เหมาะสม เพื่อสร้างผลผลิตทางวิชาการในรูปแบบต่าง ๆ ที่มีคณุ ภาพ มาตรฐานระดบั สงู รวมถึงสามารถร่วมท�ำงานในลกั ษณะการเช่ือมโยง บรู ณาการองค์ความรู้ข้ามศาสตร์กบั ศนู ย์วิชาการด้านกิจกรรมทางกาย ในมิติอ่ืนท่ีส�ำคญั อาทิ มิติของการพฒั นานวตั กรรมเชิงเคร่ืองมือและ เทคโนโลยีทางวิศวกรรม มิติเก่ียวกับพืน้ ที่สขุ ภาวะ หรือมิติในเชิงการ ขับเคลื่อนนโยบาย เพ่ือเป็นหนึ่งในฟันเฟื องของการขับเคล่ือนการ สง่ เสริมกิจกรรมทางกายให้ดำ� เนินไปอยา่ งรอบด้าน และลมุ่ ลกึ สามารถ ตอบโจทย์การใช้งานทงั้ เชิงนโยบาย การน�ำสไู่ ปการปฏิบตั ิ และขยายผล เพื่อสร้างการเปลย่ี นแปลงเชิงพฤตกิ รรมสขุ ภาวะของประชากรเปา้ หมาย ได้อยา่ งเหมาะสมกบั บริบทของสงั คมไทย
REGENERATING Physical Activity in Thailand after COVID-19 Pandemic: ฟ้ นื กิจกรรมทางกายในประเทศไทยหลังวกิ ฤตโควิด-19 ขอ้ มลู ทางบรรณานกุ รม ฟื้นกจิ กรรมทางกายในประเทศไทยหลงั วกิ ฤตโควดิ -19: Regenerating physical activity in Thailand after COVID-19 pandemic / ปิยวฒั น์เกตวุ งศา, กรกนก พงษป์ ระดษิ ฐ,์ บรรณาธกิ าร. -- พมิ พค์ รงั้ ท่ี 1. -- นครปฐม: ศนู ยพ์ ฒั นาองคค์ วามรูด้ า้ นกจิ กรรมทางกาย ประเทศไทย สถาบนั วจิ ยั ประชากรและสงั คม มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล รว่ มกบั สำ� นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ, 2563. (เอกสารทางวิชาการ/สถาบนั วิจยั ประชากรและสงั คม มหาวิทยาลยั มหิดล; หมายเลข 516) ISBN 978-616-443-450-9 1. กิจกรรมทางกาย. 2. การสง่ เสรมิ สขุ ภาพ. 3. นโยบาย. 4. ประชากร -- ไทย. 5. ไทย -- ประชากร. 6. เดก็ และเยาวชน. 7. ผใู้ หญ่. 8. ผสู้ งู อาย.ุ 9. โควิด-19 (โรค). 10. ไวรสั โคโรนา. I. ปิยวฒั น์ เกตวุ งศา, บรรณาธิการ. II. กรกนก พงษป์ ระดิษฐ์, บรรณาธิการ. III. มหาวิทยาลยั มหิดล. สถาบนั วิจยั ประชากรและสงั คม. IV. ศนู ยพ์ ฒั นาองคค์ วามรูด้ า้ นกิจกรรมทางกาย ประเทศไทย. V. สำ� นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ. VI. ช่ือเร่อื ง: Regenerating physical activity in Thailand after COVID-19 pandemic. VII. ช่ือชดุ . QT255 ฟ471 2563 พิมพค์ รงั้ ท่ี 1 มิถนุ ายน 2563 จำ� นวนพิมพ์ 500 เลม่ จดั ทำ� เนือ้ หาและจดั พิมพโ์ ดย ศนู ยพ์ ฒั นาองคค์ วามรูด้ า้ นกิจกรรมทางกายประเทศไทย (TPAK) สถาบนั วจิ ยั ประชากรและสงั คม มหาวทิ ยาลยั มหิดล รว่ มกบั สำ� นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) สำ� นกั พิมพ ์ บรษิ ัท ภาพพิมพ์ จำ� กดั 45/12-14, 33 หมู่ 4 ถนนบางกรวย-จงถนอม ตำ� บลบางขนนุ อำ� เภอบางกรวย จงั หวดั นนทบรุ ี 11130 โทรศพั ท์ : 0-2879-9154-6 โทรสาร : 0-2879-9153 ศนู ยพ์ ฒั นาองคค์ วามรูด้ า้ นกจิ กรรมทางกายประเทศไทย (TPAK) สถาบนั วจิ ยั ประชากรและสงั คม มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล เลขท่ี 999 ถนนพทุ ธมณฑลสาย 4 ตำ� บลศาลายา อำ� เภอพทุ ธมณฑล จงั หวดั นครปฐม 73170 โทรศพั ท์ 0-2441-0201-4 ตอ่ 307, 317, 524, 525 โทรสาร 0-2441-9333 เวบ็ ไซต์ www.tpak.or.th สำ� นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) เลขท่ี 99/8 อาคารศนู ยเ์ รยี นรูส้ ขุ ภาวะ ซอยงามดพู ลี แขวงทงุ่ มหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศพั ท์ 0-2343-1500 โทรสาร 0-2343-1551 เวบ็ ไซต์ www.thaihealth.or.th ศลิ ปกรรมและภาพประกอบ สรุ ศกั ดิ์ เพญ็ ใหม,่ นฤมล เหมะธลุ นิ และ www.freepik.com ข้อมูลในหนังสือเล่มนี้ ไม่สงวนลขิ สิทธิ์ สามารถนำ� ไปเผยแพร่เพอื่ ประโยชนต์ อ่ สังคมได้ หา้ มจำ� หน่าย
สารบญั หนา้ กจิ กรรมทางกายยุคก่อนการแพร่ระบาดของไวรัสโควดิ -19 5 สถานการณภ์ าพรวมดา้ นกิจกรรมทางกายของประชากรไทย 10 สถานการณภ์ าพรวมดา้ นพฤตกิ รรมเนือยน่ิงของประชากรไทย 14 สถานการณด์ า้ นกิจกรรมทางกายและพฤตกิ รรมเนือยน่ิงของประชากร 3 ชว่ งวยั 19 เดก็ และเยาวชน (อายุ 5 – 17 ปี) 20 ผใู้ หญ่ (อายุ 18 – 59 ปี) 24 ผสู้ งู อายุ (อายุ 60 ปีขนึ้ ไป) 28 ฟื้ นกจิ กรรมทางกายในประเทศไทยหลังวกิ ฤตโควดิ -19 33 5 ปมเชือก ท่ีฉดุ รงั้ การสง่ เสรมิ กิจกรรมทางกายในคนไทย 34 ปมท่ี 1 การรณรงคเ์ พ่ือส่อื สารและสรา้ งการรบั รูเ้ ก่ียวกบั ความหมาย 37 และประโยชนข์ องกิจกรรมทางกายในหลากหลายมิต ิ ปมท่ี 2 การเผยแพรแ่ นวทางการปฏิบตั ทิ ่ีถกู ตอ้ งและสรา้ งแรงจงู ใจ 40 ในการมีกิจกรรมทางกายจากท่ีบา้ น ปมท่ี 3 การสนบั สนนุ ใหช้ มุ ชนเป็นฐานในการรเิ รม่ิ การสง่ เสรมิ กิจกรรมทางกาย 42 และการใชป้ ระโยชนส์ ภาพแวดลอ้ มท่ีเอือ้ ตอ่ การมีสขุ ภาวะอยา่ งปลอดภยั ปมท่ี 4 การสง่ เสรมิ ใหเ้ กิดความรว่ มรบั ผิดชอบอยา่ งจรงิ จงั ในการสง่ เสรมิ การมีกิจกรรมทางกาย 44 เพ่ือสรา้ งเสรมิ ทกั ษะและพฒั นาการตามชว่ งวยั ในเดก็ และเยาวชน ปมท่ี 5 การสง่ เสรมิ ใหเ้ กิดการยกระดบั มาตรฐานดา้ นความปลอดภยั 46 และปลอดเชือ้ ในการจดั กิจกรรมสขุ ภาพและกีฬามวลชน กจิ กรรมทางกายยุคหลังการแพร่ระบาดของไวรัสโควดิ -19 49 ชีวิตวิถีใหมข่ องประชากรในมิตขิ องกิจกรรมทางกาย 50 วถิ ีท่ี 1: “มนษุ ยเ์ ฉ่ือย” 52 วถิ ีท่ี 2: “นอ้ งใหมส่ ายสขุ ภาพ” 56 วิถีท่ี 3: “หนา้ กากนกั ว่ิง” 62 วถิ ีท่ี 4: “มนษุ ยเ์ วอรช์ วล/ ออนไลน”์ 66 วถิ ีท่ี 5: “เดก็ ตดิ จอ” 70 วถิ ีท่ี 6: “เดก็ สายเพลย”์ 74 คลังผลผลิตทางวชิ าการและองคค์ วามรู้เพอ่ื การเปลย่ี นแปลง 79 ภาคผนวก 86 บรรณานุกรม 94 รายชื่อคณะทำ� งาน 96
4
Physical Activity in Thailand after COVID-19 Pandemic: 5 กิจกรรมทางกาย ยคุ ก่อนการแพรร่ ะบาด ของเชื้อไวรสั โควิด-19 นับตัง้ แต่ที่ประเทศไทย โดยผู้แทนจากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุน การสร้างเสริมสขุ ภาพ (สสส.) และกลมุ่ นกั วิชาการที่ท�ำงานด้านสขุ ภาพ ได้ร่วม ลงนามในกฎบตั รโตรอนโต ณ ประเทศแคนาดา ในปี 2553 เพื่อดำ� เนินพนั ธกิจ ในการสนบั สนนุ การมีสขุ ภาวะดีด้วยการสง่ เสริมกิจกรรมทางกายส�ำหรับทกุ คน ถงึ วนั นีน้ บั เป็นเวลา 10 ปีเตม็ ทเ่ี ร่ืองของ “กิจกรรมทางกาย (Physical Activity)”a ถูกน�ำมารณรงค์ ภายใต้ การบูรณาการความร่ วมมือของภาคีและองค์ กรที่ เก่ียวข้องเพื่อขบั เคล่ือนประเด็นกิจกรรมทางกาย ทงั้ ในระดบั สากลและระดบั ชาติเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และสอดคล้องตามเป้าประสงค์ของกฎบตั รฯ ส่งผลให้ในช่วงระยะเวลาท่ีผ่านมาเกิดนโยบาย และการด�ำเนินกิจกรรม ทส่ี ำ� คญั ๆ ตา่ ง ๆ ขนึ ้ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ทงั้ หมดนกี ้ เ็ พอื่ กระต้นุ และสง่ เสริมให้เกดิ กลไก ทางนโยบายระดบั ชาติ การสร้างองค์ความรู้ นวตั กรรม ด้านการเพิ่มกิจกรรม ทางกาย และการสร้างจติ สำ� นกึ แหง่ สขุ ภาพ เพอ่ื ให้เกดิ กจิ กรรมทางกายทเี่ พยี งพอ และลดพฤติกรรมเนือยนิ่งในระดับบุคคล พร้ อมกับส่งเสริมปัจจัยแวดล้อม ที่เอือ้ ต่อการมีกิจกรรมทางกายในชีวิตประจ�ำวนั เพ่ือสุขภาวะท่ีดีอย่างยั่งยืน ของประชาชนทกุ กลมุ่ วยั ในสงั คมไทย a กิจกรรมทางกาย (Physical Activity) หมายถึง การเคลื่อนไหวร่างกายในอิริยาบถต่าง ๆ ท่ีใช้กล้าม เนือ้ โครงร่าง (Skeletal Muscle) อนั ก่อให้เกิดการใช้และเผาผลาญพลงั งานของร่างกาย ซงึ่ ครอบคลมุ การเคล่ือนไหวในการท�ำงานทงั้ งานบ้านหรืองานอาชีพ การเดินทางจากที่หนงึ่ ไปยงั อีกท่ีหนงึ่ ด้วยเท้า กจิ กรรมนนั ทนาการและการออกกำ� ลงั กาย3(อา่ นข้อมลู เพมิ่ เตมิ เกี่ยวกบั กจิ กรรมทางกายและพฤตกิ รรม เนือยน่ิงในภาคผนวก)
6 ผลเชิงประจักษ์จากการรณรงค์ส่งเสริมการมีกิจกรรม ทางกายของประชากรไทยตลอดชว่ งระยะเวลาทผี่ า่ นมาจนถงึ ก่อนช่วงที่จะเกิดเชือ้ ไวรัสโควิด-19 หากพิจารณาจากตวั ชีว้ ดั เชงิ ปริมาณสามารถกลา่ วได้วา่ ประเทศไทยประสบความสำ� เร็จ ในการเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายท่ีเพียงพออยู่ในระดับ ท่ีน่าพอใจ และมีแนวโน้ มท่ีจะบรรลุเป้าหมายท่ีได้ร่วม ลงนามไว้ทงั้ ในระดบั ชาตแิ ละนานาชาตภิ ายในเวลาท่ีก�ำหนด ไม่ว่าจะเป็น 1) แผนการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย พ.ศ. 2561-2573 ของประเทศไทย 2) NCD Global Monitoring Framework 9 Voluntary Targets ขององค์การอนามยั โลก 3) แผนปฏิบตั ิการสง่ เสริมกิจกรรมทางกายโลก หรือ Global Action Plan on Physical Activity 2018-2030 ขององค์การ อนามัยโลก หรือ 4) Sustainable Development Goals ขององค์การสหประชาชาติ ทว่าหากพิจารณาจากตัวชีว้ ัดเชิงคุณภาพด้านการมี กิจกรรมทางกายของคนไทยตามแผนปฏิบัติการส่งเสริม กิจกรรมทางกายโลก ก็จ�ำเป็นต้องยอมรับว่า ประเทศไทย ยงั คงมีประเดน็ เร่งดว่ นในการด�ำเนินการอยอู่ ีกหลายกิจกรรม เพื่อให้ การส่งเสริมกิจกรรมทางกายในประเทศไทยถูก ขบั เคลื่อนไปอย่างก้าวหน้าและมีประสิทธิภาพ อนั จะส่งผล ต่อพฤติกรรมและความตระหนกั รู้ทางสขุ ภาพของประชากร สกู่ ารมีสขุ ภาวะได้อยา่ งยง่ั ยืน
Physical Activity in Thailand after COVID-19 Pandemic: 7 ผลจากการผลักดันและส่งเสริมการมีกิจกรรม 2) การเกิดต้นแบบพืน้ ที่สุขภาวะท่ีเอือ้ ต่อการ ทางกายตลอดชว่ งระยะเวลาทผี่ า่ นมา สะท้อนออกมา มีกิจกรรมทางกายทัง้ ในระดับสาธารณะหรือระดับ ท า ง ผ ล ผ ลิต แ ล ะ ผ ล ลัพ ธ์ เ ชิ ง ป ร ะ จัก ษ์ ใ น ห ล า ย มิ ติ ท้องถ่ิน เช่น โครงการลานกีฬาพฒั น์ โครงการศกึ ษา ประกอบด้วย ศักยภาพการเข้ าถึงสาธารณูปการที่ส่งเสริ มการ เดินเท้ า และโครงการศึกษาดัชนีศักยภาพการ 1) การส่อื สารรณรงค์ในประเดน็ สง่ เสริมกิจกรรม เดินเท้ า หรื อโครงการพืน้ ที่สุขภาวะย่านเมือง ทางกาย และลดพฤติกรรมเนือยนิ่งของทุกช่วงวัย ในพืน้ ท่ีต่าง ๆ เป็นต้น ทัง้ นีร้ วมถึงการสนับสนุน เพื่อสร้างความตระหนกั ในความส�ำคญั และเผยแพร่ กิจกรรมกีฬาให้เป็นกีฬาปลอดเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ ความเข้ าใจประเด็นการมีกิจกรรมทางกายในชีวิต และบุหรี่ และสนับสนุนพืน้ ที่ในและรอบบริเวณ ประจ�ำวันในกลุ่มเป้าหมาย ด้ วยการสนับสนุน สนามกีฬาให้ ปลอดเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์และบุหรี่ องค์ความรู้ กิจกรรม และการส่ือสารรณรงค์อย่าง ตามกฎหมาย โดยใช้กลไกทุนอุปถัมภ์กีฬาและการ กว้างขวาง ตลอดจนการพฒั นากระบวนการสง่ เสริม สอื่ สารรณรงคเ์ พอ่ื สร้างความตระหนกั ในกลมุ่ เปา้ หมาย กจิ กรรมทางกายในประชากรกลมุ่ ตา่ ง ๆ อยา่ งเหมาะสม เช่น โครงการโรงเรียนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ทงั้ นผี ้ ลจากการดำ� เนนิ งานดงั กลา่ วข้างต้น สง่ ผล โครงการส่งเสริมต้นแบบองค์กรไร้ พุง โครงการเพ่ือ ให้เกิดการเปล่ียนแปลงในระดบั พฤติกรรมด้านการมี สร้างสรรค์ต้นแบบกิจกรรมทางกายและลดพฤตกิ รรม กิจกรรมทางกายที่เพียงพอของประชากรไทยที่มี เนือยนิ่งในเด็กและวัยรุ่นไทย โครงการพัฒนา การยกระดบั ขึน้ อย่างต่อเนื่อง โดยในภาพรวมพบว่า นวตั กรรมเพ่ือสง่ เสริมโอกาสการสง่ เสริมกิจกรรมทาง การมีกิจกรรมทางกายของประชากรไทยมีแนวโน้ ม กายในบริบท โครงการพฒั นารูปแบบการลดพฤตกิ รรม เพ่ิมขนึ ้ คือ จากร้อยละ 66.3 ในปี 2555 เป็นร้อยละ เนือยน่ิงในประชากรวัยท�ำงาน โครงการพัฒนา 74.6 ในปี 2562 อย่างไรก็ดี ทัง้ หมดท่ีกล่าวมาคือ ศูนย์ การเรี ยนร้ ู ผ้ ูสูงอายุต้ นแบบกิ จกรรมทางกาย สถานการณ์ท่ีเกิดขึน้ ในยุคก่อนการแพร่ระบาดของ โครงการรณรงค์การส่งเสริ มกิจกรรมทางกาย เชือ้ ไวรัสโควิด-19 ท่ีเข้ามาปรับเปลี่ยนและปั่นป่ วน ในรูปแบบ การเดนิ วง่ิ ป่ัน เป็นต้น (Disrupt) วิถีชีวิตตลอดจนพฤติกรรมทางสุขภาวะ เชิงองค์รวม รวมถึงประเด็นเฉพาะอย่างเร่ื อง กิจกรรมทางกาย นับเป็นข้อท้าทายให้นักวิชาการ นกั ประชาสงั คม ตลอดจนผ้กู �ำหนดนโยบาย ในการ ร่วมกันออกแบบและก�ำหนดแนวทางเพ่ือฟื ้นระดับ การมีกิจกรรมทางกายของคนไทยให้กลบั มาอยู่ใน ระดบั ปกติและพร้ อมที่จะก้าวสู่การบรรลุเป้าหมาย ทางสขุ ภาพในอนาคต
8 ลำ� ดับเหตุการณส์ �ำคญั ด้านกิจกรรมทางกาย Global เร่ิม The Toronto strategy in Charter for diet physical Physical Activit activity and health International Society on WHO Global ประชุมสมัชชาโลก Physical Activity and recommendation กำ� หนดเป้าหมายการลด Public Health: ISPAH on physical การขาดกจิ กรรมทางกาย activity for health ร้อยละ 10 ภายในปี 2568 2545 2547 2549 2553 2555 2556 2558 ก่อตงั้ กอง ปรับทศิ ทาง เร่ิมโครงการ Thailand ออกกำ� ลังกาย นโยบายกจิ กรรม พฒั นาระบบ Report Card เพ่อื สุขภาพ ทางกาย เฝ้าระวังตดิ ตาม กรมอนามัย พฤตกิ รรมด้าน GM2.0 และ สำ� นักงาน กจิ กรรมทางกาย นโยบาย กองทนุ สนับสนุน ของประชากรไทย ส่งเสริม การสร้ างเสริม การเดนิ และ สุขภาพ การใช้จกั รยาน
Physical Activity in Thailand after COVID-19 Pandemic: 9 Global Action Plan on Physical Activity 2018-2030 ประเทศไทยเป็ นเจ้าภาพ งานประชุมวชิ าการ ISPAH ครัง้ ท่ี 7 / GAPPA The Bangkok NCDs กำ� หนด กำ� หนดเป้าหมาย เป้าหมาย ประชุมคู่ขนาน Declaration on การลดการขาด WHA69 side Physical Activity การลดการขาด กจิ กรรมทางกาย meeting Walk for Global Health กจิ กรรมทางกาย ร้อยละ 15 the talk and Sustainable ร้อยละ 10 2573 2559 2560 Development 2561 2563 2568 นโยบาย มตสิ มัชชา รับรองแผน ก่อตงั้ ศูนย์พฒั นา แผนส่งเสริม พุธกระฉับ สุขภาพ ส่งเสริม องค์ความรู้ด้าน กจิ กรรมทางกาย ส่งเสริม กจิ กรรม กจิ กรรมทางกาย พ.ศ. 2561-2573 กระเฉง กจิ กรรม ทางกาย ประเทศไทย กำ� หนดเป้าหมาย ทางกาย พ.ศ. ครัง้ ท่ี 10 2561-2573 ประชากรไทย มีกจิ กรรมทางกาย เร่ิม Thailand โครงการ Report Card ท่เี พยี งพอ Active GM 3.0 / ร้อยละ 75.0 School เร่ิมโครงการ Thai-ACP
10 สถานการณ์ภาพรวม ด้านกจิ กรรมทางกาย ของประชากรไทย นับตัง้ แต่ปี 2555 เป็นต้นมากระท่ังช่วงก่อน สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรัสโควิด-19 สถานการณ์ ภาพรวมด้ านการมีกิ จกรรมทางกาย ของประชากรไทยเป็นไปในเชิงบวก โดยระดบั การมี กิจกรรมทางกายท่ีเพียงพอเพ่ิมขึน้ จากร้อยละ 66.3 ในปี 2555 เป็นร้อยละ 74.6 ในปี 2562 หรือเพิ่มขึน้ ร้ อยละ 8.3 คิดเป็นอัตราเพ่ิมเฉลี่ยที่ร้ อยละ 1.04 ต่อปี ทัง้ นีใ้ นปี 2558 เป็นปีที่มีอัตราเพิ่มสูงที่สุด (ร้อยละ 3.4) ขณะท่ีในปีถดั มา (พ.ศ. 2559) เป็นปีท่ีมี อตั ราเพิ่มต่�ำท่ีสดุ (ร้อยละ -0.8)
Physical Activity in Thailand after COVID-19 Pandemic: 11 เม่ือพิจารณาถงึ แบบแผนการมีกิจกรรมทางกาย ที่เพียงพอของประชากรไทยในภาพรวม ระหว่าง ปี 2555-2562 พบว่า เป็นการเพ่ิมขึน้ ในลักษณะ เส้นตรงด้วยอัตราเพ่ิมแบบไม่คงที่ จากแบบแผน ดงั กลา่ วอาจอธิบายได้ว่า ท่ีผ่านมากิจกรรมทางกาย ของคนไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึน้ อย่างต่อเน่ือง โดยจะ ดีดตวั สงู ขึน้ ตามกระแสการรณรงค์ส่งเสริมกิจกรรม ทางกายท่ีเป็นมหกรรมระดบั ประเทศ เชน่ ในปี 2558 ที่มีกิจกรรมรณรงค์ Bike for Mom และ Bike for Dad หรื อในระหว่างปี 2560-2562 ท่ีกระแสการ ออกก�ำลงั กายด้วยการวงิ่ เพื่อสขุ ภาพได้รับความนิยม เป็นประวัติการณ์ในประเทศ เป็นต้น ขณะท่ีการ สง่ เสริมกจิ กรรมตามแผนนโยบายของหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ท่ีเกี่ยวข้ องเป็ นฐานส�ำคัญท่ีช่วยหนุนเสริมและ ประคองไม่ให้อตั ราเพ่ิมอย่ใู นระดบั ติดลบ ท่ีน่าสนใจ อีกประการคือ หลังจากท่ีประเทศไทยได้ประกาศ กฎบัตรกรุงเทพฯ (Bangkok Declaration on Physical Activity for Global Health and Sustainable Development 2016) ในช่วงปลายปี 2559 และ แผนการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย พ.ศ.2561-2573 เป็นต้นมา ระดับการมีกิจกรรม ทางกายที่เพียงพอของประชากรไทยก็เพิ่มสงู ขึน้ มา อย่างต่อเนื่อง โดยสามารถคงตวั อยู่ที่ระดบั สูงกว่า ร้อยละ 70 มาโดยตลอด ดงั ข้อมลู ที่ปรากฏในรูปที่ 1
12 ชาย หญิง รวม 71.9 73.3 71.8 75.8 75.0 76.4 78.2 77.2 58.5 66.3 68.1 68.3 71.7 70.9 72.9 74.4 74.6 55.5 61.6 64.3 65.8 68.8 67.9 69.6 70.8 72.0 52.0 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 รูปท่ี 1 ร้อยละการมีกจิ กรรมทางกายท่เี พียงพอของประชากรไทย ระหวา่ งปี 2555-2563 หมายเหต:ุ ขอ้ มลู ในปี 2563 เป็นขอ้ มลู จากการสำ� รวจในชว่ งสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชือ้ ไวรสั โควดิ -19 ระหวา่ งเดือนมีนาคม – พฤษภาคม พ.ศ. 2563 ท่ีมา: โครงการพฒั นาระบบเฝา้ ระวงั ตดิ ตามพฤตกิ รรมดา้ นกิจกรรมทางกายของประชากรไทยปี 2555-2563 ศนู ยพ์ ฒั นาองคค์ วามรูด้ า้ นกิจกรรมทางกายประเทศไทย (TPAK) สถาบนั วจิ ยั ประชากรและสงั คม มหาวทิ ยาลยั มหิดล เม่ือพิจารณาความแตกตา่ งดา้ นการมีกิจกรรมทางกายท่ีเพียงพอระหวา่ งเพศชายและหญิง พบวา่ เพศชาย จะมีกิจกรรมทางกายท่ีเพียงพอสงู กวา่ เพศหญิงในทกุ ๆ ปีของการสำ� รวจขอ้ มลู ซง่ึ สถานการณด์ งั กลา่ วนีเ้ ป็นไป ในทศิ ทางเดยี วกนั กบั ประเทศสว่ นใหญ่ท่วั โลก อยา่ งไรก็ตาม เม่ือพจิ ารณาถงึ รอ้ ยละของความแตกตา่ งจากอดตี เปรยี บกบั ปัจจบุ นั พบวา่ ลดลงจากรอ้ ยละ 10.3 ในปี 2555 มาอยทู่ ่ีรอ้ ยละ 5.2 ในปี 2562 หรอื อาจกลา่ วไดว้ า่ ประเทศไทยสามารถลดช่องว่างของความแตกต่างดา้ นการมีกิจกรรมทางกายระหว่างเพศชายและเพศหญิงb ไปไดเ้ กือบครง่ึ หนง่ึ b การเปรยี บเทยี บขอ้ มลู ระหวา่ งเพศชายและเพศหญิงในบรบิ ทเนอื้ หานี้ พจิ ารณาจากคณุ ลกั ษณะทางเพศในทางชวี วทิ ยาท่มี คี วามเก่ียวขอ้ งโดยตรง กบั พฤตกิ รรมดา้ นกิจกรรมทางกาย โดยยงั คงใหค้ วามสำ� คญั และเคารพในสทิ ธิและความเทา่ เทยี มของกลมุ่ ประชากรท่มี คี วามหลากหลายทางเพศ
Physical Activity in Thailand after COVID-19 Pandemic: 13 สถานการณด์ า้ นกจิ กรรมทางกาย ในชว่ งการแพรร่ ะบาดของเชือ้ ไวรสั โควดิ -19 ในปี 2563 สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของไวรสั โควิด-19 ไดส้ ง่ ผลกระทบโดยตรง ต่อการมีกิจกรรมทางกายท่ีเพียงพอของประชากรไทย โดยผลจากการสำ� รวจขอ้ มูล ระหว่างเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคม พ.ศ. 2563 พบว่า การมีกิจกรรมทางกายท่ีเพียง พอของประชากรไทยในภาพรวมลดลงจากปีก่อนรอ้ ยละ 19.1 มาอยู่ท่ีรอ้ ยละ 55.5 นบั เป็นอตั ราท่ีอยใู่ นระดบั ต่ำ� ท่ีสดุ นบั ตงั้ แตม่ ีการสำ� รวจมาตงั้ แตป่ ี 2555 ซง่ึ สถานการณ์ ดงั กลา่ วเป็นไปในทิศทางเดียวกนั ทงั้ ประชากรเพศชายและเพศหญิง ปรากฏการณท์ ่ีเกิดขึน้ นี้ อาจเป็นผลมาจากปัจจยั ร่วมหลายสาเหตุ ไม่ว่าจะเป็น การปฏิบัติตนตามมาตรการ “อยู่บา้ น หยุดเชือ้ เพ่ือชาติ” เพ่ือควบคุมสถานการณ์ การแพรร่ ะบาดท่ีสง่ ผลตอ่ การดำ� เนินชีวิตประจำ� วนั การปรบั เปล่ียนรูปแบบ เวลา และ วิธีการทำ� งาน รวมถึงการงดใชพ้ ืน้ ท่ีสวนสาธารณะหรือพืน้ ท่ีออกกำ� ลงั กายสาธารณะ ทงั้ หมดนีส้ ่งผลต่อโอกาสในการมีกิจกรรมทางกายท่ีลดนอ้ ยลง ในขณะเดียวกนั ปัจจยั ดา้ นความกังวลใจ ความเครียด และสุขภาพจิตท่ีมีต่อสถานการณ์การแพร่ระบาด ของไวรสั โควิด-19 ก็เป็นอีกหน่ึงสาเหตุสำ� คัญท่ีทำ� ใหป้ ระชาชนไม่ไดอ้ อกกำ� ลงั กาย เหมือนในชว่ งปกติ
14 สถานการณภ์ าพรวม ด้านพฤติกรรมเนอื ยนง่ิ ของประชากรไทย การลดพฤติกรรมเนือยน่ิง นบั เป็นหน่งึ ในเปา้ หมายสำ� คญั สำ� หรบั การส่งเสรมิ การมีสขุ ภาพดีของประชากร ทงั้ นีแ้ ผนการ สง่ เสรมิ กิจกรรมทางกาย พ.ศ.2561-2573 ไดก้ ำ� หนดเปา้ หมาย ระดบั ประเทศไวค้ อื ใหป้ ระชากรอายุ 6 ปีขนึ้ ไป มรี ะยะเวลาเฉลย่ี ของพฤตกิ รรมเนือยน่ิงไมเ่ กิน 13 ช่วั โมงตอ่ วนั ขอ้ มูลเชิงสถานการณจ์ ากการสำ� รวจพฤติกรรมเนือยน่ิง ในประชากรไทยระหวา่ งปี 2555 – 2563 แสดงใหเ้ หน็ วา่ ระยะเวลา เฉล่ียในการมีพฤติกรรมเนือยน่ิงสะสมตอ่ วนั ของประชากรไทย ในภาพรวมยังไม่สามารถบรรลุเป้าหมายดังกล่าวได้เลย ตลอดช่วงระยะวลาท่ีผ่านมา โดยในปี 2563 เป็ นปี ท่ีมี ระยะเวลาเฉล่ยี สงู ท่ีสดุ คือ 14 ช่วั โมง 32 นาที ขณะท่ีในปี 2556 เป็นปีท่ีมีระยะเวลาเฉล่ยี ต่ำ� ท่ีสดุ คอื 13 ช่วั โมง 15 นาที และเม่ือ พจิ ารณาจำ� แนกตามเพศ พบวา่ มเี พยี งในปี 2556 ปีเดยี วเทา่ นนั้ ท่ีกล่มุ ประชากรเพศหญิงมีระยะเวลาเฉล่ียในการมีพฤติกรรม เนอื ยน่งิ สะสมตอ่ วนั อยทู่ ่ี 12 ช่วั โมง 56 นาที หรอื ดกี วา่ เปา้ หมาย ท่ีกำ� หนดไว้ 4 นาที
Physical Activity in Thailand after COVID-19 Pandemic: 15 เม่ือพิจารณาถึงแบบแผนของระยะเวลาเฉล่ียในการมีพฤติกรรมเนือยน่ิงต่อวันของประชากรไทย ตลอดช่วงระยะเวลา 9 ปีท่ีผ่านมาพบว่า มีการแกว่งตวั ขึน้ ลงอย่เู หนือค่าเปา้ หมายท่ี 13 ช่วั โมง มาโดยตลอด ทงั้ นีเ้ ม่ือเปรียบเทียบการเปล่ียนแปลงระหว่างปี พบว่า ปี 2561 เป็นปีท่ีระยะเวลาเฉล่ียของการมีพฤติกรรม เนือยน่ิงสะสมตอ่ วนั เพ่ิมขนึ้ 42 นาที ซง่ึ ถือวา่ เพ่ิมขนึ้ ท่ีสดุ เม่ือเปรยี บเทียบกบั ปีอ่ืน ๆ ขณะท่ีในปี 2562 เป็นปีท่ีมี การลดลงของระยะเวลาเฉล่ยี มากท่ีสดุ คือ 28 นาที ชาย หญิง รวม 13.36 13.28 13.53 14.11 13.55 13.37 14.17 13.54 14.44 13.29 13.15 13.42 14.08 13.48 13.33 14.15 13.47 14.32 13.23 12.56 13.34 13.51 13.31 13.30 14.08 13.42 14.13 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 รปู ท่ี 2 ระยะเวลาเฉล่ยี การมพี ฤตกิ รรมเนือยนิ่งของประชากรไทย ระหว่างปี 2555-2563 (ชว่ั โมง:นาท)ี หมายเหต:ุ ขอ้ มลู ในปี 2563 เป็นขอ้ มลู จากการสำ� รวจในชว่ งสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชือ้ ไวรสั โควดิ -19 ระหวา่ งเดือนมีนาคม – พฤษภาคม พ.ศ. 2563 ท่ีมา: โครงการพฒั นาระบบเฝา้ ระวงั ติดตามพฤตกิ รรมดา้ นกิจกรรมทางกายของประชากรไทยปี 2555-2563 ศนู ยพ์ ฒั นาองคค์ วามรูด้ า้ นกิจกรรมทางกายประเทศไทย (TPAK) สถาบนั วจิ ยั ประชากรและสงั คม มหาวิทยาลยั มหิดล
16 สถานการณด์ ้านพฤติกรรมเนือยนิง่ ในช่วงการแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรสั โควิด-19 จากข้อมลู ข้างต้นจะเห็นได้ว่า ปี 2563 เป็นปีท่ี จากตัวเลขระยะเวลาท่ีดีดตัวห่างจากเป้าหมาย ประชากรไทยมีระยะเวลาเฉลยี่ ของพฤตกิ รรมเนือยนิ่ง ท่ีก�ำหนดไว้ในแผนการส่งเสริมกิจกรรมทางกายแล้ว ตอ่ วนั สงู ทส่ี ดุ (14 ชว่ั โมง 32 นาท)ี และนบั เป็นครัง้ ที่ 3 ข้อมูลจากการส�ำรวจบ่งชีว้ ่า ในปีท่ีระยะเวลาเฉลี่ย ในรอบ 9 ปี ที่ระยะเวลาของการมีพฤติกรรมเนือยน่ิง ลดลงนนั้ เวลาจะลดลงประมาณ 10-20 นาที ขณะท่ี ตอ่ วนั ของคนไทยสงู มากกวา่ 14 ชว่ั โมง หากพจิ ารณา ในปีท่ีเพ่ิมขึน้ เวลาจะเพิ่มขึน้ ถึง 30-40 นาที ซึ่งเป็น ในแง่ของตัวเลขที่สะท้อนปรากฏการณ์ ก็อาจจะ รูปแบบของการถอยลดแล้วพงุ่ สงู ขนึ ้ เพื่อเพ่ิมคา่ เฉลี่ย กล่าวได้ว่า ไม่ใช่เร่ืองที่น่าแปลกใจนัก เนื่องจาก เคล่ือนที่ (Moving Average) น่ันหมายความว่า ในช่วงท่ีประชาชนเก็บตัวอยู่ที่บ้ านในช่วงการแพร่ หากสถานการณ์ ยังคงด� ำเนิ นไปดังเช่นในปั จจุบัน ระบาดของไวรัสโควิด-19 รูปแบบการใช้ชีวิตแบบ ภายในเวลาอีกประมาณ 10 ปีข้างหน้า ระยะเวลา นั่ง ๆ นอน ๆ เคลื่อนไหวน้อยระหว่างวันก็อาจจะ เฉลี่ยพฤติกรรมเนือยน่ิงของคนไทยอาจเพิ่มสูงถึง เพ่ิมมากย่ิงขึน้ ตามไปด้วย ทว่าหากพิจารณาในแง่ 15 ชวั่ โมง อนั จะน�ำมาซ่ึงอบุ ตั ิการณ์ของโรคในกล่มุ ความเสี่ยงทางสุขภาพ น่ีคือข้อมูลท่ีบ่งชีใ้ ห้ทราบ NCDs ในประเทศไทยที่ทวีความรุนแรงมากกวา่ ที่เป็น ว่า ระยะเวลาในการมีพฤติกรรมเนือยน่ิงของคนไทย อยใู่ นปัจจบุ นั มแี นวโน้มเพมิ่ สงู ขนึ ้ อยา่ งนา่ เป็นหว่ ง เพราะนอกเหนือ
Physical Activity in Thailand after COVID-19 Pandemic: 17 จากสถานการณ์ข้างต้น เม่ือพิจารณาลกั ษณะความสมั พนั ธ์ระหว่างพฤติกรรมด้านกิจกรรมทางกายและ พฤติกรรมเนือยนิ่งของประชากรไทย จะเห็นได้ว่า ทงั้ สองพฤติกรรมมิได้เป็นตวั ก�ำหนดซ่ึงกนั และกนั เสมอไป หรือกล่าวอีกนยั หนึ่งคือ การเพิ่มขึน้ ของระดบั กิจกรรมทางกายท่ีเพียงพออาจไม่ได้ช่วยท�ำให้ระยะเวลาเฉลี่ย ของพฤติกรรมเนือยนิ่งลดลง ดงั เช่นปรากฏการณ์ที่เกิดขนึ ้ ในปี 2557-2558 และปี 2561 ท่ีพบวา่ ในปีดงั กลา่ ว กิจกรรมทางกายท่ีเพียงพอมีการเพ่ิมขึน้ (ดีขึน้ ) ทว่าระยะเวลาเฉลี่ยของพฤติกรรมเนือยนิ่งก็เพ่ิมขึน้ (แย่ลง) ด้วยเช่นกัน ในทางตรงกันข้าม ในปี 2559 ระยะเวลาเฉล่ียของพฤติกรรมเนือยน่ิงมีการลดลง (ดีขึน้ ) แตก่ ารมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอกลบั ลดลง (แยล่ ง) +ดขี น้ึ 2556 2562 2560 พฤ ิตกรรมเ ืนอย ิน่ง 2559 -แย่ลง 2563 2557 2558 2561 -แยล่ ง กจิ กรรมทางกาย +ดีขึน้ รูปท่ี 3 การวเิ คราะหค์ วามสมั พันธ์ระหวา่ งกจิ กรรมทางกาย และพฤตกิ รรมเนอื ยนง่ิ ระหว่างปี 2555-2563 หมายเหต:ุ ข้อมลู ในปี 2563 เป็นข้อมลู จากการสำ� รวจในชว่ งสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรัสโควิด-19 ระหวา่ งเดือนมีนาคม – พฤษภาคม พ.ศ. 2563 ท่ีมา: โครงการพฒั นาระบบเฝา้ ระวงั ตดิ ตามพฤตกิ รรมด้านกิจกรรมทางกายของประชากรไทยปี 2555-2563 ศนู ย์พฒั นาองค์ความรู้ด้านกิจกรรมทางกายประเทศไทย (TPAK) สถาบนั วจิ ยั ประชากรและสงั คม มหาวิทยาลยั มหิดล
สถานการณ์ ด้านกจิ กรรมทางกาย และพฤตกิ รรมเนอื ยนิ่ง ของประชากร 3 ชว่ งวัย
20 เดก็ และเยาวชน (อายุ 5 – 17 ปี) สถานการณ์ ด้ านกิจกรรมทางกายในเด็กและ เยาวชนไทย จดั อยู่ในเกณฑ์ท่ีน่าเป็นห่วงมากท่ีสดุ เม่ือเปรียบเทียบกบั ชว่ งวยั อ่ืน ๆ โดยในชว่ งระหวา่ งปี 2555-2562 ผลการสำ� รวจพบวา่ มเี ดก็ และเยาวชนไทย ประมาณ 1 ใน 4 เทา่ นนั้ ทม่ี กี จิ กรรมทางกายเพียงพอc ตามค�ำแนะน�ำขององค์การอนามัยโลก (WHO)3 โดยมีอตั ราเพิ่มเฉล่ียติดลบร้อยละ 0.06 ต่อปี ทงั้ นี ้ ในปี 2559 เป็นปีที่เด็กและเยาวชนไทยมีกิจกรรม ทางกายที่เพียงพอสูงท่ีสุด (ร้ อยละ 27.6) ซ่ึงจาก สถานการณ์ดงั กล่าวนี ้ แสดงให้เห็นถึงความจ�ำเป็น ใ น ก า ร ห า ม า ต ร ก า ร ห ลั ก ท่ี มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ แ ล ะ ครอบคลุมเพ่ือส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายของ เดก็ และเยาวชนไทย c องค์การอนามยั โลก มีข้อแนะน�ำด้านการมีกิจกรรมทางกายสำ� หรับเดก็ และเยาวชน (อายุ 5 – 17 ปี) คือ ควรมีกิจกรรมทางกายระดบั ปานกลาง ถงึ ระดบั หนกั สะสมให้ได้อยา่ งน้อย 60 นาทีทกุ วนั
Physical Activity in Thailand after COVID-19 Pandemic: 21 เม่ือวิเคราะห์แนวโน้มการเปล่ียนแปลง พบว่า ในช่วงระหว่างปี 2555-2558 ระดบั การมีกิจกรรมทางกาย ท่ีเพียงพอของเด็กและเยาวชนไทยจะค่อนข้างมีความผันผวนสูง โดยในแต่ละปีจะแกว่งตัวขึน้ ลงเฉล่ียท่ี ร้อยละ 4 ขณะที่หลงั จากนนั้ ในปี 2559-2562 ระดบั ความผนั ผวนจะอยู่ท่ีร้อยละ 1-2 เท่านนั้ กระทงั่ ล่าสดุ ผลจากการแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรัสโควดิ -19 สง่ ผลให้ระดบั กิจกรรมทางกายที่เพียงพอของเดก็ และเยาวชนไทย ลดเหลือเพียงร้ อยละ 17.1 หรือลดลงร้ อยละ 7.2 เมื่อเทียบกับปีท่ีผ่านมา ขณะท่ีเมื่อเปรียบเทียบระหว่าง เพศชายและเพศหญิง พบวา่ เพศชายจะมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอสงู กวา่ เพศหญิงทกุ ปี ชาย หญิง รวม 27.8 24.2 29.1 25.8 29.4 28.6 31.4 31.0 20.3 24.9 20.9 27.6 23.2 26.4 25.3 26.2 24.4 17.1 23.4 17.4 22.4 19.4 21.4 20.5 22.9 21.6 13.9 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 รูปท่ี 4 รอ้ ยละการมกี จิ กรรมทางกายท่เี พียงพอของประชากรวัยเด็กและเยาวชน ระหว่างปี 2555-2563 หมายเหต:ุ ข้อมลู ในปี 2563 เป็นข้อมลู จากการสำ� รวจในชว่ งสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรัสโควิด-19 ระหวา่ งเดือนมีนาคม – พฤษภาคม พ.ศ. 2563 ท่ีมา: โครงการพฒั นาระบบเฝา้ ระวงั ติดตามพฤตกิ รรมด้านกิจกรรมทางกายของประชากรไทยปี 2555-2563 ศนู ย์พฒั นาองค์ความรู้ด้านกิจกรรมทางกายประเทศไทย (TPAK) สถาบนั วจิ ยั ประชากรและสงั คม มหาวิทยาลยั มหิดล
22 ในขณะท่ีสถานการณ์ด้านกิจกรรมทางกายของเด็กและเยาวชนอย่ใู นระดบั ต�่ำแบบคงที่ ในทางกลบั กนั สถานการณ์ด้านพฤติกรรมเนือยนิ่งกลบั มีแนวโน้มเพ่ิมสงู ขึน้ อย่างน่ากงั วล โดยในช่วงระหว่างปี 2555-2560 เด็กและเยาวชนไทยมีพฤติกรรมเนือยน่ิงโดยเฉล่ียประมาณ 13 ชวั่ โมงคร่ึงต่อวนั และไม่พบความแตกต่างกนั มากนกั ระหวา่ งเพศชายและเพศหญิง ทวา่ หลงั จากนนั้ ในปี 2561-2563 ระยะเวลาของพฤตกิ รรมเนือยนิ่งตอ่ วนั กลบั เพ่ิมสงู ขึน้ โดยมีค่าเฉลี่ยสงู เกินกว่า 14 ชวั่ โมงต่อวนั เมื่อวิเคราะห์ในรายละเอียดจึงพบว่า การเพ่ิมขึน้ ดงั กลา่ วมสี าเหตมุ าจากระยะเวลาทเี่ พม่ิ ขนึ ้ ของกลมุ่ เดก็ และเยาวชนเพศหญิงทสี่ งู มากถงึ วนั ละ 14 ชวั่ โมง 23 นาที ชาย หญิง รวม 13.36 13.38 13.43 13.56 13.28 13.36 14.18 14.15 14.23 13.33 13.33 13.36 13.52 13.14 13.29 14.16 14.11 14.08 13.30 13.31 13.32 13.49 13.01 13.21 14.07 13.52 13.55 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 รปู ท่ี 5 ระยะเวลาเฉล่ยี การมพี ฤติกรรมเนือยนิง่ ของประชากรวยั เดก็ และเยาวชน ระหว่างปี 2555-2563 (ชวั่ โมง:นาท)ี หมายเหต:ุ ข้อมลู ในปี 2563 เป็นข้อมลู จากการส�ำรวจในชว่ งสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรัสโควดิ -19 ระหวา่ งเดือนมีนาคม – พฤษภาคม พ.ศ. 2563 ท่ีมา: โครงการพฒั นาระบบเฝา้ ระวงั ติดตามพฤตกิ รรมด้านกิจกรรมทางกายของประชากรไทยปี 2555-2563 ศนู ย์พฒั นาองค์ความรู้ด้านกิจกรรมทางกายประเทศไทย (TPAK) สถาบนั วิจยั ประชากรและสงั คม มหาวทิ ยาลยั มหิดล
Physical Activity in Thailand after COVID-19 Pandemic: 23 ประโยชนข์ องกจิ กรรมทางกาย สำ� หรบั เดก็ และเยาวชน ส�ำหรับเด็กและเยาวชน นอกเหนือจากเรื่องการรับประทานอาหาร ที่มีประโยชน์ และการนอนหลบั พกั ผ่อนให้เพียงพอแล้ว การมีกิจกรรม ทางกายถือเป็นอีกหน่ึงกิจกรรมหลกั ท่ีจ�ำเป็นต่อการเจริญเติบโต และ การมีสขุ ภาพท่ีสมบรู ณ์แข็งแรง กิจกรรมทางกายยงั ช่วยพัฒนาทักษะ ทางด้านร่ างกาย ช่วยให้ระบบกล้ามเนือ้ และกระดูกเกิดการพฒั นา4 โดยเฉพาะกลมุ่ เดก็ ที่มีกิจกรรมทางกายที่มีแรงกระแทก เชน่ การกระโดด เป็นประจ�ำจะย่ิงท�ำให้มวลกระดูกหนาแน่นขึน้ เกิดการขยายตัวของ กระดูกและกล้ามเนือ้ อย่างรวดเร็วและสมบูรณ์ ส่งผลต่อความสูง และความแข็งแรงของร่างกาย5 นอกจากนีก้ ิจกรรมทางกายยงั ช่วยให้ น�ำ้ ตาลและไขมนั ถูกน�ำไปใช้เป็นพลงั งานมากขึน้ ท�ำให้ลดโอกาสการ เกิดภาวะน�ำ้ หนกั ตวั เกินและโรคอ้วน รวมถึงช่วยลดโอกาสเสี่ยงต่อการ เกิดโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ได้6 ยิ่งไปกวา่ นนั้ การมีกิจกรรมทางกายระดบั ปานกลางถึงระดบั หนัก ช่วยกระตุ้นให้การท�ำงานของระบบประสาท และสมองมีประสิทธิภาพ ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ในการเคลื่อนไหว ท่ีสลบั ซบั ซ้อนได้ดีขนึ ้ 4,7 นอกจากนีก้ ิจกรรมทางกายยงั ช่วยให้เกิดการพัฒนาทักษะด้าน สังคมและอารมณ์ ช่วยให้เด็กปรับตวั และเรียนรู้ในการอย่รู ่วมกบั ผ้คู น ในสงั คม มีความมนั่ ใจและความภมู ิใจในตนเอง การมีกิจกรรมทางกาย ท�ำให้เกิดการหลงั่ สารสื่อประสาท Endorphins ท�ำให้รู้สึกผ่อนคลาย ลดความเครียด และความกงั วลใจ ชว่ ยให้นอนหลบั ได้ดยี ง่ิ ขนึ ้ ทสี่ ำ� คญั คอื กิจกรรมทางกายสามารถชว่ ยเสริมสร้างทกั ษะด้านวชิ าการ เนื่องจาก จะช่วยให้มีสมาธิในการเรียนมากยิ่งขึน้ รวมทงั้ ช่วยพฒั นาด้านการคิด วิเคราะห์ การวางแผนอย่างเป็นระบบ และท�ำให้เกิดการเรียนรู้ในการ จดั การกบั ปัญหาได้เป็นอยา่ งดี8
24 ผ้ใู หญ่ (อายุ 18 – 59 ป)ี ประชากรวยั ผ้ใู หญ่ เป็นกลมุ่ ประชากรท่ีมีสดั สว่ นมาก ท่ีสุดเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงวัยอื่นๆ ดังนัน้ สถานการณ์ การเปล่ียนแปลงของพฤติกรรมของประชากรกลุ่มนี ้ จึงมีอิทธิพลส�ำคญั ต่อการก�ำหนดสถานการณ์ในภาพรวม ทงั้ นีผ้ ลการสำ� รวจระหวา่ งปี 2555-2558 ในภาพรวมพบวา่ การมีกิจกรรมทางกายท่ีเพียงพอd ของกลุ่มผู้ใหญ่จะอยู่ ในระดบั ท่ีสงู กว่าร้อยละ 70 มาโดยตลอด โดยในปี 2561 เป็นปีท่ีประชากรกลมุ่ นีม้ ีกิจกรรมทางกายเพียงพอสงู ท่ีสดุ (76.9) ขณะท่ีในช่วง 8 ปีที่ผ่านมา พบว่า อตั ราเพิ่มเฉลี่ย อยทู่ ่ีร้อยละ 0.78 ตอ่ ปี เม่ือพิจารณาถึงแบบแผนการมีกิจกรรมทางกาย ของประชากรวัยผู้ใหญ่ พบว่า มีการแกว่งตัวเป็นระยะ ท่ีระดับสูงกว่าร้ อยละ 70 โดยในช่วงปี 2559-2561 เป็นช่วงที่มีการเพ่ิมขึน้ อย่างต่อเน่ืองสูงท่ีสุดในรอบ 8 ปี ขณะทเ่ี มอ่ื วเิ คราะห์เปรียบเทยี บระหวา่ งเพศ พบวา่ เพศชาย มีกิจกรรมทางกายท่ีเพียงพอมากกว่าเพศหญิงในทกุ ๆ ปี ของการสำ� รวจ โดยมคี วามแตกตา่ งเฉลย่ี ร้อยละ 5.6 อยา่ งไร ก็ดีหากเปรียบเทียบตามช่วงเวลา พบว่าความแตกต่าง ดงั กล่าวถกู ลดให้แคบลง คือ จากร้อยละ 9.5 ในปี 2555 ลดเหลือร้อยละ 3.6 ในปี 2562 d องค์การอนามยั โลก แนะน�ำวา่ ประชากรวยั ผ้ใู หญ่ควรมีกิจกรรมทางกายระดบั ปานกลางอย่างน้อย 150 นาทีตอ่ สปั ดาห์ หรือกิจกรรมทางกาย ระดบั หนกั อยา่ งน้อย 75 นาทีตอ่ สปั ดาห์ โดยสามารถท�ำกิจกรรมทางกายระดบั ปานกลางและระดบั หนกั ผสมผสานกนั ได้
Physical Activity in Thailand after COVID-19 Pandemic: 25 อนง่ึ ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของเชอื ้ ไวรสั โควดิ -19 สง่ ผลกระทบตอ่ การลดลงของการมกี จิ กรรมทางกาย ทเี่ พยี งพอของประชากรวยั ผ้ใู หญ่ เชน่ เดยี วกบั ประชากรวยั อน่ื ๆ โดยในภาพรวมพบวา่ ลดลงมาอยทู่ ร่ี ้อยละ 54.7 หรือลดลงร้อยละ 19.9 เม่ือเปรียบเทียบกบั ชว่ งปี 2562 ชาย หญิง รวม 73.4 76.7 72.8 76.5 73.6 76.8 79.8 76.4 68.3 72.3 70.0 74.4 71.0 74.0 76.9 74.6 63.9 68.4 68.1 73.0 69.3 71.4 74.1 72.6 57.6 54.7 51.4 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 รูปท่ี 6 รอ้ ยละการมกี จิ กรรมทางกายท่เี พียงพอของประชากรวยั ผใู้ หญ่ ระหว่างปี 2555-2563 หมายเหต:ุ ข้อมลู ในปี 2563 เป็นข้อมลู จากการสำ� รวจในชว่ งสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรัสโควิด-19 ระหวา่ งเดือนมีนาคม – พฤษภาคม พ.ศ. 2563 ที่มา: โครงการพฒั นาระบบเฝา้ ระวงั ตดิ ตามพฤตกิ รรมด้านกิจกรรมทางกายของประชากรไทยปี 2555-2563 ศนู ย์พฒั นาองค์ความรู้ด้านกิจกรรมทางกายประเทศไทย (TPAK) สถาบนั วจิ ยั ประชากรและสงั คม มหาวทิ ยาลยั มหิดล
26 ขณะท่ีเม่ือพิจารณาถึงระยะเวลาเฉล่ียของการมีพฤติกรรมเนือยน่ิงของประชากรวัยผูใ้ หญ่ ระหว่างปี 2555-2562 ในภาพรวม พบวา่ มรี ะยะเวลาเฉลย่ี สงู กวา่ คา่ เปา้ หมายท่ี 13 ช่วั โมงในทกุ ปี โดยในปี 2558 และ 2561 เป็นปีท่ปี ระชากรกลมุ่ นีม้ รี ะยะเวลาของพฤตกิ รรมเนือยน่งิ ตอ่ วนั สงู ท่สี ดุ (14 ช่วั โมง 14 นาท)ี ขณะท่เี ม่อื พจิ ารณา เฉพาะชว่ งปี 2563 ซง่ึ มีสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชือ้ ไวรสั โควดิ -19 พบวา่ สถานการณย์ ่ิงมีความนา่ กงั วล มากย่ิงขนึ้ โดยระยะเวลาเฉล่ยี ของการมีพฤติกรรมเนือยน่ิงในภาพรวมเพ่ิมสงู ขนึ้ เป็น 14 ช่วั โมง 40 นาทีตอ่ วนั เม่ือพิจารณาถงึ แบบแผนของการมีพฤติกรรมเนือยน่ิง พบวา่ มีการแกวง่ ตวั ขนึ้ ลงอยใู่ นช่วงระหวา่ ง 13-14 ช่วั โมงทงั้ ในภาพรวมและจำ� แนกตามเพศ สถานการณด์ งั กลา่ วเป็นไปในลกั ษณะเดียวกนั กบั แบบแผนของการมี กิจกรรมทางกายของประชากรกลมุ่ นี้ อนั แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความไมค่ งท่ีและไมแ่ นน่ อนเชิงพฤตกิ รรมท่ีผนั ผวนตาม ปัจจยั ท่ีเขา้ มากระทบตอ่ พฤตกิ รรม ชาย หญิง รวม 13.44 13.44 14.16 14.02 13.34 14.18 13.54 14.52 13.25 13.37 14.14 13.51 13.32 14.14 13.41 14.40 13.19 13.18 13.57 13.40 13.27 14.09 13.38 14.20 13.09 12.58 12.52 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 รูปท่ี 7 ระยะเวลาเฉล่ยี การมีพฤตกิ รรมเนอื ยนิ่งของประชากรวยั ผใู้ หญ่ (ชัว่ โมง:นาที) หมายเหต:ุ ขอ้ มลู ในปี 2563 เป็นขอ้ มลู จากการสำ� รวจในชว่ งสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชือ้ ไวรสั โควิด-19 ระหวา่ งเดือนมีนาคม – พฤษภาคม พ.ศ. 2563 ท่ีมา: โครงการพฒั นาระบบเฝา้ ระวงั ตดิ ตามพฤตกิ รรมดา้ นกิจกรรมทางกายของประชากรไทยปี 2555-2563 ศนู ยพ์ ฒั นาองคค์ วามรูด้ า้ นกิจกรรมทางกายประเทศไทย (TPAK) สถาบนั วิจยั ประชากรและสงั คม มหาวทิ ยาลยั มหิดล
Physical Activity in Thailand after COVID-19 Pandemic: 27 ประโยชนข์ องกิจกรรมทางกาย ส�ำหรับวัยผใู้ หญ่ สำ� หรบั กลมุ่ ผใู้ หญ่ การมีกิจกรรมทางกายท่ีเพียงพอจะช่วยเพ่ิม ประสิทธิภาพในการทำ� งาน เพ่ิมประสิทธิภาพในกระบวนการคิด วิเคราะห์ ความเขา้ ใจและความจำ� ดีขนึ้ รวมถึงช่วยเพ่ิมการหล่งั ของ สารส่ือประสาท ช่วยใหร้ ูส้ ึกผ่อนคลาย อารมณด์ ี ลดความเครียด ความวิตกกังวล และยงั ช่วยใหก้ ารนอนหลบั ไดด้ ีขึน้ โดยลดการต่ืน กลางดกึ บอ่ ย ๆ 8, 9 ขณะท่ีการมีกิจกรรมทางกายแบบแอโรบิกรว่ มกบั การออกกำ� ลงั กายแบบมีแรงตา้ น จะช่วยใหค้ นวยั ทำ� งานมีสมรรถภาพรา่ งกายท่ีดี กลา้ มเนือ้ และกระดกู แขง็ แรง ขอ้ ตอ่ สว่ นตา่ ง ๆ ทำ� งานไดด้ ี ลดปัญหา การบาดเจ็บกลา้ มเนือ้ และกระดกู ท่ีเกิดจากการทำ� งานหรอื ท่ีเรยี กวา่ ออฟฟิ ศซินโดรม9 และช่วยลดความเส่ียงต่อการเกิดโรคในกลุ่ม NCDs เชน่ โรคเบาหวานชนิดท่ี 2 โรคหวั ใจและหลอดเลอื ด โรคมะเรง็ บางชนดิ 8,10 นอกจากนกี้ ารมกี จิ กรรมทางกายอยา่ งสมำ่� เสมอจะชว่ ยให้ ระบบขับถ่ายทำ� งานไดด้ ีขึน้ จึงเป็นผลดีในการลดโอกาสเส่ียงต่อ การเกิดโรคมะเรง็ ลำ� ไสไ้ ดใ้ นอนาคต ย่ิงไปกว่านนั้ กิจกรรมทางกาย ยังสามารถช่วยควบคุมระดับนำ้� ตาล ลดไขมันและไตรกลีเซอไรด์ ในหลอดเลือด ป้องกันภาวะนำ้� หนักตัวเกินมาตรฐานซ่ึงเป็นท่ีมา ของโรคอว้ นได ้
28 ผสู้ ูงอายุ (อายุ 60 ปีข้นึ ไป) ผลการส�ำรวจการมีกิจกรรมทางกายของประชากร วัยสูงอายุ ระหว่างปี 2555 – 2562 พบว่า ในปี 2562 การมีกิจกรรมทางกายของผ้สู งู อายทุ ่ีเพียงพอในภาพรวม สูงถึงร้ อยละ 73.4 ซึ่งถือเป็นปีแรกตัง้ แต่เริ่มการส�ำรวจ ในปี 2555 ที่ระดบั การมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอของ ผ้สู งู อายสุ งู เกินกว่าร้อยละ 70 ทงั้ นีเ้ ม่ือพิจารณาแนวโน้ม การเปล่ียนแปลงในช่วง 8 ปีที่ผ่านมา พบวา่ แนวโน้มการ มีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอของผู้สูงอายุ จะมีการเพิ่ม สูงขึน้ ร้ อยละ 14.8 หรือคิดเป็นอัตราเพ่ิมโดยเฉลี่ยที่ ร้อยละ 1.9 ต่อปี โดยแนวโน้มการเปล่ียนแปลงดงั กล่าว เป็ นไปในลักษณะเดียวกันทัง้ เพศหญิงและเพศชาย ที่น่าสนใจคือ ระดับความแตกต่างของการมีกิจกรรม ทางกายท่ีเพียงพอระหว่างเพศหญิงและเพศชายมีการ ลดน้อยลงตามช่วงเวลา โดยในปี 2555 มีความแตกต่าง อยทู่ ่ีร้อยละ 7.7 และลดลงเหลือร้อยละ 3.3 ในปี 2562 เม่ือวิเคราะห์สถานการณ์ในปี 2563 พบว่า ระดับ การมีกิจกรรมทางกายท่ีเพียงพอของผ้สู งู อายุ ลดลงต่�ำสดุ ในรอบ 9 ปี เนื่องจากผลกระทบของสถานการณ์การแพร่ ระบาดของเชือ้ ไวรัสโควิด-19 โดยการมีกิจกรรมทางกาย ที่เพียงพอของผู้สูงอายุในภาพรวมลดลงจากปี 2562 ถึงร้ อยละ 20.5 ซึ่งถือว่าได้ รับผลกระทบมากที่สุด เม่ือเปรียบเทียบกบั ชว่ งวยั อื่น ๆ (วยั เดก็ และเยาวชนลดลง ร้อยละ 7.1 ขณะที่วยั ผ้ใู หญ่ลดลงร้อยละ 19.9)
Physical Activity in Thailand after COVID-19 Pandemic: 29 ทงั้ นีห้ ากพิจารณาแบบแผนของการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอของผ้สู งู อายุ ในช่วงปี 2555-2562 พบวา่ มีการยกตวั ในระดบั สงู ในบางปี จากนนั้ คอ่ ย ๆ เพิ่มขนึ ้ อยา่ งเป็นเส้นตรง และมีการยกตวั สงู อีกครัง้ ซงึ่ แบบแผน ดังกล่าวนี ้ โดยทั่วไปพบว่า เป็นผลจากการได้รับนโยบายหรือกิจกรรมที่ไปส่งเสริมพฤติกรรมโดยตรงและ ทว่ั ถงึ สอดคล้องกบั ทศิ ทางในการพฒั นาประเทศเพอ่ื รองรับการเป็นสงั คมสงู วยั และเพม่ิ คณุ ภาพชวี ติ ของผ้สู งู อายุ ที่สง่ ผลให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องตา่ งระดมสรรพก�ำลงั ในการด�ำเนินงานในด้านดงั กลา่ ว รวมถึงเรื่องการสง่ เสริม กิจกรรมทางกายด้วย อยา่ งไรก็ดีผลกระทบของสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรัส กลบั ทำ� ให้ระดบั การมี กิจกรรมทางกายที่เพียงพอของประชากรกลมุ่ นี ้ดง่ิ ลงไปอยใู่ กล้เคียงกบั ที่เคยเป็นในชว่ ง 9 ปีก่อนอีกครัง้ ชาย หญงิ รวม 64.8 69.7 71.7 73.7 69.4 73.3 75.2 60.5 67.7 68.5 69.4 68.8 69.7 73.4 57.8 66.3 66.4 66.6 68.4 66.8 71.9 62.4 54.4 58.6 52.9 54.7 50.9 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 รูปท่ี 8 ร้อยละการมกี ิจกรรมทางกายท่เี พียงพอของประชากรวยั สงู อายุ ระหวา่ งปี 2555-2563 หมายเหต:ุ ข้อมลู ในปี 2563 เป็นข้อมลู จากการส�ำรวจในชว่ งสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรัสโควิด-19 ระหวา่ งเดือนมีนาคม – พฤษภาคม พ.ศ. 2563 ที่มา: โครงการพฒั นาระบบเฝา้ ระวงั ติดตามพฤตกิ รรมด้านกิจกรรมทางกายของประชากรไทยปี 2555-2563 ศนู ย์พฒั นาองค์ความรู้ด้านกิจกรรมทางกายประเทศไทย (TPAK) สถาบนั วิจยั ประชากรและสงั คม มหาวิทยาลยั มหิดล
30 ถัดมาเมื่อพิจารณาระยะเวลาของการมีพฤติกรรมเนือยนิ่งเฉล่ียต่อวัน พบว่า กลุ่มประชากรผู้สูงอายุ จะมีระยะเวลาของพฤติกรรมเนือยนิ่งราว 14 ชั่วโมงต่อวันมาโดยตลอด แม้จะมีการแกว่งตัวสลับขึน้ ลง อยบู่ ้างแตก่ ็จะไมล่ ดลงไปต�่ำถงึ 12 ชว่ั โมง โดยมีระยะเวลาต�่ำสดุ อยทู่ ่ี 13 ชว่ั โมง 37 นาทีตอ่ วนั ในปี 2561 และ สงู สดุ ที่ 14 ชว่ั โมง 25 นาทีตอ่ วนั ในปี 2562 ซงึ่ ในช่วงดงั กลา่ วนบั เป็นปีที่มีการเพ่ิมขนึ ้ ของระยะเวลาในการมี พฤติกรรมเนือยน่ิงในผ้สู งู อายทุ ี่มากท่ีสดุ (เพิ่มขึน้ 48 นาที) ทงั้ นีเ้ มื่อพิจารณาเปรียบเทียบระหว่างเพศ พบว่า สว่ นใหญ่เพศหญิงมีระยะเวลาเฉลยี่ ของพฤตกิ รรมเนือยน่งิ มากกวา่ เพศชาย มีเพยี งชว่ งปี 2557-2558 ที่น้อยกวา่ เพศชายเลก็ น้อย (น้อยกวา่ เพศชาย 12 นาที) ทงั้ นีเ้ม่ือพิจารณาถึงแบบแผนของระยะเวลาของการมีพฤติกรรมเนือยนิ่งในกลมุ่ ผ้สู งู อายุ พบว่า ค่อนข้าง มีความคงที่ในระดบั สงู โดยจะมีการลดระดบั ลงบ้างในทกุ ๆ ชว่ ง 1-2 ปี แตเ่ ป็นการลดระดบั ลงท่ีไมม่ ากนกั ชาย หญิง รวม 14.22 14.23 14.13 14.29 14.08 13.48 14.29 14.17 14.12 14.10 13.56 14.07 14.24 13.52 13.37 14.25 14.13 14.06 14.07 13.50 14.01 14.21 13.41 13.33 14.17 14.11 14.03 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 รูปท่ี 9 ระยะเวลาเฉล่ยี การมีพฤติกรรมเนือยนิ่งของประชากรวยั สงู อายุ (ชั่วโมง:นาที) หมายเหต:ุ ข้อมลู ในปี 2563 เป็นข้อมลู จากการสำ� รวจในชว่ งสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรัสโควดิ -19 ระหวา่ งเดือนมีนาคม – พฤษภาคม พ.ศ. 2563 ที่มา: โครงการพฒั นาระบบเฝา้ ระวงั ตดิ ตามพฤตกิ รรมด้านกิจกรรมทางกายของประชากรไทยปี 2555-2563 ศนู ย์พฒั นาองค์ความรู้ด้านกิจกรรมทางกายประเทศไทย (TPAK) สถาบนั วิจยั ประชากรและสงั คม มหาวทิ ยาลยั มหิดล
Physical Activity in Thailand after COVID-19 Pandemic: 31 ประโยชนข์ องกิจกรรมทางกาย ส�ำหรับวัยสูงอายุ ส�ำหรับกลุ่มผู้สูงอายุ การมีกิจกรรมทางกายอย่าง สม่�ำเสมอจะช่วยยกระดบั การมีคณุ ภาพชีวิตที่ดี โดยการมี กิจกรรมทางกายในระดบั ปานกลางในผ้สู งู อายเุ พื่อให้ระบบ การท�ำงานของปอด หวั ใจและหลอดเลือดท�ำงานได้ดีขนึ ้ 11 สง่ ผลตอ่ การเคลอ่ื นไหวร่างกาย และการทำ� กจิ วตั รประจำ� วนั มีความคล่องแคล่ว ลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดกล้ามเนือ้ อ่อนแรง เหน็บชาปลายมือ ปลายเท้า ส่งเสริมสมรรถภาพ ทางกายปอ้ งกนั ภาวะทพุ พลภาพ เพ่ิมความสามารถในการ ทรงตวั และป้องกนั การหกล้ม ที่อาจน�ำไปส่กู ารบาดเจ็บที่ รุนแรง หรือภาวะอมั พฤกษ์อมั พาต12 นอกจากนี ้ กิจกรรมทางกายแบบแอโรบิกในผ้สู งู อายุ ท�ำให้ระบบไหลเวียนเลือดดีขึน้ เกิดการหลงั่ ของสารส่ือ ประสาทมากขนึ ้ ชว่ ยให้ความจำ� ดขี นึ ้ ปอ้ งกนั โรคสมองเสอื่ มได้ และด้านสุขภาพจิตยังช่วยให้ ผู้สูงอายุรู้สึกผ่อนคลาย ลดความกงั วลใจและความรู้สกึ หดหใู่ จ และนอนหลบั ได้ดขี นึ ้ รวมทงั ้ เพ่ิมโอกาสของการมีชีวิตที่ยืนยาวอีกด้วย13, 14, 8
32
Physical Activity in Thailand after COVID-19 Pandemic: 33 ฟ้ นื กจิ กรรมทางกาย ในประเทศไทย หลังวิกฤตโควดิ -19
34 5 ปมเชือก ที่ฉดุ ร้งั การส่งเสริมกจิ กรรมทางกายในคนไทย ส�ำหรับประเทศไทยแล้ว หากพิจารณาถึงผลของสถานการณ์การ แพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ท่ีมีต่อกิจกรรมทางกาย อาจจ�ำแนกออกได้ เป็น 2 บทบาทคือ 1) “ตัวการ” ท่ีเป็นต้นเหตทุ ี่ท�ำให้กิจกรรมทางกายของ คนไทยตกมาอยู่ในระดับท่ีต�่ำที่สุดเป็นประวัติศาสตร์ในรอบ 9 ปี และ 2) “ผู้เปิ ดหน้าต่างโอกาส” ท่ีเข้ามาชีใ้ ห้เห็นถึงจุดบอด ช่องว่าง และ ประเด็นเร่ งด่วนของการด�ำเนินงานด้ านการส่งเสริ มกิ จกรรมทางกาย ในประเทศไทยให้มีความชดั เจนมากยิ่งขนึ ้
Physical Activity in Thailand after COVID-19 Pandemic: 35 บทบาทท่ี 1: “ตัวการ” ผลจากมาตรการ บทบาทท่ี 2: “ผู้เปิ ดหน้าต่างโอกาส” ป้องกันการแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรัสโควิด-19 และ จากผลกระทบข้างต้น น�ำมาซง่ึ การระดมสรรพก�ำลงั การประกาศพระราชก�ำหนดการบริหารราชการใน และความคิดของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องทัง้ ในส่วน สถานการณ์ฉุกเฉิน ตัง้ แต่วันที่ 26 มีนาคม 2563 ของภาคนโยบาย วิชาการ และประชาสงั คม ในการ เป็นต้นมา ส่งผลให้สถานที่สาธารณะต่าง ๆ อาทิ ร่วมออกแบบมาตรการเชิงนโยบาย และแผนปฏิบตั ิ สวนสาธารณะ สนามกีฬา ต้องปิดให้บริการชวั่ คราว การเพื่อฟื น้ ระดบั การมีกิจกรรมทางกายของคนไทย สถานทท่ี ำ� งานมนี โยบายให้พนกั งานท�ำงานจากทบี่ ้าน โดยหวังให้ สามารถเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายของ สถานศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษาก็มีการปรับวิธีการเรียน ประชากรได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิผล ทงั้ นีเ้น่ืองจากกิจกรรม การสอนให้นกั ศกึ ษาเรียนทางออนไลน์ ขณะทโ่ี รงเรียน ทางกายถือเป็นตัวกลางพืน้ ฐาน (Fundamental ทวั่ ประเทศก็มีประกาศให้เลอ่ื นการเปิดภาคเรียนออก Means)16 ท่ีจะช่วยประสานและเช่ือมโยงให้เกิด ไปเป็นชว่ งเดอื นกรกฎาคม ทงั้ หมดนีส้ ง่ ผลตอ่ การปรับ สุขภาวะของปัจเจกบุคคลทัง้ ทางด้านร่างกายและ เปล่ียนวิถีชีวิต รวมถึงการออกไปใช้ชีวิตนอกบ้าน จิตใจ ดงั นนั้ ในภาวะอบุ ตั ิการณ์การแพร่ระบาดของ การท�ำกิจกรรมการออกก�ำลงั กายและเล่นกีฬาของ โรคโควิด-19 กิจกรรมทางกายจึงเป็นปัจจัยเสริม ประชากรโดยตรง สง่ ผลให้ระดบั การมกี จิ กรรมทางกาย ทางสขุ ภาพท่ีมีความส�ำคญั อยา่ งย่ิง ที่เพียงพอของคนไทยทกุ ช่วงวยั ลดจากร้อยละ 74.6 ในปี 2562 เหลือเพียงร้อยละ 55.51, 15 ในชว่ งระหวา่ ง จะเห็นได้ว่า วิกฤตในครัง้ นีน้ บั เป็นความท้าทาย สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ทัง้ นี ้ ของการท�ำงานด้ านการส่งเสริ มกิจกรรมทางกาย นบั วา่ เป็นระดบั การมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอของ ให้มากย่ิงขึน้ กว่าในอดีต การทบทวนถึงแนวทาง ประเทศไทยท่ีต่�ำท่ีสดุ ในชว่ ง 9 ปี มาตรการ และนโยบายต่าง ๆ ที่ได้มีการด�ำเนินการ ส่งเสริมไปในอดีต ทัง้ ในแง่ผลผลิต ผลลัพธ์ และ ผลกระทบจากการด�ำเนินงาน ก่อให้เกิดการระดม และรวบรวมองค์ความรู้ในประเด็นต่าง ๆ เพื่อน�ำมา ใช้ส�ำหรับการรับมือ ตลอดจนฟื ้นฟูให้ระดับการมี กิจกรรมทางกายของคนไทยกลบั เข้าส่ภู าวะปกติได้ อยา่ งเดิม และให้สอดคล้องกบั วิถีชีวิตที่เปล่ียนแปลง ไปจากเดิมหลังจากเกิดวิกฤติโควิด-19 จึงนับเป็น โอกาสส�ำคัญที่โควิด-19 ได้ ท�ำหน้ าท่ีเป็ นผู้เปิ ด หน้าตา่ งและมอบโจทย์ท่ีสำ� คญั นีไ้ ว้
36 ในฐานะศนู ยพ์ ฒั นาองคค์ วามรู้ด้านกจิ กรรมทางกาย และพฤติกรรมเนือยน่ิงของประชากรไทยตัง้ แต่ ประเทศไทย สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ปี 2555-2563 เป็นหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ (Evidence มหาวิทยาลัยมหิดล ท่ีมีพันธกิจหลักในการพัฒนา Based) ในการวิเคราะห์และคาดการณ์ไปข้างหน้า องค์ความรู้เพื่อสนบั สนนุ การสง่ เสริมกิจกรรมทางกาย ตามเป้าหมายของการด�ำเนินงานท่ีประเทศไทยร่วม ลดพฤติกรรมเนือยน่ิง ตลอดจนพฤติกรรมสขุ ภาพมิติ ก�ำหนดไว้ในแผนปฏิบัติการต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับ อื่น ๆ เพื่อน�ำไปสกู่ ารบรรลเุ ปา้ หมายทงั้ ในระดบั ชาติ เร่ืองกิจกรรมทางกายทงั้ ในระดบั ชาตแิ ละระดบั สากล และระดบั สากล จึงได้ท�ำการวิเคราะห์ถึงแบบแผน โดยมีโจทย์ท่ีส�ำคญั คือ ภายใต้การเปล่ียนแปลงของ และแนวโน้มของสถานการณ์ รวมถึงจดั ล�ำดบั ความ สถานการณ์ทางด้านเศรษฐกิจ สงั คม และวถิ ีชีวติ ของ ส�ำคญั ประเด็นเชิงนโยบายที่มีความเร่งด่วนต่อการ ประชากรที่เป็นผลจากการแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรัส ด�ำเนินงานเพื่อฟื น้ ระดบั การมีกิจกรรมทางกายของ โควิด-19 นี ้อะไรคือประเด็นส�ำคัญเร่งด่วนท่ีควร คนไทยหลังวิกฤตโควิด-19 ให้กลับมาอยู่ในระดับ ได้รับการผลักดันให้เกิดการด�ำเนินงานภายใต้ ปกติและสามารถก้าวส่กู ารบรรลเุ ป้าหมายในระดบั ทรัพยากรด้านงบประมาณท่ีจำ� กัด และสามารถ ชาตแิ ละระดบั สากลในอนาคตได้ น�ำไปส่ ูประสิทธิผลในระดับสูงต่ อการฟื ้ นระดับ การมีกิจกรรมทางกายของคนไทยได้ ข้อค้นพบ ทงั้ นี ้การวิเคราะห์ทางเลือกเชิงนโยบายนี ้อาศยั จากการวิเคราะห์นี ้ ถูกไล่เรียงน�ำเสนอตามความ ข้ อมูลเก่ียวกับการด�ำเนินงานทางนโยบายและ สอดคล้องและความส�ำคญั ของประเด็น ซงึ่ สว่ นใหญ่ กิจกรรมการสง่ เสริมสขุ ภาพในอดีตถึงปัจจบุ นั เทียบ เป็ นปมประเด็นปัญหาท่ีมีอยู่เดิมในอดีตแต่ยัง เคียงกบั แผนปฏิบตั ิการสง่ เสริมกิจกรรมทางกายโลก ไม่ได้ รับการคลายปมให้ คลี่คลาย จึงกลายเป็ น และแผนการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย พ.ศ. 2561- ปมเชือกที่ฉุดรัง้ การด�ำเนินงานด้านการส่งเสริม 2573 ของประเทศไทย โดยใช้ข้อมูลเชิงสถิติจาก กิจกรรมทางกายในประเทศไทยไม่สามารถพ่งุ ทยาน การติดตามส�ำรวจพฤติกรรมด้ านกิจกรรมทางกาย ไปไกลอยา่ งท่ีควรจะเป็น
Physical Activity in Thailand after COVID-19 Pandemic: 37 ปมท่ี 1 การรณรงค์เพื่อสือ่ สารและสร้างการ รบั รู้เกีย่ วกบั ความหมายและประโยชนข์ อง กิจกรรมทางกายในหลากหลายมิติ ประเดน็ เรง่ ดว่ นทถ่ี อื เปน็ แนวปฏบิ ตั ทิ เี่ ปน็ เลศิ (Best Practice) และมคี วามคมุ้ คา่ มากท่ีสุดตามข้อแนะน�ำของแผนปฏิบัติการส่งเสริมกิจกรรมทางกายโลก คือ การเร่งรณรงค์ส่ือสารและสร้างการรับรู้เก่ียวกับความหมายท่ีถูกต้องของ กจิ กรรมทางกาย ประเภทของกจิ กรรมทางกายทส่ี ามารถปฏบิ ตั ไิ ดใ้ นชวี ติ ประจำ� วนั ข้อแนะน�ำในการมีกิจกรรมทางกายท่ีเพียงพอและเหมาะสมตามช่วงวัย รวมไป ถึงประโยชนข์ องกิจกรรมทางกายท้งั ในมติ ทิ างสุขภาพกาย จติ ใจ และประโยชน์ ข้างเคียงท่ีจะเกิดขึ้นเม่ือมีกิจกรรมทางกายทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน และสังคม ทั้งน้ีเพ่ือให้เกิดความตระหนักรู้ และน�ำไปสู่ความคิดท่ีจะเปล่ียนแปลง พฤติกรรมต่อไป ในการรณรงค์ส่ือสารควรเลือกใช้แนวทางการส่ือสารท่ีสามารถเข้าถึงประชาชน ทุกกลุ่มทุกวัย และระดมความร่วมมือจากภาคีทุกภาคส่วนในการร่วมรณรงค์ เพ่ือให้เกิดเป็นกระแสในระดับประเทศ อันจะน�ำไปสู่ความเข้าใจท่ีถูกต้องและ ครอบคลุมต่อการมีวิถีชีวิตท่ีกระฉับกระเฉง (Active Lifestyle) ท่ีไม่ใช่เพียง เร่ืองของ “การออกกำ� ลงั กาย” เทา่ น้นั
38 ปมเชือกปมแรกท่ีเป็นตวั ฉดุ รงั้ การมีกิจกรรมทางกาย ขอ้ มลู จากการตดิ ตามสำ� รวจการรบั รูข้ องคนไทย1 ท่ีเพียงพอของคนไทยมาอย่างยาวนานคงหนีไม่พน้ ในช่วงหลายปี ท่ีผ่านมายืนยันให้เห็นว่า ตั้งแต่ปี ปมปัญหาดา้ นการรบั รูเ้ ก่ียวกับกิจกรรมทางกายใน 2555 เป็นตน้ มา ยงั ไม่มีในปีใดเลยท่ีรอ้ ยละการรบั รู้ กล่มุ ประชากรไทยท่ียงั คงมีประเด็นคลมุ เครืออยู่ใน ดา้ นกิจกรรมทางกายของคนไทยมีสัดส่วนเกินกว่า หลายแง่มุม เร่ิมตั้งแต่นิยามความหมาย ประเภท รอ้ ยละ 40 ในสว่ นนหี้ ากพจิ ารณาเปรยี บเทยี บกบั รอ้ ยละ ของกิจกรรมทางกาย ระดบั ในการปฏิบตั ิอย่างเพียง การมีกิจกรรมทางกายท่ีเพียงพอ โดยใชส้ ถานการณ์ พอและมีสขุ ภาพท่ีดี หรือในเร่ืองท่ีมีผลต่อแรงจูงใจ ในปี 2562 เป็นตัวอย่าง จะเห็นไดว้ ่าในปีดังกล่าว ในการปฏบิ ตั อิ ยา่ งเรอ่ื งประโยชนข์ องกจิ กรรมทางกาย อตั ราการรบั รูอ้ ยู่ท่ีประมาณรอ้ ยละ 32 ขณะท่ีอตั รา ทงั้ ในทางตรงและทางออ้ ม การมีกิจกรรมทางกายท่ีเพียงพออยู่ท่ีประมาณ รอ้ ยละ 75 น่ันหมายความว่า มีกลุ่มตัวอย่างอีก รอ้ ยละ 43 ท่ีมีกิจกรรมทางกายอย่างเพียงพอโดยท่ี ไม่จำ� เป็นต้องมีการรับรูห้ รือได้รับความรูท้ ่ีถูกต้อง เก่ียวกบั กิจกรรมทางกาย 38.9 31.2 32.5 31.9 27.8 27.3 2555 2556 2558 2560 2561 2562 รูปท่ี 10 รอ้ ยละการรับรกู้ จิ กรรมทางกายของคนไทยระหวา่ งปี 2555-2562 ท่ีมา: โครงการพฒั นาระบบเฝา้ ระวงั ตดิ ตามพฤตกิ รรมดา้ นกิจกรรมทางกายของประชากรไทยปี 2555-2562 ศนู ยพ์ ฒั นาองคค์ วามรูด้ า้ นกิจกรรมทางกายประเทศไทย (TPAK) สถาบนั วิจยั ประชากรและสงั คม มหาวิทยาลยั มหิดล
Physical Activity in Thailand after COVID-19 Pandemic: 39 ถึงตรงนี้บางท่านอาจมีความคิดเห็นหรือ ในรอบ 9 ปี สาเหตหุ ลกั แนน่ อนวา่ เกดิ อปุ สรรคจากการท่ี ข้อโตแ้ ย้งในใจว่า แม้ยังไม่ทราบความหมายและ ไมส่ ามารถเดนิ ทางไปยงั สถานทต่ี า่ ง ๆ ไดส้ ะดวกเหมอื น หรือมีความรู้ในเร่ืองกิจกรรมทางกายท่ีครบถ้วน ในช่วงปกติ รวมถึงการปิดใหบ้ รกิ ารช่วั คราวของสวน รอ้ ยละการมีกิจกรรมทางกายท่ีเพียงพอก็ยังอยู่ใน สาธารณะและสถานออกกำ� ลงั กาย อยา่ งไรกต็ ามหาก ระดับท่ีสูงได้ ดังนั้นการสรา้ งการรบั รูท้ ่ีถูกตอ้ งและ พจิ ารณาลงไปในรายละเอยี ดเชงิ ลกึ จะพบวา่ อปุ สรรค ครบถว้ นจึงอาจไม่สำ� คญั เสมอไป เพราะการสง่ เสรมิ ทส่ี ำ� คญั อกี สว่ นหนง่ึ คอื การไมท่ ราบถงึ ทางเลอื กทจ่ี ะใช้ สุขภาพในบางเร่ือง “มาตรการสำ� คัญกว่าความรู”้ สำ� หรบั การมกี จิ กรรมทางกายเมอ่ื ตอ้ งอาศยั อยทู่ บ่ี า้ นได้ ตวั อยา่ งท่ีเหน็ ไดช้ ดั ไดแ้ ก่ การสวมใสห่ นา้ กากอนามยั การไม่ทราบถึงประโยชน์ และความสำ� คญั ของการมี ในช่วงการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 หรอื การหา้ ม กิจกรรมทางกาย ซง่ึ มคี วามสำ� คญั ตอ่ รา่ งกายอยา่ งย่งิ จำ� หนา่ ยเครอ่ื งด่ืมท่ีมีสว่ นผสมของแอลกอฮอลใ์ นชว่ ง ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ ตอ่ เป็นตน้ ทย่ี งั ไมม่ กี ารประกาศผอ่ นปรน จะเหน็ ไดว้ า่ ผลของการ ดว้ ยเหตนุ ี้ เพ่ือท่ีจะแกป้ มเชือกปมแรกนี้ ประเดน็ มีมาตรการเหลา่ นีม้ ีผลโดยตรงตอ่ พฤติกรรมท่ีเกิดขนึ้ เรง่ ดว่ นท่ถี ือเป็นแนวปฏบิ ตั ทิ ่เี ป็นเลศิ (Best Practice) หรอื ปฏิบตั ติ ามไปโดยปรยิ าย และมีความคุ้มค่ามากท่ีสุดตามแผนปฏิบัติการ ทว่า ส�ำหรับประเด็นด้านกิจกรรมทางกาย สง่ เสรมิ กิจกรรมทางกายโลกคอื การเรง่ รณรงคส์ อ่ื สาร มาตรการทเ่ี กดิ ขนึ้ ในทกุ ประเทศท่วั โลกจะเป็นไปในมติ ิ และสรา้ งการรบั รูเ้ ก่ียวกับความหมายท่ีถูกตอ้ งของ ของการส่งเสรมิ และจงู ใจ ไม่ใช่การบงั คบั ใหเ้ กิดการ กิจกรรมทางกาย ประเภทของกิจกรรมทางกาย ปฏิบตั ิ ดว้ ยเหตนุ ีก้ ารปรบั เปล่ียนพฤติกรรมจงึ จำ� เป็น ท่ีสามารถปฏิบัติไดใ้ นชีวิตประจำ� วัน ขอ้ แนะนำ� ใน ตอ้ งมีกระบวนการและขนั้ ตอนท่ีเหมาะสม โดยหาก การมีกิจกรรมทางกายท่ีเพียงพอและเหมาะสมตาม แนวคิดการปรบั เปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพ (Health ช่วงวัย รวมไปถึงประโยชน์ของกิจกรรมทางกาย Behavior Change)17 หรือแมก้ ระท่งั ทฤษฎีขนั้ ตอน ทงั้ ในมติ ทิ างสขุ ภาพกาย จติ ใจ และประโยชนข์ า้ งเคยี ง การเปล่ียนแปลงพฤติกรรม18 เป็นหลกั ในการอธิบาย ท่ีจะเกิดขึน้ เม่ือมีกิจกรรมทางกายทงั้ ในระดบั บคุ คล ความกจ็ ะเหน็ ไดว้ า่ ความรู้ หรอื ขอ้ มลู เพ่อื การรบั รูเ้ ป็น ครอบครวั ชุมชน และสงั คม ทัง้ นีเ้ พ่ือใหเ้ กิดความ ปัจจยั พนื้ ฐานอนั ดบั แรกท่จี ำ� เป็นในการสง่ เสรมิ ใหเ้ กิด ตระหนักรู้ และนำ� ไปสู่ความคิดท่ีจะเปล่ียนแปลง การปรบั เปล่ียนพฤติกรรมทางสขุ ภาพ และส่งผลต่อ พฤตกิ รรมตอ่ ไป โดยในการรณรงคส์ ่อื สารควรเลอื กใช้ การปฏิบตั พิ ฤติกรรมอยา่ งย่งั ยืนในระยะยาว แนวทางการส่อื สารท่สี ามารถเขา้ ถงึ ประชาชนทกุ กลมุ่ ดังนั้นเม่ือเกิดการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส ทกุ วยั และระดมความรว่ มมือภาคจี ากทกุ ภาคสว่ นใน โควดิ -19 ขนึ้ รอ้ ยละของการมกี จิ กรรมทางกายทเ่ี พยี งพอ การรว่ มรณรงคเ์ พ่อื ใหเ้ กิดเป็นกระแสในระดบั ประเทศ จึงหล่นลงมาอยู่ท่ีรอ้ ยละ 55.519 อย่างรวดเร็วใน อันจะนำ� ไปสู่ความเข้าใจท่ีถูกตอ้ งและครอบคลุม ระยะเวลาอันสั้น และนับว่าเป็ นอัตราท่ีต่�ำท่ีสุด ต่อการมีวิถีชีวิตท่ีกระฉับกระเฉง (Active Lifestyle) ท่ีไมใ่ ชเ่ พียงเรอ่ื งของ “การออกกำ� ลงั กาย” เทา่ นนั้
40 ปมท่ี 2 การเผยแพรแ่ นวทางการปฏิบัตทิ ีถ่ ูกตอ้ ง และสรา้ งแรงจงู ใจในการมกี ิจกรรมทางกายจากทบ่ี ้าน การรวบรวมองค์ความรู้ แนวทางและวิธีท่ีเหมาะสมส�ำหรับการมีกิจกรรม ทางกายท่ีบ้านส�ำหรับประชาชนทุกช่วงวัย เป็นมาตรการเร่งด่วนท่ีควร ด� ำ เ นิ น ก า ร เ พ่ื อ ก ร ะ ตุ้ น ก า ร มี กิ จ ก ร ร ม ท า ง ก า ย ข อ ง ป ร ะ ช า ก ร โ ด ย ก า ร เพิ่มทางเลือกในการปฏิบัติให้หลากหลาย ซ่ึงจะเพ่ิมโอกาสการมีกิจกรรม ทางกายให้กับประชากรทุกเพศทุกวัย ให้ได้มีกิจกรรมทางกายอย่าง เพียงพอและสมำ�่ เสมอตามแผนปฏิบัตกิ ารสง่ เสรมิ กิจกรรมทางกายโลก ท้ังน้ีภาครัฐควรสนับสนุนให้มีการเผยแพร่องค์ความรู้ดังกล่าวผ่านทาง ช่องทางต่าง ๆ ท่ีมีประสิทธิภาพเพ่ือให้เข้าถึงประชาชนทุกกลุ่มได้อย่าง เท่าเทียมและท่ัวถึงขณะเดียวกันเพ่ือให้เกิดการน�ำความรู้ไปปรับใช้ในการ ด�ำเนินชีวิต หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องควรจัดให้มีโครงการเพ่ือกระตุ้นและ สรา้ งแรงจงู ใจผา่ นทางมาตรการตา่ ง ๆ ทเ่ี หมาะสม อาทิ การสะสมคะแนน เพ่ือสทิ ธปิ ระโยชน์ มาตรการทางภาษี หรอื สทิ ธอิ น่ื ๆ ทไ่ี ดร้ บั จากการปฏบิ ตั ิ โดยเน้นส่งเสริมให้มีกิจกรรมทางกายจากท่ีบ้านผนวกกับการมีกิจกรรม ทางกายในรูปแบบอ่ืน ๆ อย่างหลากหลายและเหมาะสม อันจะช่วยให้ ประชาชนเกิดความตระหนักรู้และแนวทางท่ีเหมาะสมกับวิถีชีวิตของตนได้ ในท่ีสุด
Physical Activity in Thailand after COVID-19 Pandemic: 41 ส�ำหรับปมเชือกที่ 2 เร่ืองการเร่งด�ำเนินการ ด้วยเหตนุ ี ้การรวบรวมองค์ความรู้ แนวทางและ เผยแพร่แนวทางการปฏบิ ตั ทิ ถ่ี กู ต้องและสร้างแรงจงู ใจ วิธี ที่เหมาะสมส�ำหรับการมีกิจกรรมทางกายท่ีบ้ าน ในการมีกิจกรรมทางกายจากท่ีบ้าน นบั ว่า มีความ ส�ำหรับประชาชนทกุ ช่วงวยั จึงเป็นมาตรการเร่งด่วน เก่ียวข้องเช่ือมโยงกบั ปมปัญหาท่ีผา่ นมา และมีความ ทคี่ วรดำ� เนนิ การเพอื่ กระต้นุ การมกี จิ กรรมทางกายของ สอดคล้องกับเป้าประสงค์ทางยุทธศาสตร์ที่ 1 เรื่อง ประชากรโด ยการเพมิ่ ทางเลอื กในการปฏบิ ตั ใิ ห้หลาก สร้างบรรทดั ฐานสงั คมทไ่ี มเ่ นือยนง่ิ ในแผนปฏบิ ตั กิ าร หลาย ซึ่งจะเพ่ิมโอกาสการมีกิจกรรมทางกายให้กบั ส่งเสริมกิจกรรมทางกายโลก เกี่ยวกบั การขาดความ ประชากรทกุ เพศทกุ วยั ให้ได้มีกิจกรรมทางกายอย่าง ร้ ู และทางเลือกในการมีกิจกรรมทางกายท่ีถูกต้ อง เพียงพอและสม�่ำเสมอตามแผนปฏิบตั ิการส่งเสริม และครบถ้วน โดยจะเห็นได้ว่าในช่วงสถานการณ์ กิจกรรมทางกายโลก ทงั้ นีภ้ าครัฐควรสนบั สนนุ ให้มี การแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรัสโควิด-19 เมื่อประชาชน การเผยแพร่องคค์ วามรู้ดงั กลา่ วผา่ นทางชอ่ งทางตา่ ง ๆ ไมส่ ามารถไปออกก�ำลงั กายหรือเลน่ กีฬานอกบ้านได้ ที่มีประสิทธิภาพเพื่อให้ เข้ าถึงประชาชนทุกกลุ่มได้ สถานทท่ี ย่ี งั สามารถมกี ิจกรรมทางกาย ออกก�ำลงั กาย อย่างเท่าเทียมและท่ัวถึง ขณะเดียวกันเพ่ือให้เกิด และเล่นกีฬาได้ก็คงเหลือเพียงพืน้ ที่ในบ้าน บริเวณ การน�ำความรู้ไปปรับใช้ในการด�ำเนินชีวิต หน่วยงาน บ้าน และรอบบ้านในละแวกชมุ ชนที่ไมม่ ีความเสย่ี ง ท่ีเก่ียวข้องควรจดั ให้มีโครงการเพื่อกระต้นุ และสร้าง แรงจูงใจผ่านทางมาตรการต่าง ๆ ที่เหมาะสม อยา่ งไรก็ดี อปุ สรรคที่สำ� คญั ที่เป็นผลสบื เนื่องมา อาทิ การสะสมคะแนนเพื่อสิทธิประโยชน์ มาตรการ จากก่อนหน้านีค้ ือ การขาดความรู้เกี่ยวกบั แนวทาง ทางภาษี หรือสิทธิอื่น ๆ ท่ีได้รับจากการปฏิบัติ การปฏิบัติที่ถูกต้อง โดยเฉพาะอย่างย่ิงเมื่อต้อง โดยเน้ นส่งเสริ มให้ มีกิ จกรรมทางกายจากที่บ้ าน อาศยั อยทู่ บี่ ้าน ด้วยข้อจ�ำกดั ในด้านพนื ้ ทแ่ี ละอปุ กรณ์ ผนวกกบั การมีกิจกรรมทางกายในรูปแบบอื่น ๆ อยา่ ง ในการออกก�ำลงั กายกก็ ลบั กลายเป็นอปุ สรรคทสี่ ำ� คญั หลากหลายและเหมาะสม อันจะช่วยให้ประชาชน สง่ ผลให้ประชาชนมากกวา่ ครึ่ง (ร้อยละ 54.7) ระบวุ า่ เ กิ ด ค ว า ม ต ร ะ ห นัก ร้ ู แ ล ะ แ น ว ท า ง ท่ี เ ห ม า ะ ส ม กับ ตนมีกิจกรรมทางกายลดน้อยลงเม่ือเปรียบเทียบกบั วิถีชีวิตของตนได้ในที่สดุ ช่วงปกติ 19 ทงั้ ท่ีในความเป็นจริงแล้ว ยงั คงมีวิธีการ หรือแนวทางตา่ ง ๆ อีกมากมายท่ีสามารถชว่ ยให้พืน้ ที่ และอุปกรณ์ เคร่ื องใช้ ภายในบ้ านถูกประยุกต์และ น�ำมาใช้เพ่ือประกอบการออกก�ำลงั กายได้
42 ปมที่ 3 การสนับสนุนให้ชมุ ชนเป็นฐานในการริเริ่มการสง่ เสรมิ กิจกรรมทางกาย และการใช้ประโยชน์สภาพแวดลอ้ ม ทีเ่ อ้อื ตอ่ การมีสขุ ภาวะอยา่ งปลอดภยั ภาครัฐควรมีบทบาทส�ำคัญในการสนับสนุนให้เกิดกลไกในการเสริม ศั กยภาพของชุมชนในรูปแบบของเครือข่ายการท�ำงานเพ่ื อร่วม แลกเปล่ียน หารอื และถา่ ยทอดองคค์ วามรู้ ขอ้ มูล ตน้ แบบการดำ� เนินงาน และประสบการณจ์ ากการด�ำเนนิ งาน อันจะเป็นประโยชน์ในการน�ำไปใช้เพ่ือ การออกแบบชุมชนของตนได้แบบองค์รวม (Whole-of-community) ตามขอ้ แนะนำ� ของแผนปฏิบัตกิ ารสง่ เสรมิ กิจกรรมทางกายโลก การสนบั สนนุ และพฒั นาศกั ยภาพของชมุ ชนให้ ประเพณี การละเลน่ ตา่ ง ๆ กีฬาประจ�ำปีของหมบู่ ้าน สามารถเป็ นฐานส�ำหรับการส่งเสริ มการมีกิจกรรม ต�ำบล อ�ำเภอ หรือจงั หวดั ขณะท่ีการสนบั สนนุ ให้มี ทางกาย การลดพฤติกรรมเนือยนิ่ง รวมถึงวิเคราะห์ พืน้ ท่ีสขุ ภาวะส่วนใหญ่ก็จะเป็นในลกั ษณะของลาน และผสมผสานนโยบายตา่ ง ๆ ให้เข้ากบั การจดั สภาพ กฬี า สวนหยอ่ ม สวนสาธารณะ สนามกฬี า หรือสถานท่ี แวดล้อมท่ีเอือ้ ต่อการมีสขุ ภาวะอย่างเหมาะสมตาม ออกก�ำลงั กาย เป็นต้น บริบทและศักยภาพของชุมชนทัง้ ในระดับหมู่บ้าน ตำ� บล อ�ำเภอ หรือจงั หวดั จงึ นบั เป็นประเดน็ ท่ีมีความ อย่างไรก็ดี ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาด ท้าทายระดบั สงู ในสงั คมไทย ท่ีผ่านมาบทบาทของ ของเชือ้ ไวรัสโควดิ -19 ชมุ ชนกลายเป็นพืน้ ท่ีทางสงั คม ชมุ ชนในฐานะผ้สู ่งเสริมให้เกิดกิจกรรมทางกายส่วน ท่ีมีความใกล้ ชิดและบทบาทส�ำคัญรองจากท่ีบ้ าน ใหญ่จะเกิดขึน้ ในลกั ษณะของการจัดกิจกรรมกีฬา ชมุ ชนเป็นพนื ้ ท่ีเพียงไมก่ ี่แหง่ ท่ีผ้คู นยงั สามารถออกไป มวลชนแบบเป็นครัง้ คราว อาทิ การจัดแข่งขนั กีฬา มีกิจกรรมและด�ำเนินชีวิตได้ แม้จะไมส่ ามารถเป็นไป
Physical Activity in Thailand after COVID-19 Pandemic: 43 ตามปกตอิ ยา่ งท่ีเคย เชน่ เดียวกนั ในชว่ งเวลาดงั กลา่ ว ในอกี แงห่ นงึ่ ควรสง่ เสริมให้ชมุ ชนเป็นฐานในการ พืน้ ที่บริเวณโดยรอบของชุมชนก็เป็นท่ีพึ่งในการ ระดมความคดิ เหน็ และการสร้างการมสี ว่ นร่วมในเร่ือง ออกกำ� ลงั กายของประชาชนด้วย พนื ้ ทห่ี ลายจดุ ในชมุ ชน การสง่ เสริมกิจกรรมทางกายที่เกิดจากความต้องการ ได้ถูกใช้ประโยชน์เพื่อการออกก�ำลงั กายมากย่ิงขึน้ ที่เหมาะสมตามบริบท ให้ชุมชนเป็นแหล่งบ่มเพาะ ด้วยเหตนุ ี ้การสนบั สนนุ ให้ชมุ ชนมีความพร้อมในการ จติ สำ� นกึ การมสี ขุ ภาพดขี องประชาชน ผา่ นการจดั การ เป็นฐานสำ� หรับการสง่ เสริมกิจกรรมทางกาย ทงั้ ในแง่ ความรู้ด้านสขุ ภาพที่เป็นประโยชน์และสนบั สนนุ ให้มี ของการเป็นฐานในการพฒั นาให้เกิดการมีและการใช้ การแลกเปลย่ี นเรียนรู้ โดยเฉพาะการเพมิ่ ความร่วมมอื ประโยชน์จากสภาพแวดล้อมที่เอือ้ ต่อการมีกิจกรรม การมสี ว่ นร่วมในการพฒั นาและความรู้สกึ เป็นเจ้าของ ทางกายที่มีอย่ใู นชมุ ชนให้เต็มศกั ยภาพ การสง่ เสริม ร่วมจากระดับชุมชน เพ่ือส่งเสริมการมีกิจกรรม ให้ มีการจัดสภาพแวดล้ อมทางกายภาพที่เป็ นมิตร ทางกาย ลดพฤตกิ รรมเนือยนง่ิ ของประชาชนในชมุ ชน ต่อสุขภาพ และเอือ้ ต่อการมีกิจกรรมทางกายท่ี อยา่ งเทา่ เทียมและทวั่ ถงึ 3 ปลอดภยั ผลกั ดนั เร่ืองการเดินและการปั่นจกั รยาน ในชีวิตประจ�ำวัน การพัฒนาทางเดินเท้าระหว่าง ทงั้ นีเ้พื่อให้เกิดการด�ำเนินการอย่างเป็นรูปธรรม สถานท่ีต่าง ๆ ในชมุ ชน20 รวมถึงการจดั เตรียมความ ภาครัฐควรมีบทบาทส�ำคญั ในการสนับสนุนให้เกิด พร้อมเพอื่ รองรับมาตรการในการเข้าถงึ พนื ้ ทสี่ าธารณะ ก ล ไ ก ใ น ก า ร เ ส ริ ม ศัก ย ภ า พ ข อ ง ชุม ช น ใ น รู ป แ บ บ ที่มีคุณภาพและปลอดภัย ตามมาตรการเว้นระยะ ของเครือข่ายการท�ำงานเพ่ือร่วมแลกเปลี่ยน หารือ ห่างทางกายภาพ (Physical distancing) การรักษา และถา่ ยทอดองคค์ วามรู้ ข้อมลู ต้นแบบการดำ� เนนิ งาน ความสะอาดเพื่อการป้องกันเชือ้ โรค อาทิ การจัด และประสบการณ์จากการด�ำเนินงาน อันจะเป็น บริการสบู่เหลวส�ำหรับล้างมือในห้องน�ำ้ ส่วนกลาง ประโยชน์ ในการน�ำไปใช้ เพ่ือการออกแบบชุมชน การบริ การเจลแอลกอฮอล์บริ เวณทางเข้ า-ออกของ ของตนได้แบบองค์รวม (Whole-of-community) สวนสาธารณะ สวนหย่อม สนามกีฬา หรือสถานท่ี ตามข้อแนะน�ำของแผนปฏิบตั ิการส่งเสริมกิจกรรม สาธารณะอ่ืน ๆ รวมถงึ การจดั ให้มีมาตรการด้านการ ทางกายโลก รักษาความสะอาด โดยเพิ่มความถี่ในการท�ำความ สะอาดจุดสัมผัสต่าง ๆ ในพืน้ ท่ีท่ีใช้ร่วมกัน เช่น มือจบั ประตู อปุ กรณ์เครื่องเล่น ทงั้ หมดนีค้ วรอาศยั ความร่วมมือจากทกุ คนทกุ ภาคสว่ นในชมุ ชน
44 ปมที่ 4 การสง่ เสริมใหเ้ กดิ ความรว่ มรบั ผดิ ชอบอย่างจรงิ จัง ในการส่งเสริมการมีกจิ กรรมทางกายเพื่อสร้างเสรมิ ทักษะและพัฒนาการตามช่วงวัยในเดก็ และเยาวชน การสง่ เสรมิ และรณรงคใ์ หเ้ กดิ ความเขา้ ใจทถ่ี กู ตอ้ งของบคุ คลทอ่ี ยรู่ อบตวั เดก็ และเยาวชน เพ่ือให้ทราบถึงประโยชน์และความส�ำคัญของการมีกิจกรรมทางกาย ผลเสียของการมี พฤติกรรมเนอื ยน่ิงท่ีมากเกินความจ�ำเปน็ เป็นประเด็นการดำ� เนนิ งานท่สี �ำคัญและเรง่ ด่วน อีกประการหน่ึง เพราะจะช่วยสร้างและกระตุ้นความรู้สึกร่วมรับผิดชอบของผู้ท่ีเก่ียวข้อง ต่อสถานการณ์ดังกล่าวได้ ทง้ั นภ้ี าครฐั ควรสนบั สนนุ ใหภ้ าคที กุ ภาคสว่ นมสี ว่ นรว่ มในการกระตนุ้ และรณรงคเ์ พ่ือใหเ้ กดิ การเปล่ียนแปลงในสังคมระดับประเทศ ในขณะเดียวกันควรสนับสนุนให้เกิดการรวบรวม องค์ความรู้ การวิเคราะห์ต้นแบบท่ีเหมาะสมกับการจัดสภาพแวดล้อมในแต่ละบริบท รวมถงึ การจดั ทำ� แนวทางการสง่ เสรมิ กจิ กรรมทางกายในเดก็ และเยาวชนสำ� หรบั ครอบครวั โรงเรียน และชุมชน เพ่ือใชข้ บั เคล่ือนให้เกิดการด�ำเนนิ งานอย่างเป็นรปู ธรรม ประชากรวยั เดก็ และเยาวชน (อายรุ ะหวา่ ง 5-17 ปี) ระยะเวลาเฉลี่ยในการมีพฤติกรรมการใช้ อุปกรณ์ นับเป็ นกลุ่มวัยที่มีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอตาม หน้าจออิเล็กทรอนิกส์ท่ีมีแนวโน้มเพ่ิมสูงขึน้ อย่าง ข้ อแนะน�ำขององค์การอนามัยโลกน้ อยท่ีสุด น่ากงั วล สถานการณ์ดงั กลา่ วข้างต้นแสดงให้เห็นถึง เมื่อเปรียบเทียบกบั ประชากรในช่วงวยั อื่น ๆ ขณะท่ี ความเรือ้ รังของปัญหาด้านการส่งเสริมกิจกรรมทาง ข้อมลู ในเชิงสถิติยงั ชีใ้ ห้เห็นว่าตลอดช่วงระยะเวลา กายในเด็กและเยาวชนไทยที่จ�ำเป็ นต้ องได้ รับการ 9 ปีทผี่ า่ นมา โดยเฉลย่ี แล้วมเี ดก็ และเยาวชนไทยมากถงึ ให้ความส�ำคญั และร่วมรับผิดชอบอย่างจริงจังจาก 3 ใน 4 ท่ีมีกิจกรรมทางกายไมเ่ พียงพอ21 สวนทางกบั ผ้ทู ่ีเก่ียวข้องกบั เดก็ และเยาวชนในทกุ ระดบั
Physical Activity in Thailand after COVID-19 Pandemic: 45 ทัง้ นี ้ เมื่อพิจารณาถึงปั จจัยท่ีมีอิทธิพลต่อ ด้วยเหตนุ ี ้ การส่งเสริมและรณรงค์ให้เกิดความ พฤติกรรมด้านกิจกรรมทางกายของเด็กและเยาวชน เข้าใจท่ีถกู ต้องของบคุ คลท่ีอยรู่ อบตวั เดก็ และเยาวชน พบว่า ประมาณร้ อยละ 80 - 90 ถูกก�ำหนดด้วย เพื่อให้ทราบถึงประโยชน์และความส�ำคญั ของการมี ปัจจัยแวดล้ อมรอบตัว เริ่มตัง้ แต่บุคคลรอบตัว กจิ กรรมทางกาย ผลเสยี ของการมพี ฤตกิ รรมเนอื ยนง่ิ ท่ี ในครอบครัว กลุ่มเพื่อนทัง้ ท่ีอยู่ที่บ้านและโรงเรียน มากเกินความจ�ำเป็น จงึ เป็นประเดน็ การดำ� เนินงานที่ รูปแบบการใช้ชีวิตทัง้ ที่บ้านและท่ีโรงเรียนซึ่งถูก สำ� คญั และเร่งดว่ นอีกประการหนงึ่ เพราะจะชว่ ยสร้าง ก�ำหนดโดยครอบครัวและโรงเรียน หรือแม้กระทั่ง และกระต้นุ ความรู้สกึ ร่วมรับผิดชอบต่อสถานการณ์ สภาพแวดล้อมในโรงเรียนและชมุ ชน ดงั นนั้ การที่จะ ดงั กล่าวของผู้ที่เกี่ยวข้อง ทงั้ นีภ้ าครัฐควรสนบั สนุน สง่ เสริมการมีกิจกรรมทางกายให้กบั เด็กและเยาวชน ให้ ภาคีทุกภาคส่วนมีส่วนร่ วมในการกระต้ ุนและ ได้อย่างมีประสิทธิผล จึงต้องอาศยั ความร่วมมือใน รณรงค์เพื่อให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงในสังคมระดับ ก า ร ส่ง เ ส ริ ม แ ล ะ เ ห็น ค ว า ม ส� ำ คัญ ใ น เ ร่ื อ ง ดัง ก ล่า ว ประเทศ ในขณะเดียวกัน ควรสนับสนุนให้เกิดการ อยา่ งจริงจงั ทวา่ ด้วยอปุ สรรคหลายประการทเ่ี กดิ จาก รวบรวมองค์ความรู้ การวิเคราะห์ต้นแบบท่ีเหมาะสม บริบทแวดล้อมที่ไม่สนบั สนนุ การมีกิจกรรมทางกาย กับการจัดสภาพแวดล้อมในแต่ละบริบท รวมถึง ของเด็กและเยาวชนเท่าท่ีควร ไม่ว่าจะเป็น ทศั นคติ ก า ร จัด ท� ำ แ น ว ท า ง ก า ร ส่ง เ ส ริ ม กิ จ ก ร ร ม ท า ง ก า ย และคา่ นยิ มของผ้ปู กครองสว่ นใหญ่ทเ่ี น้นและต้องการ ในเด็กและเยาวชนส�ำหรับครอบครัว โรงเรียน และ ให้บตุ รหลานมีความเป็นเลศิ ทางวชิ าการ หลกั สตู รใน ชมุ ชน เพอื่ ใช้ขบั เคลอ่ื นให้เกดิ การดำ� เนนิ งานอยา่ งเป็น โรงเรียนทเี่ น้นการเรียนรู้ในเชงิ วชิ าการ สภาพแวดล้อม รูปธรรม ของชมุ ชนมีความเสยี่ งตอ่ การออกมาวิ่งเลน่ หรือออก ก�ำลงั กายของเด็ก ล้วนแล้วแตเ่ ป็นอปุ สรรคท่ีมีผลตอ่ การขาดโอกาสในการมกี จิ กรรมทางกายของเดก็ ทงั้ สนิ ้ ทงั้ ๆ ที่ในความเป็นจริงแล้ว การมีกิจกรรมทางกายท่ี เพียงพอ ถือเป็นพืน้ ฐานของพฒั นาการตามช่วงวยั ของเดก็ และเยาวชน ทงั้ ในด้านร่างกาย อารมณ์ สงั คม และสตปิ ัญญาท่ีส�ำคญั อยา่ งย่ิง
46 ปมท่ี 5 การสง่ เสริมให้เกดิ การยกระดับมาตรฐาน ดา้ นความปลอดภยั และปลอดเช้อื ในการจัดกิจกรรมสุขภาพและกฬี ามวลชน ภาครัฐและหน่วยงานระดับนโยบายท่ีเก่ียวข้องควรให้การสนับสนุนให้เกิดการระดม สมองของภาคประชาสังคม และผู้ประกอบการด้านการจัดกิจกรรมกีฬา เพ่ือจัดท�ำ และการนำ� มาตรฐานดา้ นความปลอดภยั และปลอดเชอ้ื ในการจดั กจิ กรรมทางสขุ ภาพ และกีฬามวลชนไปใชด้ ำ� เนนิ การจรงิ อย่างเขา้ ใจ ยอมรบั และรว่ มเปน็ เจา้ ของ โดยภาครฐั มหี น้าท่ปี ระสานความรว่ มมอื ระหวา่ งผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสีย และพัฒนาระบบ กลไกการน�ำไปใช้ การก�ำกับ และติดตามผลอย่างเหมาะสม เพ่ือให้การจัดกิจกรรม สุขภาพและกีฬามวลชนถูกจัดข้ึนและด�ำเนินไปภายใต้มาตรฐานด้านความปลอดภัย และสามารถปอ้ งกนั การแพร่ระบาดของเช้อื ต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ การจดั กิจกรรมสขุ ภาพและกีฬามวลชน ไมว่ า่ จะ ในการมีกิจกรรมทางกายร่วมกันและอย่างต่อเนื่อง เป็นในลกั ษณะมหกรรมกีฬา การออกก�ำลงั กาย หรือ ซงึ่ หากมกี ารดำ� เนนิ โครงการหรือกิจกรรมในลกั ษณะนี ้ กิจกรรมทางสุขภาพอื่น ๆ ท่ีมีผู้มาเข้าร่วมกิจกรรม อย่างสม่�ำเสมอและกระจายครอบคลมุ ทวั่ ทงั้ ประเทศ จำ� นวนมาก นบั เป็นหนง่ึ ในข้อปฏบิ ตั ทิ ส่ี ำ� คญั ในการสง่ ยอ่ มสง่ ผลตอ่ การเพมิ่ ขนึ ้ ของสดั สว่ นผ้มู กี จิ กรรมทางกาย เสริมกิจกรรมทางกายในมิตดิ ้านการสร้างบรรทดั ฐาน ท่ีเพียงพอได้โดยตรง สงั คมทไ่ี มเ่ นอื ยนง่ิ (Active Society) ในแผนปฏบิ ตั กิ าร สง่ เสริมกิจกรรมทางกายโลก ทงั้ นีเ้น่ืองจากการที่ผ้คู น สำ� หรับประเทศไทย นบั เป็นสงั คมที่ให้ความนิยม มารวมตวั กนั เป็นจ�ำนวนมากเพื่อร่วมท�ำกิจกรรมทาง ในการเข้าร่วมกิจกรรมสขุ ภาพและกีฬามวลชนเป็น สขุ ภาพ ย่อมท�ำให้เกิดแรงกระต้นุ และแรงบนั ดาลใจ อยา่ งมาก ดงั จะเหน็ ได้จากกระแสการเข้าร่วมกิจกรรม
Physical Activity in Thailand after COVID-19 Pandemic: 47 การปั่นจกั รยาน Bike for Mom และ Bike for Dad ท่ีผ่านมา การสนบั สนนุ การท�ำงานในระดบั นโยบาย ทมี่ กี ารจดั ขนึ ้ ในปี 2558 ซง่ึ นบั เป็นบนั ทกึ ประวตั ศิ าสตร์ ภาพรวมของประเทศ เพ่ือยกระดบั มาตรฐานการจดั ของการปั่นจักรยานพร้ อมกันมากที่สดุ ในโลก กว่า กิจกรรมสขุ ภาพและกีฬามวลชนให้มีความปลอดภยั 146,000 คนั หรือกระแสความนยิ มเกย่ี วกบั การเข้าร่วม ในด้านต่าง ๆ รวมถึงป้องกันความเส่ียงต่อการแพร่ กิจกรรมการเดนิ -วง่ิ เพื่อสขุ ภาพท่ีได้รับความนิยมเพิ่ม ระบาดของเชือ้ ที่มีความเหมาะสมกบั บริบทของสงั คม มากขึน้ อย่างต่อเน่ืองตงั้ แต่ช่วงปี 2560 เป็นต้นมา ไทย จึงนับเป็นประเด็นท้าทายท่ีส�ำคัญในการเร่ง ซ่ึงกิจกรรมดังที่กล่าวไปข้างต้นนัน้ ได้มีส่วนส�ำคัญ ด�ำเนินการเพ่ือให้ทนั ต่อสถานการณ์ก่อนที่กิจกรรม ในการยกระดับการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ ทางสขุ ภาพและกีฬามวลชนจะกลบั มาจดั ได้อีกครัง้ ของคนไทยให้เพิ่มสงู ขนึ ้ อยา่ งเหน็ ได้ชดั โดยควรก�ำหนดกลไกในการก�ำกับ ติดตามและ ประเมินผลเกิดขนึ ้ จากการใช้มาตราการทงั้ ในมมุ ของ อยา่ งไรก็ดี ในระหวา่ งชว่ งเวลาที่กิจกรรมสขุ ภาพ ผ้รู ับบริการ และผ้ปู ระกอบการ ถึงผลได้ผลเสียที่เกิด และกีฬามวลชนได้รับความนิยมในระดบั สงู นนั้ ส่ิงท่ี ขนึ ้ อยา่ งรอบด้าน มักจะปรากฏอยู่เสมอคือ ข้อถกเถียงและประเด็น ร้องเรียนเกยี่ วกบั มาตรฐาน และความปลอดภยั ในด้าน เพอื่ ทจี่ ะแก้ปมเชอื กปมท่ี 5นี ภ้ าครฐั และหนว่ ยงาน การจดั การของกิจกรรมมวลชน ไลต่ งั้ แตป่ ระเด็นทาง ระดบั นโยบายที่เก่ียวข้องควรให้การสนบั สนนุ ให้เกิด ด้านการให้บริการพืน้ ฐานท่ีไม่เพียงพอ ความสะอาด การระดมสมองของภาคประชาสงั คม และผ้ปู ระกอบ และสขุ ลกั ษณะในสถานท่ีจดั งาน ความปลอดภยั ใน การด้านการจัดกิจกรรมกีฬา เพื่อจัดท�ำและการน�ำ การได้รับบริการทางการแพทย์ยามฉกุ เฉิน รวมไปถึง มาตรฐานด้านความปลอดภยั และปลอดเชอื ้ ในการจดั ประเดน็ รายละเอียดปลกี ยอ่ ยอ่ืน ๆ ที่สะท้อนถงึ ความ กิจกรรมทางสขุ ภาพและกีฬามวลชนไปใช้ด�ำเนินการ ไม่พึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมสุขภาพ เป็นต้น จริงอย่างเข้ าใจ ยอมรับ และร่วมเป็ นเจ้ าของ ส่งผลให้หลายฝ่ ายที่เก่ียวข้องพยายามรวบรวมและ โดยภาครั ฐมีหน้ าท่ีประสานความร่ วมมือระหว่าง เสนอแนวทางในการจัดกิ จกรรมดังกล่าวให้ เป็ น ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย อันจะส่งผลให้การจัดกิจกรรม มาตรฐานและปลอดภัยต่อสุขภาพและชีวิตของ สุขภาพและกีฬามวลชนถูกจัดขึน้ และด�ำเนินไป ผ้เู ข้าร่วมกิจกรรม ทวา่ แนวทางและมาตรฐานดงั กลา่ ว ภายใต้ มาตรฐานด้ านความปลอดภัยและสามารถ ยังคงได้ รั บการน�ำสู่การปฏิบัติในวงแคบและเป็ น ป้องกันการแพร่ระบาดของเชือ้ ต่าง ๆ ได้อย่างมี จ�ำนวนน้อยเมื่อเปรียบเทียบกบั จ�ำนวนกิจกิจกรรมที่ ประสิทธิภาพอย่างสงู สดุ ทงั้ นีเ้พื่อให้แนวปฏิบตั ิด้าน มีการจดั อยใู่ นประเทศไทย การส่งเสริ มให้ เกิดการเข้ าร่ วมกิจกรรมทางสุขภาพ การออกก�ำลงั กาย และกีฬาส�ำหรับคนจ�ำนวนมาก ด้วยเหตุนี ้ อาศัยโอกาสท่ามกลางวิกฤตการ ถกู ขบั เคล่ือนไปอย่างมีมาตรฐานและสามารถใช้เป็น แพร่ระบาดของเชือ้ ไวรัสโควิด-19 ท่ีส่งผลให้การจดั กลไกหลักในการเพิ่มระดับการมีกิจกรรมทางกาย กิจกรรมทางสุขภาพและกีฬามวลชนทุกประเภท ที่เพียงพอของคนไทยได้อยา่ งมีประสทิ ธิผล จ�ำเป็นต้องถกู ระงบั ไว้ชวั่ คราวตลอดช่วงหลายเดือน
48
Search