Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สอนเด็กให้เป็นคนดี

สอนเด็กให้เป็นคนดี

Published by ห้องสมุดประชาชน, 2020-05-22 12:45:12

Description: สอนเด็กให้เป็นคนดี

Search

Read the Text Version

สอนเดก็ ให้เปน็ คนดี วจิ ารณ์ พานชิ

สอนเด็กให้เป็นคนด ี : ศ. นพ.วิจารณ์ พานิช ISBN ๙๗๘-๖๑๖-๙๑๓๘๑-๖-๗ ผูเ้ ขียน ศ. นพ.วิจารณ์ พานชิ ทปี่ รกึ ษา คณุ ปยิ าภรณ์ มณั ฑะจติ ร บรรณาธิการ คุณรัตนา กิตกิ ร พิมพโ์ ดย มูลนิธิสยามกัมมาจล ๑๙ ถนนรชั ดาภเิ ษก แขวงจตุจกั ร เขตจตจุ กั ร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐ โทรศพั ท์ : ๐ ๒๙๓๗ ๙๙๐๑-๗ โทรสาร : ๐ ๒๙๓๗ ๙๙๐๐ เว็บไซต ์ www.scbfoundation.com พมิ พค์ รั้งที่ ๑ ตุลาคม ปี ๒๕๕๗ จำนวน ๕,๐๐๐ เล่ม พิมพ์ท ี่ บริษัท มาตาการพิมพ์ จำกัด ราคา ๑๖๐ บาท

คำนยิ ม ถา้ เดก็ ทง้ั หมดเปน็ คนดี เดก็ ทกุ คนมศี กั ยภาพทจ่ี ะเปน็ คนดเี พราะ เขาเกดิ มาพรอ้ มกบั สง่ิ ทมี่ คี า่ ทสี่ ดุ และวจิ ติ รทสี่ ดุ ในจกั รวาล คอื เซลลส์ มอง ๑๐๐,๐๐๐ ลา้ นตวั ทสี่ ามารถถกั ทอกนั เปน็ โปรแกรมแหง่ ความดี โปรแกรมในสมองของเด็กก็มีส่วนคล้ายโปรแกรมในเครื่อง คอมพวิ เตอร์ โปรแกรมของเครอ่ื งคอมพวิ เตอรเ์ ขยี นขน้ึ อยา่ งละเอยี ด โดย ผเู้ ช่ียวชาญเขียนโปรแกรมเพ่ือให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานได้อยา่ ง เหลอื เชอ่ื โปรแกรมในสมองของมนษุ ยเ์ กดิ ขน้ึ จาก ปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งเดก็ กบั คนรอบขา้ ง ถา้ เป็น ปฏิสัมพันธ์เชิงอำนาจ ที่ผู้ใหญ่ทำกับเด็ก เครือข่าย ใยประสาทก็จะเบผ้ ดิ รปู ผิดรา่ ง เกดิ เป็นโปรแกรมพฤติกรรมทางลบ กอ่ ความทกุ ขใ์ หต้ นเองและผอู้ น่ื ถา้ เปน็ ปฏสิ มั พนั ธเ์ ชงิ เปน็ เหตเุ ปน็ ผล ทผี่ ใู้ หญม่ กี บั เดก็ เครอื ขา่ ย ใยประสาทกจ็ ะถกั ทอกนั เปน็ โปรแกรมแหง่ ความเปน็ เหตเุ ปน็ ผล กอ่ ใหเ้ กดิ ปญั ญา ความดแี ละความสขุ ความดเี กดิ จากความเปน็ เหตเุ ปน็ ผล ความเปน็ เหตผุ ลนบี้ างทที างพทุ ธเรยี กวา่ ธรรมะ 3

การใชอ้ ำนาจคอื การขาดเหตผุ ล ฉะนนั้ การเลี้ยงเด็กให้เป็นคนดี ไม่วา่ จะเป็นโดยพอ่ แม่ พน่ี อ้ ง ครพู เ่ี ล้ียง หรือใครก็ตาม คือปฏิสัมพันธ์ที่ดีหรือการเรียนรู้ระหว่างกัน เด็กเรยี นรจู้ ากผู้ใหญ่ ผใู้ หญ่เรยี นรจู้ ากเด็ก เมื่อเปน็ การเรียนรู้กไ็ มใ่ ชก่ าร ใชอ้ ำนาจ อำนาจทำใหเ้ กดิ การบบี คน้ั ทงั้ ตอ่ ตนเองและผอู้ น่ื การบบี คนั้ คอื ความทกุ ข์ เมอื่ การเลย้ี งเดก็ เปน็ ปฏสิ มั พนั ธท์ ไี่ มใ่ ชอ้ ำนาจ แตเ่ ปน็ การเรยี นรู้ การเรยี นรจู้ งึ เปน็ ความสขุ เพราะการเรยี นรใู้ หอ้ สิ รภาพทจี่ ะเตบิ โต การเลยี้ งดเู ดก็ ทด่ี จี งึ เปน็ เครอื่ งมอื การพฒั นาผใู้ หญอ่ ยา่ งดยี งิ่ และ มแี รงจงู ใจสูง เพราะเดก็ เปน็ ทรี่ กั ของพ่อแม่ ครูบาอาจารย์ และผ้ใู หญ่ โดยทว่ั ไป ถา้ การเลย้ี งดเู ดก็ ทด่ี ีเป็นเคร่ืองทำให้ผู้เลี้ยงกลายเปน็ คนดแี ละ มคี วามสขุ นอกเหนือไปจากทำใหเ้ ดก็ เปน็ คนดี ถา้ เป็นเช่นนี้เราก็นา่ จะ สามารถทำใหก้ ารเลยี้ งดเู ดก็ เปน็ เครอื่ งเรยี นรขู้ องคนทงั้ สงั คม เมอ่ื คนท้งั สังคมเหน็ วา่ เด็กๆ ไม่ว่าเป็นลกู ของใคร ลว้ นเป็นลูก ของเรา แลว้ พากนั ชว่ ยใหเ้ ดก็ ๆ ทกุ คนไดร้ บั การเลย้ี งดทู ดี่ ี การทเ่ี ดก็ ทง้ั หมด จะเปน็ คนดกี เ็ ปน็ เรอ่ื งทเ่ี ปน็ ไปได ้ หนงั สอื เลม่ นี้ “สอนเดก็ ใหเ้ ปน็ คนด”ี เกดิ จากจติ ใจอนั ประเสรฐิ ของคน ๒ คน หนง่ึ คอื ครู Annie Fox ทใี่ ชค้ วามรแู้ ละประสบการณเ์ รยี บ เรยี งหนงั สอื ชอ่ื Teaching Kids to Be Good People : Progressive Parenting for the 21st Century ซง่ึ มตี วั อยา่ งปฏสิ มั พนั ธเ์ ชงิ เหตผุ ล ระหว่างผู้ใหญ่กับเด็กอย่างเป็นรูปธรรม อย่างหลากหลาย หนึ่งคือ ศาสตราจารย์นายแพทย์วิจารณ์ พานิช ผู้ส่งเสริมการเรียนรู้ท่ีย่ิงใหญ่ แห่งยุค ซ่ึงเม่ืออ่านหนังสือเล่มน้ีก็มีความประทับใจ และความท่ีเป็น blogger ผ้ขู ยัน ผซู้ ่ึงเม่ือเรียนรู้เรอื่ งอะไรดีๆ ก็ blog แทบทุกวัน เพอื่ แบง่ ปนั ขยายการรบั รู้ส่ิงดีๆ ออกไป จึงถา่ ยทอดหลักการสำคญั ๆ ของ 4

หนงั สอื เลม่ นอ้ี อกเป็นภาษาไทยผ่านบล็อกเปน็ ตอนๆ แลว้ รวบรวมมาเปน็ หนงั สอื เลม่ น้ี ซงึ่ จดั พมิ พเ์ ผยแพรโ่ ดยมลู นธิ สิ ยามกมั มาจล ซง่ึ มคี ณุ ปยิ าภรณ์ มณั ฑะจิตร เปน็ ผจู้ ัดการ โดยตัง้ ใจจะเผยแพร่ใหก้ ว้างขวางทส่ี ดุ เพราะ มลู นธิ สิ ยามกัมมาจลได้กลายเป็นสถาบันที่เอาจริงเอาจังในเรื่องส่งเสริม การเรยี นร ู้ โดยทกี่ ารเรยี นรทู้ ถี่ กู ตอ้ งเปน็ เครอ่ื งปลดปลอ่ ยมนษุ ยไ์ ปสอู่ สิ รภาพ ความสุข ความดี และความงาม หวังว่าความปรารถนาดขี องผเู้ รยี บเรยี ง ผแู้ ปล และผจู้ ดั พมิ พห์ นงั สอื เลม่ น้ี จะกอ่ ใหเ้ กดิ ความบนั ดาลใจแกม่ หาชน โดยกวา้ งขวาง ว่าการเรียนรู้ท่ีดีเป็นส่ิงที่ประเสริฐที่สุดของมนษุ ย์ และ เปน็ หนา้ ที่ของเราทกุ คนทจี่ ะแสวงหา และช่วยให้เพอ่ื นมนษุ ยไ์ ดพ้ บการ เรยี นรทู้ ด่ี อี นั ประเสรฐิ นี ้ ประเวศ วะสี 5

คำนิยม สอนเด็กให้เป็นคนดี เป็นหนังสือที่หนูจะหยิบมาอ่านใหมใ่ น อีกปี ๑๐ ปีข้างหน้า เม่ือหนูมีลูกเป็นของตัวเองก็จะกลับมาอ่านอีก หนังสือเล่มน้เี ปน็ คลา้ ยกับภาพสะทอ้ นปัญหาของเด็กวัยรุน่ (หรือกำลงั จะเขา้ วัยรุน่ ) ในหลายๆ ด้านของสังคมอเมริกา และท่าทีของพ่อแม่ ในการรับมือกับลูกวัยรุ่น หนูอ่านแล้วก็มีความคล้ายคลึงกับปัญหาของเด็กไทยอยู่มาก ทงั้ ทเ่ี ปน็ ปญั หาทเี่ กดิ กบั เดก็ แตล่ ะคน และปญั หาทเี่ กดิ จากความคาดหวงั ของพ่อแม่ ซึ่งหนูโชคดีท่ีไม่ค่อยมีปัญหานี้ แต่ก็ได้รับรู้และบางครง้ั ก็ สะเทือนใจกับปัญหาของเพื่อนท่ีแบกรับความคาดหวังจากคนท่ีเรา รักมากท่ีสุด (ซึ่งบางคร้งั กไ็ ม่ตรงกับเราเลย) หนังสือบอกว่า ปัญหา เหล่าน้ีจะส่งผลกับเด็กในชว่ งหัวเลี้ยวหัวต่อ จงึ จำเปน็ อยา่ งยง่ิ ท่ีเราตอ้ ง “พูดคุย” กัน เพ่ือสร้างความเข้าใจระหว่างกัน ทำให้เกิดความสขุ หนงั สอื พยายามบอกพ่อแม่แทนเรา ปัญหาหลายๆ อย่าง พ่อแม่อาจ ไม่เคยรู้ว่ายุคน้ีสมัยน้ี มันมีแบบนี้ด้วยหรือ ถ้าพ่อแม่เข้าใจความ เปลี่ยนแปลงของสังคมก็น่าจะเข้าใจ และช่วยเหลือลูกๆ ได้ตรงจุด มากข้นึ 6

ไม่ใช่แตพ่ ่อแม่ หนูก็ไดเ้ รียนร้จู ากหนงั สอื เลม่ น้เี หมอื นกัน อย่าง เชน่ คณุ สมบัติของคนดีท้ัง 8 หมวด ในหนังสือเล่มน้ี เป็นอกี เรอื่ งท่ี กระตุกให้หนูต้องสำรวจตัวเองเหมือนกันว่าฉันเองเป็นอย่างไร? หรอื The Point of Teen’s View “การบน่ เปน็ การแสดงทา่ ทเี่ ชงิ ลบ” เป็นประโยคจากในหนังสือท่ีทำให้รู้สึก สะกิดใจอย่างจัง ไม่เพียงแต่ ตัวหนู แต่กับเพือ่ นๆ แทบทกุ คน เราจะต้องมเี สยี งบ่นก่อนลงมอื ทำงาน อยบู่ ่อยๆ หนูก็ได้บทเรียนว่าเวลาจะทำอะไรก็ลงมือทำเลย อย่าบ่น เพราะจะทำใหเ้ สียบรรยากาศ หนงั สือเล่มนี้บอกว่า “ทักษะท่ีสำคัญท่ีสุดของพ่อแม่และ ครูคือการรับฟังอย่างเห็นอกเห็นใจ ฟังให้เข้าใจรับรู้ถึงความรู้สึก ของเด็กไม่ใช่สวนกลับหรือส่ังสอน” หนูเห็นด้วยล้านเปอร์เซนต์ เพราะเม่ือไรทถี่ กู พ่อแมอ่ บรม เรากจ็ ะอดึ อดั มที ่าท่แี ข็งกรา้ วขึน้ มา หรือ ไม่ก็เมินเฉย หนังสอื เล่มนี้ชว่ ยพดู แทนลูกเป็นอยา่ งดี ไอริณ มัณฑะจิตร 7

คำนำมูลนิธิฯ เมอ่ื ลูก (ศษิ ย์) มพี ฤติกรรมไมพ่ ึงประสงค์ เราจะทำอย่างไรดี จะอบรมลูก (ศิษย)์ อยา่ งไรให้เป็นคนด ี เม่อื ลูก (ศษิ ย์) มแี ฟนเราควรทำอย่างไร จะรบั มอื กบั อารมณป์ นั่ ป่วน ของวัยร่นุ ได้อยา่ งไร เปน็ คำถามทพี่ อ่ แม่ ครู อาจารยม์ กั จะเผชญิ กบั สถานการณเ์ ชน่ น้ี เสมอในการดูแลลูก (ศษิ ย)์ วัยรุ่น สำหรบั คนเป็นพ่อเป็นแม่แล้ว เราหวัง วา่ จะสามารถรบั มอื กับปัญหาเหลา่ นีไ้ ดด้ ี เพราะหมายถึงความสามารถ ในการบม่ เพาะบตุ รหลาน ใหเ้ ตบิ โตเปน็ ผใู้ หญท่ ด่ี ี มคี วามมนั่ คงทางอารมณ์ แต่ความจริงแล้วพ่อแม่หลายคนก็แอบยอมรับกับตัวเองว่าเป็นมือใหม่ หัดเลยี้ งลกู วัยรุน่ เช่นกนั การท่ตี ้องประคับประคองใหล้ ูก (ศษิ ย์) วยั รนุ่ ผ่านชว่ งเวลาท่ี “ปน่ั ปว่ น” ในชวี ติ ใหเ้ ตบิ โตเปน็ ผใู้ หญท่ ส่ี มบรู ณน์ น้ั เปน็ เร่ืองที่ยากลำบากไมแ่ พว้ ยั รนุ่ เลย เพราะต้องทำความเข้าใจและรู้เทา่ ทัน สถานการณ์ทางอารมณ์ ของลกู (ศษิ ย)์ และต้องใหค้ ำแนะนำโดยมีท่าที ที่ “วัยรนุ่ ” รับได้ การทำหน้าที่ “โคช้ ” มอื ใหม่ เชน่ นเี้ ป็นเร่ืองทีพ่ ่อแม่ หลายคนกังวลวา่ จะทำได้ดแี ค่ไหน หนงั สอื สอนเดก็ ใหเ้ ปน็ คนดี ทอี่ ยใู่ นมอื ทา่ นเลม่ นเ้ี ปน็ ผลงานเขียน บล็อก ของศาสตราจารย์นายแพทย์วิจารณ์ พานิช ใน Gotoknow จำนวน 19 ตอน จากการตคี วามสาระในหนังสือ Teaching Kids to 8

Be Good People: Progressive Parenting for the 21th Century เขยี นโดย Annie Fox อาจใหก้ ญุ แจสำคญั ทพ่ี อ่ แมแ่ ละครอู าจารยแ์ สวงหา นั่นคอื ความเขา้ ใจในสภาวะทางอารมณข์ องวยั รนุ่ และบทบาทของ “โคช้ ” ท่ีดี ทา่ นจะพบวา่ หลายคำตอบในหนงั สอื เลม่ นเ้ี ปน็ เหมอื นกระจกสะทอ้ น ภาพของทา่ นเองในสถานการณ์ต่างๆ ที่ผ่านมา และคงประเมินได้แลว้ ว่าเรารับมอื กบั สถานการณเ์ หลา่ นไี้ ดด้ เี พยี งใด ความสำคญั คอื เราจะรับมอื กบั สถานการณ์ท่จี ะเกิดขึ้นในอนาคตได้ดีกวา่ ได้อยา่ งไร? หนงั สอื เหลา่ นไี้ มเ่ พยี งแตจ่ ะมคี ณุ คา่ ตอ่ ผใู้ หญท่ ี่ อยากเปน็ “โค้ช” ที่ดี แต่วัยรุ่นกไ็ ดป้ ระโยชนจ์ ากการอา่ นเพ่อื ทำความเข้าใจตนเอง มลู นธิ ิสยามกัมมาจล จึงหวังเปน็ อย่างยงิ่ วา่ เนอื้ หา และแงค่ ดิ ของหนังสือเล่มนีจ้ ะเกิดประโยชนอ์ ยา่ งสงู สดุ สำหรบั พอ่ -แม-่ ผปู้ กครอง- คร-ู อาจารย์ และเยาวชน ในการมองเหน็ แนวทางนำไปแกไ้ ขปญั หาตา่ งๆ จนสมั ฤทธิ์ผล จนทา้ ยสุดจะสามารถนำไปปรบั พฤตกิ รรมของลกู (ศษิ ย)์ หรือของตนเองใหด้ ขี ้นึ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความสัมพันธท์ ดี่ ีขนึ้ ภายในครอบครวั และส่งผลท่ดี ตี ่อเนอ่ื งตอ่ ไปในสังคม และหวังว่าหนังสือเล่มน้ีจะเป็น “คู่มือ” และเป็น “เพื่อน” ในยามทเี่ กดิ ความ “ปนั่ ปว่ น” ขนึ้ มา และมสี ว่ นชว่ ยใหล้ มพายนุ น้ั สงบลง ได้ดว้ ยด ี มูลนธิ ิสยามกมั มาจล 9

คำนำผูเ้ ขียน หนงั สอื สอนเดก็ ใหเ้ ปน็ คนดี เลม่ นี้ รวบรวมจากบนั ทกึ ในบลอ็ ก GotoKnow จำนวน ๑๙ ตอน ทเ่ี ผยแพรร่ ะหวา่ งวนั ท่ี ๓ กนั ยายน ๒๕๕๖ ถงึ วนั ที่ ๙ มกราคม ๒๕๕๗ และเม่ือคุณปยิ าภรณ์ มณั ฑะจติ ร ผู้จดั การ มูลนิธสิ ยามกัมมาจล ได้อ่าน ก็แสดงความจำนงว่ามูลนิธิฯ ต้องการ จดั พมิ พร์ วมเลม่ ออกเผยแพรใ่ หก้ วา้ งขวางขน้ึ เพราะสาระในหนงั สอื ตรงกับ เป้าหมายของมูลนิธฯิ คอื สง่ เสริมการพัฒนาเยาวชน เน้นที่การพฒั นา บคุ ลกิ นสิ ยั ใจคอ หรอื ความเปน็ คนดี ทเี่ รียกว่า Character Building บนั ทึกทั้งหมดน้ัน ได้จากการอ่านและตีความสาระในหนงั สือ Teaching Kids to Be Good People : Progressive Parenting for the 21st Century เขียนโดย Annie Fox ย้ำวา่ เป็นการเขยี นแบบ ตีความ ไมไ่ ด้ถอดความหรือแปล ดงั นัน้ ผู้รบั ผดิ ชอบความถูกตอ้ งของ สาระในบนั ทกึ และในหนงั สือ สอนเด็กให้เป็นคนดี เล่มน้ี คือตัวผม ไม่ใช่ Annie Fox แต่จริงๆ แล้ว สาระไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๘๐ มาจาก หนงั สือท่ี Annie Fox เขียน เนอ่ื งจากหนังสือเล่มนี้เขียนแบบตีความ ท่านผู้อ่านพึงอ่าน อย่างมีวจิ ารณญาณ 10

ผมได้เขียนไวห้ ลายที่ในต้นฉบบั ว่าคำแนะนำของ Annie Fox ในหนงั สอื เลม่ ดงั กล่าวนั้น เขียนตามบริบทของสังคมและวัฒนธรรม อเมริกัน คำแนะนำในบางเร่ืองจึงอาจไม่ค่อยสอดคล้องกับบริบทของ สังคมไทย ในขน้ั ตอนของการรวบรวมและปรับปรุงข้อความในบันทึก ที่ลงบลอ็ ก ไดม้ ีการปรับปรุงเพิ่มเติมข้อความบ้าง เพื่อให้สอดคล้อง กับสังคมไทย แต่ก็ปรับปรงุ เพยี งเลก็ นอ้ ยเทา่ นน้ั ผมขอขอบคุณทมี งาน ของมลู นธิ สิ ยามกมั มาจล ทีช่ ว่ ยตรวจทานและใหค้ ำแนะนำ หนงั สอื เลม่ นี้ เขยี นเพอื่ สอ่ื สารกบั พอ่ แม่ ในการทำหนา้ ที่เป็น “ครฝู กึ ” ช่วยประคับประคองลูกของตนให้ผ่านขั้นตอนพัฒนาการชวี ติ วางพื้นฐานความคิด ทักษะทางอารมณ์ ทักษะสังคม และพัฒนาความ เปน็ คนดี ทจี่ ะตอ้ งเขา้ ใจขนั้ ตอนของพฒั นาการเดก็ จากชวี ติ ทต่ี อ้ งพง่ึ พา ผ้อู น่ื โดยสน้ิ เชงิ (Dependent) ไปสชู่ วี ติ ทพ่ี งึ่ ตนเองได้ (Independent) และเปน็ ทพ่ี ง่ึ ของผอู้ น่ื ได้ คอื สชู่ วี ติ ของผใู้ หญท่ เ่ี ปน็ คนดี โดยมคี ณุ ลกั ษณะ สำคญั ๘ ประการ ตามทรี่ ะบใุ นหนงั สือ ทักษะการเป็น “ครูฝึก” พัฒนาการเด็กนี้ มีความสำคัญยงิ่ ต่อครูด้วย หนงั สอื เลม่ น้ีจึงควรไดร้ บั การเผยแพรอ่ ยา่ งกวา้ งขวาง เพ่อื 11

ใหพ้ อ่ แมแ่ ละครมู ที กั ษะในการชว่ ยประคบั ประคอง หรอื เปน็ พเี่ ลย้ี ง ของ พัฒนาการ ชวี ติ ของลูกหรอื ของศษิ ย์ จากวยั เด็กสวู่ ยั ผ้ใู หญ่ วางพืน้ ฐาน ชวี ิตทเี่ ปน็ คนดี มคี วามสขุ และเป็นประโยชน์ต่อสังคม ดังน้ัน นอกจาก หาอ่านในรูปเล่มท่ีพิมพ์ในกระดาษ ท่านผู้สนใจยังสามารถดาวน์โหลด หนงั สอื ไดฟ้ รที เ่ี วบ็ ไซตข์ องมลู นธิ สิ ยามกมั มาจล ท่ี www.scbfoundation.com หรอื อ่านจากต้นฉบับในบล็อกโดยตรงได้ท่ี http://gotoknow.org/ posts?tag=fox ผมขอขอบคุณคุณปิยาภรณ์ มัณฑะจิตร ผู้จัดการมูลนิธิ สยามกัมมาจล ท่ีมีดำริจัดพมิ พ์หนังสือเลม่ นี้ และขอบคณุ คุณนาถชิดา อนิ ทรส์ อาด เจ้าหน้าท่ีส่ือสารองค์กรของมูลนิธิสยามกัมมาจล ทเ่ี ป็น ผู้จัดทำต้นฉบับหนังสือและตรวจทานความถูกต้องของต้นฉบับเดิม ขอท่านผู้เกี่ยวข้องกับการจัดทำหนังสือเล่มนี้จงได้รับผลบุญกุศล จากการทำคุณประโยชน์แก่สังคมไทย ผ่านการเผยแพร่แนวทาง สอนเด็กให้เป็นคนดี วิจารณ์ พานิช 12

สารบัญ เรื่อง หน้า คำนิยม คำนำมูลนิธฯิ ๑๕ คำนำผู้เขียน ๒๑ บทที่ ๒๙ ๑. ผู้ทำนบุ ำรุง ๓๕ ๒. ฝึกจัดการอารมณ์ ๑ ๔๑ ๓. ฝึกจดั การอารมณ์ ๒ ๔๗ ๔. จรยิ ธรรม : เคารพ และซื่อสตั ย ์ ๕๕ ๕. จริยธรรม : ความเห็นอกเห็นใจ และความเปน็ ตัวของตัวเอง ๖๓ ๖. ชว่ ยเหลอื ผอู้ น่ื : ความมีนำ้ ใจ เหน็ อกเหน็ ใจช่วยเหลอื ผู้อน่ื ๖๙ ๗. ช่วยเหลอื ผู้อ่ืน : ความเคารพผอู้ น่ื และเคารพตนเอง ๗๕ ๘. การใหอ้ ภัย : ความเคารพใหเ้ กียรติ และความเช่อื ถอื ไวว้ างใจ ๙. การใหอ้ ภยั : เขา้ ใจ ใหอ้ ภยั และใหโ้ อกาสแกต้ ัว ๑๐. ความเห็นใจ : เข้าใจระดบั พัฒนาการของเด็ก 13

บทท ่ี หน้า ๑๑. ความเหน็ ใจ : การจัดการเด็กท่ีไมเ่ ช่อื ฟัง / ๘๕ การจดั การความสมั พันธ์ ๙๑ ๑๒. เขา้ ใจความรู้สกึ ของคนอืน่ : ต่อต้านวัฒนธรรม ๙๙ แห่งความโหดรา้ ยรนุ แรง ๑๐๕ ๑๓. เข้าใจความรู้สกึ ของคนอน่ื : เบื้องลึกของการสื่อสาร ๑๑๓ ๑๔. การยอมรบั : จากตัวกูของกู สโู่ ลกกว้าง ๑๒๑ ๑๕. การยอมรับ : เรยี นรกู้ ารเปลยี่ นแปลง และภาพใหญข่ องชวี ติ ๑๒๙ ๑๖. ความกล้าหาญทางสงั คม : ทกั ษะดำรงมิตรภาพ ๑๓๗ ๑๗. ความกลา้ หาญทางสงั คม : สู่โลกกว้าง ๑๓๙ ๑๘. บทสง่ ท้าย ๑๙. AAR 14

๑. ผทู้ ำนุบำรุง สอนเดก็ ใหเ้ ป็นคนดี : ๑. ผู้ทำนบุ ำรุง 15

“นิสัยหรือบุคลิกที่ดี เช่น ความเห็นอกเห็นใจ และเคารพผู้อ่ืน เป็นสิ่งท่ีสอน (ฝึก) ได้ ทั้งท่ีบ้านและ ทโ่ี รงเรยี น ครแู ละพอ่ แมท่ ฝี่ กึ เดก็ ใหเ้ ปน็ คนดี เปน็ ผชู้ ว่ ยให้ สงั คมและโลกเป็นที่ปลอดภัย ร่มเย็น และเปน็ ธรรม สำหรับทุกคน ผมอยากให้คนเราทุกคนมีสำนึกเช่นน ้ี …  สำนกึ พลเมอื ง” 16 สอนเด็กให้เปน็ คนดี : ๑. ผูท้ ำนบุ ำรุง

บนั ทกึ ๑๙ ตอนน้ี มาจากการตคี วามหนงั สอื  Teaching Kids to Be Good People Teaching Kids to Be Good People : Progressive Parenting for the 21st Century เขียนโดย Annie Fox, M.Ed.   ตอนท่ี ๑ น้ี ตีความจากบท Introduction : Obviously not all teachers are parents, but all parents are teachers. อา่ น แล้วผมนกึ ถงึ   “บ้านผู้หว่าน”  ทีส่ ามพราน นครปฐม ทีห่ มายถึงการ หว่านเมลด็ พนั ธ์ุแห่งความดี แตค่ ิดดูอีกที หนงั สือเลม่ น้วี า่ ดว้ ยการสอน  (ฝกึ )  เดก็ ให้เป็นคนดี โดยที่เด็กแต่ละคนมีเมล็ดพันธ์ุแห่งความดี อยู่ในตัวอยู่แล้ว ผมจึงตั้งช่ือตอนนี้ว่า “ผู้ทำนุบำรุง” (เมล็ดพันธ์ุแห่ง ความดีทม่ี ีอยใู่ นตัวเด็ก)  สอนเด็กใหเ้ ป็นคนดี : ๑. ผู้ทำนบุ ำรงุ 17

ผเู้ ขยี นบอกว่า นสิ ยั หรอื บุคลิกทีด่ ี เชน่ ความเห็นอกเห็นใจ และเคารพผู้อื่น เป็นส่ิงท่ีสอน  (ฝึก)  ได้ ทั้งท่ีบ้านและที่โรงเรียน ครแู ละพ่อแม่ท่ีฝึกเด็กให้เป็นคนดี เป็นผู้ช่วยให้สังคมและโลก เป็นที่ปลอดภัย รม่ เยน็ และเป็นธรรม สำหรับทุกคน ผมอยาก ให้คนเราทุกคนมีสำนกึ เชน่ น.้ี ..สำนกึ พลเมอื ง ท ำนุบำรแุงต ่พ“่อพแันมธ่แ์ุเลทะพค”ร ูท ี่มีความมุ่งม่ัน ในตัวเด็กในยุคปัจจุบนั ต้องเผชิญความท้าทาย อยา่ งหนักจากสภาพแวดล้อม รอบด้าน โดยเฉพาะอย่างย่ิง ค่านิยมท่ีเผยแพร่โดยสื่อมวลชน มักใหค้ วามบันเทงิ เจือกเิ ลส ในขณะที่ ครูและพอ่ แม่พยายามสรา้ งนิสยั ดี ที่เขาใช ้ คำว่า Character Building แต่สื่อมวลชนทำ  Character Assassination คือทำฆาตกรรมนิสัยดี เท่ากับสภาพแวดล้อมรอบตัว เป็นมลพิษต่อสุขภาวะของพวกเรา ! 18 สอนเด็กให้เปน็ คนดี : ๑. ผู้ทำนบุ ำรงุ

ไมว่ ่าในวฒั นธรรม  Online  หรือ  Offline  ทารุณกรรมมักถกู ละเลยหรอื ยกยอ่ ง พอ่ แมแ่ ละครจู งึ ตอ้ งทำนบุ ำรงุ ความดงี ามในทา่ มกลาง กระแสสังคมท่ีไหลบา่ ไปในทางตรงกันขา้ ม  ผูเ้ ขียนบอกว่า วัยรนุ่ ในสมยั นี้ถูกบบี คนั้ จากเพอ่ื นๆ และตกอยู่ ในสภาพทวี่ ติ กกงั วลกบั สภาพของตนเองยงิ่ กวา่ สมยั ใดๆ เขาใชค้ ำวา่  Status Anxiety ผมไตรต่ รองวา่ นนั่ เปน็ สภาพสงั คมอเมรกิ นั ทไี่ มเ่ หมอื น สงั คมไทยหรอื เปลา่ ไตรต่ รองแลว้ ก็คิดว่าวัยรุ่นไทยกต็ กอยใู่ น สภาพคลา้ ยคลงึ กนั  และทำใหว้ ยั รนุ่ ตอ้ งประพฤตติ นตามเพอื่ น และบอ่ ยครงั้ นำไปสคู่ วามเสอื่ ม เปน็ การเพาะ “พนั ธม์ุ าร” ในตน (มผี เู้ ขยี นเลา่ การสมั ภาษณแ์ มว่ ยั รนุ่ ในประเทศไทย วา่ ทต่ี น ต้องมเี พศสัมพันธก์ เ็ พื่อให้เขา้ กลุม่ กับเพอื่ นๆ ได้) แต่ผูเ้ ขียนก็บอกว่า เราสามารถทำนุบำรุงเยาวชนของเราให้ เปน็ คนดที ม่ี ใี จชว่ ยเหลอื ผู้อ่ืน และมีความกล้าหาญทางสังคมทจี่ ะลงมือ ทำตามเจตนาด ี พวกเราเปน็ เสมือนชาวสวนท่ีทำหน้าท่ี “ผู้หว่าน” เมล็ดพนั ธ์ุ แหง่ ความดี และหม่ันรดน้ำพรวนดนิ ทำนบุ ำรงุ ให้ส่วน  “พันธุ์เทพ”  งอกงาม แม้จะมีกระแสสังคมที่กระตนุ้  “พันธม์ุ าร” ก็ตามที สอนเด็กใหเ้ ปน็ คนดี : ๑. ผู้ทำนุบำรุง 19

ผเู้ ขยี นฉลาดมาก หาวธิ นี ยิ ามคำวา่ ความดี จากการ “ถามปวงชน” (Crowdsourcing) และไดค้ ำตอบที่นำมาจัดหมวดหมูไ่ ด้ ๘ คณุ สมบัติ คอื ความฉลาดทางอารมณ์  (Emotional Intelligence),  จริยธรรม  (Ethics),  ชว่ ยเหลอื ผอู้ ื่น  (Help),  ใหอ้ ภยั   (Forgiveness), ความเหน็ ใจ  (Compassion), เข้าใจความรู้สึกของผู้อ่ืน  (Empathy),  การยอมรบั   (Acceptance), และ ความกล้าหาญทางสังคม  (Social Courage) ผู้เขียนบอกว่า คณุ สมบตั ทิ ัง้ ๘ ประการนี้ ฝึกได ้   วิจารณ์ พานชิ ๑๐ มี.ค. ๕๖ บนเครอื่ งบินไปโตเกียว http://www.gotoknow.org/posts/547284 20 สอนเด็กให้เปน็ คนดี : ๑. ผูท้ ำนุบำรงุ

๒. ฝกึ จดั การอารมณ์ ๑ สอนเด็กใหเ้ ปน็ คนดี : ๒. ฝึกจดั การอารมณ์ ๑ 21

“ทักษะที่สำคัญที่สุดของพ่อแม่และครูคือการฟัง หรือรับฟัง ฟังอย่างเห็นอกเห็นใจ  ฟังให้เข้าใจความรู้สึก ของเด็ก ไม่ ใช่คอยสวนกลับ หรือสั่งสอน” “ทักษะทางอารมณ์ต้องคู่กับทักษะในการเข้าใจ เห็นใจคนอ่ืน เมื่อเราเข้าใจความรู้สึกและอารมณ์ของเขา เรากจ็ ะมสี ติในการหาวธิ ตี อบสนองเชงิ บวก เชงิ เหน็ อกเหน็ ใจ แสดงความรักความห่วงใย” 22 สอนเด็กให้เปน็ คนดี : ๒. ฝึกจัดการอารมณ์ ๑

ตอนท่ี ๒ น้ี ตคี วามจากบทท่ี ๑ How Do You Feel? No, Really. Learning to Manage Emotions โดยท่ีในบทที่ ๑ มี ๔ ตอน ในบนั ทึกที่ ๒ นี้ จะตีความตอนที่ ๑ และ ๒  ส่วนตอนท่ี ๓ และ ๔ จะอยู่ในบันทกึ ที่ ๓   ผูเ้ ขียนขึ้นต้นบทนี้ด้วยการยกคำของ  Daniel Goleman  ผู้เขยี นหนงั สือ  Emotional Intelligence อันลือลั่นว่า อนาคต Emotional Intelligence ของคนเราแต่ละคนจะไปได้ไกลแค่ไหน ข้ึนอยู่กับความมีสติรู้เท่าทัน อารมณ์ของตนเอง รู้วิธีจัดการอารมณ์ที่บีบคั้น มีความเห็นอกเห็นใจ คนอ่ืนด้านอารมณ์ และมีปฏิสมั พนั ธอ์ นั ดรี ะหวา่ งกนั   ทักษะอย่างหนึ่งที่ฝึกยากมาก คือการขับรถถอยหลังเข้า จอดชิดขอบทาง  แต่ทักษะท่ียากกว่า คือการควบคุมอารมณ์ให้ สงบน่ิง ยามเผชิญอารมณ์รุนแรงทำลายลา้ ง ไม่ว่าอารมณ์น้ันจะเป็น ของตนเองหรือของผอู้ ื่น คนเราทุกคนต้องได้ฝึกทักษะน้ี พ่อแม่และ ครูต้องช่วยฝึกทักษะนี้ แก่เดก็ สอนเด็กให้เป็นคนดี : ๒. ฝึกจัดการอารมณ์ ๑ 23

ตอนท่ี ๑ ของบทท่ี ๑ ผู้เขียนเล่าเร่ืองความเข้าใจผดิ และ จดั การอารมณผ์ ดิ ๆ ของตนเอง จนอายุ ๔๐ ปี จงึ เข้าใจ   ความเข้าใจผิดน้ันคือ คิดวา่ คนทเ่ี ป็นผใู้ หญต่ ้องเก็บงำหรือ ซอ่ นอารมณ์ของตน ซึ่งก็เป็นความเข้าใจผิดของตัวผมเอง จนได้ อ่านหนงั สอื   Emotional Intelligence  ของ  Daniel Goleman  เม่ือ ๒๐ ปีทีแ่ ล้ว  จึงเข้าใจว่า การมีอารมณ์หรือเกิดอารมณ์เป็นธรรมชาติ ของมนษุ ย์  ไม่ใช่เรื่องช่ัวหรือน่าอับอาย  แต่ถ้าจัดการอารมณ์ไม่เป็น  ปลอ่ ยให้มันพลุง่ ข้ึนมาทำร้ายคนอืน่ หรือตนเองก็เกดิ ความเสยี หาย  อารมณเ์ ป็นธรรมชาติอยา่ งหน่ึงของมนษุ ย์ ถา้ เรารู้จักจัดการให้ เกิดผลเชงิ บวกก็เป็นผลดี  และท่จี รงิ แลว้ ผมคิดว่า น่ีคือส่วนหนง่ึ ของ การเรยี นรตู้ ลอดชีวิต  หลายครั้งเราผิดพลาด หากเรารู้จักเรียนรู้จาก ความผิดพลาด เราก็จะไมท่ ำผิดซ้ำ  และเรากจ็ ะมีทกั ษะในการจัดการ อารมณเ์ ขม้ แขง็ ขนึ้ เรอื่ ยๆ เราจะมที กั ษะในความสมั พนั ธเ์ ชงิ บวกกบั คนใน ครอบครัวและคนรอบข้าง โดยผ่านความสมั พนั ธท์ างอารมณ์ ในหนังสือให้บทเรียนในความสัมพันธ์ระหว่างสามีภรรยา และระหว่างพอ่ แม่ลูกอยา่ งดียงิ่   น่ีคือบทเรียนจากชีวิตจริง ยง่ิ ตอนลกู เข้าสู่วัยร่นุ ซงึ่ เปน็ วนั ที่อารมณ์ผันผวนเพราะสาเหตุทางฮอรโ์ มน และ ทางสังคมที่เข้าสู่วัยฝึกรับผิดชอบตนเอง ยง่ิ เปน็ บทเรียนของการจดั การ อารมณเ์ พอ่ื ความสัมพันธ์ที่ดรี ะหว่างกนั ทักษะที่สำคัญท่ีสุดของพ่อแม่และคร ู คือการฟงั หรอื รบั ฟงั ฟงั อยา่ งเหน็ อกเหน็ ใจ  ฟงั ใหเ้ ขา้ ใจความรสู้ กึ ของเดก็ ไมใ่ ช่คอย สวนกลบั หรอื ส่งั สอน 24 สอนเด็กให้เปน็ คนดี : ๒. ฝึกจัดการอารมณ์ ๑

ผู้เขียนถงึ กบั แนะนำพอ่ แม่ใหถ้ ามลกู วา่ พ่อแม่ควรจะปรบั ปรงุ ตัวเองอยา่ งไรบ้าง เพ่ือเปน็ ทพ่ี ึง่ ของลกู ได้ดีกว่าน้ี ยามลกู มีความทกุ ข์ใจ   อา่ นตอนที่ ๑ ทง้ั หมดแล้ว ผมสรปุ กับตนเองวา่   ทักษะทาง อารมณ์ต้องคู่กับทักษะในการเข้าใจ เห็นใจคนอื่น  เมื่อเราเข้าใจ ความรู้สึกและอารมณ์ของเขา เราก็จะมีสติในการหาวิธีตอบสนอง เชิงบวก เชงิ เหน็ อกเหน็ ใจ แสดงความรักความหว่ งใย เรามีบทเรยี น ในชวี ติ จรงิ ใหฝ้ กึ หดั เรยี นรตู้ ลอดชวี ติ   คำถามก็คอื คนเปน็ พอ่ แม่ หรือเป็นครู จะชว่ ยให้เด็กพัฒนา ทักษะเชงิ การจดั การอารมณ์ได้อยา่ งไร ถามเชน่ นแ้ี ลว้ ผมก็นึกถึงตอนไปเย่ียมโรงเรียนลำปลายมาศ พฒั นา (อ่านรายละเอียดได้ท่ี http://www.gotoknow.org/posts/ 465409) และเขา้ ไปสังเกตการณ์ในชั้นอนุบาล ว่าครูมีวิธีพูดคุยกับ เดก็ อยา่ งไร ทางโรงเรยี นมกี ตกิ าใหค้ รปู ฏบิ ตั ติ อ่ เดก็ อยา่ งไร ผมตคี วามว่า นั่นคอื การฝกึ ทกั ษะเชงิ อารมณใ์ หแ้ กน่ กั เรยี น  รวมทง้ั กตกิ าและวิธีปฏิบัติ ต่อนกั เรยี นอกี หลายอยา่ ง นา่ จะเปน็ การฝกึ ทกั ษะเชงิ อารมณใ์ หแ้ กน่ กั เรยี น ผมจงึ คดิ วา่ จริงๆ แล้ว ทกุ ขณะจิตของการเรียนรใู้ นโรงเรียน (และทบี่ า้ น) เปน็ การฝกึ ทกั ษะเชงิ อารมณ์ บรู ณาการอยกู่ บั การฝกึ ทกั ษะ อื่นๆ ในชุดทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี ๒๑ ในหนงั สอื ไมไ่ ดก้ ลา่ วไว้ แตผ่ มเชอื่ วา่ การฝกึ ทกั ษะทางอารมณ์ ตอ้ งบรู ณาการอยูก่ บั การเรียนรูท้ กั ษะอนื่ ๆ   ตอนที่ ๒ ของบทที่ ๑ เป็นเรื่องการสวมหนา้ กากเข้าหากนั เพราะไมก่ ลา้ เผชญิ ความจรงิ  นคี่ อื ขนั้ ตอนหนง่ึ ของพฒั นาการทางอารมณ์ ของคน คนที่พัฒนาการทางอารมณ์ยังอยู่คร่ึงๆ กลางๆ จะยังไม่กล้า แสดงตัวตนทแ่ี ทจ้ รงิ ออกมา  ตอ้ งแสดงตวั หลอกๆ ไมต่ รงกบั ความเปน็ จรงิ    สอนเดก็ ให้เป็นคนดี : ๒. ฝึกจดั การอารมณ์ ๑ 25

ผเู้ ขยี นสอบถามนักเรียนวัยรุ่นว่า ในการท่ีตนเองปกปิดความ รู้สึกที่แท้จริงในเรื่องใดเรื่องหน่ึง  ตนเองรู้สึกอย่างไร คำตอบที่ได้ คือรู้สึกผดิ รูส้ ึกโกรธตัวเอง ตนตอ้ งการสรา้ งความประทบั ใจให้เพ่ือน และเมื่อทำเชน่ นั้นกร็ สู้ กึ ไมด่ ี รสู้ กึ วา่ ตนเปน็ คนหลอกลวง เปน็ ตน้ เทา่ กบั เดก็ วยั รุ่นมีชีวิตอยู่กับความปั่นป่วนทางอารมณ์  เพราะเสพติดการ ยอมรบั จากเพอ่ื น (Peer Approval Addict)  และพฤตกิ รรมของเพือ่ นๆ หลายอยา่ งไม่ใช่ ส่ิงท่ีควรทำ  ผเู้ ขยี นถามนักเรยี นวยั รุ่นคนเดิม ได้ รบั คำถามใหม่ ภายหลงั คำถามแรก ๑ สปั ดาห์ ว่า ชวี ติ จะเปลย่ี นไปอยา่ งไร หากตนเองไมต่ ้อง กังวลว่าคนอ่ืนจะคิดต่อเราอย่างไร คำตอบ ท่ีได้คือ ความวิตกกังวลจะหมดไป รู้สกึ โปรง่ โล่งเบาสบาย เปน็ อิสระ      แลว้ เราจะชว่ ยเด็กใหห้ ลุดจากโซต่ รวนทางอารมณ์ได้อยา่ งไร  ไมม่ ีสตู รสำเร็จตายตัว  โดยบางครั้งก็ตอ้ งฝืนใจ เชน่ เมอื่ เพอื่ น มาหาท่บี ้านในชว่ งท่ีเราไมส่ ะดวก เราก็ตอ้ นรับอย่างย้มิ แย้มแจม่ ใส การ ฟังนักพูดทางจิตวิทยาสำหรับวัยรนุ่ การอา่ นเรอื่ งราวของคนมีช่ือเสยี งที่ คดิ บวก การชวนเด็กคุยว่า หากตกไปอยู่ในบางสถานการณ์ตนจะทำ อย่างไร  การเสนอต่อเด็กวา่ เมอ่ื ไรทเ่ี ผชญิ สถานการณ์ท่ไี ม่กล้าแสดงตวั ตนท่ีแท้จริงออกไปให้มาหา การได้พูดคุยกับผู้ใหญ่ที่เขาไว้วางใจอาจ ชว่ ยได ้ 26 สอนเด็กให้เปน็ คนดี : ๒. ฝึกจัดการอารมณ์ ๑

คำถามของหนุ่ม ๑๓ ตนจะทำอยา่ งไรดี ทเ่ี พอ่ื นสนทิ ทเ่ี ปน็ ผหู้ ญงิ บอกว่าตนคงจะลองสูบกัญชา  เพราะใครๆ เขาก็สูบกันทั้งนั้น  ตนได้ หา้ มปรามอยู่บ้าง โดยบอกว่าจะไม่ยอมมีประวัติสูบกัญชาเป็นอันขาด เพราะต้องการไปสมัครเป็นนักเรียนนายทหาร  ถามว่าตนจะทำอยา่ งไร กบั เพอ่ื นผหู้ ญงิ ด ี คำตอบของผู้เขียน ชื่นชมท่ีผู้ถามห่วงใยอนาคตของเพอื่ น นี่ คอื การทำความดี แนะนำให้แสดงความหว่ งใยอนาคตของเพ่ือน แสดง ความรักและหวงั ดใี นฐานะเพอื่ น แตอ่ ย่าตง้ั ความหวังว่าตนจะหา้ มปราม เพอื่ นไดส้ ำเร็จ  เพราะเป็นการตัดสินใจของเจ้าตัว และต้องเข้าใจว่า คำว่า  “ใครๆ กส็ ูบกันทงั้ น้ัน” ไม่จริง  เป็นเพียงคำแก้ตัว โอกาสที่ เพื่อนคนนี้จะเข้าไปมั่วสุมกับวงกัญชาจะมีสงู    อ่านหนงั สอื มาถงึ ตอนนี้ ผมนกึ ถึง Maslow’s Hierarchy of Needs  Self-actualization aclpacrceoskppbcmotorlaeefnonmatprctaarienvlesiiotejtouyyliftv,d, y ifin,ca gec,,t s Esteem respeccotnoffidoestnehclefe-re,s,satrceehesipemev,ec tmbeynot,t hers Love/Belonging friendship, family, sexual intimacy Safety osfecmuorirtayliotyf,boofdtyh,eoffaemmilpy,looyfmheenaltt,ho,forfepsorouprceertsy, Physiological breathing, food, water, sex, sleep, homeostasis, excretion สอนเด็กให้เปน็ คนดี : ๒. ฝึกจดั การอารมณ์ ๑ 27

ท่ีเด็กจะต้องพัฒนาอารมณ์ของตน จากระดับท่ีสาม ท่ี ตอ้ งการ ความรัก ผ่านระดับที่สี่ ที่ต้องการแสดงความเก่ง ไปสู่ ความม่ันใจสภาพความเป็นจริงของตน ครูและพ่อแม่ต้องเรียนรู้ เทคนิคช่วยให้เด็ก พฒั นาอารมณ์ของตนข้ึนสู่ยอดพีระมิดของ  Maslow  ให้ได้ โดยที่ยอดพีระมิดของแต่ละคนมีลักษณะจำเพาะ ไมม่ เี หมอื นกนั เลย   วจิ ารณ์ พานชิ ๑๐ มี.ค. ๕๖ บนเครอ่ื งบินไปวอชิงตนั ดีซี http://www.gotoknow.org/posts/547841 28 สอนเดก็ ให้เปน็ คนดี : ๒. ฝึกจัดการอารมณ์ ๑

๓. ฝกึ จดั การอารมณ์ ๒ สอนเด็กใหเ้ ปน็ คนดี : ๓. ฝึกจดั การอารมณ์ ๒ 29

“เด็กต้องได้รับการฝึกทักษะการส่ือสารเชิงอารมณ์ ส่ือสารจากใจถึงใจ ให้รู้ว่าเมื่อไรตนต้องการความช่วยเหลือ เชิงอารมณ์ และจะรอ้ งขอความชว่ ยเหลอื อย่างไรจากใคร” “ทกั ษะในการทำความเขา้ ใจอารมณข์ องตนเอง และรู้จกั จดั การใหเ้ กดิ ผลทางบวก และทกั ษะทำความเขา้ ใจ และเคารพ อารมณข์ องคนอนื่ และใหค้ วามเหน็ ใจ ความชว่ ยเหลอื ถงึ ตอนนี้ ผมนกึ ถงึ คำวา่  “มติ รแท”้ 30 สอนเด็กใหเ้ ป็นคนดี : ๓. ฝึกจดั การอารมณ์ ๒

ตอนที่ ๓ ของบทที่ ๑ เปน็ เรอ่ื งของคนเจา้ ทกุ ข ์ ผเู้ ขยี นเลา่ เรอ่ื ง เพ่ือนบ้านที่มีท่ีดินติดกัน เป็นคนก้าวร้าวอารมณ์ร้าย  มีผลให้ผู้เขยี น กพ็ ลอยมีความทุกข์ไปด้วย แต่เมื่อผู้เขียนให้คนมาสร้างร้ัวกั้นให้เป็น สัดสว่ นเสยี ทำใหไ้ มต่ อ้ งมกี ารเผชญิ หนา้  ปญั หาความรำคาญใจของผเู้ ขยี น กห็ มดไป โดยตอ้ งทำใจ วา่ คนทีม่ นี สิ ยั ไม่ดเี ชน่ นั้นมีอย่จู รงิ ในโลก เราตอ้ ง รวู้ ธิ ีอยรู่ ่วมกบั เขาโดยไมโ่ ดนพ่นความทุกข์ใส ่ ในชีวิตจรงิ คนเราต้องอย่กู ับคนทุกประเภท  วธิ ฝี กึ เดก็ ให้รู้จกั จดั การสถานการณ์ที่ถกู รุกรานทางอารมณ์ คอื คุยกัน คุยเรื่องที่ถูกข่มขู่ เพ่ือค่อยๆ ฝึกความมั่นใจตนเองที่จะไม่รับการข่มขู่น้ัน โดยผู้เขียน แนะนำให้พ่อหรือแม่กับลูกนัดคุยกันและเติมคำในช่องว่างของข้อความ “วันนี้ฉันรู้สกึ ถูกขม่ ขู่ เม่ือ .......................................... วนั นฉ้ี ันร้สู กึ เคารพตนเอง เมอ่ื .................................................” เปน็ วธิ ฝี กึ งา่ ยๆ ทจี่ ะ อยใู่ นโลกทม่ี คี นเจา้ ทุกข์   โดยเราไมโ่ ดนพิษรา้ ย คำถามของสาว ๑๓ ตนพงึ ใจเพอื่ นนักเรยี นชายคนหนึ่ง และ คดิ วา่ เขากช็ อบตน  ตนกับเพ่ือนๆ วางแผนกันว่า ในวันสุดท้ายของปี การศกึ ษา กอ่ นระฆงั เขา้ เรยี น ตนจะวงิ่ เขา้ ไปกอดหนมุ่ คนนนั้ และจบู ปาก เหมอื นในหนงั คดิ เรอื่ งนท้ี ไี รรสู้ กึ เปน็ สขุ ทกุ ครง้ั ขอปรกึ ษาวา่ ควรทำหรอื ไม ่ คำตอบ ไมค่ วรทำ แมว้ า่ การ จนิ ตนาการเหตุการณ์กอดจูบหนมุ่ ทตี่ นพงึ ใจเหมอื นในหนงั โรมานซ์ จะให้ ความต่ืนเต้น แต่ในความเป็นจรงิ ไมค่ วรทำ  เพราะเป็นการวางแผน กระทำต่อเพื่อนมนุษย์ ท่ีเขาก็มี สอนเด็กให้เปน็ คนดี : ๓. ฝึกจัดการอารมณ์ ๒ 31

ความรู้สึกของเขา ที่เธอและเพ่ือนวางแผนน้ัน คิดแต่ความรู้สึกของ ตนเอง ไมไ่ ดค้ ดิ ถงึ ความรสู้ กึ ของเขา เมอื่ โดนกอดและจบู ตอ่ หนา้ เพอ่ื นๆ จำนวนมาก คดิ วา่ เขาจะชอบหรอื   ลองคดิ วา่ หากตนเองเปน็ ผถู้ กู กระทำ มีเพอื่ นผชู้ ายเขา้ มากอดและจบู ปากตอ่ หนา้ คนจำนวนมาก ตนเองจะชอบไหม   ตวั อยา่ งสาว ๑๓ น้ี บอกเราวา่ วยั รนุ่ ทยี่ งั เปน็ ผเู้ ยาวต์ อ้ งการ ผู้ใหญ่ท่เี ขาไวว้ างใจ ท่จี ะถามคำถามหวั ใจแบบนไี้ ด ้   ตอนท่ี ๔ เม่อื ตอ้ งการความรัก ก็จงรอ้ งขอ  ผเู้ ขียนสอบถามนกั เรียนชัน้ ป.  ๖  -  ม. ๒ ด้วยคำถาม ๒ ขอ้ คือ (๑) เปน็ การยากไหมท่จี ะเอย่ ปากขอความช่วยเหลือ (๒) ให้ตอบ คำถามวา่ ใช่หรอื ไม่ ทฉ่ี นั ทำเปน็ วา่ สงิ่ ตา่ งๆ ดำเนนิ ไปอยา่ งราบรน่ื ทง้ั ๆ ที่ ในความเป็นจริง มนั ไม่ไดร้ าบรน่ื   จากคำถามขอ้ แรก รอ้ ยละ ๒๕ ของเดก็ บอกวา่ การเอย่ ปากขอ ความชว่ ยเหลอื เปน็ เรอื่ งไมเ่ คยงา่ ยเลย อกี รอ้ ยละ ๒๕ บอกวา่ บางครง้ั กย็ าก แตค่ ำตอบขอ้ ๒ นา่ ตกใจ รอ้ ยละ ๘๓ บอกวา่ ตนแกลง้ ทำเปน็ วา่ สง่ิ ตา่ งๆ ราบร่ืน ทง้ั ๆ ท่ไี ม่ใช่ ข้อมูลนีบ้ อกเราวา่ เด็กขาดทกั ษะในการส่อื สารเชิง อารมณ์ เพราะไมไ่ ด้รบั การฝึก ผู้เขียนบอกว่า อาจเปน็ เพราะเด็กได้ รบั การฝกึ ใหร้ อ้ งขอเฉพาะสงิ่ ทเี่ ปน็ วตั ถจุ บั ตอ้ งได้ พอ่ แมแ่ ละครูจงึ หลงคดิ วา่ เพียงพอแล้ว แตใ่ น ความเปน็ จรงิ แลว้ ไมเ่ พยี งพอ เดก็ ตอ้ งไดร้ บั การฝึกทักษะการส่ือสารเชงิ อารมณ์ สอื่ สาร จากใจถึงใจ  ให้รู้ว่าเม่ือไรตนต้องการความ ชว่ ยเหลอื เชงิ อารมณ์ และจะรอ้ งขอความชว่ ยเหลอื อยา่ งไร จากใคร  32 สอนเดก็ ให้เปน็ คนดี : ๓. ฝึกจัดการอารมณ์ ๒

ผเู้ ขยี นแนะนำใหพ้ อ่ แมห่ รอื ครคู ยุ กบั เดก็ โดยขอใหเ้ ดก็ ตอบคำถาม วา่  “เปน็ การงา่ ยสำหรบั ฉนั ทจ่ี ะขอความชว่ ยเหลอื ” โดยตอบเปน็ การให้ คะแนน ๑ ถงึ ๕  ในความหมายวา่ ๑ = งา่ ยเสมอ ๒ = งา่ ยเกอื บทกุ ครงั้   ๓ = งา่ ยเปน็ บางครงั้  ๔ = เกอื บไมม่ คี รง้ั ใดงา่ ย ๕ =  ไมเ่ คยงา่ ยเลย แลว้ จงึ คยุ กนั เรอื่ งการเอย่ ปากขอความชว่ ยเหลอื คยุ กนั วา่ อะไรเปน็ ตวั ปดิ กน้ั การ เปดิ เผยความรสู้ กึ ตอ่ กนั   ผเู้ ขยี นแนะนำ เมอื่ พบวา่ เดก็ กำลงั เสยี ใจ ใหเ้ ขา้ ไปถามวา่ ตนจะ ชว่ ยเหลอื ไดอ้ ยา่ งไร โดยตอ้ งมวี ธิ พี ดู ใหเ้ กดิ ความสมั พนั ธ์ เชน่  “ครสู งั เกต วา่ หมนู่ เ้ี ธอไมร่ า่ เรงิ เหมอื นแตก่ อ่ น มอี ะไรใหค้ รชู ว่ ยเหลอื บา้ งไหม”   คำถามของสาว ๑๗  ทุกครั้งที่เพื่อนชายกับหนูอยู่ต่อหน้า คนมากๆ  เขาจะแสดงอารมณ์เสียกับหนู และพูดว่า  “ดีแล้ว ต่อไปนี้ ผมจะอยู่คนเดยี ว” ทำใหห้ นเู สียใจและไมร่ ู้วา่ จะพดู กับเขาอยา่ งไร คำตอบ  คำแนะนำคือ เมอ่ื ไรทีใ่ ครก็ตาม  (พอ่ แม่ พี่ น้อง เพอื่ น เพอื่ นชาย เพอื่ นสาว ฯลฯ) พดู ขดั หตู น ตอ้ งหาทางพดู ทำความเขา้ ใจ  ซึ่งบางครงั้ กย็ าก โดยเฉพาะตอ่ คนทอ่ี ารมณร์ อ้ น หลกั การคอื ตอ้ งหาทาง ใหผ้ ู้อ่ืนเข้าใจความรู้สึกหรืออารมณ์ของเรา แนะนำให้หาโอกาสอยกู่ บั เพ่อื นชายสองตอ่ สอง และบอกว่า “ฉันอยากใหเ้ ราคุยกนั ได้อยา่ งตรงไป ตรงมา เมอ่ื เธอพดู คำกา้ วรา้ วต่อฉัน ฉันร้สู กึ เสียใจ  ยงิ่ ตอ่ หนา้ คนอ่ืน ฉัน ย่งิ เสยี ใจ”  ดูวา่ เขาจะตอบอยา่ งไร หากเธอท้ังสองไม่สามารถสื่อสาร กันได้อย่างเคารพต่อกันและกัน ความสมั พนั ธร์ ะหว่างเธอจะมปี ัญหา  สอนเด็กให้เปน็ คนดี : ๓. ฝึกจดั การอารมณ์ ๒ 33

จดุ สำคญั คือ ทกั ษะในการทำความเข้าใจอารมณ์ของตนเอง และรจู้ ักจัดการให้เกิดผลทางบวก  และทักษะทำความเข้าใจ และ เคารพอารมณข์ องคนอน่ื และใหค้ วามเหน็ ใจ ความชว่ ยเหลอื  ถงึ ตอนนี้ ผมนึกถงึ คำวา่  “มติ รแท”้         วจิ ารณ์ พานิช ๑๐ มี.ค. ๕๖ บนเคร่อื งบนิ ไปวอชงิ ตัน ดซี ี http://www.gotoknow.org/posts/548503 34 สอนเดก็ ใหเ้ ปน็ คนดี : ๓. ฝึกจัดการอารมณ์ ๒

๔. จริยธรรม : เคารพ และซื่อสัตย์ สอนเดก็ ใหเ้ ปน็ คนดี : ๔. จรยิ ธรรม : เคารพ และซ่อื สตั ย์ 35

“พ่อแมแ่ ละครตู อ้ งพดู คยุ เรอื่ งราวและคณุ คา่ ของความ ซอื่ สตั ย์ โดยหยบิ ยกเรอื่ งจริงทเ่ี กดิ ขึ้นในสงั คมมาแลกเปลยี่ น ความเหน็ กนั  ผู้ใหญผ่ า่ นโลกมามากกวา่ สามารถเลอื กหยบิ ยก กรณตี วั อยา่ งคณุ คา่ ทเ่ี กดิ จากความซอื่ สตั ยม์ น่ั คงในคณุ ธรรม มาเลา่ ใหล้ กู หรอื ศษิ ยฟ์ งั เพอื่ ปลกู ฝงั อดุ มคต ิ “ซอ่ื กนิ ไมห่ มด คดกนิ ไมน่ าน” 36 สอนเดก็ ใหเ้ ปน็ คนดี : ๔. จริยธรรม : เคารพ และซ่ือสตั ย์

ตอนท่ี ๔ นี้ ตคี วามจากบทที่ ๒ How Should I Know What to Do? Doing the Right Thing is Good Karma โดยทใ่ี นบทที่ ๒ มี ๔ ตอน ในบันทึกท่ี ๔ จะตีความตอนที่ ๑ และ ๒ ในบันทึกท่ี ๕ จะ เป็นการตคี วามตอนท่ี ๓ และ ๔   ตอนที่ ๑ ของบทท่ี ๒ เปน็ เรอื่ ง ความเคารพให้เกียรติคนอืน่ เพอ่ื ทำให้โลกสดใสงดงาม โดยท่ีคนเราทุกคนมีโอกาสทำได้  ผู้เขียน เล่าเรอ่ื งตนกับสามีชว่ ยกนั เกบ็ ขวดและขยะบนเนนิ เขาทเ่ี ปน็ ทสี่ าธารณะ หลงั บา้ น ทต่ี อนแรกรกรุงรังมาก แต่เม่ืออดทนเก็บขยะไปได ้ ระยะหนึ่ง คนที่มาเท่ียวก็เลิกทิ้งขยะ ทำให้ทัศนียภาพบริเวณน้ันสวยงาม  และหลงั จากผเู้ ขียนไมไ่ ด้ขึน้ เขาไปนาน และข้ึนไปใหม่ก็พบว่าสถานท่ียังสะอาด ไม่มีขยะ น่คี ือตัวอย่างของการมองโลกแง่ดี ว่าการทำความดชี ว่ ยโลกไดจ้ รงิ ในทา่ มกลาง กระแสสังคมท่ีสอนให้คนเราเห็นแก่ตัว และเอาเปรียบกัน ขยะทางกายภาพยังไม่ร้ายเท่า ขยะสังคม  พ่อแม่และครู ต้องไม่ปล่อยให้ลูกหรือศิษย์กลายเป็นขยะสังคม  โดยเฉพาะเม่ือเด็กโต เขา้ วยั รนุ่ ทแ่ี รงกดดนั ชกั จงู จากเพอื่ นและจากกระแสสงั คมรนุ แรงมาก  พอ่ แมแ่ ละครูต้องช่วยให้เด็กพัฒนามาตรฐานจริยธรรมของตนเอง   เพอื่ เตบิ โตเปน็ คนดใี นอนาคต และในการชว่ ยเหลอื เดก็ นนั้ เอง พ่อแม่และครูกไ็ ด้ฝกึ ฝนตนเองในเรือ่ งเดียวกนั ด้วย   สอนเดก็ ให้เป็นคนดี : ๔. จรยิ ธรรม : เคารพ และซ่ือสตั ย์ 37

วิธชี ่วยเดก็ ทำโดยให้ความเคารพ หรือใหเ้ กียรตแิ กเ่ ดก็     ผเู้ ขียนแนะนำให้ฝึกการพูดคุยสนทนากันในครอบครัว โดยมี แบบสอบถามบรรยากาศในครอบครวั ใหส้ มาชกิ ทกุ คนกรอก แลว้ นำมา เสวนากนั โดยสรา้ งบรรยากาศไมม่ ถี กู ไมม่ ผี ดิ มแี ตค่ วามปรารถนาจะให้ ในบา้ นมบี รรยากาศของความรกั ความอบอนุ่ และการฝกึ ใหท้ กุ คนเปน็ คนดี ไมเ่ ปน็ ขยะสงั คม  คำถามของสาว ๑๔ ตนรักชายหนมุ่ ที่โหดรา้ ยตอ่ ตน แต่ก็ไม่ กล้าแสดงความไม่พอใจ เพราะเกรงว่าจะสูญเสียเขาไป ในท่ีสดุ เขา ก็  Delete  ตนออกจากเพอ่ื นในเฟซบกุ๊ ตนไดพ้ ยายามเขยี นไปงอ้ และเฝา้ รอคำตอบ แต่ก็ไม่ได้รับคำตอบ  ตนคิดว่าเขาโหดร้าย  แต่ก็ทำใจไม่ ไดใ้ นเม่ือพบกนั ทกุ วันในวนั เปดิ เรยี น จะทำอย่างไรด ี คำตอบของผู้เขียน  ตามท่ีเล่า แสดงว่าชายหนุ่มผู้นั้นไม่ได้ มคี วามนับถือสาว ๑๔ เลย แล้วสาว ๑๔ จะสูญเสยี อะไร เกี่ยวกับเขา คำแนะนำคือให้หันมานับถือตัวเอง สร้างคุณค่าของตัวเอง เลิกสนใจ คนทไ่ี ม่ให้เกียรติใหค้ ุณค่าตอ่ ตวั เรา 38 สอนเด็กใหเ้ ป็นคนดี : ๔. จริยธรรม : เคารพ และซอ่ื สตั ย์

ตอนท่ี ๒ ของบทท่ี ๒ เปน็ เรือ่ ง ความซือ่ สัตย ์ ทำอย่างไรจึง จะชว่ ยใหล้ กู หรอื ศษิ ยพ์ ัฒนานสิ ัยสตั ยซ์ ่อื ในตน ในขณะทส่ี ภาพแวดล้อม รอบตวั เดก็ เตม็ ไปดว้ ยความฉอ้ ฉล และทนี่ า่ เศรา้ ใจกค็ อื ครบู างคนเปน็ คน ไม่ซื่อสตั ย์   พอ่ แมแ่ ละครตู อ้ งพดู คยุ เรอ่ื งราวและคณุ คา่ ของความซอ่ื สตั ย์    โดยหยิบยกเร่ืองจริงที่เกิดข้ึนในสังคมมาแลกเปล่ียนความเห็นกัน   ผใู้ หญผ่ า่ นโลกมามากกว่า สามารถเลือกหยิบยกกรณีตัวอยา่ งคณุ คา่ ทเี่ กิดจากความซ่ือสัตย์ม่ันคงในคุณธรรม มาเล่าให้ลูกหรอื ศิษย์ฟัง เพ่อื ปลูกฝงั อดุ มคต ิ “ซอ่ื กนิ ไมห่ มด คดกนิ ไมน่ าน” คำถามของแม่ ลกู สาวอายุ ๑๖  จดั อยูใ่ นกลมุ่ นักเรียนเรยี นดี และเป็นนักกฬี าประจำโรงเรียน  แล้ววันหน่ึงเธอก็โกหก เธอให้เพื่อน ชายลอกการบา้ นแลว้ โกหกครวู า่ เธอวางสมดุ การบา้ นไว้ เพอื่ นหยบิ ไปลอก เอง เธอโกหกแมว่ า่ ไปนอนบ้านเพื่อนผูห้ ญงิ   แตจ่ ริงๆ แลว้ ไปนอนบ้าน เพอื่ นชายทีพ่ อ่ แมไ่ ม่อยบู่ ้าน  ตำรวจมาท่ีบา้ นนัน้ และพบสรุ าและยาเสพ ติด แม่เป็นห่วงวา่ ลกู จะเสยี คน สอนเด็กใหเ้ ปน็ คนดี : ๔. จรยิ ธรรม : เคารพ และซือ่ สตั ย์ 39

คำตอบของผูเ้ ขียน  แนะนำว่า การตำหนิว่าโดนเพ่ือนชักนำ ไปในทางเส่ือมไม่ช่วยแก้ปัญหา  เพราะลูกสาวเป็นคนฉลาด  ไม่น่าจะ ถกู ชกั จูงได้งา่ ย และจรงิ ๆ แล้วการตัดสินใจเป็นของลูกสาวเอง แนะนำ ใหห้ านกั จติ วทิ ยา หรือนักครอบครัวบำบัด  (Family Therapist)  ที่ ลกู สาวร่วมเลือก  และให้การยอมรับ เข้ามาช่วยพูดคุย เพ่ือให้ลูกสาว ได้ถอนตวั ออกมาจากทางเส่ือม      เรื่องคำแนะนำในการแก้ปัญหาวัยรุ่นนี้ แตกต่างกันในสังคม ตา่ งวัฒนธรรม  ในสังคมไทยน่าจะได้มีคนทำงานวิจัยและพัฒนา เพ่ือ สรา้ งความรู้ ทกั ษะ และบรกิ าร ในการชว่ ยเหลอื พอ่ แมแ่ ละครใู หม้ ที ักษะ แนะนำ ช้ที างดใี หแ้ ก่ลูกหรือศิษย์อยา่ งไดผ้ ล  ในความเหน็ ของผม ยทุ ธศาสตรค์ อื ชว่ ยให ้ “ฝา่ ยเทพ” ในตัวเด็ก ฉายแสงสรา้ งความมนั่ ใจ และเคารพตวั เอง  แลว้ มพี ฤตกิ รรมดา้ นบวก จนตดิ เป็นนิสัย  วจิ ารณ์ พานชิ ๑๐ ม.ี ค. ๕๖ บนเคร่ืองบนิ ไปวอชงิ ตัน ดีซ ี http://www.gotoknow.org/posts/549135 40 สอนเด็กใหเ้ ปน็ คนดี : ๔. จริยธรรม : เคารพ และซ่ือสตั ย์

๕. จริยธรรม : ความเหน็ อกเห็นใจ และความเปน็ ตวั ของตัวเอง สอนเด็กให้เป็นคนดี : ๕. จรยิ ธรรม : ความเหน็ อกเหน็ ใจ และความเปน็ ตัวของตัวเอง 41

“การหล่อหลอมให้เด็กเติบโตเป็นคนดีนั้น เกิดจาก ปฏิสัมพันธ์ที่ซับซ้อนมาก ในหลายกรณีพ่อแม่หลงทำรา้ ยลกู ดว้ ยความรกั และความปรารถนาดีตอ่ ลูก โดยการตัง้ ความหวงั ใหล้ กู เป็นอยา่ งที่ตนต้องการ ไม่ได้เนน้ สง่ เสรมิ สนับสนนุ ใหเ้ ขา เตบิ โตเปน็ คนดตี ามแบบทตี่ วั เขาเองอยากเปน็ ” 42 สอนเด็กให้เป็นคนดี : ๕. จริยธรรม : ความเหน็ อกเห็นใจ และความเป็นตัวของตวั เอง

ตอนท่ี ๓ ของบทที่ ๒ เปน็ เรอื่ งการทำสง่ิ ทถ่ี กู ตอ้ งโดยไมห่ วงั ผล ตอบแทน  อา่ นชอ่ื หวั ขอ้ แลว้ ผมนกึ ถงึ คนระดบั ๖ (อา่ นขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ ไดท้ ่ี http://www.gotoknow.org/posts/191595) และระดบั ความตอ้ งการ ตามแนวคดิ ของ  Maslow  แตข่ อ้ ความในหนงั สอื ไมต่ รงกนั กบั ทผ่ี มตคี วาม หวั ขอ้ คอื เปน็ เรอื่ งเกยี่ วกบั สภาพสงั คมในกลมุ่ เดก็ วยั รนุ่ ทตี่ กอยใู่ ตแ้ รงกดดนั และการรงั แกจากเพอื่ น เพราะวยั รนุ่ มคี วามตอ้ งการการยอมรบั จากเพอ่ื นสงู อยา่ งไรเ้ หตผุ ล ผมอา่ นสาระในตอนนแี้ ลว้ ตคี วามวา่ เปน็ เรอ่ื งของการเคารพตนเอง และเคารพคนอน่ื (เพอื่ น) เดก็ และเยาวชนตอ้ งไดร้ บั การฝกึ ฝนใหม้ คี วาม เคารพตนเอง (มน่ั ใจตนเอง) และเคารพคนอนื่ (เพอื่ นๆ) ในเวลาเดยี วกัน ใหพ้ นื้ ฐานจติ ใจสว่ นนแ้ี ขง็ แรงมน่ั คง เพอ่ื ใหบ้ งั คบั ใจตนเองใหม้ กี ารตดั สนิ ใจ อย่างยดึ มนั่ ในคณุ ธรรม (Ethical Decision-Making) ได้ แมย้ ามมอี ารมณ์ ชว่ั วบู ไมป่ ลอ่ ยใหอ้ ารมณช์ วั่ วบู นน้ั เขา้ ครอบครองตวั ตน จนแสดงพฤตกิ รรม ท่ีเป็นการทำร้ายหรือรังแกผู้อื่น ผเู้ ขียนใช้คำวา่   Thoughtful Reflective Behavior คำถามจากครูของลกู ผ้เู ขยี น  ตนพบวา่ ลกู ชายวัยรุน่ ของตนมี นิสัยเอาแต่ใจตวั ชอบบังคับเพื่อนหญิงให้ทำตามที่ตนต้องการ เม่ือ เพอื่ นไม่ทำตามก็ทิ้งเพื่อน ตนเองเป็นแม่ท่ีเล้ียงลูกคนเดียวจึงเสียใจ มาก ที่ลูกมีนิสัยเช่นนี้ ตนจะคยุ กบั ลูกอยา่ งไรดี สอนเด็กใหเ้ ป็นคนดี : ๕. จรยิ ธรรม : ความเหน็ อกเห็นใจ และความเปน็ ตวั ของตัวเอง 43

คำตอบของผูเ้ ขยี น  หลักการพูดกับลกู วัยรุ่นคอื ให้หลกี เลี่ยง การเทศนา หรือสั่งสอนลูก แต่ให้ต้ังคำถามให้ลูกคิด และให้เป็นฝ่าย รับฟังลูกมากกวา่ เปน็ ผพู้ ดู ผเู้ ขยี นแนะนำใหห้ าโอกาสคยุ กบั ลกู ชายเรอื่ ง ความสัมพันธ์กับเพื่อน ท้ังเพื่อนเพศเดียวกันและเพ่ือนต่างเพศ ใครก็ตามท่ีอยากได้เพื่อนท่ีดี ตนต้องเป็นเพ่ือนที่ดีก่อน เพราะ ความสมั พนั ธเ์ ปน็ ถนนสองทาง  เราตอ้ งรู้จักเอาใจเขามาใส่ใจเรา เรา ต้องการให้เขาดีต่อเราอย่างไร เราต้องดีต่อเขาอย่างน้ัน ผู้เขียนแนะ ให้แม่ถามลูกชายว่า  รู้ไหมว่าเพื่อนชายท่ีดีเป็นอยา่ งไร แลว้ ใหป้ ดิ ปาก ไมพ่ ดู อะไรอกี ถา้ ลกู ชายตอบวา่   ผมไมท่ ราบ ก็ให้บอกว่า  ถา้ อยา่ งนนั้ แมจ่ ะ บอกใหใ้ นฐานะท่แี มเ่ ป็นผู้หญงิ คนหนงึ่   ไมม่ ผี หู้ ญงิ คนไหนทชี่ อบใหม้ คี น มากดดันให้ทำในส่ิงที่ตนไม่พร้อมที่จะทำ ผู้ชายที่กดดันผู้หญิงเพื่อ ความต้องการของตนเองฝ่ายเดียวเป็นคนท่ีไม่เคารพอีกฝ่ายหน่ึง ผู้หญิงท่ีดีเป็นคนท่ีเคารพตนเอง และจะไม่ยอมทำตามแรงกดดันใดๆ และจะบอกให้อีกฝ่ายหนึง่ เลิกกดดัน  ลูกเองมสี ทิ ธิท่จี ะบอกอกี ฝ่ายหน่ึง ให้เลิกกดดนั ใหล้ กู ทำสงิ่ ทล่ี กู ไมช่ อบ และตอ้ งเคารพในสทิ ธขิ องเพอ่ื นหญิง ที่จะบอกให้ลูกเลิกกดดันในเร่ืองนนั้ 44 สอนเด็กใหเ้ ปน็ คนดี : ๕. จรยิ ธรรม : ความเห็นอกเหน็ ใจ และความเปน็ ตวั ของตวั เอง

ตอนท่ี ๔ ของบทท่ี ๒ เป็นเรื่อง ความเปน็ ตวั ของตวั เอง ไมต่ กเปน็ เหยอ่ื ของ แรงกดดนั จากเพอื่ น (Peer Pressure) ผเู้ ขยี น แนะนำใหพ้ อ่ แม/่ ครู ชวนเดก็ ทำแบบสอบถาม ตรวจสอบความเป็นตัวของตัวเอง ซึ่งเขามี คำเฉพาะวา่  Sheeple Quiz (อ่านขอ้ มลู เพิ่มเตมิ ไดท้ ่ี http://blog.anniefox.com/2009/02/19/how-much-of-a- sheeple-are-you/) แลว้ นำผลมาคยุ กนั เพอ่ื ใหเ้ ดก็ เขา้ ใจวา่ ตนตอ้ งฝกึ ฝน ตนเองใหเ้ ปน็ ตวั ของตวั เอง ไมต่ กเปน็ เหมอื นแกะในฝงู ทที่ ำตามๆ กนั ไป ผมเองมองตา่ งจากขอ้ เขยี นในตอนน้ี วา่ การเรยี นแบบโครงการ หรอื โครงงาน (Project Based Learning) และเรยี นเปน็ ทมี ทมี่ ชี ว่ งเวลา สะท้อนการเรียนรู้ หรือเรยี กว่า After Action Review ผมมกั จะ เรยี กยอ่ ๆ วา่ Reflection/AAR  การเรยี นแบบนจ้ี ะคอ่ ยๆ หลอ่ หลอม ทกั ษะการเปน็ ตวั ของตวั เองและ เคารพความแตกต่าง ข องคนอน่ื ขนึ้ เองโดยอตั โนมตั ิ เปน็ ทกั ษะทเ่ี กดิ ขน้ึ จากการลงมอื ปฏบิ ตั แิ ละเกดิ ขนึ้ เอง โดยไมร่ ู้ตัว หากคอ่ ยๆ หลอ่ หลอมตง้ั แตเ่ ปน็ เดก็ เลก็ ๆ เมอ่ื เขา้ วยั รนุ่ สภาพ ตกเปน็ เหยอ่ื ของแรงกดดนั จากเพอื่ นกจ็ ะไมเ่ กดิ หรอื เกดิ ไดย้ าก การเรยี นรู้ ทถ่ี กู ตอ้ งในวยั เดก็ จงึ เปน็ การปอ้ งกนั ปญั หาพฤตกิ รรมวยั รนุ่ ไปโดยปรยิ าย หรอื กลา่ วในมมุ กลบั วา่ สภาพปญั หาการขม่ เหงรงั แก และพฤตกิ รรมถกู กดดนั จากเพอื่ น เปน็ อาการของความผดิ พลาดของระบบการศกึ ษา สอนเด็กใหเ้ ป็นคนดี : ๕. จริยธรรม : ความเหน็ อกเห็นใจ และความเปน็ ตัวของตัวเอง 45

คำถามจากครูของลูกผู้เขียน  พ่อแม่ส่วนใหญ่กลุ้มใจที่ลูก ทำตามกระแส แตต่ นกลุ้มใจจากพฤติกรรมตรงกนั ข้ามของลกู สาว คือ เธอชอบนุ่งกางเกงขาสั้นและเส้ือเช้ิตของผู้ชาย ข้อดีคือเธอไม่บ้าผู้ชาย แต่ก็ไม่แต่งผมแบบผ้หู ญิง ตนอยากให้ลูกสาวเป็นตัวของตัวเอง แตก่ ็ กงั วลวา่ ลกู สาวจะเปน็ พวกตอ่ ต้านประเพณีนิยม และเป็นห่วงวา่ ลกู สาว ไม่มีเพือ่ น เพราะทำตวั แตกตา่ งมาก ตนควรตกั เตอื นลกู หรอื ปลอ่ ยใหล้ กู เรยี นรจู้ ากประสบการณข์ องตนเอง คำตอบของผูเ้ ขียน  จงมองลกู ในแง่ดี และมองหาแง่ดีของลูก ใหพ้ บ และเลกิ วติ กกงั วลกบั ลกู สาว เพราะลกู เปน็ คนเขม้ แขง็ กลา้ แตกตา่ ง สงิ่ ทแี่ มค่ วรทำคอื เนน้ แงม่ มุ ดๆี ของลกู ใหเ้ ดน่ ขนึ้ และใหล้ กู เหน็ มมุ เดน่ นี้ ชดั ขึ้น (Positive Reinforcement) เพื่อให้ลูกคอ่ ยๆ ค้นพบตัวเอง จง สง่ เสรมิ ใหล้ กู เปน็ ตวั ของตวั เอง ไมใ่ ชใ่ หล้ กู เปน็ อยา่ งทแ่ี มอ่ ยากใหเ้ ปน็ จะเห็นว่า การหล่อหลอมให้เด็กเติบโตเป็นคนดีน้ัน เกิด จากปฏิสัมพันธ์ท่ซี ับซ้อนมาก ในหลายกรณพี อ่ แมห่ ลงทำร้ายลูกดว้ ย ความรัก และความปรารถนาดีต่อลูก โดยการต้ังความหวังให้ลูก เป็นอย่างท่ตี นต้องการ ไม่ได้เน้นส่งเสริมสนับสนุนให้เขาเติบโต เป็นคนดีตามแบบท่ีตัวเขาเองอยากเปน็ วจิ ารณ์ พานชิ ๒๑ มี.ค. ๕๖ http://www.gotoknow.org/posts/549967 46 สอนเดก็ ให้เป็นคนดี : ๕. จรยิ ธรรม : ความเหน็ อกเหน็ ใจ และความเปน็ ตัวของตัวเอง

๖. ชว่ ยเหลอื ผู้อ่นื : ความมีน้ำใจ เหน็ อกเห็นใจชว่ ยเหลือผู้อน่ื สอนเดก็ ใหเ้ ป็นคนดี : ๖. ช่วยเหลอื ผู้อน่ื : ความมนี ้ำใจ เหน็ อกเห็นใจชว่ ยเหลือผู้อน่ื 47

“ในการสอนเด็กให้เป็นคนดีคือ ช่วยให้เด็กพัฒนา ความมีนำ้ ใจ ควบคูก่ ับความมีวิจารณญาณ วา่ ความชว่ ยเหลือ ท่ีต้องการอยา่ งแทจ้ รงิ คอื อะไร” “หากพ่อแม่/ครู ทำให้ตามที่เด็กร้องขอ จะเป็นการ ทำลายหรือทำร้ายเด็ก  เพราะจะทำให้เด็กเติบโตเป็นคนที่ ชว่ ยตัวเองไม่เป็น  เป็นคนหนักไม่เอาเบาไม่สู้และไม่มีจิตใจ ช่วยเหลอื ผูอ้ ื่น” 48 สอนเด็กให้เปน็ คนดี : ๖. ชว่ ยเหลอื ผูอ้ ืน่ : ความมนี ้ำใจ เหน็ อกเห็นใจชว่ ยเหลือผู้อนื่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook