Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2564-04-04-นำเสนอวิธีการปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐาน

2564-04-04-นำเสนอวิธีการปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐาน

Published by กิตติศักดิ์ ณ สงขลา, 2021-09-04 13:51:51

Description: 2564-04-04-นำเสนอวิธีการปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐาน

Keywords: กัมมัฏฐาน,วิปัสสนากัมมัฏฐาน

Search

Read the Text Version

วชิ าวิปัสสนากัมมัฏฐาน หลักสูตรครุศาสตรดษุ ฏีบัณฑิต สาขาวชิ าการสอนสังคมศึกษา หลักการเจริญวปิ ัสสนาตามแนวสติปัฏฐาน ๔ พระธรรมธรี ราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ ป.ธ.๙) นายกิตติศักดิ์ ณ สงขลา นิสิตหลักสูตรครุศาสตรดุษฏีบณั ฑิต สาขาวชิ าการสอนสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย

หลักการเจริญวิปสั สนาตามแนวสติปฏั ฐาน ๔ พระธรรมธรี ราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ ป.ธ.๙)

ประวตั ิย่อ วุฒกิ ารศึกษา : ● น.ธ.เอก ● เปรยี ญธรรม ๙ ประโยค การทํางานด้านวปิ ัสสนาธุระ : ● ผูอ้ ํานวยการกองการวปิ ัสสนาธุระ ศูนย์วปิ ัสสนากรรมฐานท่ีคณะ ๕ วดั มหาธาตฯุ ● อาจารยใ์ หญฝ่ า่ ยวปิ สั สนาธุระ ศูนยว์ ปิ สั สนากรรมฐานท่ีคณะ ๕ วดั มหาธาตุฯ

พระอาจารย์ถวายวปิ ัสสนากรรมฐาน สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือ สมเด็จยา่ พระธรรมธรี ราชมหามุนี ได้อุทิศชีวติ อบรมและเผยแผแ่ นวทางปฏิบตั ิวปิ สั สนากรรมฐาน ติดต่อมาเปน็ เวลายาวนานประมาณ ๔๐ ปี จงึ มศี ิษยานุศิษย์และมผี ูเ้ คารพศรทั ธาเล่ือมใส มาก ทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ และบุคคลผูม้ าปฏิบัติวปิ ัสสนากรรมฐานน้ัน มที กุ ระดับ ชัน้ ทุกฐานะอาชีพ เช่น ในชว่ งปี พ.ศ. ๒๔๙๘ ครงั้ ดํารงสมณศักด์ิที่ “พระ อุดมวชิ าญาณเถร” ได้เป็นพระอาจารย์ถวายวปิ สั สนา กรรมฐานแด่สมเด็จพระราชชนนีศรสี ังวาลย์ (ปจั จบุ นั คือ สมเด็จพระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี หรอื สมเด็จ ย่า) ซ่งึ ได้เสด็จมาสมาทานพระกรรมฐาน เมอ่ื วนั อังคาร ที่ ๑๔ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๔๙๘ เวลา ๑๗.๐๐ น. ณ พระ มณฑปพระบรมธาตุ วดั มหาธาตุฯ

พระอาจารยถ์ วายวิปสั สนากรรมฐาน แด่ท่านเจ้าคณุ พระมงคลเทพมุนี (หลวงพ่อสด วัดปากนา) เป็นพระอาจารยถ์ วายวปิ ัสสนากรรมฐานแด่ท่านเจ้าคณุ พระมงคล เทพมุนี (หลวงพอ่ สด วดั ปากนา) ตั้งแต่ครงั้ ดํารงสมณศักด์ิเป็น พระราชาคณะช้นั สามญั ท่ี “พระภาวนาโกศลเถร” ซ่งึ ท่านเปน็ พระ อาจารยม์ เี กียรติคณุ ในด้านสมถกรรมฐาน (วชิ ชาธรรมกาย) ท่ีมชี ื่อ เสียงมากในประเทศไทย

พระอาจารย์ถวายวปิ ัสสนากรรมฐาน พระธรรมสิงหบุราจารย์ (หลวงพอ่ จรัญ ฐิตธมฺโม) หลวงพอ่ จรญั ฐติ ธมฺโม ได้มาฝกึ ปฏิบตั ิวปิ สั สนากรรมฐาน ท่ีวดั มหาธาตุฯ กับท่านเจ้าคณุ อาจารยฯ์ ราวปี พ.ศ. ๒๔๙๕ เปน็ เวลาหลายเดือนจนได้รบั ฟงั เทศน์ลําดับญาณ และ ประสบการณ์การสอบอารมณ์ นอกจากนั้น หลวงพอ่ ยงั จดจําคําสอนมาเผยแพรอ่ ีกหลายอยา่ ง

ความเป็นมาของคําวา่ “หนอ” คําวา่ “พองหนอ ยุบหนอ” เปน็ ระบบกรรมฐานที่เกิดข้ึนในเทศไทย ภายหลังที่ พระมหาโชดก ญาณสิทฺธิเถร ป.ธ.๙ (พระธรรมธีรราชมหามุนี) ได้กลับจากพมา่ ปี พ.ศ.๒๔๙๖ ดังน้ันจึงกล่าวได้วา่ “พองหนอ ยุบหนอ” เป็น วธิ เี จรญิ กรรมฐานท่ีเกิดใหม่ เดิมคนไทยค้นุ เคยกับคําวา่ “พุทโธ” หรอื “สัมมา อรหัง” มาเป็นเวลาชา้ นาน ยงิ่ กวา่ น้ัน คนไทยยงั ฝงั ใจวา่ ระบบพองหนอ ยุบ หนอ เป็นของพมา่ แมพ้ ระมหาโชดก ญาณสิทธฺ เิ ถร ป.ธ.๙ (พระธรรมธรี ราช มหามุนี) จะพยายามอธบิ ายด้วยหลักเหตผุ ล ก็ไมส่ ามารถคลายความแคลงใจ เก่ียวกับเรอ่ื ง หนอ หนอ ได้ และพองหนอ ยุบหนอ ก็ไมใ่ ชเ่ ป็นภาษาพมา่ แต่ เป็นภาษาไทยท่ีทุกคนเข้าใจความหมายของคําน้ีดี มตี ่อ….

ความเป็นมาของคําวา่ “หนอ” เรอื่ ง “การกําหนดหนอ” แหล่งเดิมคือประเทศพมา่ ซ่งึ เป็นสถานที่พระ ธรรมธรี ราชมหามุนี (พระมหาโชดก ญาณสิทธฺ ิ ป.ธ.๙) ไปปฏิบัติวปิ สั สนา เรา จะพบวา่ ความจรงิ แล้วพมา่ เองไมใ่ ช้หนอเลย ภาษาพมา่ ใช้คําวา่ “แด่” เช่น พองแด่ เบง่ แด่ (อาจเทียบได้กับ พองหนอ ยุบหนอ) คําวา่ “แด่” จรงิ ๆ แล้วไม่ ได้แปลวา่ หนอ อย่างในภาษาไทย แด่ มคี วามหมายบง่ บอกวา่ เปน็ ปัจจุบนั กาล เมอ่ื ต่อท้ายกับคําตัวใดก็มคี วามหมายวา่ เปน็ กิรยิ าท่ีกําลังกระทําอยู่ หลักฐานคําวา่ “หนอ” ในพบจากหนังสือบทนําในพุทธปรชั ญาของ ศาสตราจารย์ ร.ต.ท.แสง มนวทิ รู ผูช้ ํานาญพเิ ศษภาควชิ าการศาสนาและ ปรชั ญาภารตะ, บาลีสันสกฤตฯ มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาฯและศิลปากร ซ่งึ พมิ พ์ ในงานพระราชทานเพลิงศพท่านท่ีวดั สระเกศฯ กทม.๒๕๑๓ (หนังสือวปิ สั สนา สาร ปที ่ี ๔๔ เล่มท่ี ๖ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๑ หน้า ๑๕)

ประโยชน์ของคําว่า “หนอ” ๑. คําวา่ “หนอ” มปี ระโยชน์สําหรบั เพ่มิ ขณิกสมาธิ (สมาธชิ ่วั ขณะ) ให้มกี ําลัง กล้าเพอื่ จะให้ผูป้ ฏิบัติเห็นรูปนาม เห็นพระไตรลักษณ์ (อนิจจงั ทกุ ขัง อนัตตา) เห็นปัจจุบันธรรมได้ดีดจุ ไฟนีออน ๒. คําวา่ “หนอ” มปี ระโยชน์สําหรบั ค่ันรูปนามให้ขาดเปน็ ระยะให้ขาด ตอนให้ ขาดจงั หวะ เพอ่ื จะให้ผูป้ ฏิบตั ิได้เห็นอนิจจงั ทุกขัง อนัตตา ให้ชดั เจนย่งิ ข้ึน ๓. ขณะท่ีผูป้ ฏิบตั ิกําหนด “พองหนอ ยุบหนอ” อยู่ จะไมม่ กี ายทจุ รติ (ความ ประพฤติชว่ั ทางกาย) ก็ไมม่ วี จีทุจรติ (ความประพฤติทางวาจา) ไมม่ มี โนทจุ รติ (ความประพฤติชั่วทางใจ) อันน้ีจดั เป็นศีล ใจไมเ่ ผลอจากพองยุบ เป็นสมาธิ เห็น รูปนามเปน็ ส่ิงท่ีตกอยู่ในไตรลักษณ์ เป็นปัญญา (วปิ ัสสนาสารปที ี่ ๘ เล่มที่ ๑ : ๒๕๐๕ หน้า ๗)

การเจริญวปิ ัสสนาตามแนวสติปฏั ฐาน ๔ พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทธฺ ิ ป.ธ.๙) ศูนย์วปิ สั สนากรรมฐานท่ีคณะ ๕ วดั มหาธาตุฯ

การเจริญวิปสั สนาตามแนวสติปัฏฐาน ๔ วธิ กี ารปฏิบตั ิกรรมฐานสํานักวดั มหาธาตุยุวราชรงั สฤษฎิ์ ซ่งึ พระธรรมธรี ราช มหามุนี(โชดก ญาณสิทธฺ ิ ป.ธ.๙) แต่งไวใ้ นปี พ.ศ.๒๔๙๙ โดยมสี มเด็จพระ พุฒาจารย์ อดีตพระพมิ ลธรรม (อาจ อาสภมหาเถร) เปน็ ผูต้ รวจแก้ดังนี้ ๑. การเดินจงกรม สอนให้เดินจงกรม เช่น “ขวาย่างหนอ ซ้ายยา่ งหนอ” สอนวธิ ยี นื วธิ กี ลับ ๒. การนั่งสมาธิ สอนวธิ นี ั่งสมาธิ เช่น เวลาน่ัง ให้กําหนดท้องท่ีพองยุบ วา่ “พองหนอ ยุบหนอ” และสอนวธิ นี อน ๓. การกําหนดเวทนา สอนให้กําหนดเวทนาต่าง ๆ เชน่ เวลาเจบ็ ให้กําหนดวา่ “เจ็บหนอ ๆ” เปน็ ต้น มตี ่อ….

การเจริญวปิ สั สนาตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ๔. การกําหนดจิต สอนให้กําหนดจติ ในเวลานึกคิดอารมณ์ต่าง ๆ เชน่ เวลาคิด ให้กําหนด “คิดหนอ ๆ” เป็นต้น ๕. การกําหนดตามทวาร สอนให้กําหนดตามทวารทั้ง ๖ คือ ตา หู จมูก ล้ิน กาย และ ใจ ดังตัวอยา่ งเชน่ - เวลาเห็น ให้กําหนด “เห็นหนอ ๆ” - เวลาได้ยนิ ให้กําหนด “ได้ยนิ หนอ ๆ” - เวลาได้กลิ่น ให้กําหนด “ได้กล่ินหนอ ๆ” - เวลาได้รส ให้กําหนด “รสหนอ ๆ” - เวลาคิด ให้กําหนด “คิดหนอ ๆ” มตี ่อ…...

การเจริญวปิ สั สนาตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ๖. การกําหนดอิริยาบถยอ่ ย สอนให้กําหนดอิรยิ าบถยอ่ ย เชน่ ก้าวไป ถอย หลับ เหลียวซา้ ย แลขวา คู้ เหยยี ด พาดสังฆาฏิ ถือบาตร ห่มจวี ร นุ่งผา้ กิน ด่ืม เคี้ยว ถ่ายอุจจาระ ปสั สาวะ เดิน ยืน นั่ง นอน หลับ ต่ืน พูด น่ัง เปน็ ต้น หมายเหตุ ในวนั แรกน้ัน ผูท้ ี่เปน็ อาจารย์พจิ ารณาดคู นปฏิบัติก่อน ถ้าคนมี ปรยิ ัติน้อย หรอื คนแก่ ให้สอนแต่เพยี งเดินจงกรม น่ังกําหนดท้องพอง ยุบ กําหนดเวทนา และจติ เท่าน้ีก็พอแล้วในวนั ต่อไป ในเวลาสอบอารมณ์จงึ ค่อยเพม่ิ ข้ึนโดยลําดับ ๆ แมค้ นหน่ึงหรอื เด็กก็อนุโลมตามน้ี

ฝกึ ปฏิบัติวปิ สั สนากัมมฏั ฐาน ๑ ๑. เวลานั่ง ให้กําหนดที่ท้อง ซ่งึ พองข้ึนในเวลาหายเข้าและยุบลงในเวลาหายใจ ออกนึกอยู่ในใจวา่ “พองหนอ ยุบหนอ” ตามจังหวะท่ีท้องพองและยุบ ๒. เวลานอน ก็ให้กําหนดที่ท้องวา่ “พองหนอ ยุบหนอ” เชน่ เดียวกัน ๓. เวลายนื ให้กําหนดวา่ “ยืนหนอ ยนื หนอ” ๔. เวลาเดินจงกรม ให้กําหนดระยะที่ ๑ “ซา้ ยย่างหนอ ขวายา่ งหนอ” ตัวอยา่ งดังนี้ ขณะก้าวเท้าขวาให้กําหนดวา่ “ขวาย่างหนอ” ขณะก้าวเท้าซา้ ย ให้กําหนดวา่ “ซ้ายยา่ งหนอ” ตาเพง่ ดูปลายเท้า เมอ่ื เดินไปจนสุดที่จงกรมจะกลับ ให้ยนื กําหนดวา่ “ยนื หนอ ยนื หนอ” จากน้ัน เอี้ยวตัวกลับ ขณะเอ้ียวตัวกลับให้ กําหนดวา่ “กลับหนอ กลับหนอ” เมอ่ื กลับแล้วยืนอยู่ก็ให้กําหนดวา่ “ยนื หนอ ยืน หนอ” เมอื่ เดินจงกรมต่อไปก็ให้กําหนดเหมอื นเดิมอีก แต่ละแบบต้องทําให้ ชํานาญคล่องแคล่ว จนได้สมาธดิ ีก่อนแล้ว จงึ ทําตามแบบฝกึ หัดต่อ ๆ ไป

ฝกึ ปฏิบตั ิวปิ ัสสนากัมมฏั ฐาน ๒ ๑. เวลาน่ัง ให้กําหนดเป็น ๓ ระยะ คือ “พองหนอ ยุบหนอ น่ังหนอ” ๒. เวลานอน ให้กําหนดเป็น ๓ ระยะ คือ “พองหนอ ยุบหนอ นอนหนอ” ๓. เวลายืน ให้กําหนดวา่ “ยนื หนอ ยืนหนอ” เท่าน้ัน จนกวา่ จะเดินหรอื นั่ง ๔. เวลาเดินจงกรม ให้เพมิ่ เป็น ๒ ระยะคือ เดินระยะท่ี ๑ ประมาณ ๓๐ นาที ก่อน เพม่ิ ระยะท่ี ๒ คือ “ยกหนอ เหยยี บหนอ” ประมาณ ๑ ชัว่ โมง ดังตัวอยา่ ง (๑) กําหนดระยะท่ี ๑ “ขวาย่างหนอ ซ้ายยา่ งหนอ” ประมาณ ๓๐ นาที (๒) กําหนดระยะที่ ๒ “ยกหนอ เหยยี บหนอ” ประมาณ ๑ ช่ัวโมง

ฝึกปฏิบัติวิปัสสนากัมมฏั ฐาน ๓ ๑. เวลาน่ัง ให้กําหนดเป็น ๔ ระยะ คือ “พองหนอ ยุบหนอ น่ังหนอ ถกู หนอ” เพง่ ใจจดตรงที่ถกู น้ันเปน็ รูปวงกลมประมาณเท่าเหรยี ญ ๑ บาท ให้จิตจอ่ อยู่ตรง นั้น ๒. เวลานอน ให้กําหนดเปน็ ๓ ระยะ คือ “พองหนอ ยุบหนอ นอนหนอ” ๓. เวลายนื ให้กําหนดวา่ “ยนื หนอ ยืนหนอ” เท่านั้น จนกวา่ จะเดินหรอื น่ัง ๔. เดินจงกรม ให้เพม่ิ ระยะท่ี ๓ “ยกหนอ ยา่ งหนอ เหยียบหนอ” ให้เดินระยะท่ี ๑ – ๒ ประมาณแบบล่ะ ๒๐ นาที แล้วให้เดินระยะท่ี ๓ ประมาณ ๓๐ นาที ดังนี้ (๑) กําหนดระยะท่ี ๑ “ขวาย่างหนอ ซ้ายยา่ งหนอ” ประมาณ ๒๐ นาที (๒) กําหนดระยะที่ ๒ “ยกหนอ เหยยี บหนอ” ประมาณ ๒๐ นาที (๓) กําหนดระยะที่ ๓ “ยกหนอ ยา่ งหนอ เหยยี บหนอ” ประมาณ ๒๐ นาที

กายานุปสั สนาสติปัฏฐาน

กายานุปัสสนาสติปฏั ฐาน การเดินจงกรม ความหมาย การเดินจงกรมไมใ่ ชก่ ารเดินชมธรรมชาติหรอื เดินเพอื่ การ ผอ่ นคลายรา่ งกายหรอื จติ ใจ แต่การเดินจงกรมหมายถึง การเดินไปและเดินกลับ อยา่ งมสี ติ เพอ่ื ปรบั แต่งอิรยิ าบถฯ และอินทรยี ใ์ ห้มคี วามเสมอกัน ก. หลักการปฏิบตั ิ คัจฉันโต วา คัจฉามตี ิ ปะชานาติ. เดินอยู่ก็กําหนดรูว้ า่ ข้าพเจ้าเดินอยู่

กายานุปสั สนาสติปัฏฐาน ข. วิธีปฏิบัติ ๑. สายตาเตรยี มไวม้ องไกลประมาณ ๒ - ๓ เมตร ๒. จติ จดจอ่ อยู่ที่อาการเคลื่อนไหวของเท้าสติกําหนดรู้ ๓. คําบรกิ รรมในใจกับอาการเคลื่อนไหวต้องไปพรอ้ มกัน ๔. ขณะที่เดินอยู่ ถ้ามสี ภาวธรรมอยา่ งอ่ืนที่ชดั เจนมากกวา่ แทรกเข้ามา ควร หยุดกําหนดอาการเดินชัว่ คราว จากน้ันตั้งใจกําหนดอารมณ์ท่ีแทรกเข้ามาน้ัน จนกระทั่งดับไป เสื่อมไป หรอื ไมช่ ัดเจนแล้วจงึ ค่อยกลับมากําหนดอาการเดิน ต่อ ไป ๕. เดินชา้ ๆ แต่อย่าบังคับมาก จติ ใจจดจ่อ มสี ติกําหนดรูอ้ ยา่ งต่อเนื่อง

กายานุปสั สนาสติปฏั ฐาน ค.ส่ิ งที่ควรจะงดเว้นขณะเดินจงกรม ๑. ไมน่ ิยมหลับตา หรอื สอดส่ายสายตาเพอื่ หาอารมณ์ ๒. ไมค่ วรก้มมากเกินไป หรอื จดจอ้ งจนปวดต้นคอ ๓. ไมเ่ ชดิ หน้า หรอื เดินแกวง่ แขน ๔. ไมเ่ กรง็ เท้าหรอื ขาจนเกินไปในขณะเดิน ๕. ไมบ่ รกิ รรมสิ่งอ่ืนๆ ท่ีไมต่ รงกับสภาวะของการเดิน ๖. ไมเ่ พง่ สัณฐานบัญญัติของเท้า หรอื กําหนดพอง-ยุบ

กายานุปสั สนาสติปัฏฐาน ง. ขอ้ ยกเวน้ บางกรณี ๑. เดินเรว็ ๆ เพอ่ื แก้ความง่วง ๒. เดินชา้ มาก ๆ เพอื่ ให้จติ เปน็ สมาธแิ ละเห็นการเกิดดับชดั เจน ๓. ออกเสียงหรอื บรกิ รรมด้วยวาจา เป็นการฝกึ ให้รูว้ ธิ ปี ฏิบตั ิเท่าน้ัน ๔. เดินมองธรรมชาติเพอ่ื แก้สภาวะบางอย่าง ๕. ทํากายบรหิ ารเพอ่ื การผอ่ นคลายเป็นบางครง้ั

วิธีเดินจงกรมระยะท่ี ๑ กําหนดวา่ “ขวาย่างหนอ ซา้ ยย่างหนอ” ให้กําหนดรูอ้ าการยืนก่อน ๓ ครง้ั ตามองไปไกลประมาณ ๒ เมตร ลําตัวต้ังตรง คอตรง ลืมตาเพยี งคร่งึ เดียว มอื ไขวห้ ลังจากน้ันเอาสติไปจับท่ีเท้าซ้าย หรอื ขวาก็ได้ แล้วแต่ความถนัด ขณะบรกิ รรมในใจวา่ “ขวา” จติ จะจดจอ่ ท่ีเท้าขวา เข่างอนิดหน่อยอยูใ่ นท่า เตรยี มพรอ้ มที่จะเดิน ไมน่ ิยมยกเท้า เพราะจะไปซากับระยะต่อไป ขณะบรกิ รรมในใจวา่ “ย่าง” เท้าต้องเคล่ือนท่ีไปข้างหน้า ขาและเข่าตรง ขณะบรกิ รรมในใจวา่ “หนอ” เท้าต้องหยุดการเคลื่อนท่ีโดยทันที ขณะที่เท้า เคลื่อนที่ไปข้างหน้านาหนักตัวจะถกู ถ่ายเทไปยงั เท้าอีกข้างหน่ึงซ่งึ อยูต่ รงกันข้าม เชน่ ขวายา่ งหนอ การรบั นาหนักจะอยู่ที่เท้าด้านซ้าย ในขณะท่ีเท้าซ้ายเคลื่อนไป นาหนักจะ อยู่ที่เท้าด้านขวา ส่วนของการเดินในระยะต่อ ๆ ไป การถ่ายเทนาหนักตัวก็มลี ักษณะ เหมอื นกัน

วธิ ีเดินจงกรมระยะท่ี ๑ กําหนดวา่ “ขวายา่ งหนอ ซ้ายยา่ งหนอ”

วธิ ีเดินจงกรมระยะท่ี ๑ กําหนดวา่ “ขวายา่ งหนอ ซ้ายยา่ งหนอ”

วธิ ีเดินจงกรมระยะที่ ๒ กําหนดวา่ “ยกหนอ เหยียบหนอ” เมอื่ กําหนดอาการยนื และต้นจติ คือ อยากเดินเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแล้ว เอาจิตไป กําหนดอาการยกของเท้าซา้ ยหรอื ขวาก็ได้ ในขณะท่ีเท้ายกข้ึนกําหนดวา่ “ยกหนอ” การ กําหนดหนอน้ันให้พรอ้ มกับการสิ้นสุดลงของการยก ข้อสําคัญไมค่ วรที่จะยกเท้าสูง จนกระท่ังเลยข้อเท้าข้ึนไป หรอื ก้าวเท้ายาวจนเกินไป ขณะปล่อยเท้าลงวางแนบกับพนื้ กําหนดวา่ “เหยยี บหนอ” พรอ้ มกับการสิ้นสุดของการเหยยี บ การเดินในระยะท่ี ๒ น้ี จดุ สําคัญที่ต้องเอาใจใส่อยู่ท่ีอาการเคล่ือนไหวของการยกและเหยยี บ ถึงแมจ้ ะมคี วาม รูส้ ึกขณะวางเท้าลงเหมอื นมกี ารเคลื่อนตัวไปข้างหน้านิดหน่อย แต่นักปฏิบัติไมต่ ้อง เอาใจใส่ ให้มนสิการแต่เพยี งอาการยกและเหยียบเท่าน้ัน

วธิ ีเดินจงกรมระยะท่ี ๒ กําหนดวา่ “ยกหนอ เหยยี บหนอ”

วธิ ีเดินจงกรมระยะท่ี ๓ กําหนดวา่ “ยกหนอ ยา่ งหนอ เหยยี บหนอ” เมอื่ กําหนดรูอ้ าการยืนส้ินสุดลง ให้เอาสติไปจดจอ่ ท่ีอาการยกข้ึนของเท้าพรอ้ มกับ กําหนดวา่ “ยกหนอ” ลักษณะของการยกเท้าเข่าจะงอเล็กน้อย ส้นเท้าปลายเท้าจะยก ข้ึนพรอ้ มๆ กัน แต่ไมส่ ูงจนเลยข้อเท้า จากน้ันให้เคล่ือนเท้าไปข้างหน้าอย่างช้าๆ และ กําหนดวา่ “ย่างหนอ” การเคลื่อนไปของเท้าน้ันไมค่ วรยาวจนเกินไป เพราะจะทําให้การ ทรงตัวไมด่ ี ความห่างระหวา่ งเท้าไมม่ ากกวา่ หน่ึงฝา่ เท้า เพราะถ้าชิดกันเกินไปจะทําให้ เกิดอาการซวนเซได้ และนาหนักตัวจะไมส่ มาเสมอกัน เมอ่ื ส้ินสุดการก้าวยา่ งแล้วให้วาง เท้าลงแนบชิดกับพน้ื อยา่ งช้าๆ พรอ้ มกับการกําหนดรูด้ ้วยสติวา่ “เหยียบหนอ” หนอ น้ันให้กําหนดพรอ้ มกับการส้ินสุดของการเหยียบ ไมก่ ่อนหรอื หลัง

วธิ ีเดินจงกรมระยะท่ี ๓ กําหนดวา่ “ยกหนอ ยา่ งหนอ เหยียบหนอ”

วิธีเดินจงกรมระยะที่ ๔ กําหนดวา่ “ยกส้นหนอ ยกหนอ ยา่ งหนอ เหยียบหนอ” เมอื่ กําหนดรูอ้ าการยืน และกําหนดรูต้ ้นจติ วา่ “อยากเดินหนอ” ๓ ครงั้ แล้ว จาก นั้นก็เอาใจใส่อาการยกส้น โดยกําหนดวา่ “ยกส้นหนอ” ลักษณะของการยกส้นไมค่ วร ยกสูงจนเลยข้อเท้าข้ึนไป จากนั้นตามดอู าการเคลื่อนไหวของการยกเท้ากําหนดวา่ “ยก หนอ” ลักษณะของการยกเท้าให้กระดกปลายเท้าข้ึนอย่างชา้ ๆ จากนั้นให้เคล่ือนเท้าไป ข้างหน้าอย่างช้าๆ กําหนดวา่ “ย่างหนอ” จากนั้นวางเท้าลงสติจดจอ่ ที่อาการเคลื่อน ไหวขณะที่เท้าแนบชิดกับพน้ื และส้ินสุดลง กําหนดวา่ “เหยียบหนอ”

วิธีเดินจงกรมระยะท่ี ๔ กําหนดวา่ “ยกส้นหนอ ยกหนอ ย่างหนอ เหยยี บหนอ”

วธิ ีเดินจงกรมระยะท่ี ๕ กําหนดวา่ “ยกส้นหนอ ยกหนอ ย่างหนอ ลงหนอ ถูกหนอ” เมอื่ กําหนดรูอ้ าการยนื และต้นจิต ๓ ครงั้ แล้ว จากนั้นกําหนดรูอ้ าการยกข้ึนของส้น เท้า เข่าจะงอนิดหน่อย โดยต้ังใจเอาสติกําหนดรูท้ ี่อาการยกส้นวา่ “ยกส้นหนอ” พยายามกําหนดให้ทันกับอาการเคล่ือนไหว อยา่ ให้ก่อนหรอื หลัง จากน้ันค่อยๆ กระดก ปลายเท้าข้ึนอย่างชา้ ๆ กําหนดอาการเคลื่อนไหวน้ันวา่ “ยกหนอ” เมอื่ การยกสิ้นสุดลง ให้เคลื่อนเท้าไปข้างหน้าจติ จดจอ่ ที่อาการเคล่ือนไปข้างหน้าอยา่ งเชื่องชา้ นั้นกําหนดวา่ “ย่างหนอ” เสรจ็ แล้วค่อยๆปล่อยเท้าลงไปเล็กน้อยแต่ยังไมถ่ กู พนื้ โดยเท้าจะขนานกับ พนื้ ในขณะท่ีเท้าเคล่ือนท่ีลงไปกําหนดวา่ “ลงหนอ” จากนั้นวางเท้าแนบกับพนื้ พรอ้ ม กับกําหนดวา่ “ถูกหนอ” ให้พอดีกันไมใ่ ห้ถูกก่อนหรอื หลังเพราะจะไมไ่ ด้สมาธหิ รอื ทัน ปัจจุบัน

วิธีเดินจงกรมระยะที่ ๕ กําหนดวา่ “ยกส้นหนอ ยกหนอ ยา่ งหนอ ลงหนอ ถูกหนอ”

วิธีเดินจงกรมระยะท่ี ๖ กําหนดวา่ “ยกส้นหนอ ยกหนอ ย่างหนอ ลงหนอ ถกู หนอ กดหนอ” เมอ่ื กําหนดรูอ้ าการยืนและต้นจิตเปน็ ที่เรยี บรอ้ ยแล้ว นักปฏิบัติก็ต้ังใจจดจ่อท่ี อาการยกส้นข้ึนอยา่ งชา้ ๆ พรอ้ มกับกําหนดวา่ “ยกส้นหนอ” จากน้ันกําหนดรูอ้ าการ เคลื่อนไหวของปลายเท้าที่ข้ึนอยา่ งชา้ ๆ กําหนดวา่ “ยกหนอ” เมอ่ื เคล่ือนเท้าไปข้างหน้า กําหนดวา่ “ย่างหนอ” ต่อจากนั้นกําหนดรูอ้ าการปล่อยเท้าลงอยา่ งช้าๆ กําหนดวา่ “ลง หนอ” หยุดนิดหน่ึงเท้าจะขนานกับพน้ื แต่ยังไมถ่ กู พนื้ จากน้ันให้กําหนดรูอ้ าการ เคลื่อนไหวของปลายเท้าท่ีค่อยๆ เคล่ือนลงไปจนกระทั่งถูกพน้ื แต่ส้นเท้ายงั ไมถ่ กู พนื้ กําหนดวา่ “ถกู หนอ” ต่อไปก็ให้เอาสติไปจนจอ่ ท่ีอาการเคล่ือนไหวของส้นเท้าที่ค่อย ปล่อยลงไปอย่างเชือ่ งชา้ จนกระท่ังถึงพนื้ พรอ้ มกับกําหนดวา่ “กดหนอ” หรอื จะปล่อย เท้าลงอยา่ งชา้ ๆ จนถกู พนื้ โดยกําหนดวา่ “ถกู หนอ” ขณะทีกดเท้าลงไปท่ีพน้ื ให้กําหนด อาการกดพรอ้ มกับบรกิ รรมวา่ “กดหนอ”

วิธีเดินจงกรมระยะที่ ๖ กําหนดวา่ “ยกส้นหนอ ยกหนอ ยา่ งหนอ ลงหนอ ถูกหนอ กดหนอ”

เวทนานุปสั สนาสติปัฏฐาน

เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน เวทนา หมายถึง ความรู้สึกหรือความเสวยอารมณ์ท่ีปรากฏในขณะปฏิบัติทั้ง ทางกายและจติ ใจ เชน่ ความรูส้ ึกสุขสบายหรอื ทุกข์ที่ปรากฏข้ึนในทางรา่ งกาย ความรูส้ ึกเป็นสุขใจ ดีใจ ปลาบปลื้มฯ หรอื ทกุ ข์ทางใจ อึดอัด ขัดเคือง ไมพ่ อใจ ไม่ สบายใจ เปน็ ต้น เวทนานี้เมอื่ จําแนกออกไปแล้วมี ๓ ประเภท คือ สุขเวทนา ๑ ทุกข์ เวทนา ๑ อุเบกขาเวทนา ๑ ซ่งึ ถ้าหากมคี วามชดั เจนกวา่ อาการพอง - ยุบ ควรตั้งใจ กําหนด จนกระทั่งเวทนาหรอื ความเสวยอารมณ์น้ันๆ จะเสื่อมไป หายไป ถ้ามี อารมณ์อ่ืนท่ีชัดเจนมากกวา่ นี้อีก ก็ให้ย้ายไปกําหนดอารมณ์นั้นทันที ควรกําหนด ทีละอารมณ์ ไมค่ วรกําหนดหลายอย่างพรอ้ มกัน เพราะจะทําให้เกิดความสับสน จนก่อให้เกิดความเครยี ดมากข้ึน ซ่ึงอาจจะไมเ่ ปน็ ผลดีแก่นักปฏิบัติใหม่

วิธีปฏิบตั ิเวทนานุปสั สนาสติปฏั ฐาน ขณะปวด กําหนดวา่ ปวดหนอๆ ขณะเจบ็ กําหนดวา่ เจ็บหนอๆ ขณะชา กําหนด วา่ ชาหนอๆ ขณะคัน กําหนดวา่ คันหนอๆ ขณะเมอื่ ย กําหนดวา่ เมอ่ื ยหนอๆ ขณะแสบ กําหนดวา่ แสบหนอๆ เป็นต้น การกําหนดเวทนารูเ้ วทนานี้ต้องมคี วามอดทนค่อนข้างมาก เพราะถ้ามคี วาม อดทนน้อยคอยเปล่ียนอิรยิ าบถอยูบ่ ่อยๆ จะทําให้เสียสมาธมิ ากถ้าทนไมไ่ หวจรงิ ๆ ก็ ควรกําหนดเวลาในการนั่งให้น้อยลงและค่อยๆ เพม่ิ ไปทีละ ๓-๕-๑๐ นาที เมอ่ื ครบตาม เวลาที่ตั้งใจไวแ้ ล้วก็ให้เปล่ียนอิรยิ าบถไปเดินจงกรม เมอื่ เดินจงกรมครบตามเวลาที่ได้ กําหนดไวก้ ็กลับมาน่ัง พยายามเดินนั่งสลับกันไมค่ วรจะเดินหรอื น่ังอยา่ งเดียว เพราะ จะทําให้อิรยิ าบถหรอื อินทรยี ์ ๕ ไมส่ มาเสมอกัน ถ้าเป็นไปได้ควรเดินและนั่งให้เท่าๆ กัน ไปตั้งแต่เรม่ิ ต้น การตามกําหนดรูเ้ วทนานี้ นับเนื่องในเวทนานุปัสสนาสติปฏั ฐาน ควรวางใจให้เป็นกลาง อยา่ ไปอยากให้หาย อยา่ ไปอยากเอาชนะ อยา่ ไปอยากรูว้ า่ มนั จะดับหรอื ไมด่ ับอยา่ งไร ให้ทําหน้าท่ีเพยี งแค่การเฝา้ ดอู ยา่ งมสี ติเท่าน้ัน

การกําหนดเวทนามอี ยู่ ๓ วธิ ี ๑. การกําหนดแบบเผชญิ หน้า คือ ตั้งใจกําหนดแบบไมท่ ้อถอยตายเป็นตาย โดย เอาจติ ไปจดจ่อที่อาการปวด จ้ลี งไปบรเิ วณที่กําลังปวดมากที่สุด วธิ นี ี้นักปฏิบัติจะ ค่อนข้างเหน็ดเหน่ือย เพราะต้องใชพ้ ลังจิตอย่างท่มุ เทและจดจอ่ มากท่ีสุด แต่ก็มี ประโยชน์ในการรูแ้ จ้งทกุ ข์ลักษณะอย่างพเิ ศษ ๒. การกําหนดแบบลอบทําร้าย คือ ต้ังใจกําหนดแบบจ่โู จมในตอนแรกๆ พอรูส้ ึก วา่ กําลังความเพยี รมนี ้อยก็ถอยออกมาเตรยี มความพรอ้ มใหม่ เมอื่ พรอ้ มแล้วก็เข้าไป กําหนดอีกครง้ั หน่ึง ๓. การกําหนดแบบเฝ้าดหู รือสังเกตการณ์ คือ เมอื่ รูส้ ึกวา่ ปวดหรอื เจบ็ มากก็มไิ ด้ ไปกําหนดตอกยาลงไปอีก เพยี งแต่กําหนดรูด้ ูด้วยสติปัญญาอยูเ่ ฉยๆ เช่น กําหนดวา่ ปวดหนอๆๆเจบ็ หนอๆๆ เมอ่ื ยหนอๆๆ ชาหนอๆๆ หรอื รูห้ นอๆๆ เปน็ ต้น

จติ ตานุปสั สนาสติปัฏฐาน

จิตตานุปสั สนาสติปฏั ฐาน จิต หมายถึง ธรรมชาติหรอื สภาวธรรมอย่างหน่ึงที่ทําหน้าที่รบั รูอ้ ารมณ์ นัก ปฏิบัติควรกําหนดรูต้ ามสภาพท่ีเปน็ จรงิ ดังน้ี การตามกําหนดรู้จติ ท่ีคิดน้อมไปหาหรอื รบั อารมณ์ในท่ีไกลหรอื ใกล้ ควร เอาใจใส่เปน็ พเิ ศษ เพราะการกําหนดรูจ้ ติ น้ันเป็นของละเอียดอ่อนมาก ถ้ากําหนด ไมถ่ ูกวธิ บี างครง้ั ทําให้สับสนและฟุง้ ซา่ นมากข้ึน อาจเป็นสาเหตุหน่ึงท่ีทําให้เกิด ความเครยี ดและอาการมนึ ตึงของศีรษะได้ อันเปน็ ปญั หาและอุปสรรคของนัก ปฏิบัติบางท่าน ที่ขาดความเข้าใจในวธิ กี ําหนดรูแ้ บบน้ีอย่างถกู ต้อง มตี ่อ….

จิตตานุปัสสนาสติปฏั ฐาน ก่อนการกําหนด ต้องวางใจให้เปน็ ปกติเสมอื นหน่ึงไมม่ อี ะไรเกิดข้ึนมาก่อน เพราะเมอ่ื ไมม่ สี ภาวะลักษณะอย่างน้ีใจเราก็เป็นปกติ ไมม่ ชี อบหรอื ชงั แต่พอ สภาวะน้ีเข้ามาทําให้ใจเราเสียความเป็นปรกติไป ฉะน้ันการกําหนดต้องพจิ ารนา ด้วยสติปญั ญาให้รูต้ ามความจรงิ ท่ีเกิดข้ึน ไมต่ ้องไปคิดปรุงแต่งหรอื ใส่ข้อมูลอ่ืน ใดเข้าไปอีก ขอให้กําหนดรูอ้ ยา่ งเดียว มนั เกิดอะไรคิดอะไรก็ให้กําหนดรูไ้ ปตามนั้น เพราะเรามหี น้าที่กําหนดรูต้ ามความเปน็ จรงิ ท่ีเกิดข้ึน เพอื่ ให้เข้าถึงความเป็นจรงิ หรอื รูเ้ ท่าทันความเป็นจรงิ ที่เกิดข้ึน จนสามารถถอนอุปาทานความยดึ มน่ั ถือมน่ั ลง ได้ เราไมม่ หี น้าท่ีคิด แต่จิตมหี น้าท่ีคิด เรามหี น้าที่กําหนดรู้ ก็ให้ทําหน้าท่ีกําหนดรู้ ไปตามนั้น อยา่ ไปสรา้ งส่ิงใหมใ่ ห้เป็นปญั หาแก่ตัวเอง มตี ่อ….

จิตตานุปัสสนาสติปฏั ฐาน ขณะคิด กําหนดวา่ คิดหนอๆ เน้นยา ชา้ หนักแน่น ทิ้งจังหวะเล็กน้อย เพอื่ ผอ่ นคลาย ถ้าในกรณีท่ีกําหนดแบบถ่ีเรว็ ฉับไว จดจ่อ น้ันต้องตอกยาและติดต่อ ไมม่ กี ารท้ิงจังหวะ แต่ข้อด้อยทําให้เกิดความเครยี ดได้ ฉะนั้นนักปฏิบตั ิจึงควร เลือกให้เหมาะกับตนเองและบางครงั้ เราสามารถใชไ้ ด้ทั้ง ๒ วธิ แี บบผสมผสาน

ธัมมานุปสั สนาสติปัฏฐาน

ธัมมานุปัสสนาสติปฏั ฐาน ธรรมารมณ์ หมายถึง ส่ิงที่จติ รูห้ รอื สิ่งท่ีมาประกอบกับจิต ปรุงแต่งจิต เมอื่ เรยี กให้ตรงกับสภาวะของนักปฏิบัติก็ได้แก่สภาวธรรม ซ่งึ นักปฏิบตั ิควรเอาใจใส่ เฝา้ ดูและกําหนดรูใ้ ห้ทันปัจจบุ ัน โดยอาศัยความเพยี รมสี ติระลึกรูอ้ ยู่ทกุ ขณะดังนี้ ขณะเห็น กําหนดวา่ เห็นหนอๆๆ โดยกําหนดเพยี งอาการเงาๆ ลางๆ ของรูป ไมต่ ้องกําหนดที่ตา และในขณะกําหนดก็ไมต่ ้องไปจ้องดูรูป เพราะกิเลสจะเข้า ขณะได้ยิน กําหนดวา่ ได้ยินหนอๆๆ โดยกําหนดเพยี งแค่อาการที่ได้ยนิ เสียง เท่านั้น แต่ไมต่ ้องเอาจิตไปจดจอ่ ท่ีหูหรอื กําหนดที่หู โดยกําหนดเพยี งอาการที่ ประสาทหรู บั เสียงเท่าน้ัน เพราะจรงิ ๆ แล้วหูกับเสียงต่างคนต่างอยู่ ขณะได้กล่ิน กําหนดวา่ กล่ินหนอๆๆ โดยกําหนดขณะที่จมูก(ฆานประสาท) รบั รูก้ ลิ่น ในช้ันแรกๆ ไมต่ ้องแยกแยะวา่ หอมหรอื เหมน็ ให้กําหนดเพยี งแค่กลิ่น เท่านั้น เมอ่ื สมาธญิ าณแก่กล้าแล้ว จะสามารถกําหนดได้เอง

ธัมมานุปสั สนาสติปฏั ฐาน ขณะรู้รส กําหนดวา่ รสหนอๆๆ โดยกําหนดขณะท่ีล้ิน(ชวิ หาประสาท)รบั รูร้ ส ในชัน้ ต้นน้ีให้กําหนดเพยี งแค่รสเท่านั้น ยังไมต่ ้องกําหนดละเอียดมากนัก เพราะ ถ้ากําหนดละเอียดในขณะที่สมาธญิ าณยังไมเ่ จรญิ เพยี งพอ อาจกลับกลาย เป็นความฟุ้งซา่ นหรอื เครยี ดไป ขณะถูกต้องสัมผสั กําหนดวา่ ถูกหนอๆๆ โดยกําหนดท่ีกายประสาทกระทบ สัมผสั ในขณะน้ันๆ เชน่ ขณะเย็น กําหนดวา่ เยน็ หนอๆๆ ขณะรอ้ น กําหนดวา่ รอ้ นหนอๆๆ ขณะอ่อน กําหนดวา่ อ่อนหนอๆๆ ขณะแข็ง กําหนดวา่ แข็งหนอๆๆ

การนําไปใช้ (Implementation) ข้นั ของการสอนโดยอาจจะเปน็ รูปแบบชนั้ เรียน การฝกึ อบรม หรือห้องทดลอง หรือรูปแบบการเรียน การสอนที่ใชค้ อมพิวเตอร์ โดยจดุ มุง่ หมายของข้ัน ตอนนี้คือการสอนอยา่ งมปี ระสิทธิภาพและ ประสิทธิผล จะต้องให้การส่งเสริมความเขา้ ใจของผู้ เรียนสนับสนุนการเรียนรอบรู้ของผูเ้ รียนตามวัตถุ ประสงค์ต่างๆท่ีตั้งไว้

แหล่งที่มาของข้อมูล https://buddhapathnet.blogspot.com/2016/10/blog-post.html http://www.dhammathai.org/sounds/chodok.php https://sites.google.com/site/thrrmphakhpthibati754052021 0/bth-thi-12

ประวัติยอ่ ผูน้ ําเสนอ นายกิตติศักดิ์ ณ สงขลา วุฒิการศึกษา : ● น.ธ.เอก ● เปรยี ญธรรม ๖ ประโยค ● พธ.บ.(บรหิ ารการศึกษา) ● ค.ม.(เทคโนโลยแี ละส่ือสารการศึกษา) การปฏิบัติวิปสั สนากัมมัฏฐาน : ได้ประยุกต์ใช้การปฏิบตั ิวปิ ัสสนากัมมฏั ฐานตาม หลักการเจรญิ วปิ ัสสนาตามแนวสติปัฏฐาน ๔ นํา มาใช้ในการดําเนินชีวติ และปฏิบัติอยูใ่ นชีวติ ประจําวนั และการทํางาน

ขอบคุณครับ