Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐาน

คู่มือการปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐาน

Published by กิตติศักดิ์ ณ สงขลา, 2022-01-16 04:58:21

Description: คู่มือการปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐาน

Keywords: วิปัสสนากัมมัฏฐาน, มจร, กิตติศักดิ์ ณ สงขลา, หลักสูตรป.บัณฑิตวิชาชีพครู

Search

Read the Text Version

คูมือการปฏิบตั วิ ิปส สนากรรมฐานเบอื้ งตน สถาบนั วปิ สสนาธรุ ะ มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย ป พ.ศ.๒๕๕๙

๑ วธิ ีสมาทาน และ วธิ ีปฏบิ ตั วิ ิปัสสนากรรมฐาน โดย พระธรรมธรี ราชมหามุนี (โชดก ป.ธ.๙) พระอาจารย์ใหญ่ฝ่ายวปิ สั สนาธรุ ะ สถาบนั วปิ ัสสนาธรุ ะ มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย ปี พ.ศ.๒๕๕๙

๒ คํานาํ อติโรจติ ปญญฺ าย สมมฺ าสมฺพธุ สาวโก สาวกของสมเด็จพระสัมมาสมั พทุ ธเจา้ ยอ่ มรุ่งเรอื งดว้ ยปัญญา ------- หน้าที่ของชาวพุทธมีอยู่ ๒ อย่าง คือ เรียนรแู้ ละปฏบิ ัตติ าม ถ้าเรียนเพียงแต่เพือ่ รอู้ ยา่ งเดยี ว ไปปฏิบัตติ ามกอ็ ุปมาเหมอื นเราปรุงอาหารใสส่ าํ รบั ไว้เรยี บรอ้ ยแลว้ แต่ไม่ไดร้ ับระทาน ฉะนน้ั เพื่อ สง่ เสริมหน้าทขี่ องชาวพทุ ธทง้ั ๒ อยา่ งน้ใี หส้ มบูรณย์ ่ิงข้นึ คณะกรรมการวปิ ัสสนาสารจงึ ได้รว่ มกัน จดั พิมพห์ นงั สือธรรมต่างๆ เก่ยี วกับหลกั ปรยิ ตั ปิ ฏบิ ัติปฏเิ วธ ไวต้ อ้ นรบั ทา่ นผู้สนใจ ขณะนม้ี หี นังสอื อยู่ ถึง ๖๐ กวา่ เร่อื งแล้ว หนังสือวธิ สี มาทานและวิธปี ฏิบตั วิ ิปัสสนาฐานน้ีทา่ นเจา้ คุณพระธรรมธรี ราช มหามุน(ี โชดก ญาณสทิ ธิเถร ป.ธ.๙) พระอาจารยใ์ หญ่ฝา่ ยวปิ สั สนาธุระได้เรียบเรียง ไวเ้ พ่ือเปน็ หนงั สอื ทม่ี ีประโยชนแ์ ก่นกั ศึกษาผ้เู รม่ิ ปฏิบัตแิ ละประชาชนทว่ั ไป ในนามคณะกรรมการวปิ สั สนาสาร ขออนมุ ทนาและขออาํ นวยพรใหผ้ ู้ปฏบิ ัติธรรมทุกทา่ น ขอให้จงเจรญิ งอกงามไพบูลย์ในธรรมคําสอนของพระพทุ ธเจา้ ปรารถนาส่ิงใดท่ไี ม่เหลอื วสิ ยั อนั เป็นไปโดยชอบ ประกอบด้วยธรรม ขอส่ิงน้นั จงถึงชึ่งความสาํ เรจ็ โดยเรว็ พลนั จิรํ ตฎิ ฺฐตุ สทฺธมฺโม ขอใหพ้ ระสทั ธรรมทงั้ ดา้ นปรยิ ัติ ปฏิบัตแิ ละปฏิเวธ จงตง้ั มนั่ อยู่ตลอดกาลนาน และขอให้ธุระของชาว พทุ ธท้ัง ๒ ประการดงั กลา่ วมานัน้ จงเจรญิ วฒั นาสถาพรดํารงเสถียรภาพอยคู่ ูก่ ันไปตลอดกัลปาวสาน เทอญ. คณะกรรมการวปิ สั สนาสาร

๓ วิธีสมาทานและวิธปี ฏิบัตวิ ปิ ัสสนากรรมฐาน โดย พระเทพสิทธิมุนโี ชดก ป.ธ.๙* พระอาจารยใ์ หญฝ่ ่ายวปิ ัสสนาธรุ ะ วิธสี มาทาน ผทู้ จี่ ะสมาทานพระกรรมฐาน พึงปฏบิ ัตติ อ่ ไปนี้ :- ๑. ถวายสกั การะต่อพระอาจารย์ผู้ใหพ้ ระกรรมฐาน ๒. จุดธูปเทยี นบูชาพระรตั นตรัย ๓. ถ้าเปน็ พระ ใหแ้ สดงอาบัตกิ อ่ นถ้าเป็นอบุ าสกอบุ าสิกาให้ สมาทานศลี เสยี ก่อน *ได้รับพระราชทานสมณศักดเิ์ ป็นพระราชาคณะชน้ั ธรรมพระธรรม ที่ พระธรรมธีรราชมหา มุนี (โชดก ญาณสิทธเิ ถร ป.ธ.๙) เมอื่ วนั ท่ี ๕ ธันวาคม ๒๕๓๐ ๔. มอบกายถวายชีวติ ตอ่ พระรัตนตรัย \"อิมาหํ ภควา อตฺตภาวํ ตุมหฺ ากํ ปริจจฺ ชามิ\" ขา้ แต่สมเด็จพระผมู้ ีพระภาคเจ้า ขา้ พระองค์ขอมอบกายถวายชีวิตต่อพระรตั นตรัย คือพระ พุทธ พระธรรม และ พระสงฆ์ ๕. มอบกายถวายตาํ ตอพระอาจารย์ \"อิมาหํ อาจริย อตตฺ ภาวํ ตมุ ฺหากํ ปรจิ ฺจชาม\"ิ ขา้ แตพ่ ระอาจารย์ผเู้ จริญ ขา้ พเจ้าขอมอบกายถวายตัวต่อครูบาอาจารย์ เพอ่ื เจริญวิปัสสนา กรรมฐาน ๖. ขอพระกรรมฐาน \"นิพพฺ านสฺส เม ภนเฺ ต สจฺฉกิ รณตฺถาย กมฺมฏฐานํ เทหิ\" ข้าแต่ทานผู้เจริญ ขอทา่ นจงให้กรรมฐานแกข่ า้ พเจา้ เพอื่ ทําให้แจ้งช่งึ มรรค ผล นิพพาน ต่อไป ๗. แผ่เมตตา \"อหํ สุขโิ ต โหมิ, นิททฺ กุ โฺ ข โหมิ, อเวโร โหมิ, อพยฺ ปชโฺ ฌ โหม,ิ อนโี ฆ โหมิ , สุขี อตตฺ านิ ปรหิ รามิ.\" ขอใหข้ ้าพเจา้ ถงึ ความสขุ ปราศจากความทกุ ข์ ไมม่ ีเวรไมม่ ภี ยั ไมม่ คี วามเบียดเบียน ชึ่งกัน และกัน ไมม่ ีความลําบาก ไมม่ ีความเดอื ดร้อน ขอใหม้ คี วามสุข รักษาตนอยู่เถิด \"สพฺเพ สตตฺ า สุขติ า โหนตฺ ,ุ นทิ ฺทุกฺขา โหนต,ุ อวรา โหนฺต,ุ อพฺยาปชณุ า โหนต,ุ โหนฺต,ุ สขุ ี อตฺตานํ ปรหิ รนตฺ ”ุ

๔ ขอใหส้ ตั ว์ทง้ั หลายทุกตวั ตน ตลอดเทพบตุ รเทพธิดาทุกองค์ พระภกิ ษสุ ามเณร และผปู้ ฏิบัติ ธรรมทกุ ๆ ทา่ นจงเป็นผู้มีความสขุ ปราศจากทกุ ข์ ไม่มีเวร ไม่มภี ยั ไม่มคี วามเบยี ดเบยี นซงึ่ กัน และกัน ไมม่ ีความลําบากไม่มคี วามเดอื ดรอ้ น ขอใหม้ คี วามสขุ รักษาตนอยเู่ ถดิ ๘. เจริญมรณานสุ สติ “อทฺธุวํ เม ชีวติ ,ํ ธุวํ มรณํ, อวสสฺ ํ มยา มรติ พพฺ ํ ,มรณปรเิ ยสานํ เม ชวี ติ ํ,ชวี ิตเมว อนยิ ตํ ,มรณํ นยิ ต.ํ ” ชีวติ ของเราเป็นของไมย่ ง่ั ยนื ความตายเป็นของยัง่ ยืน เราจะตอ้ งตายแน่ เพราะวา่ ชวี ติ ของรา มีความตายเปน็ ที่สดุ ชีวิตเป็นของไม่แน่นอน ความตายเปน็ ของแนน่ อนแท้ เป็นโชคอันดีทีเรา ไดเ้ ขา้ มาปฏบิ ตั วิ ิปสั สนากรรมฐาน ในโอกาส บัดนี้ไม่เสยี ทีท่ไี ดเ้ กิดมาพบพระพุทธศาสนา ๙.ต้ังสจั จอธิษฐาน และปฏิญาณตนตอ่ พระรัตนตรัยต่อครบู าอาจารย์ “เยเนว ยนตฺ ิ นพิ พฺ านํ พุทธฺ า เตสญฺจ สาวกา เอกายเนน มคเฺ คน สตปิ ฏฐฺ านสญฺญนิ า ฯ” พระพุทธเจ้าและเหลา่ พระอรยิ สาวก ไดด้ าํ เนนิ ไปสู่พระนิพพานด้วยหนทางเส้นน้ี อนั เป็นทาง เอก ซง่ึ นกั ปราชญ์ราชบัณฑิตทง้ั หลายร้ทู ัว่ กนั แลว้ วา่ ได้แกส่ ติปฏิฐาน ๔ ข้าพเจา้ ขอตั้งสตสิ จั อธษิ ฐานปฏญิ าณตนตอ่ พระรัตนตรยั และตอ่ ครูบาอาจารยว์ ่า “ตั้งแตน่ ้ตี อ่ ไปข้าพเจ้าจะตงั้ อกตงั้ ใจประพฤตปิ ฏบิ ัตจิ รงิ ๆ เทา่ ทตี่ นสามารถ เท่าทีต่ นมีโอกาส จะปฏิบัตไิ ด้ เพอ่ื ใหไ้ ดบ้ รรลุ มรรค ผล นิพพาน เจรญิ รอยตามพระองคท์ ่าน” \"อิมาย ธมฺมานธุ มฺมปฏิปตตฺ ิยา รตนตฺตยํ ปูเชม\"ิ ข้าพเจา้ ขอบูชาพระรัตนตรยั ดว้ ยการปฏบิ ตั ธิ รรม สมควรแก่ มรรค ผล นิพพาน น้ีดว้ ยสจั จ วาจาทก่ี ล่าวอา้ งมานี้ขอให้ขา้ พเจ้าได้บรรลุ มรรค ผล นพิ พาน ด้วยเทอญ ๑๐. สวดพทุ ธคณุ ธรรมคณุ และสงั ฆคณุ ๑๑. ถ้าอยู่ปา่ อย่ถู ้ํา ใหส้ วดกรณีเมตตสตู ร (กรณี ยมตถฺ ฯ) ขนั ธปรติ ร (วริ ปู กเฺ ขฯ) อาฏานาฏยิ สูตร (วปิ สสฺ สิ สฺ นมตถฺ ุฯ)

๕ วิธปี ฏบิ ตั วิ ปิ ัสสนากรรมฐาน พระอาจารยผ์ ู้ใหก้ รรมฐานควรปฏิบตั ดิ ังน้ี บทเรียนที่ ๑ วนั ที่ ๑ ของการปฏบิ ตั ิ วนั แรก ใหก้ รรมฐานไปปฏิบตั ิ ๖ ข้อ คือ ๑. เดินจงกรม เวลาเดินให้ทอดสายตาไปประมาณ ๔ ศอก สตจิ ับอยทู่ ่เี ท้า เดินช้าๆ เวลายกเทา้ ขวาภาวนาวา่ \"ขวายางหนอ\" ขณะท่ีใจนกึ ว่าขวาตอ้ งยกทา้ ขวาขึ้นทนั ที เทา้ ที่ยกกับใจนกึ ตอ้ งใหพ้ ร้อมกนั ขณะวา่ ย่าง ตอ้ งเคล่ือนเทา้ ไปพรอ้ มกันขณะวา่ หนอ เทา้ ต้องลงถึงพ้ืนพร้อมกัน เวลายกเทา้ ซา้ ยกเ็ หมือนกัน ภาวนาวา่ \"ซา้ ยย่างหนอ\" ปฏิบัตเิ หมอื นกนั กับขวายางหนอ ส้นเท้า กับ ปลายเทา้ หา่ งกนั ประมาณคบื หน่งึ เป็นอยา่ งมาก เม่อื เดนิ สุดเสื่อ หรือสุดถนน หรือสุด สถานท่ี ให้เอาเทา้ เคยี งกนั แลว้ หยดุ ยนื ภาวนาวา่ ยนื หนอ ยนื หนอ ยนื หนอ ช้าๆ สัก ๓ ครงั้ หรอื ๔ คร้ัง ขณะน้ันให้สติอย่ทู ี่รา่ งกายอยา่ ใหอ้ อกไปนอกร่างกายแลว้ กลบั จะกลบั ข้างซา้ ยหรือขา้ งขวากไ็ ด้ เวลากลับส้นเทา้ อยกู่ บั พน้ื ยกปลายเทา้ ขา้ งท่ีจะกลับ แลว้ ภาวนาวา่ \"กลับหนอ\" พร้อมกนั กับหมุน เทา้ ไปส่วนเทา้ อกี ขา้ งหนึ่งให้ยกข้นึ แลว้ หมนุ ไปตามโดยภาวนาวา่ “กลบั หนอๆ\" เช่นเดยี วกัน ให้ หมุนเวยี นไปอย่างนี้ จนกว่าจะได้ที่ทต่ี นตอ้ งการ แลว้ ยนื ภาวนา ยืนหนอ ยนื หนอ ยนื หนอ ๓ ครง้ั หรือ ๔ คร้งั แลว้ เดนิ จงกรม ขวายางหนอ ซา้ ยย่างหนอ ตอ่ ไป ให้เดนิ กลบั ไปกลบั มาอยอู่ ยา่ งนี้ ประมาณ ๓๐ นาที เปน็ อยา่ งต่าํ ๑ ชว่ั โมง เปน็ อย่างสงู ๒.นง่ั ใหเ้ ตรียมจดั อาสนะสาํ หรับนง่ั ไวก้ อ่ น เวลานัง่ ให้ค่อยๆ ย่อตวั ลง พรอ้ มกับภาวนาว่า “นงั่ หนอๆ\"ให้ภาวนา อยา่ งน้เี รอ่ื ยไปจนกวา่ จะน่งั เสร็จเรียบร้อย วิธีนั่ง นน้ั ใหน้ ัง่ ขดั สมาธิ คือขาขวาทบั ขาซา้ ย มือขวาทับมอื ซา้ ย ตงั้ ตัวให้ตรง แตจ่ ะนั่งเกา้ อี้ หรือนั่ง พบั เพียบ กไ็ ด้ น่งั เรียบรอ้ ยแล้วให้หลับตา เอาสตมิ าจับอย่ทู ท่ี ้อง พองยุบ เวลาหายใจเข้าท้องพอง ให้ภาวนาว่า พอง หนอ ใจท่ีนกึ กับท้องทพ่ี องต้องใหท้ ันกัน อย่าใหก้ อ่ นหรอื หลงั กันเวลาหายใจออก ท้องยบุ ให้ภาวนา ว่า ยบุ หนอ ใจที่นกึ กับทอ้ งท่ยี บุ ตอ้ งใหท้ นั กัน อยา่ ใหก้ อ่ นหรือหลงั กัน ขอ้ สาํ คญั ให้สตจิ ับอยทู่ ่ีอาการพองยบุ เทา้ นั้น อยา่ ไปดูลมทีจ่ มูกและตะเบง็ ท้อง ให้นั่งภาวนา อยา่ งนตี้ ลอดไป อย่างตาํ่ ประมาณ ๓๐ นาที อย่างสงู ประมาณ ๑ ชว่ั โมง ๓. เวทนา ในขณะทีน่ ่ังอยู่นนั้ ถา้ เวทนา คือความเจ็บปวด เมอ่ื ยคัน เป็นต้น เกิดขึ้น ใหป้ ล่อยพองยุบ แลว้ เอาสตไิ ปกําหนด ทเ่ี จบ็ หรอื ปวดเมอ่ื ย คันนน้ั พรอ้ มกับภาวนาวา่ เจบ็ หนอๆ หรอื คันหนอๆ สุดแต่ เวทนาจะเกิดขึน้ เมอ่ื เวทนาหายแลว้ ให้เอาสติไปกําหนดทีท่ อ้ งวา่ พองหนอ ยุบหนอ ตอ่ ไปอีกจนกว่าจะครบกาํ หนด ๔.จติ

๖ ในเวลาท่นี ัง่ อย่นู ้ันถา้ จติ คดิ ถงึ บา้ น ถึงทรัพยส์ มบตั หิ รอื กิจการงานต่างๆ ใหเ้ อาสติปักลงไปที่ หัวใจ พรอ้ มกบั ภาวนาวา่ คดิ หนอๆ จนกวา่ จะหยุดคิด เมอ่ื หยุดคดิ แล้วให้กลับไปกาํ หนดพองยบุ ตอ่ ไปอีก แม้ดใี จ เสยี ใจ โกรธ เป็นตน้ กใ็ ห้กําหนด เช่นกนั คอื ถา้ ดีใจก็กาํ หนดว่า ดใี จหนอๆ ถา้ เสยี ใจใหก้ าํ หนด ว่า เสยี ใจหนอๆ ถา้ โกรธใหก้ าํ หนดวา่ โกรธหนอๆ เป็นต้น ๕.เสยี ง ในขณะทนี่ อ้ี ย่นู ัน้ ถา้ มีเสียงดงั หนวกหูให้ใชส้ ตกิ ําหนดที่หูภาวนาว่า “ได้ยนิ หนอๆ” จนกวา่ จะ หายหนวกหูเม่อื หายหนวกหูแล้วใหก้ ําหนดพองยบุ ต่อไป ๖.นอน เวลานอน ให้คอ่ ยๆ เอนลง พรอ้ มกับภาวนาตามไปว่า นอนหนอๆ จนกวา่ จะนอนเรียบร้อย ขณะน้ันใหส้ ติ จบั อยู่ท่ีอาการเคลื่อนไหวของร่างกาย เมือ่ นอนเรยี บรอ้ ยแล้วให้เอาสติมาไวท้ ีท่ ้อง พร้อมกบั ภาวนาวา่ พองหนอ ยบุ หนอๆ ตอ่ ไปให้คอยสังเกตให้ดวี ่าจะหลบั ไปตอนพองหรือ ตอนยบุ วันแรก ใหป้ ฏบิ ตั เิ พียงเทา่ นี้ วนั ตอ่ ไปใหไ้ ปสง่ อารมณก์ บั พระอาจารย์ บทเรียนที่ ๒ วันที่ ๒ ใหเ้ พิ่มบทเรียน ๑ บท คือกําหนดตน้ จิตเม่อื ผู้ปฏบิ ัติมาสง่ อารมณพ์ ระอาจารย์ตอ้ ง ถามให้ละเอยี ดนบั แตก่ ารเดิน การนัง่ เวทนาจิต และนอน แลว้ ถามสภาวะตอ่ ไปเสรจ็ แล้วเพ่ิมบทเรียน การเพม่ิ บทเรยี น การเพมิ่ บทเรียน น้ีคือ ใหก้ ําหนดต้นจิต ต้นจติ ได้แก่ความอยากนั้นเอง เชน่ อยากลกุ อยาก ยืน อยากเดนิ อยากนั่ง อยากนอน อยากถ่ายอุจจาระ ปสั สาวะ เป็นตน้ เวลาจะลุก ใหเ้ อาสติปักลงไปทห่ี ัวใจ ภาวนาวา่ อยากลุกหนอๆ เวลาลกุ ใหภ้ าวนา ว่าลุกหนอๆๆ เวลาจะเดินใหภ้ าวนาวา่ อยากเดนิ หนอๆๆ เวลาเดนิ ใหภ้ าวนาวา่ ขวายางหนอ ซา้ ยยางหนอ ดงั นี้ หมายเหตุ ข้อสําคัญเราจะทาํ อะไรทุกอย่างใหก้ าํ หนดต้นจิตทุกๆครั้งเวลาจะรับประทานให้ ภาวนาวา่ \"อยากหนอๆ\" เวลารับประทานใหภ้ าวนาว่า รบั ประทานหนอๆ เปน็ ตน้ บทเรยี นท่ี ๓ วันที่ ๓ หรือ วันท่ี ๔ – ๕ ใหเ้ พมิ่ บทเรยี นอีกการเพม่ิ บทเรียนในวันน้ีคือเพ่มิ การกําหนดทวาร ๕ ไดแ้ ก่ ตา หู จมูก ลนิ้ กาย มวี ธิ ปี ฏบิ ัตดิ ังนี้ คอื ๑. เวลาตาเห็นรูปให้กําหนดวา่ เหน็ หนอๆ ต้งั สติไว้ทีต่ า ๒. เวลาหไู ด้ยนิ เสยี งใหก้ าํ หนดวา่ ไดย้ ินหนอ ๆ ตง้ั สตไิ วท้ หี่ ู ๓. เวลาจมกู ได้กล่นิ ให้กําหนดวา่ กลนิ่ หนอๆ ตั้งสติไวท้ ่ีจมกู ๔.เวลาลิน้ ได้รสใหก้ ําหนดว่า ลนิ้ หนอๆ ต้งั สติไว้ทลี่ ้ิน ๕. เวลากายถกู เยน็ ร้อน ออ่ น แข็ง ใหก้ าํ หนดว่า ถูกหนอๆ ตั้งสตไิ วต้ รงทถี่ ูก

๗ บทเรียนที่ ๔ วันตอ่ ไป เมอ่ื ญาณที่ ๑-๒ เกดิ ขึ้นแล้วให้เพิม่ บทเรยี นอกี ๑ บท คอื เพิม่ เดินจงกรมระยะท่ี ๒ ว่า “ยกหนอ เหยียบหนอ” บทเรียนที่ ๕ วนั ต่อไป เวลากาํ หนดวา่ ยบุ หนอ นน้ั ถา้ รู้สกึ วา่ ท้ิงจงั หวะไวท้ นนิดหน่งึ ท้องจึงพอง ให้เพมิ่ น่งั หนอ ได้ตอนว่า นงั่ หนอ นั้น รปู นงั่ ปรากฏในดจุ หาส่องกระจกชวั่ แวบเดยี วเท่านน้ั เมอื่ ต่อเข้ากับบทเรียนเดมิ จะได้วิธปี ฏบิ ตั ติ งั นี้ เวลาเดินได้ ๒ ระยะ คือ ระยะท่ี ๑ ขวาย่างหนอ ซา้ ยย่างหนอ ระยะที่ ๒ ยกหนอ เหยยี บหนอ เวลานัง่ ได้ ๓ ระยะ คอื ระยะที่ ๑ – ๒ พองหนอ ยุบหนอ ระยะที่ ๓ พองหนอ ยุบหนอ นงั่ หนอ บทเรียนที่ ๖ วนั ต่อไป เมอื่ ญาณท่ี ๓ และที่ ๔ เกดิ แลว้ ให้เพิม่ บทเรยี นอกี ๑ บทคอื เพ่มิ เดนิ จงกรมระยะท่ี ๓ วา่ ยกหนอ ยา่ งหนอ เหยียบหนอ เม่ือตอ่ เขา้ กับบทเรียนเดมิ เป็น ๓ ระยะ ดังนี้ คอื ระยะที่ ๑ ขวายา่ งหนอ ซา้ ยย่างหนอ เดินประมาณ ๑๐ – ๒๐ นาที ระยะที่ ๒ ยกหนอ เหยยี บหนอ เดินประมาณ ๑o - ๒๐ นาที ระยะที่ ๓ ยกหนอ ยา่ งหนอ เหยยี บหนอ เดนิ ประมาณ ๑๐-๒๐ นาที บทเรยี นท่ี ๗ วนั ตอ่ ไป เวลากาํ หนด พองหนอ ยุบหนอ นัง่ หนอ เม่อื ถึงตอนทีว่ ่า น่งั หนอนนั้ ถ้ากาํ หนดว่า นั่งหนอแลว้ แต่ยังท้ิงระยะหา่ งอยู่ คอื ท้องยงั ไม่พองขึ้น ใหเ้ พม่ิ ถกู หนอ ได้อกี แตถ่ า้ ผใู้ ด กําหนดเพยี ง พองหนอ ยบุ หนอ กไ็ ดส้ มาธิอยแู่ ล้วไม่จาํ เป็นตอ้ งเพ่มิ บทเรียนให้แก่ผู้น้นั อีกหรอื คนเฒ่า คนแก่ หรือ เดก็ ๆ กไ็ ม่ควรเพม่ิ เวลาเดนิ ใชเ้ พยี ง ขวาย่าง ซา้ ยยา่ ง กพ็ อแลว้ ถึงเวลานั้นกใ็ ชเ้ พียง พองหนอ ยุบหนอ เทา่ นัน้ ถ้าเพ่มิ บทเรยี นใหม้ ากกวา่ น้นั จะทาํ ใหฟ้ ั่นเฝือ และไมไ่ ดผ้ ลดี เมอ่ื ถูกเพ่ิมหนอเขา้ ไปอีก จะไดว้ ิธีปฏบิ ตั ดิ งั นี้ คือ พองหนอ ยบุ หนอ นั่งหนอ ถูกหนอ หมายเหตุ คาํ วา่ ถกู หนอ ในที่นี้ หมายเอา ถูกทก่ี ้นยอ้ ย คือก้นยอ้ ยถูกกบั พนื้ แล้เอาสติปักลง ไปตรงทถ่ี ูกน้ัน ยบุ นง่ั ทง้ั ๓ น้ี ตอ้ งให้อยู่ในระยะเดยี วกัน เม่ือถูกว่าถกู หนอแลว้ ทอ้ งจึงจะพองขน้ึ

๘ บทเรียนท่ี ๘ เม่อื ญาณ ท่ี ๕ – ๖ – ๗ เกดิ ข้ึนแล้ว ให้เพ่มิ บทเรยี นอกี คือเพิ่ม ระยะท่ี ๔ ดงั น้ี คอื ยกส้นหนอ ยกหนอ ยา่ งหนอ เหยียบหนอ เมอ่ื ต่อเขา้ กับบทเรยี นเดมิ กไ็ ด้วธิ ปี ฏบิ ตั ดิ ังนี้ คือ ระยะท่ี ๑ ขวายา่ งหนอ ซ้ายย่างหนอ เดินประมาณ ๑๐ นาที ระยะท่ี ๒ ยกหนอ เหยยี บหนอ เดินประมาณ ๑๐ นาที ระยะที่ ๓ ยกหนอ ย่างหนอ \"เหยียบหนอ เดินประมาณ ๑๐ นาที ระยะที่ ๔ ยกสน้ หนอ ยกหนอ ยา่ งหนอ เหยียบหนอ เดนิ ประมาณ ๑๐ - ๒๐ นาที บทเรยี นท่ี ๙ เม่อื ญาณ ท่ี ๘ – ๙ – ๑๐ เกดิ ขึน้ แลว้ ใหเ้ พิ่มเรยี นอกี คอื เพิม่ ระยะที่ ๕ ดงั นี้ ยกส้นหนอ ยกหนอ ยา่ งหนอ ลงหนอ ถูกหนอ เมื่อตอ่ เขา้ กบั บทเรยี นเดมิ จะไดว้ ธิ ีปฏิบตั ิดงั น้ี คอื ระยะท่ี ๑ ขวายา่ งหนอ ซา้ ยยา่ งหนอ เดนิ ไปประมาณ ๑๐ นาที ระยะท่ี ๒ ยกหนอ เหยียบหนอ เดนิ ประมาณ ๑๐ นาที ระยะที่ ๓ ยกหนอ ยา่ งหนอ เหยยี บหนอ เดนิ ประมาณ ๑๐ นาที ระยะท่ี ๔ ยกสน้ หนอ ยกหนอ ย่างหนอ เหยียบหนอ เดนิ ประมาณ ๑๐ นาที ระยะที่ ๕ ยกสน้ หนอ ยกหนอ ยา่ งหนอ ลงหนอ ถกู หนอเดนิ ประมาณ๑๐ - ๒๐นาที บทเรยี นที่ ๙ เมอ่ื ญาณท่ี ๑๑ เกิดขน้ึ แล้ว ใหเ้ พม่ิ บทเรียนอีก คอื เพิม่ ระยะที่ ๖ ดงั นี้ ยกส้นหนอ ยกหนอ ย่างหนอ ลงหนอ ถูกหนอ กดหนอ เม่อื ตอ่ ข้ากบั บทเรียนเดมิ จะไดว้ ิธปี ฏิบัติดงั นี้ คอื ระยะท่ี ๑ ขวาย่างหนอ ซา้ ยย่างหนอ เดินประมาณ ๑๐ นาที ระยะที่ ๒ ยกหนอ เหยยี บหนอ เดินประมาณ ๑o นาที ระยะท่ี ๓ ยกหนอ ย่างหนอ เหยยี บหนอ เดินประมาณ ๑๐ นาที ระยะที่ ๔ ยกสน้ หนอ ยกหนอ ยา่ งหนอ เหยยี บหนอ เดนิ ประมาณ ๑๐ นาที ระยะที่ ๕ ยกสน้ หนอ ยกหนอ ยา่ งหนอ ลงหนอ ถกู หนอ เดินประมาณ ๑๐- นาที ระยะที่ ๖ ยกส้นหนอ ยกหนอ ย่างหนอ ลงหนอ ถกู หนอ กดหนอ เดินประมาณ ๑o นาที ถ้ามเี วลามากใหเ้ ดนิ ระยะละ ๑๐ นาที รวมเป็น ๑ ช่วั โมง ถา้ มเี วลานอ้ ยให้เดนิ ระยะละ ๕ นาที รวมเปน็ ๓๐ นาที แลว้ จึงน่ังส่วนการนัง่ น้ัน ให้เพ่ิมถูกอกี ๖ แหง่ ดงั น้ี ๑. พองหนอ ยบุ หนอ นั่งหนอ ถกู หนอ (ถกู ก้นยอ้ ยขา้ งขวา) ๒. พองหนอ ยบุ หนอ นั่งหนอ ถูกหนอ (ถกู กม้ ยอ้ ยข้างซ้าย)

๙ ๓. พองหนอ ยบุ หนอ นง่ั หนอ ถูกหนอ (ถกู เขา่ ข้างขวา) ๔. พองหนอ ยบุ หนอ น่งั หนอ ถกู หนอ (ถกู เขา่ ขา้ งซ้าย) ๕. พองหนอ ยุบหนอ นง่ั หนอ ถูกหนอ (ถกู ตาตมุ่ ขวา) ๖. พองหนอ ยุบหนอ นงั่ หนอ ถูกหนอ (ถูกตาตมุ่ ซา้ ย) เปน็ อนั ไดค้ วามวา่ บทเรยี นนี้ครบรบิ รู ณ์แลว้ ญาณท่ี ๑๑ คอื สงั ขารุเบกขาญาณ กแ็ กกลา้ พอสมควร เม่อื ญาณที่ ๑๑ นี้ครบองคค์ ุณ ๖ ประการแล้ว พระอาจารย์ตอ้ งเตือนผปู้ ฏบิ ัติมิใหป้ ระมาท ให้ ปฏบิ ตั ิเครง่ ครดั ระมดั ระวังใหม้ าก เพราะจวนจะได้ผลดเี ตม็ ทีแ่ ลว้ ถ้าผู้ใดไม่ประมาท ผู้นัน้ จะได้ผลดี โดยไมน่ านเลย ประมาณ ๒ – ๓ วันเท่าน้นั ถ้าผูใ้ ดประมาทขาดการกาํ หนดตดิ ตอ่ กนั ผู้น้ันจะได้ผลชา้ อาจจะเลยไปถึง ๕ วนั ๑๕ วนั หรอื อาจจะ ไมไ่ ด้ผลเลยก็เป็นได้ บทเรียนท่ี ๑๐ อธิษฐาน เม่ือผู้ปฏิบัติมสี ภาวะปรากฏชดั ดแี ล้ว พระอาจารย์พงึ ให้อธษิ ฐาน ดังน้ี วนั แรก ใหเ้ ดินจงกรมแลว้ นง่ั ลง อธษิ ฐานวา่ \"ธรรมวิเศษเบอื้ งสูงทยี่ งั ไม่เกดิ ขอจงให้เกิดข้นึ ภายใน ๒๔ ชั่วโมง\" แล้วใหก้ ําหนดพองยบุ ต่อไป (ถ้าผปู้ ฏิบัตทิ ่ีบา้ นมเี วลาน้อย อธิษฐานวา่ \"ธรรม วิเศษเบ้ืองสูงท่ียงั ไม่เกิด ขอจงใหเ้ กิดข้นึ ภายในชวั่ โมงน”ี้ แล้วกาํ หนดพองยบุ ตอ่ ไป ให้อธษิ ฐานทุก ครั้งทนี่ ั่ง) วันที่ ๒ ให้เดนิ จงกรมแลว้ นงั่ อธษิ ฐานว่า \"ภายใน ๒๔ ชั่วโมง นี้ขอใหค้ วามเกดิ ดับเกิดขนึ้ ให้มาก\" แลว้ ให้กําหนดพองยบุ ตอ่ ไป (ถ้าผู้ปฏิบตั ทิ ่ีบา้ นกอ็ ธิษฐานว่า “ภายในชว่ั โมงน้ี ขอให้ความ เกดิ ดับเกดิ ขนึ้ ใหม้ าก\" แลว้ กําหนดพองยุบต่อไป) วนั ท่ี ๓ ให้เดินจงกรมแล้วน่งั อธิษฐานว่า “ภายในชัว่ โมงน้ี ขอให้ความเกิดดับเกิดขนึ้ ให้ มาก\" แล้วกาํ หนดพองยบุ ต่อไป (ถา้ ผมู้ เี วลาน้อยกข็ อให้อธิษฐานว่า “ภายใน ๓๐ นาทนี ้ี ขอใหค้ วาม เกดิ ดบั เกดิ ขนึ้ ให้มาก\" แล้วกาํ หนดพองยบุ ต่อไป) วนั ที่ ๔ ให้เดนิ จงกรมแล้วนงั่ อธิษฐานว่า \"ภายใน ๓๐ นาทีน้ี ขอให้ความเกิดดับเกดิ ขน้ึ ให้ มาก\" แลว้ กาํ หนดพองยบุ ตอ่ ไป (ถา้ ผูม้ เี วลาน้อย ใหอ้ ธิษฐานว่า “ภายใน ๑๕-๑๐-๕ นาที น้ีขอให้ ความเกดิ ดับเกิดข้นึ ใหม้ าก\" แลว้ กําหนดพองยุบต่อไป) วนั ที่ ๕ ใหเ้ ดินจงกรมแล้วนัง่ อธษิ ฐานวา่ “ภายใน ๑๕-๑๐-๕ นาที นีข้ อให้ความเกิดดบั เกดิ ขึน้ ให้มาก\" แลว้ กําหนดพองยุบต่อไป (ถา้ ผู้มีเวลาน้อย ใหอ้ ธิษฐานว่า “ภายใน ชวั่ โมง นี้ ขอให้ จิตสงบ เงียบไปได้นานประมาณ ๕ นาท\"ี แลว้ กําหนดพองยุบตอ่ ไป) วันท่ี ๖ ให้เดินจงกรมแลว้ นัง่ อธษิ ฐานว่า ภายในชว่ั โมงน้ี ขอใหจ้ ิตสงบเงียบไปไดน้ าน ประมาณ ๕ นาที แลว้ กําหนดพองยุบตอ่ ไป

๑๐ ถ้าสงบได้ ๕ นาที ต่อไปก็ให้อธิษฐานวา่ \"ขอใหจ้ ติ สงบ เงียบไปไดน้ านประมาณ ๑๐ นาท”ี ถา้ ได้ ๑o นาที แล้วก็ใหอ้ ธิษฐานเพมิ่ ข้นึ ไปเป็น ๒๐–๓๐–๔๐–๕๐ นาที จนถงึ ๑–๒–๓–๔ – ๕ – ๖ ช่ัวโมง เปน็ ต้น การปฏิบัตวิ ปิ สั สนากรรมฐาน เป็นเร่ืองสงบไม่ใช่เร่ืองย่งุ เยน็ ใจตลอดเวลาการ ปฏบิ ัติ วิปสั สนากรรมฐานเป็นการปฏิบตั ธิ รรมชน้ั สูงสุดของพระพุทธศาสนา เปน็ การปฏิบตั เิ พือ่ ใหพ้ ้น ทุกข์ ถงึ สนั ตสิ ขุ อยา่ งแทจ้ ริง พธิ ไี หวพ้ ระกอ่ นปฏบิ ตั ิกรรมฐาน อมิ ินา สกั กาเรนะ, ตงั พุทธงั อภิปูชะยามะ อมิ นิ า สักกาเรนะ, ตงั ธัมมัง อภิปูชะยามะ อมิ ินา สักกาเรนะ, ตงั สังฆัง อภิปชู ะยามะ อะระหงั สมั มาสมั พุทโธ ภะคะวา, พทุ ธงั ภะคะวันตัง อภิวาเทมิ (กราบ) สวากขาโต ภะคะวาตา ธัมโม, ธมั มัง นะมสั สามิ (กราบ) สปุ ะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ, สังฆงั นะมามิ (กราบ) (นํา)หนั ทะ มะยัง พุทธสั สะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการญั เจวะ พทุ ธานุสสะตนิ ะยญั จะ กะโรมะ เส. (รับ) นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสมั พทุ ธัสสะ. (วา่ ๓ จบ) อิติปโิ ส ภะคะวา อะหะหงั สมั มาสมั พทุ โธ วิชชาจะระณะสมั ปันโน สคุ ะโต โลกะวทิ ู, อะนตุ ตะ โร ปุรสิ ะธมั มะสาระถิ สตั ถา เทวะมะนสุ สานัง พุทโธ ภะคะวาติฯ (หมอบลง) กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา, พทุ เธ กกุ ัมมงั ปะกะตงั มะยา ยงั พุทโธ ปะฏคิ คัณ หะตุ อัจจะยันตงั , กาลนั ตะเร สังวะริตงุ วะ พทุ เธ. (นาํ ) หนั ทะ มะยงั ธัมมานุสสะตินะยงั กะโรมะ เส. (รับ) สวากขาโต ภะคะวะตา ธมั โม, สันทฏิ ฐโิ ก อะกาลโิ ก เอหิปัสสโิ ก, โอปะนะยิโก ปัจจตั ตงั เวทิตัพโพ วิญญูหิตฯิ (หมอบลง) กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา, ธัมเม กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยงั ธมั โม ปะฏคิ คัณ หะตุ อจั จะยนั ตงั , กาลนั ตะเร สงั วะริตงุ วะ ธัมเม. (นาํ ) หันทะ มะยงั สงั ฆานสุ สะตนิ ะยงั กะโรมะ เส. (รับ) สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ญา ยะปะฏปิ นั โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สามจี ิปะฏปิ นั โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ยะทิทัง จตั ตาริ

๑๑ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุรสิ ะปคุ คะลา, เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ, อาหเุ นยโย ปาหุเนยโย ทกั ขิเณย โย อญั ชะลกี ะระณโี ย, อะนุตตะรงั ปุญญกั เขตตงั โลกสั สาติฯ (หมอบลง) กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา, สงั เฆ กุกัมมงั ปะกะตงั มะยา ยงั สงั โฆ ปะฏิคคัณ หะตุ อจั จะยันตงั , กาลันตะเร สงั วะรติ งุ วะ สังเฆ. คําบชู าขา้ วพระพทุ ธ นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสมั พุทธัสสะ (วา่ ๓ จบ) อมิ งั สปู ะพยัญชะนะสมั ปันนงั สาลีนงั โภชะนัง อทุ ะกัง วะรงั พทุ ธสั สะ ปเู ชมิ ฯ คาํ ลาขา้ วพระพทุ ธ เสสัง มังคะลัง ยาจามิ ฯ คาํ สวดพจิ ารณากอ่ นรบั ประทานอาหาร ปะฏสิ ังขา โยนโิ ส ปิณฑะปาตงั ปะฏิเสวาม,ิ เนวะทะวายะ, นะ มะทายะ, นะ มัณฑะนายะ ,นะ วภิ สู ะนายะ ยาวะเทวะ อิมัสสะ กายสั สะ ฐิตยิ า, ยาปะนายะ, วหิ งิ สุปะระติยา, พรหั มะจะริยานุค คะหายะ,อิติ ปรุ านัญจะ เวทะนงั ปะฏิหงั ขาม,ิ นะวัญจะเวทะนงั นะ อปุ ปาเทสสามิ, ยาตรา จะ เม ภะ วสิ สะติ อะนะวชั ชะตา จะ ผาสวุ หิ าโร จาติ ฯ คําใหพ้ รเมือ่ รับประทานอาหารเสรจ็ แล้ว สัพพะโรคะวนิ ิมุตโต สัพพะสนั ตาปะวชั ชิโต สพั พะเวระมะติกกันโต นพิ พโุ ต จะ ตวุ งั ภะวะ สพั พตี ีโย วิวัชชนั ตุ สัพพะโรโค วินัสสะตุ มา เต ภะวตั ตะวนั ตะราโย สุขี ทฆี ายโุ ก ภะวะ อะภิวาทะนะสี ลสิ สะ นิจจัง วุฑฒาปะจายโิ น จัตตาโร ธัมมา วฑั ฒนั ติ อายุ วัณโณ สุขัง พะลัง ฯ คําอธิษฐาน สวดก่อนเลิกปฏิบตั ิ หรอื เวลาทาํ บญุ อิทงั เม ปุญญงั นพิ พานสั สะ ปจั จะโยโหตุ ฯ ขอผลบญุ น้ี จงเป็นปจั จยั ใหข้ า้ พเจา้ ไดบ้ รรลุ มรรค ผล นิพพาน ฯ คาํ แผ่สว่ นบญุ สว่ นกศุ ล อทิ งั เม ปญุ ญะภาคัง สพั พะสตั ตานงั เทมิฯ ข้าพเจา้ ขออุทศิ สว่ นบญุ สว่ นกุศล ทไ่ี ดบ้ ําเพ็ญมานใี้ ห้แก่ บิดา มารดา ครู อาจารย์ ท่านผู้มี พระคุณ ทา่ นผู้มีบญุ คณุ ทุก ๆ ทา่ น เจ้ากรรมนายเวร ภูตผีปีศาจทง้ั หลาย เทพบุตรเทพธดิ าทุก ๆ องค์ ขอจงอนโุ มทนาในสว่ นบกุ ศุ ลที่ขา้ พเจา้ ได้บาํ เพญ็ มาน้ี สตั วท์ ้ังหลายทีถ่ ึงทุกข์ ขอใหพ้ ้นจากทกุ ข์ ท่ีถึง สขุ ขอจงได้รบั ความสุขยงิ่ ๆ ข้นึ ไปดว้ ยกันทกุ ท่านทกุ คน เทอญ ฯ (ต่อด้วยไหว้พระ ทกุ ครัง้ ทีเ่ ลิกปฏิบตั ิ)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook