Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 3 การใช้ประโยค สำนวนโวหารและระดับภาษา

บทที่ 3 การใช้ประโยค สำนวนโวหารและระดับภาษา

Published by นนท์นารี จับใจนาย, 2021-02-23 07:27:41

Description: บทที่ 3 การใช้ประโยค สำนวนโวหารและระดับภาษา

Search

Read the Text Version

ประโยค คือ หน่วยทางภาษาท่ีประกอบด้วยคาเดียวหรือคาหลายคาเรียง ต่อกนั ต้องมีความสมั พนั ธ์ทางไวยากรณ์กนั อย่างใดอย่างหนึ่ง ประโยคเป็ นหน่วย ทางภาษาที่สามารถส่ือความได้ว่าเกิดอะไรขึน้ หรอื อะไรมีสภาพเป็นอย่างไร ประโยค แบ่งได้ ๒ ลกั ษณะ ๒ ประโยคตามเจตนา ๑ ประโยคตามโครงสร้าง ประโยคสามญั ประโยคบอกให้ทราบ ประโยคคาดคะเน ประโยคซ้อน ประโยคชกั ชวน ประโยครวม ประโยคสงั ่ ประโยคถาม ประโยคเสนอแนะ ประโยคขอรอ้ ง ประโยคขู่ ประโยคห้าม ๓๙

๓ ๒ ๑ ประกอบด้วยวลี ๒ ชนิด คือ นามวลี และกริยาวลี ประโยค ประโยค ประโยค รวม ซ้อน สามญั คือ ประโยคตงั้ แต่ ๒ ประโยคขึน้ ไปมารวมกนั คือ ประโยคท่ีประกอบด้วยประโยค เป็นประโยคเดียว ประโยคที่นามารวมกนั อาจ หลกั (มขุ ยประโยค) เป็นประโยคสามญั หรือประโยคซ้อนกไ็ ด้ และ กบั ประโยคย่อย (อนุประโยค) ต้องมีคาเช่ือมสมภาค “และ และก็ แต่ ทว่า แต่ ทว่า หรอื ” ทาหน้าท่ีเชื่อมประโยคท่ีมารวมกนั ๔๐

ประโยค แบง่ ตามเจตนาได้หลายชนิด ดงั นี้ ประโยคบอกให้ทราบ ประโยคสงั ่ คือ ประโยคท่ีผพู้ ดู สื่อถึงสิ่งท่ีต้องการบอก คือ ประโยคที่ผพู้ ดู ต้องการบอกให้ผฟู้ ัง หรืออธิบายเรอ่ื งราวต่างๆ ให้ผฟู้ ังทราบ ปฏิบตั ิตาม ประโยคสงั ่ มกั มีคาช่วยกริยา เช่น “จง ต้อง” และคาลงท้าย “ซิ นะ” เช่น ❖ น้องสาวชอบตวั การต์ นู เจ้าหญิง ❖ จงตอบคาถามต่อไปนี้ ❖ น้องชายไม่ชอบตวั การต์ นู เจ้าหญิง ❖ หยดุ พดู เดี๋ยวนี้นะ ❖ ร้ไู หมว่ากรงุ เทพฯ รถติดมาก ❖ วนั นี้งานต้องเสรจ็ ๔๑

ประโยคเสนอแนะ คือ ประโยคท่ีผ้พู ูดส่ือข้อเสนอแนะ ข้อคิดเห็นให้ผ้ฟู ังปฏิบตั ิตาม ประโยค เสนอแนะอาจมีคากริยา “ลอง...ด”ู คาช่วยกริยา “ควร” และคาลงท้ายบอก มาลา “นะ ซิ ซี่ ซี้” เช่น ❖ นักศึกษาควรแต่งกายให้ถกู ระเบยี บ ประโยคห้าม ❖ ไปเชิญเขาสิ เขาน่าจะว่างไปงานเธอนะ ❖ คณุ ลองทานอาหารของฉันดสู ิ อรอ่ ยนะ คือ ประโยคท่ีผพู้ ดู ต้องการบอกให้ผฟู้ ัง ประโยคขอร้อง ปฏิบตั ิตาม ประโยคห้ามมกั มีคาช่วยกริยา “อย่า ห้าม” และคาลงท้าย “นะ” เช่น คือ ประโยคที่ผพู้ ดู มีเจตนาขอให้ผฟู้ ังช่วย ทาส่ิงต่างๆ ประโยคขอร้องอาจมีคากริยา ❖ อย่าใส่เสือ้ ผา้ วาบหวิว ❖ อยา่ เล่นอะไรแผลง ๆ นะ นา “ช่วย กรณุ า วาน โปรด” หรอื อาจมีคา วิเศษณ์ “ด้วย ที หน่อย” หรือคาลงท้าย ❖ ห้ามนอนดึกเดด็ ขาด “เถอะ นะ น่ะ” เช่น ❖ กรณุ าถอดรองเท้าก่อนเข้าห้อง ❖ เธอช่วยทากบั ข้าวแทนฉันหน่อยนะ ๔๒

ประโยคคาดคะเน ประโยคชกั ชวน คือ ประโยคท่ีผพู้ ดู มีเจตนาสื่อถึงส่ิงท่ี คือ ประโยคท่ีมีเจตนาชวนให้ผฟู้ ังคิด คาดหมายว่าจะเกิดขึน้ หรือเกิดขึน้ แล้ว หรือทาตามความคิดของผพู้ ดู อาจมี ประโยคคาดคะเนอาจมีคาช่วยกริยา คาวิเศษณ์ “กนั ” คาลงท้าย “นะ เถอะ “คง อาจจะ ท่าจะ เหน็ จะ น่ากลวั ” เถอะนะ” เช่น คาลงท้าย “กระมงั ละซิ” เช่น ❖ พวกเราไปเล่นฟตุ บอลกนั ดีกว่า ❖ เขาคงชนะการประกวดร้องเพลงแน่ๆ ❖ คณุ เชื่อผมเถอะ แล้วงานจะออกมาดี ❖ สมชายเหน็ จะไมอ่ ยากเรียน ❖ เพือ่ นๆ ไปฉลองวนั เกิดกนั เถอะนะ ทาขนมแล้ว ❖ น้าหวานละซิเป็นคนต้นคิดเรอ่ื งนี้ ๔๓

ประโยคถาม ประโยคขู่ คือ ประโยคท่ีผพู้ ดู มีเจตนาถามผ้ฟู ัง คือ ประโยคท่ีมีเจตนาทาให้ผฟู้ ังกลวั ประโยคแสดงการถามจะมีคาแสดง ด้วยการบอกถึงผลท่ีตามมา เมือ่ ไม่ คาถาม “ใคร อะไร อยา่ งไร ไหน เท่าไร ปฏิบตั ิตาม ประโยคข่อู าจมีคาเชื่อม ทาไม เหตใุ ด ฯลฯ” เช่น “ถา้ หาก” เช่น ❖ ใครจะไปเที่ยวทะเลด้วยกนั บา้ ง ❖ ถา้ เธอทางานไมเ่ สรจ็ เธอจะโดน ❖ ทาไมวนั นี้เขาไม่มาประชมุ ❖ คณุ ทาอาหารจานนี้อยา่ งไร ไล่ออก ❖ หากเขาไม่ให้ความร่วมมอื ในการทางาน หวั หน้าจะพิจารณา ลดเงินเดือน ๔๔

สานวนโวหาร คือ ชนั้ เชิงหรือสานวนแต่งหนังสือ เช่น มีโวหารดีถ้อยคาท่ี เล่นเป็นสาบดั สานวนโวหารท่ีใช้ในการงานเขียน มีดงั นี้ หมายถึง การใช้ภาษาท่ีกะทดั รดั ตรงไปตรงมา เน้นสาระสาคญั และความชดั เจน บรรยายโวหารมกั ใช้ในการเล่าเร่ือง อธิบายเร่ืองราว เหตุการณ์ หรือ นาเสนอข้อเท็จจริง งานเขียนท่ีใช้บรรยายโวหาร เช่น รายงาน หนังสือเรียน คาตอบข้อสอบ บทความ วิชาการ หรือ หนังสือราชการ ๔๕

หมายถึง การใช้ถ้อยคาเพื่อนาเสนอภาพเหตุการณ์หรือเรื่องราวต่างๆ อย่างละเอียด ทาให้ผ้รู บั สารคล้อยตามและซาบซึ้งตามได้ ตลอดจนเห็นภาพ เหตุการณ์ต่างๆ อย่างชัดเจน พรรณนาโวหารมกั ใช้ในงานเขียนประเภท บนั เทิงคดี หรืองานเขียนที่ต้องการก่อให้เกิดความสะเทือนอารมณ์มากกว่า ข้อเทจ็ จริง งานที่ใช้พรรณนาโวหาร เช่น บทละคร นวนิยาย เร่ืองสนั้ เป็นต้น คือ การใช้ถ้อยคาภาษาที่ใช้โน้มน้าวใจ ทาให้ผ้รู บั สารคล้อยตามและ ปฏิบตั ิตาม โดยจะชี้ให้เหน็ คณุ ค่าและโทษของส่ิงต่าง ๆ รวมทงั้ เป็ นการแนะนา สงั่ สอน เทศนาโวหารมกั จะพบในพระบรมราโชวาทโอวาท พระธรรมเทศนา และบทความประเภทโน้มน้าวใจต่าง ๆ ๔๖

คือ การใช้ถ้อยคาภาษาเพ่ือให้เกิดความชัดเจนมากขึ้น โดยการ ยกตวั อย่างนิ ทาน สภุ าษิต ตานาน หรือเหตุการณ์ต่าง ๆ มาประกอบเพ่ือให้ เกิดความชดั เจนและหนักแน่นมาก คือ การใช้ถ้อยคาภาษาที่แสดงการ เปรียบเทียบ เพื่อทาให้เรื่องราวมีความ ชดั เจนขึ้น แสดงถึงอารมณ์ความร้สู ึกได้ ลึกซึ้ง ๔๗

ระดบั ภาษา คือ ระดบั ชนั้ ของการใช้ภาษาที่พิจารณาตามลกั ษณะการ ใช้คา ประโยค สานวนภาษาต่าง ๆ โดยการใช้จะต้องคานึ งถึงบุคคลและ สถานการณ์ ระดบั ภาษาแบ่งได้หลายระดบั ดงั นี้ ๑ ระดบั พิธีการ ๕ระดบั กนั เอง ๒ ระดบั ทางการ ๔ระดบั ไม่เป็นทางการ ๓ ระดบั กึ่งทางการ ๔๘

การใช้ภาษาทงั้ ๕ ระดบั ข้างต้น จะมีปัจจยั ท่ีกาหนดความแตกต่างของ ภาษาแต่ละระดบั ดงั นี้ โอกาสและสถานท่ี ลกั ษณะของเนื้อหา ความสมั พนั ธร์ ะหว่างบคุ คล ๔๙

ก า ร ส่ื อ ส า ร ผ่ า น ส่ื อ ท่ี มี ล ัก ษ ณ ะ ท่ี ต่างกนั ส่งผลต่อการเลือกใช้ระดบั ภาษาท่ี ต่างกนั เพราะสื่อบางชนิ ดมีลกั ษณะการใช้ ภาษาโดยเฉพาะ เช่น การเขียนจดหมาย ราชการ ต้องใช้ภาษาระดบั ทางการ แต่การ เขียนจดหมายส่วนตวั โฆษณา อาจเลือกใช้ ระดบั ภาษาที่ไม่เป็นทางการ ๕๐

ภาษาแต่ละระดบั มีลกั ษณะการใช้ภาษาท่ีสามารถสรุปได้ดงั ตาราง ต่อไปนี้ ๕๑

๕๒

๕๓