Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการบริหารจัดการวิจัยและนวัตกรรมองค์ความรู้การอาชีวศึกษา

คู่มือการบริหารจัดการวิจัยและนวัตกรรมองค์ความรู้การอาชีวศึกษา

Description: สอศ. กำหนดนโยบายการพัฒนาการวิจัยเพื่อสร้างและส่งผ่านองค์ความรู้และเทคโนโลยีวิชาชีพ สร้างนักวิจัยและสนับสนุนให้บุคลากรขององค์กรทำวิจัย เพื่อบูรณาการการวิจัยในการพัฒนาการบริหารจัดการการเรียนการสอนอาชีวศึกษา มุ่งเน้นการพัฒนาและผลิตปริมาณและคุณภาพกำลังคนอาชีวศึกษา สวพ. ในฐานะหน่วยงานหลักในการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาการวิจัยอาชีวศึกษา จึงได้จัดทำคู่มือการบริหารจัดการวิจัยและนวัตกรรมองค์ความรู้การอาชีวศึกษาเล่มนี้เพื่อเป็นคู่มือบริหารดครงการวิจัยให้มีคุณภาพให้ได้ตามมาตรฐานที่กำหนด และหวังว่าคู่มือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อบุคลากร หน่วยงาน และผู้ที่สนใจในการทำวิจัยทั้งภาครัฐและเอกชนในการผลิตนวัตกรรมและองค์ความรู้ใหม่ต่อไป

Search

Read the Text Version

5.1.1 ไดเรียบเรียงจากแหลงเอกสารทุติยภูมิมากเกินไปหรือไม ซึ่ง ตามความเปนจริงแลว ควรใชแหลง เอกสารปฐมภมู ิ (ตนฉบบั ) ใหมากที่สุด 5.1.2 ครอบคลุมเอกสาร ท่ีสําคัญท่ีเกี่ยวของกับปญหาท่ีศึกษาครบ หมดหรอื ไม 5.1.3 ครอบคลุมเอกสารใหมๆ หรอื ไม 5.1.4 เนนในเรื่องความคิดเห็น หรือการบันทึกเหตุการณเกี่ยวกับ พฤตกิ รรมมากเกินไป และมีการเนนผลการวิจยั ดานปฏบิ ตั จิ รงิ ๆ นอยไปหรือไม 5.1.5 ไดเรียบเรียงขอความอยางตอเนื่องสมบูรณหรือไม หรือเปน เพียงแตล อกขอความจากเอกสารตน ฉบบั มาเรียงตอ กนั เทา นัน้ 5.1.6 เปนแตเพียงสรุปผลการศึกษาท่ีทํามาแลวเทานั้น หรือเปนการ เขยี นในเชิงวเิ คราะหว ิจารณ และเปรียบเทียบกบั ผลงานเดนๆ ทศี่ กึ ษามาแลวหรอื ไม 5.1.7 ไดเรียบเรียงในลักษณะที่เช่ือมโยง และช้ีใหเห็นถึง ความกา วหนา ในความคิดอยางชดั เจนมากนอยแคไหน 5.1.8 ไดนําผลสรุปของงานวิจัยและขอเสนอแนะของการนํา ผลการวิจัยไปใชทัง้ หมด มาเชอ่ื มโยงกบั ปญหาท่ีจะศกึ ษามากนอยแคไหน 5.2 การเชอื่ มโยงปญ หาที่ศึกษากับกรอบทฤษฎี หรือ กรอบแนวคดิ หรือไม 5.2.1 ไดเช่ือมโยงกรอบทฤษฎีกับปญหาท่ีศึกษาอยางเปนธรรมชาติ หรือไม 5.2.2 ไดเ ปด ชอ งโหวใหเห็นถึงกรอบแนวคดิ อน่ื ที่เหมาะสมกวา หรือไม 5.2.3 ไดเชื่อมโยงอนุมานจากทฤษฎี หรือกรอบแนวคิดอยางมีเหตุมี ผลหรอื ไม 6. สมมติฐาน (Hypothesis) และกรอบแนวคดิ ในการวจิ ัย (Conceptual Framework) การตั้งสมมติฐาน เปนการคาดคะเนหรือการทายคําตอบอยางมีเหตุผล มัก เขียนในลักษณะการแสดงความสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระหรือตัวแปรตน(Independent Variables) และตัวแปรตาม (Dependent Variables) สมมติฐานทําหนาท่ีเสมือนเปนทิศทาง 45

และแนวทางในการวิจัย จะชวยเสนอแนะแนวทางในการเก็บรวบรวมขอมูลและการวิเคราะห ขอมูลตอ ไป สมมติฐานตอ งตอบวัตถปุ ระสงคข องการวจิ ยั ไดค รบถวนและทดสอบและวดั ได นอกจากนี้ ผูวิจัยควรนําเอาสมมติฐานตางๆ ที่เขียนไวมารวมกันใหเปนระบบ และมีความเชื่อมโยงกันในลักษณะท่ีเปนกรอบแนวความคิดของการศึกษาวิจัยท้ัง ผูวิจัยอาจ กําหนดกรอบแนวความคิดของการวิจัย ซ่ึงระบุวาการวิจัยนี้มีตัวแปรอะไรบาง และตัวแปร เหลานมี้ ีความสัมพนั ธก ันอยางไรกอน แลว จึงเขียนสมมติฐานทีร่ ะบุถึงความสัมพันธร ะหวางตัว แปรในลักษณะที่เปนขอ ๆ ในภายหลงั 7. ขอบเขตของการวิจัย (Limitation) การดําเนินโครงการวิจัยอาจมีความจําเปนตองระบุใหทราบวาการวิจัยที่จะ ศึกษามีขอบขายกวางขวางเพียงใด เน่ืองจากผูวิจัยไมสามารถทําการศึกษาไดครบถวนทุกแง ทกุ มุมของปญหานน้ั จงึ ตองกําหนดขอบเขตของการศึกษาใหแนนอน วา จะครอบคลุมอะไรบาง ซึ่งอาจทําไดโดยการกําหนดขอบเขตของเรื่องใหแคบลงเฉพาะตอนใดตอนหน่ึงของสาขาวิชา หรอื กําหนดกลุมประชากร สถานที่วจิ ัย หรือระยะเวลา 8. การใหคํานิยามเชิงปฏิบัติที่จะใชในการวิจัย (Operational Definition) การดําเนินโครงการวิจัย อาจมี ตัวแปร (Variables) หรือคํา (Terms) ศัพท เฉพาะตาง ๆ ท่ีจาํ เปนตองใหคําจํากัดความอยางชดั เจน ในรูปท่สี ามารถสังเกต (Observation) หรอื วดั (Measurement) ได ไมเ ชนนั้นแลว อาจมีการแปลความหมายไปไดห ลายทาง 9. ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับจากการวิจัย (Expected Benefits and Application) อธิบายถึงประโยชนท ่ีจะนําไปใชไดจริง ในดานวิชาการ เชน จะเปนการคนพบทฤษฎี ใหมซ่ึงสนับสนุนหรือ คัดคานทฤษฎีเดิม และประโยชนในเชิงประยุกต เชน นําไปวางแผนและ กาํ หนดนโยบายตา งๆ หรอื ประเมินผลการปฏบิ ตั งิ านเพอ่ื หาแนวทางพฒั นาใหดขี ้ึน เปนตน โดย ครอบคลุมท้ังผลในระยะสั้นและระยะยาว ทั้งผลทางตรงและทางออม และควรระบุใน รายละเอียดวาผลดังกลาวจะตกกับใครเปนสําคัญ ยกตัวอยาง เชน โครงการวิจัยเร่ือง การ ฝกอบรมอาสาสมัครระดับหมูบาน ผลในระยะส้ัน ก็อาจจะไดแก จํานวนอาสาสมัครผานการ 46

อบรมในโครงนี้ สวนผลกระทบ (Impact) โดยตรง ในระยะยาว ก็อาจจะเปน คุณภาพชีวิตของ คนในชุมชนนัน้ ที่ดขี ้ึน สว นผลทางออม อาจจะไดแ ก การกระตุนใหประชาชนในชุมชนน้นั มสี วน รว มในการพฒั นาหมูบา นของตนเอง 10. ระเบียบวธิ ีวจิ ัย (Research Methodology) เปนการใหรายละเอียดเก่ียวกับข้ันตอนในการดําเนินการวิจัยวาแตละขั้นตอน จะทําอยา งไร โดยทว่ั ไปเปน การใหรายละเอียดในเร่อื งตอ ไปน้ี คือ 10.1 วิธวี ิจัย จะเลือกใชว ิธวี ิจยั แบบใด เชน จะใชก ารวิจยั เอกสาร การ วิจัยแบบทดลอง การวิจัยเชิงสํารวจ การวิจัยเชิงคุณภาพ หรือจะใชหลายๆ วิธีรวมกัน ซ่ึงก็ตอง ระบุใหชดั เจนวาจะใชวธิ ีอะไรบา ง 10.2 แหลงขอมูล จะเก็บขอมูลจากแหลงใดบาง เชน จะเก็บขอมูล ทุติยภูมิ จากทะเบียนราษฎร สมุดสถิติรายป สํามะโนประชากรและเคหะ ฯลฯ หรือจะเปน ขอ มลู ปฐมภมู ิ จากการสาํ รวจ การสนทนากลุม การสังเกต การสัมภาษณระดบั ลกึ ฯลฯ เปนตน 10.3 ประชากรท่ีจะศกึ ษา ระบุใหชดั เจนวา ใครคอื ประชากรที่ตอ งการ ศึกษา และกําหนดคุณลักษณะของประชากรที่จะศึกษาใหชัดเจน เชน เพศ อายุ สถานภาพ สมรส ศาสนา เขตทีอ่ ยูอาศยั บางครัง้ ประชากรท่ีตองการศึกษาอาจไมใชปจเจกบุคคลก็ได เชน อาจเปนครวั เรือน หมูบาน อําเภอ จังหวดั ฯลฯ ก็ได 10.4 วิธีการสุมตัวอยา ง ควรอธิบายวาจะใชว ธิ ีการสุมตวั อยา งแบบใด ขนาดตวั อยา งมจี ํานวนเทาใด จะเกบ็ ขอ มลู จากทไี่ หน และจะเขาถึงกลมุ ตวั อยา งไดอยางไร 10.5 วิธีการเก็บขอมูล ระบุวาจะใชวิธีการเก็บขอมูลอยางไร มีการใช เคร่ืองมือและทดสอบเครื่องมืออยางไร เชน จะใชวิธีการสงแบบสอบถามทางไปรษณีย การ สัมภาษณแบบมแี บบสอบถาม การสังเกต หรือการสนทนากลุม เปนตน 10.6 การประมวลผลขอมูลและการวิเคราะหขอมูล ระบุการ ประมวลผลขอมูลจะทําอยางไร จะใชเคร่ืองมืออะไรในการประมวลผลขอมูล และในการ วิเคราะหขอมูลหรือการทดสอบสมมติฐานจะทําอยางไร จะใชสถิติอะไรบางในการวิเคราะห ขอ มูล เพ่ือใหสามารถตอบคาํ ถามของการวจิ ยั ท่ีตองการได 47

11. ระยะเวลาในการดําเนินงาน (Time Line) ผูวิจัยตองระบุถึงระยะเวลาที่จะใชในการดําเนินงานวิจัยทั้งหมดวาจะใช เวลานานเทาใด และตองระบุระยะเวลาท่ีใชสําหรับแตละข้ันตอนของการวิจัย วิธีการเขียน รายละเอียดของหัวขอนี้อาจทําได 2 แบบ ตามที่แสดงไวในตัวอยางตอไปนี้ (การวิจัยใชเวลา ดําเนนิ การ 12 เดอื น) ตวั อยางท่ี 1 ก. ขั้นตอนการเตรียมการ : คน หาช่ือเรอ่ื งหรือปญ หาทจ่ี ะทํา (3 เดอื น) 1) ศึกษาเอกสารและรายงานการวจิ ยั ที่เกี่ยวของ 2) ติดตอ หนวยงานท่เี กี่ยวของ(ขออนุมตั ิดําเนินการ,ติดตอผูนําชุมชน, เตรียมชุมชน)และรวบรวมขอ มูลตา งๆ ท่จี ําเปน 3) สรางเครอื่ งมือท่ใี ชใ นการวิจัย 4) จดั หาและฝก อบรมผูช ว ยนักวิจยั 5) ทดสอบและแกไขเครื่องมอื ที่ใชในการวจิ ัย ข. ขั้นตอนการเก็บขอ มูล (2 เดือน) 6) เลือกประชากรตัวอยา ง 7) สัมภาษณป ระชากรตวั อยาง ค. ข้นั ตอนการประมวลผลขอ มูลและการวเิ คราะหข อ มูล (3 เดือน) 8) ลงรหัส ตรวจสอบรหสั นําขอมลู เขา เคร่ือง และทําการบรรณาธิการ ดว ยเครือ่ งคอมพวิ เตอร 9) เขียนโปรแกรมเพ่ือทําการวิเคราะหขอมูล โดยใชสถิติตางๆ ตามที่ กําหนดไวรวมทงั้ แปลผลขอมูล ง. การเขยี นรายงาน และการเผยแพรผ ลงาน (4 เดอื น) 10) เขยี นรายงานการวิจยั 3 เดอื น 11) จัดพมิ พ 1 เดือน 48

ตวั อยา งท่ี 2 ตารางปฏิบตั งิ านโดยใช Gantt Chart 12. งบประมาณ (budget) การกําหนดงบประมาณคาใชจายเพ่ือการวิจัย ควรบางเปนหมวดๆ วาแตละ หมวดจะใชง บประมาณเทาใด การแบงหมวดคาใชจายทาํ ไดห ลายวิธี ตัวอยา งหน่ึงของการแบง หมวด คอื แบงเปน 8 หมวดใหญๆ ไดแก 12.1 เงินเดอื นและคาตอบแทนบคุ ลากร 12.2 คา ใชจ า ยสาํ หรับงานสนาม 12.3 คา ใชจ ายสํานักงาน 12.4 คา ครภุ ัณฑ 49

12.5 คาประมวลผลขอมูล 12.6 คาพิมพรายงาน 12.7 คาจัดประชุมวิชาการ เพื่อปรึกษาเรื่องการดําเนินงาน หรือเพ่ือ เสนอผลงานวจิ ัยเมอ่ื จบโครงการแลว 12.8 คา ใชจายอื่นๆ อยางไรก็ตาม แหลงทุนสนับสนุนการวิจัยแตละแหงอาจกําหนดรายละเอียด ของการเขียนงบประมาณแตกตางกัน ผูที่จะขอทุนวิจัยจึงควรศึกษาวิธีการเขียนงบประมาณ ของแหลงทุนที่ตนตองการขอทุนสนับสนุน และควรทราบถึงยอดเงินงบประมาณสูงสุดตอ โครงการท่ีแหลงทุนน้ันๆ จะใหการสนับสนุนดวย เนื่องจากถาผูวิจัยต้ังงบประมาณไวสูงเกินไป โอกาสท่ีจะไดร ับการสนบั สนุนกจ็ ะมนี อ ยมาก 13. เอกสารอา งองิ (References) หรือ บรรณานุกรม (Bibliography) ตอนสุดทายของโครงรางการวิจัยจะตองมีเอกสารอางอิง หรือรายการอางอิง อนั ไดแ ก รายชอ่ื หนังสอื ส่งิ พมิ พอ่นื ๆ โสตทัศนวสั ดุ ตลอดจนวธิ ีการ ที่ไดขอมลู มา เพอ่ื ประกอบ การเอกสารวิจัยเรื่องนั้น ๆ รายการอางอิง จะอยูตอจากสวนเนื้อเร่ือง และกอนภาคผนวก โดย รูปแบบท่ีใชควรเปนไปตามสากลนิยม เชน Vancouver Style หรือ APA style (American Psychological Association) 14. ภาคผนวก (Appendix) ส่ิงท่ีนิยมเอาไวที่ภาคผนวก เชน แบบสอบถาม แบบฟอรมในการเก็บหรือ บันทึกขอมูล เม่ือภาคผนวก มีหลายภาค ใหใชเปน ภาคผนวก ก ภาคผนวก ข ฯลฯ แตละ ภาคผนวก ใหขนึ้ หนา ใหม 15. ประวัตขิ องผูดําเนนิ การวจิ ยั (Biodata) ประวัติของผูวจิ ัย เปนขอมลู ท่ผี ูใหทุนวิจัยมักจะใชประกอบการพิจารณาใหทุน วิจัย ซ่ึงถามีผูวิจัยหลายคนก็ตองมีประวัติของผูวิจัยที่อยูในตําแหนงสําคัญๆ ทุกคนซ่ึงตองระบุ วา ใครเปน หัวหนา โครงการ ใครเปนผูร วมโครงการในตําแหนง ใด และใครเปน ท่ีปรกึ ษาโครงการ 50

ประวัตผิ ูดําเนินการวจิ ยั ควรประกอบดวยประวตั ิสว นตัว (เชน อายุ เพศ การศกึ ษา) ประวัติการ ทาํ งาน และผลงานทางวชิ าการตางๆ การเขยี นบรรณานุกรม บรรณานุกรม (Bibliography) คือ รายการทรัพยากรสารนิเทศ หรือรายการเอกสาร หรอื แหลง ขอ มูลทใ่ี ชป ระกอบการศึกษาคนควา เพื่อเรียบเรยี งรายงานทางวิชาการ บรรณานกุ รม แสดงถึงความกวางขวาง ลึกซึ้ง ความทันสมัยของแหลงขอมูล เปนสวนสําคัญที่แสดงถึงความ นาเชื่อถือของผลการศึกษาคนควา รวมท้ังเปนการรับรองและใหเกียรติแกเจาของลิขสิทธ์ิ ผลงานที่ผูศึกษานํามาศึกษาเพ่ือการเขียนงานเชิงวิชาการไมวาจะเปนรายงานประจําภาค ปญหาพิเศษ ภาคนพิ นธ สารนิพนธ วทิ ยานพิ นธ 1. หลักเกณฑท ัว่ ไปในการลงรายการบรรณานกุ รม การลงรายการบรรณานุกรมนั้น บางสถาบันการศึกษา ไดกําหนดหลักเกณฑ ท่ัวไป ดังรายละเอียดตอ ไปน้ี 1.1 ตําแหนงของบรรณานุกรม จะอยูทายเลมตอจากเนื้อเรื่อง และอยูกอน ภาคผนวก 1.2 เม่ือจบบทนิพนธ กอนถึงบรรณานุกรมตองมีหนาบอกตอนซ่ึงบรรจุคําวา “บรรณานกุ รม” อยกู ่ึงกลางหนา ถาเปนบทนพิ นธภ าษาองั กฤษใหใชค าํ วา “BIBLIOGRAPHY” 1.3 ในหนาแรกของบรรณานุกรมใหพิมพคําวา “บรรณานุกรม” ถาเปนบท นิพนธ ภาษาอังกฤษใหใชคําวา “BIBLIOGRAPHY” ไวกลางหนากระดาษ หางจากขอบบน ประมาณ 2 นิว้ 1.4 รายการบรรณานุกรมใหเร่ิมพิมพที่แนวก้ันหนาชิดขอบซายมือ (เวนจาก ขอบกระดาษ 1.50 น้ิว) ถาขอความในบรรทัดแรกไมพอใหพิมพตอบรรทัดถัดไปท่ียอหนาแรก (สําหรับการเขียนเวนจากแนวคั่นหนาเขาไป 7 ตัวอักษร เขียนตัวที่ 8 ในสวนของการพิมพดวย โปรแกรมคอมพิวเตอรจ ะเวน ระยะยอหนา 0.6 นวิ้ ) 1.5 การเวนระยะของเครือ่ งหมายวรรคตอน มดี ังน้ี 1.5.1 หลงั เครอ่ื งหมายมหพั ภาค ( . ) เวน 2 ระยะ 1.5.2 หลงั เครอ่ื งหมายจุลภาค ( , ) เวน 1 ระยะ 51

1.5.3 กอ นและหลังเครือ่ งหมายอฒั ภาค ( ; ) เวน 1 ระยะ 1.5.4 กอนและหลังเคร่อื งหมายทวิภาค ( : ) เวน 1 ระยะ 1.5.5 กอนและหลงั เคร่อื งหมายเทากับ ( = ) เวน 1 ระยะ 1.5.6 กอนและหลังเคร่ืองหมายอัญประกาศ (“...”) เวน 1 ระยะ 1.6 ถามีการอางวัสดุสารนิเทศภาษาตางประเทศ ใหจัดเรียงวัสดุอางอิง เหลาน้ันตอจากวัสดุอางอิงภาษาไทย ในกรณีเรียบเรียงงานวิชาการเปนภาษาตางประเทศให จัดเรียงวัสดุอา งองิ ภาษาตา งประเทศขึ้นกอ น แลวตอ ดว ยวัสดอุ า งองิ ภาษาไทย 1.7 การเรียงลําดับรายการในบรรณานุกรมใหจัดเรียงตามลําดับตัวอักษรตัว แรกของขอมูลสวนแรกของวัสดุสารนิเทศแตละรายการ โดยแยกเอกสารภาษาไทยและ ภาษาตางประเทศการอางอิง 33 ภาษาไทยใหเรียงลําดับอักษรตามแบบพจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน สําหรบั ภาษาอังกฤษ ใหเ รียงลําดบั อกั ษรตามแบบพจนานุกรมภาษาองั กฤษ 1.8 ถาขอมูลสวนแรกเปนตัวเลขใหเรียงไวกอนขอมูลที่เปนตัวอักษร ถามี ขอ มูลทเ่ี ปนตัวเลขหลายรายการใหเ รยี งตัวเลขตามคา นอยมากอ น 1.9 ถาขอมูลสวนแรกเหมือนกัน กรณีช่ือผูแตงคนเดียวกัน ใหเรียงลําดับตาม เลขปพิมพโดยเรียงปพิมพลาสุดข้ึนกอน กรณีไมปรากฏปที่พิมพ ซึ่งใชคําวา ม.ป.ป. ใหเรียง ส่ิงพมิ พท ีไ่ มปรากฏปพ ิมพหลังรายการท่มี ปี พ ิมพ 1.10 จากการลําดับส่งิ พมิ พของผูแ ตงคนเดยี วกนั ใหขีดเสน ยาว 8 ชวงตัวอักษร แทนชื่อผูแตง ในรายการท่ีสองเปนตนไป เชน ไพบูลย ดวงจันทร. (2542). การใชภาษาไทย. กรุงเทพ ฯ : ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนคริ นทรวิโรฒ.. (2544). คําบรรยายรายวิชา ทย 650 การวิจัยทางมนุษยศาสตร. กรุงเทพ ฯ : ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวนั ออก คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ. 1.11 รายการบรรณานกุ รมทีม่ ชี อ่ื ผูแตงคนแรกเหมือนกนั ใหยดึ หลกั ดังน้ี 1.11.1 เรยี งรายการทีม่ ีผูแตง คนเดียวไวก อนงานทมี่ ผี แู ตงหลายคน 1.11.2 รายการที่มีผแู ตง คนแรกเหมอื นกนั ใหเ รยี งลาํ ดับอกั ษรของผู แตงคนตอ มา 52

1.11.3 รายการทมี่ ผี ูแ ตง ซํ้ากนั ทงั้ หมด ใหเรียงเลขปพมิ พล าสุดมา กอ น 1.11.4 ถา ปพ มิ พซ ้ํากนั ใหใ สอกั ษร ก ข ค หรอื a b c กาํ กบั ไวท ายปท ่ี พิมพ 1.12 ผูแตง แบง ไดเปน 2 ลักษณะ คอื ผแู ตงทเี่ ปน บุคคลและผูแ ตง ท่ีเปน สถาบนั 1.12.1 ผูแตงท่ีเปนบุคคล ชื่อผูแตงใหใชตามที่ปรากฏในหนาปกใน ของหนังสือสําหรับผูแตงที่เปนคนไทยใหใสช่ือและนามสกุล โดยไมตองลงคํานําหนาชื่อ หรือ ตําแหนงทางวิชาการ หรือคําระบุอาชีพ เชน นาย นาง นางสาว ดร. ศ. รศ. อาจารยนายแพทย ยกเวนคําแสดงเชื้อพระวงศ หรือฐานันดรศักดิ์ หรือบรรดาศักด์ิ เชน ม.ร.ว. คุณหญิง พระยา ฯลฯ โดยใหน ําฐานันดรศักดหิ์ รอื บรรดาศกั ดไ์ิ ปไวทา ยชื่อคน่ั ดวยเครอื่ งหมายจลุ ภาค เชนสรยทุ ธ สุทัศนจินดา คกึ ฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว.อนุมานราชธน, พระยา พรทพิ ย โรจนสนุ ันท, คณุ หญิง 1.12.2 ถาผแู ตงเปนชาวตา งประเทศ ใหล งช่อื สกุล แลวตามดว ยชือ่ ตนและชื่อกลางคั่นดว ยเครอ่ื งหมายจลุ ภาค โดยไมต อ งลงคาํ นาํ หนา ชอื่ หรือตาํ แหนง ทาง วิชาการ หรือคําระบุอาชีพ เชน Mr. Ms. Dr. Prof.การอา งองิ 34 Li, Fang Kuei. เคเนดี,้ จอหน เอฟ 1.12.3 ผแู ตง ทมี่ ฐี านะเปนผรู วบรวม หรอื บรรณาธิการ ใหกาํ กบั คาํ วา ผูรวบรวมหรือบรรณาธกิ ารไวท า ยช่อื โดยใสเครอื่ งหมายจลุ ภาคคั่นระหวา งช่ือผแู ตง และคาํ ดงั กลาวสาํ หรบั หนงั สอื ภาษาอังกฤษ ใหใ ชคาํ วา comp. (หรอื comps.) หรือ ed. (หรือ eds.) 1.12.4 หนงั สอื ทมี่ ผี แู ตง 2 คน ใหใ สชอื่ ผูแ ตงทีร่ ะบุเปน คนแรกไวกอน เชื่อมดว ยคําวา และ แลว จึงใสชื่อผูแตงคนที่ 2 สาํ หรบั หนงั สือภาษาองั กฤษ ใหเชอ่ื มดวยคาํ วา and แลวจึงใสช ื่อผูแตง คนที่ 2 1.12.5 หนงั สอื ทม่ี ผี ูแตง 3 คน ใหใสช่อื ผูแตงทง้ั 3 คน โดยใช เครอ่ื งหมายจุลภาคคัน่ ระหวางผูแตง คนแรกกับคนที่ 2 แลวใชคาํ วา และ (หรือ and) คัน่ ระหวาง ผูแตงคนท่ี 2 กบั ผแู ตงคนท่ี 3 53

1.12.6 หนังสอื ที่มีผแู ตง มากกวา 3 คน ใหใสเ ฉพาะช่อื ผแู ตง คนแรก แลวตามดว ยคาํ วา และคณะ สาํ หรบั หนังสือภาษาอังกฤษใหใสช อ่ื ผูแ ตงคนแรก แลวตามดว ย คาํ วา et al. 1.12.7 หนังสอื ที่ไมปรากฏผแู ตง ใหใ ชช อื่ เร่ืองขนึ้ ตนในรายการผแู ตง 1.12.8 ผูแตงท่ีเปนพระสงฆใหลงสมณศักดิ์ตามเดิม แลววงเล็บนาม เดิมตอทายยกเวน ผูแตงท่ีเปนสังฆราชและเช้ือพระวงศ ใหลงพระนามจริงกอนแลวกลับคํานํา หนาท่ีแสดงลําดับชั้นเช้ือพระวงศไปไวขางหลัง โดยใชเครื่องหมายจุลภาคคั่น เชน ปรมานุชิต ชิโนรส, สมเด็จพระมหาสมณเจากรมสมเด็จพระ พระธรรมโกศาจารย (ปญญานันทภิกขุ) พระเทพวสิ ุทธเิ มธี (ประยทุ ธิ์ ปยุตโฺ ต) 1.12.9 ผูแตงที่ใชนามแฝง ถาทราบนามจริงใสนามจริงในวงเล็บหลัง นามแฝง ถา ไมทราบนามจริงใส (นามแฝง) ไวหลงั ชอ่ื เชน พนมเทียน (ฉัตรชยั วเิ ศษสวุ รรณภมู ิ) ทมยนั ตี (นามแฝง) 1.12.10 ผูแตงเปนสถาบัน ไดแก หนวยราชการ สถาบันการศึกษา รัฐวิสาหกิจสมาคม ธนาคาร องคการระหวางประเทศ เปนตน ใหลงชื่อสถาบันนั้นๆ โดยระวัง ไมใหเกิดความสับสนระหวางสถาบันท่ีอางถึงกับสถาบันอื่น กรณีเปนหนวยงานของรัฐบาล อยางนอยตองอางถึงระดบั กรม หรอื เทียบเทา สําหรับหนว ยงานทม่ี หี นวยงานยอ ยใหเ รยี งลําดับ จากหนวยงานใหญไปหาหนว ยงานยอย เชน กรมการฝกหัดครู หนว ยศกึ ษานเิ ทศก. สถาบันราช ภัฏธนบุรี คณะมนุษยศาสตรภาควิชาภาษาไทย.สยามสมาคม.มหาวิทยาลัยแมโจ คณะธุรกิจ การเกษตร.การอางอิง 35 ธนาคารแหงประเทศไทย Chulalongkorn University Faculty of Arts. Office of the National Culture Commission.Bank of Thailand 1.13 ปที่พิมพ ใสเฉพาะเลขของปโดยไมตองระบุคําวา พ.ศ. หรือ ค.ศ. ถาไม ปรากฏปทพ่ี มิ พใสค ําวา (ม.ป.ป.) ยอมาจากคาํ วา ไมป รากฏปพิมพ หรือ (n.d.) ยอมาจากคําวา no date 1.14 ช่ือเร่ือง (Title) ชื่อหนังสือใชตามท่ีปรากฏที่ปกในของหนังสือ โดยใหขีด เสนใตท ีช่ ่ือเรื่องของหนงั สอื หนังสือท่มี ีชอื่ เรอื่ งรอง (Sub-title) หรอื คําอธบิ ายช่ือเร่อื ง ใสช ือ่ เร่อื ง รองหรือคําอธิบายชื่อเรื่องไวหลงั เคร่ืองหมายทวิภาค ( : ) แตถามีชอ่ื ภาษาตา งประเทศกํากับใส เฉพาะชื่อเรื่องภาษาไทย ช่ือหนังสือภาษาอังกฤษใหขึ้นตนดวยอักษรตัวใหญเฉพาะตัวแรกของ 54

ช่ือเรื่องและอักษรตัวแรกของชื่อเร่ืองรอง (ถามี) และช่ือเฉพาะ เชน รางวัลวรรณกรรม : ประวัติ แ ล ะ ร า ย ชื่ อ ช น ะ ก า ร ป ร ะ ก ว ด (พ .ศ .2459-2529) English for business : Marketing Interpreting Bangkok : The urban question in Thai studies 1.15 จํานวนเลม ใสเฉพาะหนังสือท่ีมีหลายเลมจบ โดยใสจํานวนเลมท้ังหมด หรือเฉพาะเลม ที่ใชคน ควา เชน 2 เลม. 2 vols. เลม 5. vol. 5. 1.16 คร้งั ทพ่ี มิ พ (Edition) ใสครงั้ ที่พมิ พข องหนงั สือที่พมิ พตัง้ แตค รง้ั ท่ี 2 เปน ตนไป เชน พมิ พค ร้งั ท่ี 2 2 nd ed. พมิ พครงั้ ที่ 3 2 rd ed. 1.17 ชื่อชุดหนังสือ (Series) ชื่อชุดหรือลําดับที่ของเอกสาร ถามีขอความ เดนชดั และมคี วามสาํ คัญใสช่ือชดุ หรอื ลาํ ดบั ทีข่ องเอกสารดวย เชน เอกสารการนิเทศการศกึ ษา ฉบับท่ี 230 หนงั สอื ชุดหอ งสมดุ อันดับท่ี 6 1.18 สถานท่พี ิมพ (Place) ใสชื่อเมืองซ่ึงเปน ทต่ี ้งั ของสาํ นักพิมพตามทีป่ รากฏ ถามีหลายเมืองใหใชชื่อแรกถาไมปรากฏชื่อเมืองใส ม.ป.ท. ยอมาจาก ไมปรากฏที่พิมพ หรือ n.p.ยอมากจาก no place แทน ถาชื่อเมืองมีชื่อซํ้ากันหลายเมืองใหระบุชื่อรัฐ หรือช่ือประเทศ กํากบั ชอ่ื รฐั ในสหรฐั อเมริกาใหใ ชอกั ษรยอ ตามที่กรมไปรษณยี โ ทรเลขสหรัฐอเมรกิ ากําหนด เชน กรุงเทพมหานครNew York Berkley,Calif. Englewood Cliffs, NJ. การอางอิง 36 1.19 สํานักพิมพ (Publisher) ใสตามที่ปรากฏในหนาปกใน ถาไมมีชื่อ สํานักพิมพปรากฏใสชื่อโรงพิมพแทน ถาเปนส่ิงพิมพรัฐบาลใชชื่อหนวยราชการหรือสถาบันท่ี จัดพิมพในรายการสํานักพิมพ คําที่ประกอบกับชื่อสํานักพิมพ เชน บริษัท หางหุนสวนจํากัด Incorporation,Inc., Limited, Co.,Ltd. ใหตัดออก เชน บริษัทสํานักพิมพไทยวัฒนาพานิช จํากัด ใชวา ไทยวัฒนาพานิช ถาไมปรากฏชื่อสํานักพิมพ หรือโรงพิมพ ใชวา ม.ป.ท. หรือ n.p. ถาไมปรากฏทงั้ สถานท่ีพมิ พแ ละสํานักพิมพใ ส ม.ป.ท. รวมกันเพียงครัง้ เดียว 1.20 ในสวนของการพิมพรูปแบบบรรณานุกรมหลังหัวขอนี้เปนตนไป ผูเขียน จะใชเ ครือ่ งหมาย / แทนการเวน วรรค 1 ชวงตวั อกั ษร__ 55

การเขยี นรายงานผลการวจิ ยั 1. ความหมายและวัตถุประสงคข องรายงาน 1.1 ความหมายของรายงานผลการวิจยั หรือเรยี กสน้ั ๆ วา รายงาน หมายถงึ เรื่องราวทเ่ี ปน ผลจากการคนควา ทางวชิ าการ แลว นาํ มาเรยี บเรยี งอยา งมรี ะเบียบแบบแผน เรือ่ งราวทนี่ าํ มาเขียนรายงานตองเปน ขอ เทจ็ จรงิ หรอื ความรู อันเกิดจากการรวบรวบขอ มูลดวย วิธกี ารคนควา ที่เปนระบบ มลี กั ษณะเปน วทิ ยาศาสตร 1.2 วัตถปุ ระสงคของรายงานผลการวิจัย พอสรปุ ไดดังนี้ 1.2.1 เพ่อื เสนอขอเทจ็ จริง หรอื ความรู ทเ่ี กดิ จากการศกึ ษาคนควา อยางเปน ระบบ อนั เปน แนวทางในการเสนอขอ มลู ทางวชิ าการแนวใหม หรือปรบั ปรงุ ขอมลู เดิม 1.2.2 เพ่ือพฒั นาความคิด ดา นความคดิ ริเรม่ิ การวเิ คราะห และการ ประมวลความคิดอยางมรี ะบบระเบยี บ ตลอดจนการถา ยทอดความคดิ เปน ภาษาเขยี นที่ชัดเจน สละสลวย 1.2.3 เพ่ือสงเสรมิ การศึกษาคน ควา เพมิ่ เตมิ ในการรวบรวมขอ มลู หรอื ประกอบการอา งองิ อนั เปน วธิ ีการหาความรูด ว ยตนเอง (http://research.sru.ac.th/pdf/53/ researchwrite.pdf) 2. สวนประกอบท่ีสําคัญของรายงาน เนื้อหาของรายงานผลการวจิ ัย นับเปนสว นประกอบทสี่ าํ คญั ของรายงาน ผลการวจิ ยั ซึง่ จะประกอบดว ย 2.1 ความนาํ ควรประกอบดว ยสว นตาง ๆ ตอไปนี้ 2.1.1 ภูมหิ ลังท่ีเกีย่ วของกับเรอ่ื งท่คี น ควาวจิ ยั 2.1.2 ความจําเปนท่ีจะตองศึกษาปญหาขอนี้ (need for the study) หมายถึง สาเหตทุ ท่ี ําใหจําเปน ตอ งศึกษาในเรอ่ื งนี้ เพื่อความกา วหนา ของวชิ าการในแขนงน้ัน 2.1.3 ปญหาการวิจัย (statement of problem) หมายถึง ขอความที่ ช้ใี หเห็นถงึ ขอความหรือขอ คาํ ถามทีผ่ เู ขยี นตอ งการศึกษาคน ควา 2.1.4 วัตถุประสงคของการวิจัย (research objectives) หมายถึง ความมุงหมายที่ผเู ขียนตอ งการคน หาขอเท็จจริงโดยวธิ กี ารวจิ ยั 56

2.1.5 สมมตุ ฐิ านการวจิ ัย (research hypothesis) 2.1.6 ขอตกลงเบื้องตน (basic assumption) หมายถึง ความคิด พืน้ ฐานบางประการ ซึง่ ผเู ขยี นประสงคจะทําความเขา ใจกบั ผอู านเกี่ยวกบั ปญ หานน้ั 2.1.7 ขอบเขตของปญหา และความจาํ กดั ของปญ หา (scope and limitation of theproblem) หมายถงึ การขีดวงจํากดั ลงใหแ นน อนวา จะศกึ ษาพิจารณาใน ขอบเขตไหน กาํ หนดสถานที่ กําหนดคุณสมบตั ิของตัวอยา งทนี่ ํามาศกึ ษา 2.1.8 ประโยชนที่คาดวา จะไดร บั หมายถงึ ขอ ความทชี่ ี้ใหเ หน็ วา เม่อื ศกึ ษาคน ควาในเรอ่ื งนแี้ ลว ขอ คน พบอันเปน ผลการศึกษาจะเปน ประโยชนต อใคร ในลักษณะใด 2.1.9 คําจาํ กดั ความ (definition) ของคาํ สาํ คญั ตาง ๆ 2.2 เอกสารหรอื งานวิจัยที่เกยี่ วของ (related literature หรือ review of related studies) ในสวนน้ีผูเขียนจะตองช้ีแจงวา เก่ียวกับเร่ืองที่ศึกษามีใครเขียนไวในหนังสือเลมใด เรื่องอะไรมีใจความอะไรบางท่ีเปนประโยชนใหความรูที่ชัดเจนถูกตองท่ีจะนํามาใชเปนกรอบ ความคิดประกอบการศึกษาเรอ่ื งนี้ ทั้งน้ีผูเขียนอาจสรุปความ กําหนดเปนสมมตุ ิฐานการวิจยั ไว ในตอนทา ยกไ็ ด การกลา วถึงเอกสารทเ่ี กีย่ วขอ งน้อี าจรวมไวในความนําหรือแยกไวเ ปนสวนหนง่ึ ตางหากก็ได ท้ังน้ใี หพ ิจารณาตามความเหมาะสม 2.3 วิธีการวจิ ัย ในสว นนี้อาจกลาวถึงส่ิงตอไปน้ี 2.3.1 หลักการเลือกวิธีการวิจัย และการเลือกสถานที่ทดลองหรือ ศึกษา เพอื่ ใหไดผ ลตรงตามจุดประสงคท ีต่ ้งั ไวแตแ รก 2.3.2 เทคนิคที่ใชในการวิจัย ในตอนนี้ผูเขียนแสดงใหทราบวา ดาํ เนนิ การคน ควาทดลองอยา งไร และรวบรวมขอ มูลดว ยวิธีใด 2.3.3 วิธีจัดกระทํากับขอมูล เม่ือรวบรวมขอมูลที่ไดจากการทดลอง และเทคนิคตาง ๆ ในขอ (2.3.2) น้ันแลว แสดงใหเห็นวาผูเขียนจัดกระทํากับขอมูลอยางไร อาจจะเปน วธิ ีคํานวณตามแนววิชาสถิติ หรอื อาจเปนวิธีสันนษิ ฐานตามหลักตรรกศาสตร 2.4 ผลของการวิจัย (results) ในสวนน้ีผูเขียนนําผลงานในขอ 2.3 มา ตคี วามหมายในดานวชิ าการที่ผูเขียนศึกษาอยู โดยอาศัยความรูเก่ียวกับสภาพการณโดยทว่ั ไป และการอานเอกสารอื่น ๆ ที่ไดกลาวอางมาแลวในบทตน ๆ ผูเขียนเสนอผลของการวิจัยรวมท้ัง สรุปผลงานตั้งแตตนจนถงึ ผลทีไ่ ด นอกจากน้ีอาจกลา วถึง 57

2.4.1 ผลท่ีไดจากการวจิ ยั คร้งั น้ี มคี วามสาํ คัญอยา งไรตอสถานการณ ทเี่ ปนจรงิ 2.4.2 ขอเสนอแนะ (recommendation) และการอภิปรายเก่ียวกับผล การคนควา อาจกลาวถึงการนําผลท่ีไดจากการวิจัยไปใชในการปรับปรุงสถานการณท่ีเปนอยู ในปจจุบันน้ี บางกรณีอาจมีเพียงขอเสนอแนะหรือการอภิปรายเก่ียวกับผลการวิจัยอยางใด อยา งหนึ่งเทานนั้ กไ็ ด 2.4.3 ขอเสนอใหม ีการวจิ ยั เก่ียวกบั ปญ หาน้ีในแงอ่ืน ๆ หรอื ดา นอน่ื ๆ เพ่ิมเตมิ 3. การวางแผนการเขยี นรายงาน การเขียนรายงานเปน การประมวลความคดิ อยางมรี ะบบ จงึ ตอ งมีการวาง แผนการเขียนต้งั แตก ารวางโครงเรอ่ื ง กาํ หนดแนวคดิ และกาํ หนดวัตถปุ ระสงค 3.1 การวางโครงเรือ่ ง โครงเร่ืองเปน สง่ิ กาํ หนดขอบขายเนอ้ื หาของรายงาน ทง้ั ยงั ชว ยใหเ นือ้ หาตอ เน่ืองตามลําดบั ครอบคลมุ สง่ิ ทตี่ องการศกึ ษาคน ควา การเขยี นโครงเรอื่ ง นยิ มจัดแบงเปน หวั ขอ มหี วั ขอ ใหญทใ่ี ชเลขกาํ กบั หลกั เดยี ว หวั ขอรองใชเ ลขกํากบั สองหลกั หวั ขอยอ ยใชเ ลขกํากบั สามหลกั ทุกหวั ขอ ตอ งสัมพนั ธก นั 3.2 การกําหนดแนวคิด แนวคิดหรือมโนคติ (concept) เปนขอความท่ีแสดง แกนหรือเปาหมายเกี่ยวกับเรื่องใดเร่ืองหนึ่ง เพ่ือใหไดขอสรุปรวมและขอแตกตางเก่ียวกับเรื่อง ใดเร่ืองหนึ่งโดยครอบคลุมขอเท็จจริง กฎ ทฤษฎี ประเด็นการสรุปสาระสําคัญ และขอความที่มี ลักษณะรวบยอด การเขียนรายงาน ผูเขียนควรกําหนดแนวคิดสําหรับหัวขอใหญแตละหัวขอ เพื่อเนนแกนและเปาหมายแตละเร่ือง แนวคิดแตละขอจะสัมพันธกันและลําดับตามเนื้อเรื่อง เมื่อเขียนเนื้อหา ผูเขียนจะตองไมลืมเปาหมายที่กําหนดไวจากแนวคิดน้ี โดยขยายความหรือ เสรมิ แนวคดิ ใหล ะเอียดชัดเจน 3.3 การกําหนดวัตถุประสงค ผูเขียนรายงานจะตองต้ังวัตถุประสงคใหชัดเจน วา จะเขยี นรายงานนเี้ พอื่ ตองการเสนอสง่ิ ใด การเขยี นรายงานจงึ มแี นวทางในการศกึ ษาคนควา และการนําเสนอท่ีชัดเจนยิ่งขึ้น ลักษณะของวัตถุประสงคก็ควรแสดงพฤติกรรมที่ชัดเจน ประกอบเนื้อหาแตละประเด็น เชน อธิบาย บงชี้ ยกตัวอยาง เปรียบเทียบ เสนอแนะ รวบรวม แยกแยะ สรปุ ผล ฯลฯ 58

4. แนวทางการเขยี นเน้ือเรอื่ งรายงานผลการวิจยั สวนเน้ือเรื่องถือเปนสวนสําคัญท่ีสุดของรายงานผลการวิจัย ซ่ึงมีแนวทางใน การเขียนดงั น้ี 4.1 ความนํา การเขียนความนําเปนการเกริ่นนําเร่ืองใหผูอานไดทราบถึงท่ีมา ของปญหาประเด็นท่ีจะกลาวถึง หรืออยางนอยก็เปนการสรางความสนใจใหติดตาม รายละเอียดตอไป การเขียนรายงานผลการวิจัย จะเร่ิมความนําในหัวขอ หลักการและเหตุผล หรือความเปนมาของปญหา ซึ่งก็เปนการชี้แจงแสดงเหตุผล ใหเห็นความสําคัญและความ จําเปนของโครงการหรืองานวิจัยนั้น ๆ นั่นเอง ตอจากน้ันจะกําหนดวัตถุประสงค เปาหมาย กอนจะกลา วถงึ ขั้นตอนการดาํ เนินงานอันเปน เนอื้ หาหลกั 4.2 สวนเนื้อหา การเขียนเนื้อหาในรายงาน คอนขางจะเปนเร่ืองกวาง เปน อสิ ระของผเู ขยี น แตกม็ ีหลกั การสาํ คัญพอประมวลได ดังน้ี 4.2.1 เร่มิ ดว ยการเชอ่ื มโยงจากสวนนําเขา สูเน้ือหา 4.2.2 อธบิ ายวธิ ีการศึกษาเร่ืองนนั้ ๆ เชน รวบรวมจากเอกสาร สัมภาษณ สังเกต ทดลองเปน ตน 4.2.3 เสนอหลกั การ ทฤษฎี ขอคน พบ หรอื ขอ วิเคราะหว จิ ารณให ชัดเจน ยกเหตุผลสนบั สนนุ ใหห นกั แนน อางองิ แหลง ขอ มูลใหถ ูกตอ ง หากมหี ลายประเดน็ ควร จําแนกเปน ประเดน็ ๆ ไป 4.2.4 ใหน ยิ ามศพั ทเฉพาะท่สี าํ คญั 4.2.5 อธิบายขยายความ ยกตัวอยางประกอบใหเขา ใจงาย 4.2.6 ใชแผนภมู ิ ภาพ ตาราง กราฟ ฯลฯ ประกอบในสว นที่จาํ เปน เพอื่ ใหเหน็ เปน รปู ธรรมมากข้นึ 4.3 สวนสรุป สวนน้ีอาจมิใชการสรุปเทานั้น แตเปนการลงทายซึ่งมีวิธีการ หลายแบบ กลา วคือ 4.3.1 สรุปเน้ือหา ในกรณีเนือ้ หายาวและซับซอน อาจสรุปยอ ประเด็น สําคัญ เปน ขอ ความ หรอื แผนภมู ิ เพื่อใหเหน็ ภาพรวมของเน้ือหาอยางชัดเจน 4.3.2 กลา วยาํ้ จดุ สาํ คญั หรอื จุดเดนของเน้อื หา 59

4.3.3 เสนอทรรศนะของผูเขียน แตตองระบุใหชัดเจนวาเปนความคิด เหน็ สว นตัว มใิ ชห ลกั การหรือทฤษฎีตายตวั ทีท่ ุกคนตอ งทาํ ตาม 4.3.4 ช้ีนําใหผูอานขบคิดพิจารณาตอไป เพื่อใหผูอานมีสวนรวมใน การแกป ญ หาและพฒั นาวิชาการนนั้ ๆ 60

แบบ วช. 5 ก/พ ตวั อยา งแนวทางในการจดั ทํารายงานการวจิ ัยฉบับสมบูรณ ทีไ่ ดรับ ทุนอุดหนุนการวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมดวยวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ก. สว นประกอบตอนตน (1) หนาปก (Cover) ระบุคําวา “รายงานการวิจัย” และชื่อเรื่องเปนภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษพรอ มท้งั ช่อื หนว ยงานและผวู จิ ยั (2) กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgement) ในการไดรับทุนอุดหนุนการวิจัยเพ่ือ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดวยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จากสํานักงานคณะกรรมการวิจัย แหง ชาติ (3) บทคดั ยอภาษาไทยและบทคัดยอภาษาอังกฤษ (Abstract) (4) สารบัญเรอ่ื ง (Table of Contents) (5) สารบญั ตาราง (List of tables) (6) สารบญั ภาพ (List of Illustrations) (7) คาํ อธบิ ายสญั ลกั ษณและคํายอท่ีใชใ นการวจิ ยั (List of Abbreviations) ข. สวนประกอบเนื้อเรือ่ ง (1) บทนํา (Introduction) ซึ่งกลาวถึงเนื้อหาของเร่ืองที่เคยมีผูทําการวิจัยมากอน ความสําคัญและที่มาของปญหา วัตถุประสงคและขอบเขตการวิจัย วิธีดําเนินการวิจัยโดยสรุป ทฤษฎี และ/หรอื แนวทางความคดิ ทน่ี าํ มาใชใ นการวจิ ยั ประโยชนท ี่คาดวา จะไดร ับ ฯลฯ (2) เน้ือเร่ือง (Main body) ซึ่งกลาวถึงรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีดําเนินการวิจัย (Materials & Method) ผลการวจิ ยั (Results) ฯลฯ (3) อภิปราย/วจิ ารณ (Discussion) ผลการทดลอง/ผลการวิจัย ที่ไดท้ังหมด (ท้ังท่ีเปน และไมเปน ไปตามสมมติฐานทีต่ ้งั ไว) (4) สรุปและเสนอแนะเก่ยี วกบั การวจิ ยั ในขน้ั ตอ ไป ตลอดจนประโยชนในทางประยุกต ของผลการวิจยั ท่ีได ค. สว นประกอบตอนทา ย (1) บรรณานุกรม (Bibliography) ระบุรายช่ือเอกสารอางอิงโดยเรียงสําดับ เอกสารอา งองิ ภาษาไทยกอ นแลวตามดวยเอกสารภาษาตา งประเทศ (2) ภาคผนวก (Appendix) (ถามี) 61

แบบ วช. 6 ก / ท แบบสรุปผลการวจิ ยั สาํ นกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แหง ชาติ ช่อื โครงการวจิ ยั ................................................................................................................ .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. ผวู จิ ัยและผูรวมวิจยั ........................................................................................................... .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. ท่ีทาํ งาน (ท่สี ามารถตดิ ตอ ไดสะดวก)…………………………………………………………… ................................................................................................................. ................................................................................................................. ................................................................................................................. ระยะเวลาทาํ การวจิ ยั ……………………………………………………………………………. ................................................................................................................. ................................................................................................................. ................................................................................................................. ความเปน มา/ปญ หาในการวิจยั ........................................................................................... ................................................................................................................ ................................................................................................................. ................................................................................................................. ................................................................................................................. 62

วัตถปุ ระสงคของการวิจัย..................................................................................................... ................................................................................................................. ................................................................................................................. ................................................................................................................. วธิ ดี าํ เนนิ การวิจยั ................................................................................................................ ................................................................................................................. ................................................................................................................. ................................................................................................................. ผลการวจิ ยั /ขอ คนพบ.......................................................................................................... ................................................................................................................. ................................................................................................................. ................................................................................................................. ขอเสนอแนะ....................................................................................................................... ................................................................................................................. ................................................................................................................. ................................................................................................................. การนาํ ไปใชป ระโยชน. ......................................................................................................... ................................................................................................................. ................................................................................................................. ................................................................................................................. ................................................................................................................. ผูรว มวิจยั (ตอ) ในกรณีมีผรู ว มวิจยั จาํ นวนมาก 63

การสงผลงานวจิ ยั เขา รว มนาํ เสนอ ภายหลังจากที่นักวิจัยไดดําเนินโครงการวิจัยและทราบรายงานผลการวิจัยเรียบรอย แลว ชองทางหนึ่งในการนําผลงานการวิจัยไปประยุกตใชใหเกิดประโยชนสูงสุด คือ การ นาํ เสนอผลงานสสู าธารณะโดยผลงานวิจยั ทีน่ ักวิจยั สามารถนาํ เสนอได อาจมีแนวทาง ดังน้ี 1. เปนผลงานวิจัยในลักษณะ Area-based Research ที่โจทยวิจัยเกิดจากความ ตองการของพนื้ ท่ีอยา งแทจริง 2. มีการใชประโยชนในพ้ืนท่ีเปาหมาย หรือกลุมผูใชประโยชน (uers) และผูที่ เก่ียวของ จากผลงานวจิ ยั ทช่ี ัดเจน 3. มีผลกระทบตอการเปล่ียนแปลง (Impact) ในพื้นที่เปาหมาย หรือมีกลุมผูใช ประโยชน (Urers) และผทู เ่ี กี่วยขอ งจากผลงานวิจยั ทชี่ ัดเจน ผลงานที่ผา นการคดั เลอื ก มโี อกาสไดร บั การพจิ ารณาเพือ่ การตพี ิมพล ง วารสารวิจยั เพือ่ การพฒั นาเชิงพืน้ ท่ี ของ สาํ นกั งานกองทุนสนบั สนนุ การวจิ ยั (สกว.) หรือวารสารการวิจยั สาํ นกั งานกองทุนสนบั สนนุ การวิจัย (สกว.) ไดใ หแ นวทางในการพจิ ารณาผลงานการ วิจยั ในการพฒั นาเชิงพืน้ ท่ี เพ่ือการตพี มิ พล งในวารสารการวจิ ัยไว ดงั น้ี 1. เปนผลงานวิจัยในลักษณะ Area-based research ท่ีโจทยวิจัยเกิดจากความ ตอ งการของพนื้ ทอ่ี ยา งแทจริง 2. เปนบทความที่เกิดจากผลการคนควาวิจัย โดยมีกระบวนการท่ีนําไปสูการสราง ความรู และมีขอ อธิบายไดชัดเจน 3. เปนงานวิจัยท่ีมีเปาหมายเพื่อการพัฒนาเฉพาะพื้นที่ มีการใชประโยชนในพ้ืนที่ เปาหมาย หรือ มีกลุมผูใชประโยชน (user) จากผลงานวิจัยที่ชัดเจน (เชน ระดับจังหวัด กลุม จงั หวดั ตาํ บล หมบู าน หรือชมุ ชน) ไมใ ชพ ฒั นาในระดบั ประเทศ หรอื ระดับโลก 4. มีการนําไปใชประโยชน หรือถูกนําไปใชประโยชนในพ้ืนที่ ในรูปแบบใดรูปแบบ หน่งึ ไดแ ก ประโยชนเชิงนโยบาย เชิงพาณชิ ย หรือสาธารณะ 64

5. การใชประโยชนตามขอ 2 ได กอใหเกิดผลกระทบทางบวกในวงกวาง หรือ คอ นขางมากตอสงั คม หรือมีผลกระทบตอการเปล่ียนแปลง (impact) ในพืน้ ที่เปาหมาย หรือ มี กลุมผใู ชประโยชน (user) จากผลงานวิจยั ท่ีชัดเจน รูปแบบการเขยี นบทความ 1. เปนบทความภาษาไทยท่ีมีความยาวไมเกิน 10 หนากระดาษขนาด A4 พิมพดวย อกั ษร Angsana New ขนาด 15 pt อาจมีภาพ ตาราง แผนภูมิประกอบได โดยท้งั หมดน้ีรวมอยู ในขอจาํ กัดจาํ นวน 10 หนา ดงั กลา ว 2. องคประกอบของบทความ 2.1 ชื่อโครงการวิจัย การเขียนชื่อเร่ืองใชภาษาไทยถูกตองตามหลักไวยากรณ กระชับสามารถสื่อจุดประสงคการวิจัยชัดเจน ในกรณีที่มีภาษาอังกฤษใหทําเปนตัวพิมพใหญ เฉพาะตัวแรกของคํานามและคุณศัพท เชน Vaginal Microprostol in Previous Cesarean Section ที่เหลือทําเปนตัวเล็กหมด รวมทั้งคํากริยา คํากริยาวิเศษ และคําท่ีไมใชเปนคํานํา เชน ตัวอยาง ถาสงสัยขอแนะนําใหพิมพตัวใหญเฉพาะตัวแรกของบรรทัดเทาน้ัน นอกนั้นทําตัวเล็ก หมด เชน Vaginal microprostol in previous cesarean section ไมแนะนําใหใ ชต ัวสญั ลกั ษณ ตางๆ ในการพมิ พช่อื เรือ่ ง 2.2 บทคัดยอ 2.2.1 ภาษาอังกฤษ (ถามี) มีหัวขอไดแก Objective , Material and Method , Results, Conclusion เขยี น 10 – 15 บรรทดั ไมมหี วั ขอ กไ็ ด 2.2.2 ภาษาไทยใหมีขอความเหมือนภาษาอังกฤษ ความยาวไมเกิน 300 คํา โดยใหสรุปเนื้อหาของบทความทั้งหมดใหเขาใจที่มาของการทําวิจัย วัตถุประสงค วธิ ดี าํ เนินการวิจัยโดยยอ ผลท่ีไดจากการวิจยั การนําไปใชประโยชน และไดผลลพั ธอยา งไร 2.2.3 หา มทาํ ตาราง หรอื มเี ลขยกในวงเลบ็ ทเ่ี ปน เอกสารอางองิ 2.3 คาํ สําคญั Keyword มี หรอื ไมม กี ไ็ ด 2.4 ช่อื เรอื่ ง ตรงประเด็นในงานวิจัย หรือไมตง้ั ชอื่ ท่ีเกนิ กวา งานวิจยั นนั้ 2.5 บทนาํ 2.5.1 ชใ้ี หเ หน็ ความสําคัญของเรื่องที่ทํา เขยี นใหสัน้ กระชบั ไมควรเกนิ 15 – 20 บรรทดั 65

2.5.2 คนควาเพม่ิ เติมวา มผี ใู ดทาํ งานในลกั ษณะใกลเคยี งแลว บา ง ไดผลอยา งไร 2.5.3 ระบแุ นวทางการวจิ ยั จุดประสงค ใหเ ขียนเปนเรียงหรอื จดั ลาํ ดับความสาํ คญั แลว จดั เรียงเปนหวั ขอ 2.6 วิธีดําเนินการวิจัย อธิบายวิธีดําเนินโครงการใหเห็นขั้นตอน กระบวนการ ระบุขอบเขตของการวิจัย วิธีเลือกกลุมตัวอยางใหชัดเจน ในลักษณะท่ีหากมีผูอ่ืนตองการทํา การวจิ ัยในลกั ษณะเดยี วกนั สามารถอานและนาํ ไปปฏิบตั ไิ ด 2.7 ผลการวิจัย อธิบายผลท่ีเกิดจากโครงการโดยตรง ไมมีการแสดงความ คดิ เหน็ ในสวนนี้ อาจมภี าพประกอบ แผนภูมิตาราง หรอื การสื่อ 2.8 การนําผลงานไปใชประโยชน อธิบายใหเห็นวาผลงานดังกลาวไดถูก นําไปใชประโยชนอยางไร ใครคือผูใช และมีกระบวนการผลักดันผลงานดังกลาวสูการใช ประโยชน ในรปู แบบใดรูปแบบหนงึ่ ไดแ ก ประโยชนเชงิ นโยบาย เชงิ พาณิชย หรือสาธารณะ 2.9 อภิปรายผล สรุปและอางอิงใหเห็นวาผลการดําเนินงานดังกลาวไดสราง องคค วามรูใหม นวัตกรรมหรือทางเลือกใหมใหแกพ้นื ทอี่ ยา งไร และอธิบายปรากฏการณทเ่ี กิด จากผลการดําเนนิ งานใหเหน็ เปนรปู ธรรมได รวมท้งั เสนอแนะการทํางานในขน้ั ตอ ไป 2.10 เอกสารอางองิ ใหเขยี นโดยใชรปู แบบดงั น้ี • กรณบี ทความจากวารสารใชรปู แบบ ช่ือ สกลุ . ป พศ. ชอื่ บทความ. ช่อื วารสาร ปท่ี (ฉบับท)่ี :3 หนา แรกของ บทความ-หนา สุดทา ยของบทความ. ตวั อยาง ชลลดา อารยี ร ัชชกลุ . 2550. มาตรการเชงิ รกุ บโี อไอ ชกั จงู การลงทนุ จากตา งประเทศ. วารสารสง เสรมิ การลงทนุ 18(9): 8-12. • กรณีอา งองิ จากหนังสอื ช่อื สกลุ . ป พศ. ชื่อหนงั สอื . โรงพมิ พ. จงั หวัด. จํานวนหนา . 66

ตัวอยาง นภดล เจยี มสวัสดิ์. 2547. จากหิ้งขึ้นหา ง เทคนคิ นอกตาํ รา. อมรนิ ทรพริ้นติ้งแอนดพับ ลิชชิ่ง. กรุงเทพฯ. 223 หนา. 67

3ตอนท่ี แนวทางการประเมินขอเสนอการวจิ ัย เพอ่ื การสนบั สนุนงบประมาณ 68

แนวทางการพิจารณาการประเมนิ ขอเสนอการวจิ ยั อาชีวศกึ ษา สํานักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษาไดใชแนวทางการประเมินขอเสนอ/ โครงการวิจัย โดยใชเกณฑการประเมินขอเสนอการวิจัย ตามแนวทางของสํานักงาน คณะกรรมการวิจัยแหงชาติ โดยมุงเนนเปาหมายหลักในการดําเนินโครงการวิจัยจําเปนท่ี จะตองมุงเนนการพัฒนาการอาชีวศึกษาเปนสําคัญ อยางไรก็ตามประเด็นของการมุงเนนการ พัฒนาเกิดจากการระดมความคิดจากผูบริหารอาชีวศึกษา และขาราชการครูและบุคลากร ทางการอาชีวศึกษา ในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ในการกําหนดเสนทาง การวิจยั เพ่อื พฒั นาการอาชีวศกึ ษา โดยสามารถกําหนดเปน ภาพรวมไดใ นเบื้องตน กลาวคือ “การวจิ ยั และพฒั นาอัตตลักษณทางวิชาชีพ สง เสริมคุณคา ภมู ปิ ญญาไทย และเชือ่ มโยงสภู ูมิภาคอาเซียน” การประเมนิ ขอ เสนอการวิจยั กาํ หนดออกเปน ประเดน็ หลกั ดว ยกนั 3 ประเดน็ คอื 1. ความสอดคลองกบั นโยบายและยทุ ธศาสตรของระดบั ประเทศ กระทรวง และ หนว ยงาน 2. คณุ คา ทางปญญาของโครงการวิจยั ซงึ่ ครอบคลมุ ถึงระเบยี บวธิ วี ิจยั ทถี่ กู ตอง ตรง ตามวัตถุประสงคข องขอ เสนอ/โครงการวจิ ัย 3. ผลกระทบของโครงการวจิ ยั จาํ เปนที่จะตอ งสง ผลกระทบตอ องครวม และ กลมุ เปา หมายของหนว ยงานนนั้ ๆ 69

70

นอกจากน้ันแนวทางการพจิ ารณาโครงการท่ขี อรับการสนับสนนุ ในสวนทเ่ี กี่ยวของกบั นกั วจิ ยั ดงั น้ี 1. เปนบุคลากรสังกดั สาํ นัก/สถานศึกษา ในสังกดั สาํ นกั งานคณะกรรมการการ อาชีวศกึ ษาที่บรรจมุ าแลวไมน อ ยกวา 1 ป และไมอ ยูในระหวางการลาศึกษาตอ เต็มเวลา 2. เปนผูท่ีไมเคยไดรับการจัดสรรงบประมาณภายใน 1 ปยอนหลัง จะไดรับ การสนับสนุนเปนอันดับแรก 3. ยึดหลักการกระจายงบประมาณใหแกหนวยงานในสถานศึกษาอยางเทา เทยี มกัน ทแ่ี นนอน 4. สนับสนุนโครงการท่ีมีเอกสาร หลักฐานครบถวน และมีกําหนดการเดินทาง 5. สนบั สนนุ นักวจิ ยั ทส่ี งรายงานผลการวจิ ัยครบถวน 6. สนบั สนุนโครงการทผี่ ูขอรบั การสนับสนุน มชี ือ่ เปน ช่อี แรก กอน 71

สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) ไดเสนอแนะทางการประเมินผล โครงการวิจัยสําหรับหนวยงานภาครัฐ เพ่ือใหแตละหนวยงานใชเปนแนวทางประกอบการ พจิ ารณาความเปนไปไดทางวชิ าการและงบประมาณ รวมทั้งการจดั เรยี งลําดบั ความสําคัญของ โครงการวจิ ัยที่เสนอของบประมาณประจําปต ามมติคณะรัฐมนตรี โดยเห็นสมควรกําหนดใหแต ละหนวยงานจัดตั้งคณะกรรมการ/คณะทํางาน เพื่อทําหนาที่ประเมินผลโครงการวิจัยกอนทํา การวิจัย และจัดเรียงลําดับความสําคัญ (priority) แลวสงผลการประเมินผลพรอมแบบแสดง แผนความตองการภาพรวมงานวิจัยของหนวยงานภาครัฐท่ีเสนอของบประมาณ ประจําป งบประมาณ ตามมตคิ ณะรัฐมนตรี ให วช. เพอ่ื ดําเนนิ การตอ ไป แนวทางการประเมินผลโครงการวิจยั มีรายละเอียด ประกอบดว ย 1. ความสอดคลอ ง [10 คะแนน] 1.1. ยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) มีความสอดคลองกับยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศ ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) ซ่ึงประกอบดวย 10 ยทุ ธศาสตร ดงั นี้ 1.1.1 ยทุ ธศาสตรการเสริมสรา งและพฒั นาศักยภาพทนุ มนุษย 1.1.2 ยุทธศาสตรก ารสรา งความเปนธรรมและลดความเหลือ่ มลํา้ ในสงั คม 1.1.3 ยุทธศาสตรการสรางความเขมแข็งทางเศรษฐกิจและแขงขันไดอยาง ยัง่ ยืน 1.1.4 ยุทธศาสตรการเติบโตที่เปนมิตรกับส่ิงแวดลอมเพ่ือการพัฒนาอยาง ยงั่ ยนื 1.1.5 ยุทธศาสตรการเสริมสรางความม่ันคงแหงชาติเพื่อการพัฒนา ประเทศสูความมง่ั ค่ังและยงั่ ยนื 1.1.6 ยุทธศาสตรการบริหารจัดการในภาครัฐ การปองกันทุจริตประพฤติมิ ชอบ และธรรมาภิบาลในสังคมไทย 72

1.1.7 ยทุ ธศาสตรก ารพฒั นาโครงสรางพนื้ ฐานและระบบโลจิสตกิ ส 1.1.8 ยทุ ธศาสตรก ารพัฒนาวิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิจัย และนวตั กรรม 1.1.9 ยทุ ธศาสตรการพัฒนาภาค เมอื ง และพ้ืนทเี่ ศรษฐกจิ 1.1.10 ยทุ ธศาสตรความรว มมอื ระหวางประเทศเพ่ือการพัฒนา 1.2 นโยบายและยุทธศาสตรการวิจัยของชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2560- 2564) มีความสอดคลองกับนโยบายและยุทธศาสตรการวิจัยของชาติ ฉบับท่ี 9 (พ.ศ. 2560- 2564) ซ่งึ ประกอบดวย 7 ยุทธศาสตร ดังน้ี 1.2.1 เรงสงเสริมการวิจัยและพัฒนาเพื่อใหบรรลุเปาหมายและสนองตอบ ตอประเด็นเรงดวนตามยุทธศาสตรและแผนพัฒนาประเทศ และภารกิจของหนวยงาน โดยรัฐ ลงทุนเพอ่ื การวิจัยและพัฒนาเพ่ิมขึ้นอยา งตอ เน่ือง 1.2.2 สงเสรมิ และสนับสนนุ การวจิ ยั และพัฒนาในภาคเอกชน 1.2.3 สงเสริมกลไกและกิจกรรมการนํากระบวนการวิจัย ผลงานวิจัย องค ความรู นวัตกรรม และเทคโนโลยีจากงานวิจัยไปใชประโยชนอยางเปนรูปธรรม โดยความ รว มมอื ของภาคสวนตา งๆ 1.2.4 เรงรัดพัฒนาระบบวิจัยแบบบูรณาการของประเทศใหเขมแข็ง เปน เอกภาพ และย่งั ยนื รวมถงึ สรางระบบนเิ วศการวจิ ยั ทีเ่ หมาะสม 1.2.5 พัฒนาและเสริมสรางความเขมแข็งของโครงสรางพื้นฐานดานการ วิจยั และพฒั นาของประเทศ 1.2.6 เพิ่มจํานวนและพัฒนาศักยภาพของบุคลากรดานการวิจัยและ พัฒนา เพ่อื เพิ่มขีดความสามารถในการแขง ขันของประเทศ 1.2.7 พัฒนาความรวมมือของเครือขายวิจัยในประเทศและระหวาง ประเทศ 1.3 ยุทธศาสตรการวิจัยของชาติรายประเด็น* มีความสอดคลองกับ ยทุ ธศาสตรการวิจัยของชาตริ ายประเดน็ 1.4 ยุทธศาสตรชาติ มีความสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ ซึ่งประกอบดวย 6 ยทุ ธศาสตร ดังน้ี 1.4.1 ยทุ ธศาสตรดานความมนั่ คง 73

1.4.2 ยุทธศาสตรก ารสรา งความสามารถในการแขงขัน 1.4.3 ยุทธศาสตรการพฒั นาและเสรมิ สรางศกั ยภาพคน 1.4.4 ยุทธศาสตรดา นการสรา งโอกาสความเสมอภาคและเทาเทยี มกัน ทางสงั คม 1.4.5 ยุทธศาสตรก ารสรางการเตบิ โตบนคณุ ภาพชีวติ ท่เี ปน มิตรตอ สง่ิ แวดลอ ม 1.4.6 ยุทธศาสตรดา นการปรับสมดลุ และพฒั นาระบบบรหิ ารจดั การ ภาครัฐ 1.5 นโยบาย/เปา หมายของรัฐบาล มคี วามสอดคลองกบั นโยบาย/เปาหมาย ของรัฐบาล ซง่ึ ประกอบดวย ระเบียบวาระแหง ชาติ โครงการทา ทายไทย และนโยบายรฐั บาล 2. คุณคา ทางปญ ญาของโครงการวิจยั [60 คะแนน] 2.1 ปจจยั การวจิ ัย (input) [20 คะแนน] 2.1.1 หัวเรื่องของการวิจัยนาสนใจ เปนประเด็นเรงดวน (hot issue) ที่มี ความสาํ คญั และจาํ เปน ตองทาํ วิจัยเพอ่ื แกไขปญหาอยา งเรงดวนเพียงใด 2.1.2 วตั ถปุ ระสงคข องการวิจยั มคี วามชดั เจนและเปน รูปธรรมหรือไม 2.1.3 โครงสรางคณะผูบริหารโครงการวิจัย/ผูรวมวิจัยมีความเหมาะสม และมคี วามพรอมคอื ครอบคลุมทุกสาขาวชิ าการหรือกลุม วิชาในเรอ่ื งท่ีวิจยั เพยี งใด 1) แสดงใหเห็นถึงความพรอมของคณะผูวิจัยที่จะดําเนินงานวิจัยได สาํ เรจ็ 2) มีวุฒิการศึกษา ประสบการณในการวิจัย และมีความเหมาะสม กับภาระหนาท่ที ่กี าํ หนดไวใ นโครงการวิจัย 3) เปนทีย่ อมรับในวงวชิ าการดานการวจิ ยั 4) การอุทศิ เวลาใหกบั การทําการวจิ ัย ตลอดโครงการวิจัย 5) มีจรรยาบรรณนักวิจัย (ผนวก 10) และความรับผิดชอบสูง อีกท้ัง ไมม ีประวตั ิตดิ คา งการสง รายงานการวจิ ัย/การเงนิ 74

2.1.4 สนับสนุนและเปดโอกาสใหนักวิจัยรุนใหมเขามามีสวนรวมในการทํา การวิจัย เพ่อื เปน การสรางนักวจิ ัยรุนใหมเพม่ิ ขน้ึ อยา งตอเนอื่ งหรอื ไม 2.1.5 มีผลการวิจัยท่ีเก่ียวของและการตรวจเอกสารอางอิงอยางสมบูรณ เพียงใด 1) แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับองคความรู ทฤษฎี สมมุติฐาน หรือ กรอบแนวความคิดเดิมท่ีเก่ียวของ เพื่อแสดงความเกี่ยวเน่ืองและความสัมพันธของเรื่องที่ทํา การวิจัยกบั ผลการวจิ ัยอ่ืน ๆ ท้งั ในและตางประเทศ ใหเห็นวาจะใชสนับสนุนหรอื เปน แนวทางใน การวิจัย 2) มีการอางอิงผลงานวิจัยที่เก่ียวของอยางครบถวน ชัดเจน ถูกตอง ตามระบบสากลนยิ ม 2.1.6 จัดทําแผนการดําเนนิ งานตลอดโครงการวิจยั ไดชัดเจนและเปน รปู ธรรมเพยี งใด 1) ระบุข้ันตอนและระยะเวลาทําการวิจัยของโครงการวิจัยโดย ละเอียด และเหมาะสมกับเวลาและสถานที่ 2) แสดงความพรอมในการทําการวิจัยท่ีจะนําไปสูความสําเร็จตาม วัตถุประสงคและเพอ่ื ประโยชนในการตดิ ตามประเมินผล 2.1.7 มคี วามพรอ มดานสถานที่และอปุ กรณในการทําการวิจยั หรือไม 1) เหมาะสมกับสภาพเง่ือนไขของสังคม และสภาพแวดลอมที่ เกี่ยวของกบั โครงการวจิ ยั 2) ระบุสถานท่ีทําการวิจัย ทั้งในหองปฏิบัติการ เรือนทดลอง/ ภาคสนามหรอื สถานท่เี กบ็ ตวั อยา งใหชัดเจน เหมาะสมกบั งานวจิ ัย 3) ความพรอมของอุปกรณท่ีจะใชทําการวิจัย มีความเหมาะสมและ ตรงกับงานวจิ ัย 2.1.8 งบประมาณทีใ่ ชท ําการวจิ ยั มคี วามเหมาะสมหรือไม 2.2 กระบวนการวิจัย (process) [20 คะแนน] 2.2.1 ระบุกลยุทธการเช่ือมโยงขั้นตอนการวิจัยอยางสมบูรณ ถูกตอง ชัดเจน และสอดคลองกบั วัตถุประสงคของโครงการวิจัยเพยี งใด 75

2.2.2 แสดงแผนการถายทอดเทคโนโลยี หรือผลการวิจัยสูกลุมเปาหมาย หรือสงเสริมและสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาขั้นตอไปหรือเปนการบริหารงานในหนวยงานท่ี เก่ียวของ โดยระบุกลุมเปาหมายวิธีการถายทอด ระยะเวลา สถานที่ ฯลฯ ใหชัดเจน และมีการ เสนอของบประมาณในสว นนีด้ ว ยหรือไม 2.3 ผลผลติ การวิจยั (output) [20 คะแนน] 2.3.1 งานวิจยั ที่จะกอใหเกิดมูลคาเพิ่มทางเศรษฐกจิ เชน ดานเกษตรกรรม อุตสาหกรรม การทองเท่ียวและการพาณิชย และการสรางคุณคาเพ่ิมทางสังคมและวัฒนธรรม เชน การสรางปญญาใหประชาชนในประเทศฉลาดขึ้น มีคุณธรรม จริยธรรม ศีลธรรม ฯลฯ ใน แตละข้ันตอนของการวิจัย และมีการพัฒนาอยางเปนระบบและครบวงจรตามรูปแบบหวงโซ มูลคา (value chain) ดว ยเพียงใด 2.3.2 แสดงผลสําเร็จที่คาดวา จะไดร บั เมื่อสน้ิ สดุ การวิจยั ไดช ัดเจนเพียงใด 2.3.3 ระบุกลุมเปาหมายที่จะไดรับประโยชน และผลกระทบจาก ผลงานวิจัยท่ีคาดวาจะเกิดขึ้น รวมทั้งสนองตอบยุทธศาสตรอะไรในยุทธศาสตรการพัฒนา ประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ นโยบายและยุทธศาสตรการวิจัยของชาติ ยุทธศาสตรการวิจัยของชาติรายประเด็น ยุทธศาสตรชาติ และนโยบาย/เปาหมายของรัฐบาล ท้ังนอี้ าจรวมถงึ ยุทธศาสตรข องหนวยงาน ดว ยเพียงใด 2.3.4 แสดงจํานวนนักวิจัยรุนใหมที่คาดวาจะเกิดจากการดําเนินงานวิจัยนี้ หรอื ไม 3. ผลกระทบของโครงการวจิ ยั (impact) [30 คะแนน] ผลลัพธ (outcome) ของงานวิจัยจะทําใหเกิดผลกระทบในดานการพัฒนาการ อาชีวศกึ ษา โดยมุง เนนในประเดน็ ตา งๆ เหลาน้ี หรือไม 3.1 สรา งงานสรางอาชพี 3.2 นวตั กรรม เพอ่ื ทดแทนพลงั งาน 3.3 รองรับและสนบั สนุนพระราชบัญญตั ิการอาชีวศึกษา 3.4 นวตั กรรมส่งิ ประดษิ ฐของคนรนุ ใหม 76

3.5 โครงการ/นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ เชน การปฏิรูปการศึกษา รอบสอง, นโยบายเรียนฟรี 15 ป เปนตน 3.6 ตลาดแรงงานในอนาคต 3.7 การบริหารจดั การทรพั ยสินทางปญญา * ผลรวมของการประเมินผลโครงการวจิ ัยมีคะแนนท้ังหมดเทากบั 100 คะแนน หมายเหตุ : แนวทางการประเมินผลโครงการวิจัยท่ี วช. เสนอแนะดังกลาว หนวยงานภาครัฐ สามารถใชเปนแนวทางในการประเมินผลโครงการวิจัย โดยสามารถปรับปรุงไดตามความ เหมาะสมกับหนวยงาน 77

4ตอนท่ี การประเมินผลการวจิ ัยอาชีวศกึ ษา 78

การประเมนิ ผล การดาํ เนนิ โครงการวจิ ยั อาชีวศกึ ษา สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาไดกําหนดพันธกิจดานการวิจัยและ นวัตกรรมทางวิชาชีพ โดยสงเสริมและสนับสนุนใหหนวยงานในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษาดําเนินโครงการวิจัยอยางมีคุณภาพและเกิดประสิทธิภาพ ตามนโยบาย แผนงาน และงบประมาณ โดยมีการบริหารและจัดการ เพื่อสงเสริมและสนับสนุนใหขาราชการ ครูและบุคลากรการอาชีวศึกษา รวมถึงขาราชการพลเรือนในสังกัด มีสมรรถนะในการ ดาํ เนินการวจิ ัย สง เสริมและสรางเครือขายการวิจัยกบั หนวยงานภายนอก เพื่อใหไดผลงานวิจัย / นวัตกรรมทางวิชาชีพ สามารถนําไปสูการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน การสรางและ พัฒนาองคค วามรใู หม เปดโลกทศั นใ หมและขยายพรมแดนความรู หรือนวัตกรรมและทรพั ยส ิน ทางปญญาท่ีสามารถนําไปประยุกตใชในงานไดจริง ทั้งการใชประโยชนเชิงวิชาการ เชิง สาธารณะ เชิงนโยบาย และเชิงพาณิชย เปนตน การพัฒนาคุณภาพผูสําเร็จการอาชีวศึกษาตรงกับความตองการของตลาดแรงงาน โดยเฉพาะเปาหมายการจัดการศึกษาและฝกอบรมวิชาชีพภายใตสถาบันการอาชีวศึกษา ตาม พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551 น้ันจําเปนอยางยิ่งที่หนวยงานและสถานศึกษาใน สงั กัดสํานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาจะตองสรา งความเขม ขนเชิงวิชาการ ผลิตผลงาน ที่มีคุณภาพสูงสามารถยอมรับไดในแวดวงวิชาการระดับประเทศ ดังน้ันจึงจําเปนยิ่งในการ พัฒนางานวิจัยเชิงวิชาการใหไดรับการรับรองคุณภาพที่เชื่อถือได รวมท้ังมีการเผยแพรใน หนังสือ วารสารท่ีไดรับการยอมรับ นอกจากนั้นการวิจัยควรทําในเชิงวิจัยและพัฒนา (Research & Development) ทจ่ี ะสามารถนําผลงานวจิ ัยไปประยุกตใชใหเ กดิ ประโยชนไดตาม ความตองการของผูใ ชจรงิ รวมทั้งสามารถเรยี นรูส ่งิ ใหมๆ เกยี่ วกบั การใชความรูในการพัฒนา มี การส่ังสมและถายทอดไปสูผูอื่น ผลงานวิจัยและนวัตกรรมทางวิชาชาชีพที่พัฒนาข้ึนถูกใชเปน 79

ปจจัยสําคัญของการพัฒนาคุณภาพ ประสิทธิภาพและขีดความสามารถของคนไทย สนอง ยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศ รวมทั้งการพัฒนาประเทศสูสังคมแหงการเรียนรู สังคมความรู และสังคมแหงภูมิปญญา อันกอใหเกิดวัฒนธรรมการเรียนรูและใฝรูตลอดชีวิต และวัฒนธรรม การใชความรูในการกําหนดทิศทางยุทธศาสตรและการพัฒนา ตลอดจนการเพิ่มศักยภาพการ แขง ขันของประเทศ มาตรฐานการวิจัยและนวัตกรรมวชิ าชีพ ตามมาตรฐานการวจิ ยั และนวัตกรรมวชิ าชพี ที่กาํ หนดขึน้ ในตวั ชว้ี ดั ของสาํ นัก มาตรฐานการศึกษาแหง ชาติ นนั้ ไดใหคาํ อธิบายท่เี กย่ี วขอ งกับการวิจยั ไวด งั นี้ คาํ อธบิ าย เปรียบเทียบผลงานวิจัยและนวัตกรรมวิชาชีพท่ีไดรับการเผยแพรในวารสารทาง วิชาการที่เปนที่ยอมรับไดตออาจารยประจําทั้งหมด โดยใหนําเสนอในรูปรอยละ ทั้งนี้การนับ อาจารยประจาํ นั้นใหนับเฉพาะอาจารยป ระจาํ ที่ปฏิบตั ิงานจรงิ ไมน บั รวมอาจารยที่ลาศกึ ษาตอ โดยพจิ ารณาผลการดาํ เนนิ งาน 3 ปยอนหลงั ของอาจารยป ระจาํ ในแตล ะปก ารศึกษา *การเผยแพร หมายถึง เอกสารทางวิชาการที่บทความวิชาการ (Academic Papers) ตํารา(Textbook) หรือหนังสือ(Books) ที่ไดรับการตีพิมพ ผานกระบวนการกลั่นกรอง ผลงานกอนตีพมิ พ มรี ายละเอียดดังนี้ 1. บทความวิชาการ หมายถึง เอกสารวชิ าการท่ีเรียบเรียงอยางเปนระบบมีขอความรู ท่ีสะทอนมุมมอง แนวคิดเชิงทฤษฎีที่ไดจากประสบการณ การสังเคราะหเอกสารหรือการวิจัย โดยจดั ทาํ ในรปู ของบทความเพือ่ ตพี มิ พเ ผยแพรในวารสารวชิ าการท่ีมีคณุ ภาพซึ่งมผี ตู รวจอาน 2. ตํารา หมายถึง เอกสารทางวิชาการท่ีเรียบเรียงอยางเปนระบบ อาจเขียนเพ่ือ ตอบสนองเน้ือหาท้ังหมดของรายวิชาหรือเปนสวนหนึ่งของวิชาหรือหลักสูตรก็ได โดยมีการ 80

วิเคราะหและสังเคราะหค วามรทู ่เี กย่ี วของ และสะทอนใหเหน็ ความสามารถในการถา ยทอดวชิ า ในสาขาวิชาชีพท่ีทําการสอน 3. หนังสือ หมายถึง เอกสารทางวิชาการท่ีเขียนขึ้นเพ่ือเผยแพรความรูไปสูวงวิชาการ และ หรือผูอานทั่วไป โดยไมจําเปนตองเปนไปตามขอกําหนดของหลักสูตรหรือตองนํามา ประกอบการเรียนการสอนในวิชาใดวิชาหน่ึง ทั้งนี้จะตองเปนเอกสารที่เรียบเรียงข้ึนอยางมี เอกภาพมีรากฐานทางวิชาการที่มั่นคง และใหทัศนะของผูเขียนท่ีสรางเสริมปญญาความคิด และสรางความแขง็ แกรงทางวิชาการใหแกสาขาวชิ าชีพนน้ั ๆ และ/หรอื สาขาวชิ าทเ่ี ก่ียวเน่ือง ทั้งน้ีพิจารณาครอบคลุมถึงงานสรางสรรคที่ไดรับการจดลิขสิทธ์ิ โดยเปนงานตาม ประเภททกี่ ฎหมายลขิ สทิ ธค์ิ มุ ครอง สวนการนบั ผลงานใหน ับเชนเดยี วกับการนับผลงานวจิ ัย วิธีการนับ การนับจํานวนผลงานวิชาการที่ไดรับรองคุณภาพ จะนับไดเม่ือผลงานวิชาการนั้น ไดรับการพิจารณาใหตพี ิมพเผยแพรในรปู แบบของบทความวิชาการในวารสารวิชาการ หนังสือ หรือตําราทางวิชาการ โดยมีระบบการพิจารณาตนฉบับจากคณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิกอน การตีพิมพโดยนับการตีพิมพเพียงคร้ังเดียวตองานวิชาการ 1 เลม ไมนับซํ้ากรณีที่ไดรับการ ตีพิมพหลายคร้ังหรือท่ีอยูระหวางพิจารณาเพ่ือใหการตีพิมพ โดยใหนับรวมกรณีที่มีหนังสือ ตอบรับวาจะตีพิมพไดดวย ในกรณีท่ีมีชื่ออาจารยประจําทํางานวิชาการรวมกันใหสามารถนับ ไดทุกคน เชน มีอาจารยทําผลงานวิชาการท่ีไดรับรองคุณภาพช้ินเดียวกันจํานวน 5 คน แตเปน อาจารยของสถานอาชีวศึกษาท่ีรับการประเมินจํานวน 3 ทาน เชนนี้ใหถือวาอาจารย 3 ทานน้ี เปนผูม ีผลงานวิชาการ การนับจํานวนผลงานวิจัยและนวัตกรรมวิชาชีพท่ีไดรับการเผยแพร จะนับไดตอเม่ือ ผลงานน้ันมีหลักฐานเปนหนังสือรับรองความเปนเจาของงานลิขสิทธ์ิ ตามพระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ท่ีออกใหในปงบประมาณ พ.ศ. 2552 จากหนวยงานภายนอกสถานศึกษา อาชีวศึกษาท่ีเชือ่ ถือไดแลวเทา น้ัน โดยไมนับรวมงานวิชาการท่ีอยูในระหวางย่ืนจดลิขสทิ ธิ์ การ นับผลงานใหนับเชน เดียวกบั การนับผลงานวชิ าการที่ไดร ับการรบั รองคณุ ภาพ 81

การนับจํานวนอาจารยประจํา ใหนับอาจารยประจําเฉพาะที่ปฏิบัติงานจริงในแตละ ป ไมนับรวมอาจารยประจําท่ีลาศึกษาตอ ในกรณีเปนอาจารยสัญญาจางใหนับเฉพาะที่มี ระยะเวลาการปฏิบัติงานต้ังแต 9 เดอื นขน้ึ ไป ขอ มูลทีต่ อ งการ ใชขอมูลยอนหลงั 3 ป 1.จํานวน และชื่อผลงานวิจัยและนวัตกรรมวิชาชีพในแตละประเภทวิชา/สาขางานท่ี ไดรับการเผยแพร พรอมเอกสารหลักฐานที่แสดงถึงการไดรับการเผยแพรจริง เชน บทความ หนังสือ ตาํ รา หนังสือรบั รองความเปนเจาของงานลิขสิทธิ์ เปนตน 2. จาํ นวนอาจารยประจาํ ทั้งหมดในการศึกษานนั้ ไมนับรวมอาจารยท ลี่ าศกึ ษาตอ ระบบการติดตามและประเมินผล ระบบติดตามและประเมินผล คือ การกําหนดรูปแบบ และระยะเวลาในการติดตาม เชน ทุก 3 เดือน หรือทุก 6 เดือน เพ่ือใชติดตามผลการปฏิบัติงานเปรียบเทียบกับมาตรฐานท่ี กาํ หนด ตามคมู ือการประเมินผลขอเสนอการวจิ ัยของสํานกั งานคณะกรรมการวิจยั แหงชาติ ทั้งนี้การรายงานความกาวหนาของการดําเนินโครงการวิจัยจําเปนท่ีจะตอง ดาํ เนนิ การตามระบบการประเมินผลของสํานกั งานคณะกรรมการวิจัยแหง ชาติ 82

เอกสารอางองิ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. 2554. แผนยทุ ธศาสตรก ระทรวงศกึ ษาธิการ (พ.ศ. 2555 – 2559). กระทรวงศึกษาธกิ าร. 2553. แผนปฏบิ ตั ริ าชการกระทรวงศกึ ษาธิการ เพื่อรองรับนโยบาย รัฐบาล ปงบประมาณ พ.ศ. 2550 – 2551. กระทรวงศึกษาธกิ าร. 2546. พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 รัฐสภาไทย. 2537. พระราชบญั ญัตลิ ิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537. สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. 2556. นโยบายการพัฒนาการอาชีวศึกษา ของ สาํ นักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา. สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. 2551. แผนยุทธศาสตรการวิจัยและพัฒนาการ อาชีวศกึ ษา พ.ศ. 2551 – 2553. สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. 2551. พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2551. สํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหงชาติ. 2560. (ราง) ยุทธศาสตรก ารวจิ ัยและนวตั กรรมแหงชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 – 2579). สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ. 2554. นโยบายและแนวทสํานักงานคณะกรรมการ วิจัยแหงชาติ. 2544. นโยบายและแนวทางการวิจัยแหงชาติ ฉบับท่ี 8 (พ.ศ. 2555 – 2559). สํานกั งานคณะกรรมการวิจัยแหง ชาติ. 2544. นโยบายและแนวทางการวิจัยแหง ชาติ ฉบับท่ี 6 (พ.ศ. 2545 - 2547). สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ. 2550. นโยบายและยุทธศาสตรการวิจัยของชาติ (พ.ศ. 2551 - 2553). สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ. 2559.(ราง)นโยบายและยุทธศาสตรการวิจัยของ ชาตฉิ บบั ท่ี 9 พ.ศ. 2560 – 2564). สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. 2560. แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่12 (พ.ศ. 2560 - 2564). 83

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. 2554. แผนพัฒนา เศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 11 (พ.ศ. 2555-2559). สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. 2549. แผนพัฒนา เศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554). สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. 2560. แผนพัฒนาการศึกษาแหงชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 – 2579). สาํ นักมาตรฐานการอาชวี ศกึ ษาและวิชาชพี . 2549. เสน ทางหลกั สูตร 3 Tracks. สํานักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา. 2554. (ราง) แผนกลยุทธเรงรัดการพัฒนาการวิจัย นวัตกรรม ส่ิงประดิษฐและเทคโนโลยีการอาชีวศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพและขีด ความสามารถในการแขงขันของประเทศ (พ.ศ. 2555 – 2559). สํานักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา. 2549. แผนกลยุทธเรงรัดการพัฒนาการวิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐและเทคโนโลยีการอาชีวศึกษาเพื่อเพ่ิมศักยภาพและขีด ความสามารถในการแขงขันของประเทศ (พ.ศ. 2549 – 2553). สาํ นักเลขาธิการนายกรฐั มนตรี. 2559. (รา ง) กรอบยุทธศาสตรช าติระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560 - 2579). หนังสือพิมพมติชนรายวัน. 2548. การพัฒนาการศึกษาของประเทศ. ฉบับวันอังคารท่ี 29 มีนาคม 2548 หนา 31. American Psychological Association. (1995). Publication manual of the American Psychological Association (Fourth edition). Washington, DC : Author. Cannon, N. J., Ulferts, G. W., & Howard, T. L. (2014). Research and development investment. Journal of Business & Economics Research (Online), 12(3), 291- n/a. Retrieved from http://proxygw.wrlc.org/login?url=https://search-proquest- com.proxygw.wrlc.org/ docview/1665183643?accountid=11243 Gu, L. (2016). Product market competition, R&D investment, and stock returns. Journal of Financial Economics, 119(2), 441-455. doi:10.1016/j.jfineco.2015.09.008 Kotler, P. & K. F. Fox. (1985). Strategic marketing for education institutions. Englewood Cliffs, 84

NJ : Prentice Hal Inc. www.e-learning.vec.go.th/elearning/.../reseachProposalWriting.doc http://en.mmcuav.com/ProductsSt/175.html https://musaozsari.com/2016/10/24/son-zamanlardaki-bilimsel-ve-teknolojik- gelismeler/ 85

ภาคผนวก 86

การเสนอขอแผนบูรณาการพัฒนาศกั ยภาพ วิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2562 สภานโยบายวิจัยและนวตั กรรมแหงชาติ (สวนช.) โดยคณะอนกุ รรมการดานนโยบาย และยุทธศาสตรวิจัยและนวัตกรรม ไดจัดทํา “ยุทธศาสตรการวิจัยและนวัตกรรมแหงชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 – 2579” โดยผานกระบวนการมีสวนรวมจากผูท่ี มีสวนเก่ียวของจากหนวยงานใน ระบบวิจัยและนวัตกรรมของประเทศ เพื่อเปนกรอบแนวทางของประเทศใน การสรางงานวิจัย และนวัตกรรมที่สามารถใชประโยชนเชงิ พาณิชยไดจ ริง และเพ่ิมขีดความสามารถของภาค การ ผลิตและบริการ สามารถใชแกไขปญหาท่ีสงผลกระทบตอการพัฒนาสังคม สรางขีด ความสามารถทางเทคโนโลยีรองรับการเติบโตในระยะยาว โดยคํานึงถึงแนวโนมหลักในสังคม โลกทางดาน เศรษฐกิจ สังคม การเมือง เทคโนโลยี และสงิ่ แวดลอ ม ปงบประมาณ พ.ศ. 2562 สํานักงบประมาณไดกําหนดปฏิทินงบประมาณรายจาย ประจําปงบประมาณ เพื่อจัดทําคําขอรับงบประมาณแผนบูรณาการพัฒนาศักยภาพ วิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิจัยและนวัตกรรม ประจําปงบประมาณ 2562 โดยมอบสํานักงาน คณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) และสํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหงชาติ (สวทน.) เปนเจาภาพรวมในแผนบูรณาการดังกลาว ดังนั้น วช. และ สวทน. ขอความรวมมือใหหนวยงานดําเนินการ จัดทําแบบเสนอแผนบูรณาการ (Integrated research program) ใหเปนไปตามรางแผนบูรณาการพัฒนาศักยภาพ วทิ ยาศาสตร เทคโนโลยี วิจัยและนวัตกรรม ประจําปง บประมาณ 2562 โดยใหดําเนินการ ดังนี้ 1. จัดทาํ แบบเสนอแผนบรู ณาการ (Integrated research program) ใหเ ปนไปตาม รางแผนบูรณาการพัฒนาศักยภาพ วิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิจัยและนวัตกรรม ประจําป งบประมาณ 2562 โดยสง ขอ มลู ผา นระบบบริหารจัดการงานวจิ ยั แหงชาติ (National Research Management System : NRMS) 2. จัดทําหนังสือนําสงและแบบเสนอแผนบูรณาการ (Integrated research program) จํานวน 1 ชุด และสงมายังกองบรหิ ารแผนและงบประมาณการวจิ ัย หมายเหตุ : นักวิจัยท่ีติดคางการสงรายงานในระบบ NRMS ป 2551 - 2558 คณะกรรมการพิจารณาตรวจสอบโครงการวิจัยจะไมนํามาพิจารณาตรวจสอบและ ประเมินผลการเสนอของบประมาณ 87

88

89

90

91

แบบเสนอแผนบูรณาการ (Integrated Research Program) ประกอบการเสนอของบประมาณแผนบรู ณาการพฒั นาศักยภาพ วิทยาศาสตร เทคโนโลยี วจิ ยั และนวตั กรรม ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 256_ ------------------------------------ ชื่อแผนบูรณาการ (ภาษาไทย) ………………………………………………………............................................... (ภาษาองั กฤษ) ………………………………………………………............................................... สว น ก : ลกั ษณะแผนบูรณาการ ปเดยี ว ตอเนอื่ ง ระยะเวลา ...... ป… …เดือน (ไมเกนิ 5 ป) เรม่ิ ตน ป พ.ศ. …… - ป พ.ศ. ……… เปาหมายแผนบูรณาการ 1. ยุทธศาสตรชาติ 20 ป ยุทธศาสตร ไมสอดคลอ ง เปา ประสงค ไมสอดคลอง 2. ยทุ ธศาสตรการพัฒนาประเทศตามแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติ ยุทธศาสตร ไมสอดคลอง เปา ประสงค -ไมต อ งระบ-ุ 3. ยทุ ธศาสตรว จิ ัยและนวตั กรรมแหงชาติ 20 ป ยุทธศาสตร ไมสอดคลอ ง ประเดน็ ยทุ ธศาสตร ต.ย. 1.1 อาหาร เกษตร เทคโนโลยีชีวภาพและเทคโนโลยี การแพทย แผนงาน ต.ย. 1.1.1 Modern Agriculture ประเดน็ วิจยั ไมสอดคลอ ง 4. ยุทธศาสตรก ารวจิ ยั ของชาติรายประเดน็ ไมส อดคลอ ง 92

5. อตุ สาหกรรมและคลัสเตอรเปาหมาย ไมสอดคลอ ง 6. ยุทธศาสตรข องหนว ยงาน …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… การเสนอแผนบูรณาการหรือสวนหนึ่งสวนใดของแผนน้ีตอแหลงทุนอ่ืน หรือเปนการ วิจยั ตอยอดจากโครงการวจิ ัยอืน่ มี ไมม ี หนว ยงาน/สถาบนั ทยี่ ่นื ...................................................................................................................... ช่ือโครงการ ...................................................................................................................... ระบุความแตกตา งจากโครงการน้ี ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... สว น ข : องคป ระกอบในการจดั ทาํ แผนบรู ณาการ 1. หนวยงานเจา ภาพบรู ณาการ ..................................................................................................................................... ผูอ าํ นวยการแผนบรู ณาการ ..................................................................................................................................... ทีอ่ ยู ..................................................................................................................................... เบอรโ ทร ……………………..........…….. อเี มล . .........……………………………… 93

2. การวิจยั ตอ ยอดจากโครงการวิจยั อ่นื หนวยงาน โครงการวจิ ยั ทส่ี ําเร็จแลว นาํ มาตอ ยอดในแผนบรู ณาการ ลาํ ดับ ชอ่ื โครงการ หัวหนา โครงการ ที่ 3. คาํ สาํ คัญ (keyword) คําสําคัญ (TH) ………………………….………………………………………………………………....... คาํ สาํ คญั (EN) ……………….…………………………………………………………………….……… 4. ความสําคญั และทมี่ าของปญหา …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… 5. วตั ถปุ ระสงคห ลกั ของแผนบูรณาการ …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… 6. ทฤษฎี สมมุติฐาน (ถา มี) และกรอบแนวคดิ ของแผนบรู ณาการ …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… 7. ระยะเวลาการวจิ ัย ระยะเวลาแผนบูรณาการ 1 ป 0 เดอื น วันทเี่ ริม่ ตน 1 ตลุ าคม 256_ วันท่ีสนิ้ สุด 30 กันยายน 256_ 94